The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ า พฒั นาอาชีพให้มอี ยู่มกี นิ

(อช11003)

ระดบั ประถมศึกษา
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็น
ของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 30/2555

หนงั สือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ า พฒั นาอาชีพให้มอี ยู่มกี นิ

(อช11003)

ระดบั ประถมศึกษา
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 30/2555

คาํ นํา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 เมื่อวนั ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 ซึง่ เปนหลกั สูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญา และ
ความเช่ือพ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสม
ความรู และประสบการณอ ยางตอเนอ่ื ง

ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน
นโยบายทางการศึกษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพที่
สามารถสรางรายไดที่มั่งคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และ
มีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย
มาตรฐาน ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระ
เกี่ยวกบั อาชีพ คณุ ธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพอื่ เขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความ
เกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควา
ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย
แลกเปล่ยี นเรียนรกู บั กลมุ หรือศกึ ษาเพม่ิ เติมจากภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ แหลง การเรียนรแู ละส่ืออน่ื

การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวชิ า และผเู กยี่ วของในการจดั การเรยี นการสอนท่ศี ึกษาคนควา รวบรวมขอ มลู องคค วามรจู ากส่อื ตา ง ๆ
มาเรยี บเรยี งเนือ้ หาใหค รบถว นสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง ตวั ชวี้ ัดและกรอบเนื้อหา
สาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวา
หนงั สือเรียนชุดนจ้ี ะเปน ประโยชนแ กผ เู รียน ครู ผูสอน และผูเ ก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ
ประการใด สํานกั งาน กศน. ขอนอมรับดวยความขอบคุณย่งิ

สารบัญ หนา

คํานาํ ก
สารบญั ข
คําแนะนําการใชหนงั สือเรยี น 1
โครงสรางรายวชิ าพฒั นาอาชีพใหม อี ยมู กี ิน (อช11003) ระดับประถมศกึ ษา 2
บทท่ี 1 ศักยภาพธรุ กจิ 14
16
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชพี ใหมอี ยมู ีกิน 18
เรื่องที่ 2 ความจาํ เปน และคณุ คา ของการวเิ คราะหศกั ยภาพธรุ กิจ 11
เรื่องท่ี 3 การวิเคราะหต าํ แหนงธรุ กจิ 12
เรอ่ื งที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกจิ บนเสน ทางของเวลา 13
บทที่ 2 การจัดทาํ แผนพฒั นาการตลาด 15
เร่อื งท่ี 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด 16
เรื่องท่ี 2 การกําหนดเปา หมายการตลาด 17
เรื่องท่ี 3 การกาํ หนดกลยทุ ธสูเปา หมาย 19
เรื่องท่ี 4 การวิเคราะหก ลยทุ ธ 20
เรอ่ื งที่ 5 กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด 23
บทท่ี 3 การจดั ทําแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบรกิ าร 25
เรอ่ื งท่ี 1 การกําหนดคณุ ภาพผลผลิตหรือการบรกิ าร 27
เรือ่ งที่ 2 การวเิ คราะหท นุ ปจจัยการผลติ หรือการบรกิ าร 28
เรอ่ื งที่ 3 การกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการบรกิ าร 30
เรอ่ื งที่ 4 การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร 31
เร่อื งที่ 5 การพัฒนาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร 33
บทที่ 4 การพฒั นาธุรกจิ เชงิ รกุ 33
เรื่องท่ี 1 ความจําเปน และคณุ คาของธรุ กิจเชิงรกุ 34
เรื่องท่ี 2 การแทรกความนยิ มเขา สคู วามตอ งการของผูบริโภค
เรื่องท่ี 3 การสรา งรูปลักษณค ณุ ภาพสินคา ใหม
เรอ่ื งท่ี 4 การพฒั นาอาชีพใหม คี วามมน่ั คง

สารบัญ (ตอ ) หนา

บทท่ี 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม อี ยมู กี นิ 38
เร่ืองท่ี 1 การวเิ คราะหความเปน ไปไดข องแผน 39
เรือ่ งที่ 2 การเขียนโครงการพฒั นาอาชีพใหมีอยมู ีกนิ 41
เร่อื งที่ 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดของโครงการ 45
เรอ่ื งที่ 4 การปรับปรงุ แกไ ขโครงการพัฒนาอาชพี 45
47
คณะผจู ดั ทาํ



คําแนะนําการใชห นงั สอื เรยี น

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน (อช11003) ระดับ
ประถมศึกษา เปนหนงั สือเรียนทจี่ ัดทาํ ข้ึน สําหรับผูเ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

ในการศกึ ษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาพฒั นาอาชีพใหมีอยูมีกิน ผูเรียนควร
ปฏบิ ัตดิ ังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเ ขา ใจในหวั ขอ และสาระสําคัญ ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ขอบขาย
เนอื้ หาของรายวิชาโดยละเอียด

2. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหาของแตล ะบทอยา งละเอยี ด และทาํ กจิ กรรมตามท่ีกําหนด ถาผูเรียน
ยงั ไมเ ขา ใจควรกลับไปศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใ หเขาใจ กอ นท่ีจะศึกษาเรื่องตอ ๆ ไป

3. หนังสือเรียนเลมน้ีเนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการเปนสวนใหญ สามารถ
นาํ ไปประยกุ ตใ ชกบั ทกุ อาชีพ

4. หนังสือเลม นีม้ ี 5 บท คอื
บทท่ี 1 ศักยภาพธรุ กจิ
บทที่ 2 การจดั ทําแผนพัฒนาการตลาด
บทท่ี 3 การจัดทําแผนพฒั นาการผลิตหรอื บริการ
บทท่ี 4 การพัฒนาธรุ กจิ เชงิ รกุ
บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหม ีอยมู กี ิน



โครงสรา งรายวชิ าพัฒนาอาชีพใหม ีอยมู ีกิน (อช11003)

ระดบั ประถมศกึ ษา

สาระสาํ คัญ
การพัฒนาอาชพี ใหม อี ยมู กี นิ จําเปนตองมกี ารพัฒนาอยางตอเน่อื ง เพ่อื ใหสามารถเขาสูตลาดที่มี

การแขง ขันได โดยมีการวเิ คราะหศกั ยภาพธรุ กจิ การจัดทาํ แผนพัฒนาการตลาด การทําแผนพฒั นา การผลิต
หรอื การบริการ การพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รุก และสามารถนาํ ความรูด งั กลา วมาจดั ทําโครงการพฒั นาอาชีพใหม ี
อยมู กี นิ
ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง

1. อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชีพใหมีสินคา หรืองานบริการ
สรางรายไดพ อเพียงตอ การดํารงชีวิต

2. วเิ คราะหศ กั ยภาพธุรกิจ การตลาด การผลติ หรือบริการแผนธรุ กิจเพ่อื สรางธรุ กจิ ใหม ีอยูมีกิน
3. ยอมรับและเห็นคุณคาในการพฒั นาอาชพี ใหมีอยูม กี ิน
4. ปฏิบตั ิการทาํ แผนและโครงการพฒั นาอาชีพใหม อี ยูมีกนิ
ขอบขา ยเน้ือหา
บทท่ี 1 ศกั ยภาพธรุ กิจ
บทท่ี 2 การจดั ทําแผนพฒั นาการตลาด
บทที่ 3 การจดั ทําแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบรกิ าร
บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก
บทที่ 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม อี ยมู ีกนิ

1

บทที่ 1
ศกั ยภาพธุรกิจ

สาระสาํ คัญ
ศกั ยภาพธรุ กิจมคี วามสําคัญและความจาํ เปนตอ การพฒั นาอาชพี ใหมอี ยมู กี ิน

ตวั ช้ีวดั
1. อธิบายเก่ียวกบั ความหมาย ความสําคญั ความจําเปน ของการพัฒนาอาชพี เพ่ือมอี ยมู ีกิน
2. อธิบายความจําเปน และคุณคา ของการวิเคราะหศ กั ยภาพธรุ กิจ
3. วิเคราะหตาํ แหนงธรุ กิจ
4. วเิ คราะหศ กั ยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศักยภาพของแตล ะพ้นื ที่

ขอบขายเน้อื หา
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ ความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชพี ใหมอี ยมู ีกิน
เร่อื งท่ี 2 ความจาํ เปนและคุณคาการวเิ คราะหศักยภาพธรุ กิจ
เรือ่ งที่ 3 การวเิ คราะหตําแหนงธรุ กจิ
เร่อื งท่ี 4 การวเิ คราะหศ ักยภาพธรุ กิจบนเสน ทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตละพ้ืนที่

2

เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ความจําเปน ในการพฒั นาอาชีพใหมีอยูมกี ิน
ศักยภาพของธรุ กจิ หมายถงึ ธรุ กิจทีบ่ คุ คลทมี่ คี วามสามารถพฒั นาสินคานน้ั ๆ ใหสามารถอยู

ในตลาดได
การพัฒนา หมายถึง การเปลย่ี นแปลงอยา งมกี ระบวนการโดยมีจุดมุงหมาย
การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชพี ท่มี ีการพฒั นาสินคา หรือผลิตภณั ฑใ หตรงกบั

ความตองการของลกู คา อยูต ลอดเวลา โดยมสี วนครองตลาดไดตามความตองการของผผู ลติ แสดงถึง
ความม่นั คงในอาชพี ซ่งึ ตองขึน้ อยูกับศกั ยภาพของผูผ ลิต

ดงั นั้น การพฒั นาศกั ยภาพมคี วามจําเปนและสาํ คัญมากในการพัฒนาอาชพี หรอื พฒั นาธุรกจิ
โดยการนําเอาความสามารถออกมาใชใ หเ กดิ ประโยชน เพอื่ การประสบผลสาํ เรจ็ อยางงดงาม

การวิเคราะห หมายถึง การแยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเปนสวนยอย ที่มีความสัมพันธกัน
รวมถึงสืบคน หาความสัมพันธน ัน้

ตวั อยาง การวเิ คราะหศกั ยภาพทางธุรกิจของนางสาวมาลี ชอประดิษฐ อาชีพคาขายและรับจาง
ทาํ บายศรี ขนั หมากใบตอง จดั ดอกไมสด และรอยมาลัย โดยเปดแผงรานคาบริเวณมุมตลาดสดประจํา
อาํ เภอ

1. มาลี มใี จรักในงานประดษิ ฐ มจี ิตใจพรอ มบรกิ าร บรกิ ารตรงเวลา
2. มาลี มีฝม ือในการจัดดอกไม เย็บใบตอง ไดประณีตสวยงามและ ออกแบบไดสวยงาม
3. ทําเล ของรานมาลีเปน ยา นการคา จึงมีความเหมาะสม
4. มาลี มมี นษุ ยสมั พันธดี ยม้ิ แยม แจมใส
5. มาลี มคี วามซือ่ สัตยตอการคา ไมเอาเปรียบลูกคา เลือกวัสดุเหมาะสมกบั ราคา
6. มาลี มเี งนิ ทุนสาํ รองหมุนเวียนพอเพียงในการประกอบกจิ การในระดับพออยูพอกิน

3

ใบงานที่ 1
อภิปรายความหมายความสําคญั และความจาํ เปน ในการพฒั นาอาชพี

คาํ ส่ัง ใหผ ูเรยี นรวมกลุม จาํ นวน 3 – 5 คน รว มกันอภปิ รายถงึ ความหมายความสาํ คัญและความจําเปน ใน
การพัฒนาอาชีพ แลว สรุปเปน ความรูลงในแบบบันทึก

.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 2
การวิเคราะหศักยภาพทางธรุ กิจ
คําสัง่ ใหผเู รียนวเิ คราะหศ กั ยภาพทางธรุ กจิ เพอื่ พฒั นาอาชพี ของตนเองหรืออาชพี ทม่ี ีความสนใจ
ดานตา ง ๆ ดังนี้
1. ทําเลที่ตง้ั ........................................................................................................................................
2. ความตรงตอ เวลาในการบรกิ าร......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ความซ่ือสตั ยตอ ลูกคา การเลือกใชว ัสดุที่เหมาะสมกบั ราคา..........................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
4. การพฒั นารปู แบบสินคา
.................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
5. การใชเงนิ ทนุ .................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
6. การพฒั นาทางการตลาด.................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
7. การพัฒนากระบวนการผลติ /หรือการบรกิ าร.................................................................................
.......................................................................................................................................................

4

เรื่องที่ 2 ความจาํ เปน และคุณคาการวเิ คราะหศ กั ยภาพธรุ กจิ
ความจาํ เปนของการวิเคราะหศ กั ยภาพธรุ กจิ มีดังนี้
1. เพอื่ จะไดเ หน็ ทิศทางเชงิ กลยทุ ธของธรุ กิจ
2. เพ่ือสอ่ื ทิศทางของธุรกิจใหบุคคล หรือองคกรจัดสรรเงินทุน เพ่ือการกูยืมหรือรวมลงทุน
และสรางความมน่ั ใจในการประกอบธุรกิจ
3. เพื่อศกึ ษาความเปนไปไดข องโครงการพฒั นาธรุ กิจตนเอง
คณุ คา ของการวเิ คราะหศ ักยภาพธรุ กจิ
1. ผูประกอบการรูจักตนเองสามารถคาดการณทิศทางของอาชีพท้ังปจจุบันและอนาคต
อยางมกี ลยทุ ธ
2. มีทิศทางในการประกอบอาชีพของตนเอง โดยอาศัยการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และ
เปา หมายในการประกอบอาชีพของตน
3. การวางกลยุทธแตละระดับสําหรับผูประกอบการ สถานประกอบการ และเครือขาย
มกี ารแบงบทบาทหนา ทีข่ องผรู ว มงานอยา งชัดเจน
4. การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจทําใหรูจักปจจัยภายนอกและปจจัยภายในที่เก่ียวของกับ
การประกอบอาชีพตนเอง เชน
1. สนิ คา หรอื บริการของตนเองคอื อะไร ตอบสนองลกู คาระดบั ใด
2. สวนแบงการตลาด สนิ คาของคณุ เทยี บไดก ีเ่ ปอรเซน็ ต
3. คณุ คา ของสินคา อาชีพใหป ระโยชนดานใดและ มปี รมิ าณเทา ไร

5

ใบงานท่ี 3
ความจําเปน และคุณคาการวิเคราะหศ กั ยภาพธุรกจิ
คาํ ส่งั ใหผูเรยี นบอกความจาํ เปนและคุณคาของการวิเคราะหศกั ยภาพธรุ กิจทีผ่ ูเรยี นประกอบอยู
ในปจ จุบนั หรืออาชพี ท่ีสนใจ ดังนี้
1. อาชีพของทา นมคี วามสําคญั ตอ ทอ งถ่ินคือ…………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
2. มีทิศทางความกา วหนาอาชีพของตนเองในทองถิ่น…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
3. สนิ คา ของทา นมีสว นแบงการตลาดในทองถ่ินเทาใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
4. จากการวเิ คราะหศกั ยภาพธรุ กจิ อาชพี ของทา น ทา นคดิ วา มีประโยชนตอ การพัฒนาอาชพี ของ
ทา น อยางไร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

6

เรอื่ งท่ี 3 การวิเคราะหตําแหนงธุรกจิ
ตาํ แหนงธรุ กิจ หมายถงึ ระยะเวลาในชวงการประกอบอาชพี หรอื ธรุ กจิ ของผปู ระกอบการแตละ

ระดับข้ันตอนของการดําเนนิ กิจการ แบง เปน 4 ระยะดงั น้ี
1. ระยะเร่ิมตน
2. ระยะสรางตัว
3. ระยะทรงตัว
4. ระยะตกตํา่ หรอื สูงข้ึน

ผูประกอบการตอ งมีความรู และสามารถวเิ คราะหต ําแหนง ธรุ กจิ ในอาชีพของตนเองไดว าอยูใน
ระยะใด ตอ งขยายตัวอีกมากนอ ยเพยี งใด และคแู ขง ขันเกดิ ขึน้ มากหรอื นอย โดยอาศัยขอ มลู การวิเคราะห
ศักยภาพทางธรุ กิจของตนเอง ซึ่งไดอธบิ ายเปน กราฟวเิ คราะหตําแหนงวงจรธรุ กิจไดด ังนี้

มูลคาธุรกจิ 4.1 ธุรกิจกาวหนา จะมีผูคนเขา มา
1. ระยะเรม่ิ ตน 2. ระยะสรางตวั 3. ระยะทรงตวั เรียนรทู าํ ตาม ทาํ ใหเ กดิ วกิ ฤตของ
สวนแบง ทางการตลาด

4.2 ถาไมมีการพัฒนาธุรกิจจะเปนระยะ
ตกตํ่า จําเปนตองขยายขอบขาย จึงมี
ความตองการใชน วตั กรรมเทคโนโลยี
เขา มาใชงาน

4. ระยะสูงขึ้นหรอื ตกต่ํา เวลา

เปน ระยะทอ่ี าชพี ธุรกจิ อยใู นชวงพัฒนาขยายตัว
หรือธุรกจิ อยูใน หรือทรงตวั จะมคี แู ขงจบั ตามอง
ระยะฟก ตวั ของ และพรอมทําตาม
การเขา สอู าชพี
(เริ่มมีคแู ขง ขนั )

กราฟวเิ คราะหต าํ แหนง วงจรธุรกิจ

7

ใบงานท่ี 4
การวเิ คราะหตําแหนง ธรุ กจิ
คาํ สั่ง จงอธิบายถงึ สภาพการประกอบอาชพี ของผเู รยี นวามตี าํ แหนงธุรกจิ อยใู นระยะใด มปี ญหา และ
แนวทางแกไขปญ หาอยา งไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

8

เรื่องท่ี 4 การวิเคราะหศ กั ยภาพธรุ กจิ บนเสนทางของเวลา
เสนทางเวลา หมายถึง วัฏจกั รของการประกอบอาชพี ธุรกจิ สินคาหรอื บริการในชว งระยะเวลา

หนงึ่ ของการดาํ เนินกิจการ
ตวั อยาง ผังการไหลของอาชพี ปลกู ผกั ในพน้ื ท่ี 5 ไร

วางแผน จดั เตรียม เตรียมดิน ปลูกผัก ดูแลรกั ษา เกบ็ ผัก สง
การปลูกผัก ปจจยั ปลูกผัก ตลาด
การปลูกผกั
27 พ.ค. 54 11-14 มิ.ย. 54 15-19 มิ.ย. 54 20 ม.ิ ย. - 22-26 ส.ค. 54 22-26 ส.ค.54
6-10 มิ.ย. 54 20 ส.ค. 54

จากผังการไหลของอาชพี ปลกู ผกั ขางตน เปนกระบวนการปลกู ผัก ซึง่ เปนขัน้ ตอนมกี ารดําเนินงาน
ตามลําดับกอ นหลัง เชน ตอ งมกี ารวางแผนกอนที่จะดําเนินการปลูกผัก และในแตละขั้นตอนตามเสนทาง
ของเวลาในการปลูกผัก เจาของธรุ กิจตอ งวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ ของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนที่ได
เชน

- การวางแผนการปลกู ผกั ผูประกอบการจะสามารถวางแผนการใชทุนไดอยางเหมาะสม เชน
มีการลดตน ทนุ ได สามารถใชทุนอื่นมาทดแทนได

- การปลูกผกั ผปู ระกอบการจดั การปลูกไดร วดเร็วตรงตามแผนทีก่ ําหนดไว มกี ารคิดคนเครือ่ ง-
ทนุ แรงในการปลูกผกั

การวเิ คราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตละพื้นท่ี คือ การแยกแยะ
กระบวนการทางธรุ กจิ ตามเสนทางของเวลา เพื่อวิเคราะหห าศกั ยภาพธรุ กิจของตนเองในแตละชวงของ
การผลิตสินคา ทําใหมองเห็นความกาวหนา ความสําเร็จในแตละภารกิจ ดวยการกําหนดกิจกรรมและ
กาํ กบั เวลาที่ตอ งใชจริง เขียนเนน ถงึ การไหลของงาน เพ่ือเปนการเฝาระวังการดําเนินงาน การจัดทําผัง
การไหลของงานในแตล ะภารกจิ โดยกําหนดกจิ กรรมออกมาจดั ลาํ ดบั ขนั้ ตอนกอนหลงั ดงั นี้

1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตล ะพ้นื ท่ี
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ท่ีเกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ซึ่งมนษุ ยส ามารถนําไปใชใหเกิด

ประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได เชน ในการวางแผนการปลูกผัก มีแหลงน้ํา
เพยี งพอตอระยะเวลาการปลูกผกั ในพ้นื ท่ี 5 ไร หรือไม และความอดุ มสมบูรณของดินมีมากนอยเพียงใด
ซ่ึงจะสงผลตอ การปรบั ปรงุ บาํ รุงดินและการใสปุย

9

2. ศักยภาพของพ้นื ทตี่ ามลักษณะภูมอิ ากาศ
ลักษณะภูมอิ ากาศ หมายถงึ ลกั ษณะอากาศประจําทองถิ่นในชวงระยะเวลาหนึง่ ซ่ึงมอี ิทธิพล

ตอการประกอบอาชีพในแตละพ้ืนท่ี มีสภาพอากาศที่แตกตางกัน สําหรับการปลูกผักจะอาศัยลักษณะ
ภูมิอากาศเขาชว ย การจดั เตรยี มพันธผุ กั ใหเหมาะสมกับฤดูกาล เชน พชื ทปี่ ลูกในฤดูหนาวและพืชที่ปลูก
ในฤดรู อน

3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศ และทําเลท่ตี ง้ั ของแตล ะพืน้ ท่ี
ภมู ิประเทศ หมายถงึ ลักษณะทางกายภาพของแผนดิน ความสูงตํ่า เปนที่ราบลุมหรือราบสูง

ภูเขา แมน ้ํา ทะเล เปนตน ดังนั้น ในการเตรียมดินปลูกผัก จะตองเปนพันธุผักที่เหมาะสมกับที่ราบลุม
หรือภูเขา

4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ติ ของแตละพ้นื ที่
ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง เปนความเช่ือของมนุษย การกระทําที่มีการปฏิบัติ

สบื ทอดกันมาเปน เอกลักษณ ในแตละภาคของประเทศไทยมีศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตการ
เปนอยแู ละการบริโภคท่แี ตกตางกัน การปลูกผักควรปลกู ใหตรงกับความตองการของผูบริโภคและตลาด

5. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตละพนื้ ท่ี
ทรพั ยากรมนุษยในแตละพื้นที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยที่เปนภูมิความรู

ภมู ิปญญา ทัง้ ในอดตี และปจ จุบนั ในแตละภาคของประเทศไทย ในแตล ะทอ งถน่ิ มคี วามถนัด และความ-
ชํานาญในการดแู ลรักษา และการเก็บผักสตู ลาดท่ไี มเ หมือนกนั สงผลใหผลผลิตและรายไดทีต่ างกัน

.

10

ใบงานที่ 5
การวเิ คราะหศ ักยภาพธรุ กจิ บนเสน ทางของเวลาตามศักยภาพของแตละพนื้ ท่ี

คําสงั่ จงอธบิ ายตามหัวขอ ดงั นี้
1. ใหผ ูเรยี นจดั ทําผังการไหลในอาชีพที่ประกอบการอยูหรืออาชีพที่สนใจ แลววิเคราะหแ ตละ
ข้นั ตอนของการประกอบอาชพี วาจะทาํ อยางไรใหธ รุ กิจมศี กั ยภาพ

2. การวเิ คราะหศกั ยภาพธุรกจิ บนเสนทางของเวลาตามศกั ยภาพของแตละพืน้ ที่

ที่ ขน้ั ตอนการปลกู ผกั ผลการวิเคราะหศ กั ยภาพท้ัง 5 ศักยภาพ

11

บทท่ี 2
การจัดทาํ แผนพฒั นาการตลาด
สาระสําคัญ
การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดเพ่ือใหสามารถแขงขันได โดยการกําหนดเปาหมายและกลยุทธ
ตาง ๆ เพ่ือใหบ รรลุเปาหมายทางการตลาดท่กี าํ หนดไว
ตวั ชีว้ ดั
1. อธิบายการกําหนดทศิ ทางการตลาด
2. อธบิ ายการกําหนดเปา หมายการตลาด
3. อธบิ ายการกําหนดกลยุทธสูเปา หมาย
4. สามารถวิเคราะหกลยทุ ธ
5. อธิบายการกําหนดกจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด
ขอบขา ยเนื้อหา
เรือ่ งท่ี 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด
เรื่องท่ี 2 การกําหนดเปา หมายการตลาด
เรือ่ งท่ี 3 การกาํ หนดกลยทุ ธส ูเปาหมาย
เร่ืองที่ 4 การวิเคราะหกลยทุ ธ
เร่อื งท่ี 5 กาํ หนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

12

เร่ืองที่ 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด
การกําหนดทศิ ทางการตลาดประกอบดว ยองคป ระกอบทีส่ ําคัญ 3 สว น ดังน้ี
1. ผูผ ลติ เนอื่ งจากปจ จุบันมีการแขง ขนั ในตลาดการคาสูงมาก ไมวาจะเปนสินคาในรูปลักษณใด

ประโยชนใชสอยอยางไร ราคาสินคา และกําลังซื้อของผูบริโภคเปนตัวปจจัยในการกําหนดทิศทาง
การตลาดนอกเหนือจากการใชวิธีการสงเสริมการตลาด เชน การลดราคา การแถม การแจก การแลก
ผผู ลิตจาํ เปน ตอ งศกึ ษาพัฒนาสินคาใหไ ดตรงกบั ความตอ งการของผูบรโิ ภค

2. สินคา หรือการบริการ ตัวสินคาหรือรูปแบบการใหบริการแกลูกคา มีความจําเปนอยางย่ิงที่
จะตอ งมีการพัฒนาตลอดเวลา เพือ่ ใหท นั สมัย ทันตอความตอ งการของลกู คา

3. ผบู รโิ ภคหรอื ผรู บั บริการ สินคาจะครองอยูในตลาดไดขึ้นอยูกับคุณภาพของสินคาสามารถ
ผลิตตรงกบั ความตอ งการของผูบริโภค จํานวนสินคา เพ่ิมขน้ึ หรือลดลง สามารถพิจารณาไดจากจํานวน
ความตองการของผูบริโภค หรือจํานวนยอดการสั่งสินคา ถายอดการส่ังสินคาลดลงก็แสดงใหเห็นวา
แนวโนมความนิยมของผูบริโภคลดลง ซึ่งสาเหตุมาจากมีผูแขงขันมากข้ึน ทําใหสวนแบงการตลาด
มแี นวโนมลดลง

ดังนั้น ผูผลิตก็จะตองพิจารณาวาในปจจุบันความตองการสินคาชนิดนั้น ๆ เปล่ียนแปลงไป
ในทางใด เชน

1. รูปลกั ษณสนิ คา ลาสมยั ไมเ ปนท่ถี ูกใจของลูกคา
2. ผลติ ภัณฑใชประโยชนไ ดนอ ย เชน แชมพสู ระผมของย่ีหออ่ืนใชไดท้ังสระผมและนวดผม
ซ่ึงดีกวา ของเราใชส ระผมไดอยา งเดียว
3. สินคา ชนดิ อืน่ ๆ ประหยดั เวลาไดด ีกวา เชน กาตมน้ําไฟฟา ย่หี อ A ใชเ วลานอยกวา ยห่ี อ B
4. สนิ คาอื่น ๆ สามารถหาซือ้ ไดสะดวกกวา เพราะสินคาน้นั วางขายตามรานสะดวกซ้ือที่มีอยู
ทว่ั ไป
5. กลมุ ผูซื้อสนิ คาของเราแคบไปไหม ควรจะขยายไปยงั กลมุ อื่น ๆ อกี หรอื ไม
ในเรือ่ งนผี้ ูเรยี นจะตอ งสรปุ ใหไดว าสนิ คา ของเรามียอดขายคงเดมิ ลดลง หรือเพ่ิมข้ึน แลวศึกษา
วเิ คราะหค วามตองการของลูกคา ตัวอยางเชน เกษตรกรมอี าชพี ปลกู ผกั ขายในหมบู า น แตความนิยมของ
ลกู คา เปลย่ี นไป เชน ตองการดแู ลสุขภาพใหปลอดภัยจากสารเคมี นอกจากน้จี ะตองพิจารณาถึงประเด็นอื่น
อกี ตอไปนี้

1. ตลาดตอ งการซอ้ื ผักทป่ี ลอดสารเคมี
2. กลุมลกู คา ตอ งการซอ้ื ผกั ปลอดสารเคมีเพอื่ สขุ ภาพ
3. ผซู ้อื สวนใหญเปนบุคคลที่มฐี านะเน่อื งจากผักปลอดสารเคมจี ะมีราคาแพง
4. สถานท่ีซอื้ ควรจะอยูในเมอื งใหญแ ละสามารถกระจายจดุ ขายไดหลาย ๆ จุด
5. ซ้อื อยา งไรจึงจะสามารถซือ้ รบั ประทานไดท กุ วนั

13

สรุปไดว า จะปรับลักษณะของสินคาหรือบริการอยางไรตองพิจารณาถึงเหตุผลในการซ้ือของ
ผูบริโภค กลุมลูกคาเปนใครบาง มีกําลังซ้ือมากนอยเพียงใด ผูซื้อสะดวกซื้อที่ใดและขั้นตอนการซื้อ
ไมค วรยุงยาก แลว นําขอ มลู มาวิเคราะหว าสินคา หรอื งานบรกิ ารจะมีสว นแบง การตลาดมากนอยเพียงใด
แลวกําหนดเปาหมายการตลาด สว นแบง การตลาดก็คือ สินคา ของเราเปน สวนหนึง่ ของตลาดสินคาชนิดน้นั

เร่ืองท่ี 2 การกาํ หนดเปาหมายการตลาด
การกําหนดเปาหมายการตลาด หมายถึง ตามทิศทางการผลิตสินคาหรืองานบริการ

การกาํ หนดเปาหมายทม่ี ีความเปนไปได เชน การเพม่ิ สนิ คา สตู ลาดอกี 25 %
การกาํ หนดเปาหมายการตลาด มอี งคป ระกอบสําคัญท่จี ะทําใหบรรลเุ ปาหมายการตลาด

อยู 2 ประการ คอื
1. กลยุทธส ูเปาหมาย
2. แผนพัฒนาการตลาด
ซง่ึ องคประกอบทัง้ 2 ดา นนี้จะตอ งมคี วามเชอ่ื มโยงซึ่งกนั และกนั เปนไปตามเปาหมาย

การตลาด ดังแผนภูมขิ า งลางนี้

เปา หมายการตลาด กลยทุ ธส ูเปา หมาย แผนการพฒั นา
การตลาด

14

ใบงานที่ 1
การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด

คาํ สง่ั ใหผ เู รียนรวมกลมุ กัน 5 คน กําหนดทิศทางการตลาดในสินคาของตนเองหรือสินคาที่สนใจเพ่ือ
พัฒนาใหตรงกบั ความตอ งการของตลาด
1. ศกึ ษาความตอ งการของตลาดเพอ่ื กําหนดทศิ ทางในการผลติ สนิ คา หรอื บรกิ าร
1.1 สินคา หรือบริการ คือ...............................................................................................
1.2 ลูกคา ซื้อไปทาํ อะไร.................................................................................................
1.3 กลุมลกู คา เปน ใคร...................................................................................................
1.4 ลกู คา จะซอื้ อยา งไร..................................................................................................
1.5 ลกู คาใชส ินคาเม่ือไร................................................................................................
1.6 ซ้อื สินคา ไดทใี่ ด......................................................................................................
2. เม่ือศกึ ษาทิศทางการตลาดแลวใหกาํ หนดเปาหมายการตลาดในการผลิตสินคา

แบบบันทกึ
สมาชกิ กลมุ 1........................................................................................................................................

2........................................................................................................................................
3........................................................................................................................................
4........................................................................................................................................
5........................................................................................................................................
ทิศทางการตลาด..........................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
เปา หมายการตลาด.......................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

15

เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดกลยทุ ธสเู ปาหมาย
การกาํ หนดกลยุทธ
กลยทุ ธ เปนการหาวิธีการท่จี ะทาํ ใหจ ํานวนลกู คาทีม่ อี ยูกอนแลวเพ่ิมจํานวนซื้อใหมากกวาเดิม

โดยการวเิ คราะหป จจัยตา ง ๆ ที่เกยี่ วของกับการขายสินคาใหกลุมลูกคาเปาหมายท่ีมีศักยภาพในการซื้อ
มาใชเ ปน บรรทัดฐานในการกาํ หนดวธิ ีการเพมิ่ ปรมิ าณลูกคา หรอื เพม่ิ ยอดขาย ดังน้นั การวางแผนกลยุทธ
จะมีประโยชนตอ การพัฒนาตลาด ดงั นี้

1. เปนการขยายปริมาณลกู คาไดอยางชัดเจน
2. นําไปจัดทําแผนใหเหมาะสมกับเวลาและเปนการจดั ลําดับงานทป่ี ฏิบตั ิได
3. สามารถทําใหบ รรลุผลการขายตามเปา หมายที่ไดก ําหนดไว
กลยุทธ จะตอ งเก่ยี วขอ งกับสินคาหรืองานบริการชนิดน้ันวา มี “จุดขาย” หรือ “จุดครองใจ” ผูบริโภค
อยา งไรบาง โดยปกติแลว ผลิตภัณฑแ ตล ะอยางมักจะมจี ุดขายหรือจุดเดนแตกตางกัน ผูผลิตจึงควรเลือก
จุดครองใจหรอื จดุ เดนท่สี ุดของสินคา ทค่ี วรยกขึน้ มาใชสงเสริมการขาย เปนจุดที่ใชยํ้าในการขายสินคา
จากการโฆษณาหรอื การประชาสัมพนั ธอ่นื ๆ เพื่อใหสินคา น้นั อยใู นใจของผบู ริโภคตลอดกาล
การกาํ หนดกลยุทธ ควรคํานงึ ถงึ ส่ิงตา ง ๆ ดงั น้ี

1. ลงทุนตาํ่ ท่ีสดุ มีความเปน ไปไดท างการเงิน
2. ทําในสิง่ ที่ทําไดดี ซ่งึ มคี วามเปนไปไดในการผลิต
3. ทาํ จํานวนนอ ยแลวคอยเพิ่มไปสูจ ํานวนมาก
4. เพมิ่ ธรุ กิจทม่ี ีความเปนไปไดใ นระยะยาว
การกําหนดกลยุทธจะตองสอดคลองกับเปาหมายการตลาด เชน พัฒนาสินคาอีก 25% โดย
วเิ คราะหเปาหมายการตลาดกลยทุ ธการตลาดได เชน
1. ปลูกผักปลอดสารเคมี
2. ประชาสัมพนั ธใหผูบรโิ ภครจู ักสินคา หรือบรกิ ารดวยวธิ กี ารที่หลากหลาย
3. เพ่ิมจดุ ขายใหมากกวาเดิมอกี 20 จดุ โดยเฉพาะในเมืองทผ่ี ูบริโภคมกี าํ ลงั ซอื้
4. ในการผลติ ผกั ปลอดสารเคมคี วรมีการรวมกลุมกนั ผลติ เพ่อื ใหมีผักขายไดอยา งตอ เนอ่ื ง
และมชี นดิ ของผักหลากหลาย

16

เรอื่ งที่ 4 การวิเคราะหกลยุทธ
การวเิ คราะหก ลยุทธเปนกระบวนการคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบ เพ่ือยกระดับความรใู หสูงขนึ้

ใหสอดคลองกับสภาพการเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกจิ สังคมท่ีมีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็
การวิเคราะหกลยทุ ธมีกรอบแนวคดิ ดังนี้

ภารกจิ กิจกรรม เทคนคิ สารสนเทศ
ข้ันตอน วธิ ีการ ความรู
ของระบบ
ท่ีจําเปน
การทาํ งาน

ใบงานท่ี 2
การกาํ หนดกลยทุ ธส ูเปา หมาย

คําส่ัง ใหผูเรียนรวมกลุมกันกําหนดกลยุทธ แลววิเคราะหกลยุทธใหสอดคลองกับเปาหมายการตลาด
ทไ่ี ดก าํ หนดไว
1. กลยุทธการตลาดมอี ะไรบา ง

.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

2. มีกระบวนการวิเคราะหกลยทุ ธอยางไร
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

17

เรื่องท่ี 5 กิจกรรมและแผนพัฒนาการตลาด
การตลาด เปนกจิ กรรมทางการตลาด เร่ิมต้ังแตการวางแผนไปสูการตลาด ท่ีมีความเหมาะสม

และสอดคลองกบั ความตอ งการของลูกคา ซง่ึ องคป ระกอบของตลาดประกอบดวย ผลิตภัณฑ ราคา และ
การจําหนาย

การพฒั นาการตลาด เปนกระบวนการพฒั นาตลาดของสินคาหรือบริการใหยอดขายคงอยูหรือ
มากข้ึนกวา เดิม การกาํ หนดกลยทุ ธท ่ีมีความเปนไปไดใ นแตละกลยุทธจ ะตอ งกาํ หนดกิจกรรมและจัดทํา
แผนพฒั นาการตลาด

กลยุทธ ดานการประชาสัมพันธใหผูบริโภครูจักสินคาหรือบริการดวยวิธีการที่หลากหลาย
จะตอ งกําหนดวามีกจิ กรรมอะไรบา ง เชน การประชาสัมพนั ธโดยใชว ิธกี ารหลากหลาย เชน การโฆษณา
ในทีวี การแจกตวั อยางสินคาใหล ูกคากลุม เปา หมายทดลองใช การทําแผนปลวิ แจก สามารถนํากิจกรรม
เหลา นม้ี าวางแผนการตลาดเพอื่ ใหผ ผู ลิตสามารถควบคมุ กระบวนการการพฒั นาการตลาดได

ใบงานที่ 3
กจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด

คําส่ัง ใหผ เู รียนรวมกลมุ กนั กําหนดกจิ กรรมและวางแผนการตลาดตามกลยุทธท่ีกําหนด แลวบันทึกลง

ในแบบบนั ทึก

กลยทุ ธที่ 1 ประกอบดวยกิจกรรม

1.....................................................................................................................................................

2.....................................................................................................................................................

3.....................................................................................................................................................

กลยุทธที่ 2 ประกอบดว ย

1.....................................................................................................................................................

2.....................................................................................................................................................

3.....................................................................................................................................................

แผนการพฒั นาการตลาด

กลยุทธ กิจกรรม แผนการพัฒนาการตลาดป............

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

18

ใบงานท่ี 4
กิจกรรมและแผนพัฒนาการตลาด
คาํ ส่ัง ใหผ เู รยี นนาํ แผนการพัฒนาการตลาดของกลุม ที่ไดจากใบงานท่ี 3 ไปใหผูรูพิจารณาความเปนไปได
ของแผนแลวจดบนั ทกึ การแสดงความคดิ เหน็ ของผรู ู และกําหนดแนวทางแกไ ข

สรปุ ความคดิ เห็นจากผูรู
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
แนวทางการแกไ ขแผนการพัฒนาการตลาดของกลุมตามความคดิ เหน็ ของผรู ู
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

19

บทที่ 3
การจัดทําแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบรกิ าร

สาระสาํ คญั
การประกอบการธรุ กิจ ไมว า จะเปนธรุ กจิ ที่เนนในการผลติ ผลผลติ หรือการบรกิ ารตา งมีปจจัยที่

จะสง ผลตอ การดาํ เนินงานใหด ํารงอยไู ด ไดแ ก คุณภาพ ทุนปจจยั เปา หมาย แผนกิจกรรมและการพฒั นา
ระบบการผลติ หรือการบรกิ าร
ตัวชีว้ ดั

1. อธิบายการกาํ หนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบรกิ าร
2. สามารถวเิ คราะหท ุนปจจัยการผลติ หรือการบริการ
3. อธบิ ายการกาํ หนดเปาหมายการผลิตหรอื การบริการ
4. อธิบายการกําหนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรอื การบริการ
5. อธบิ ายการพฒั นาระบบการผลิตหรือการบรกิ าร
ขอบขายเนือ้ หา
เรือ่ งที่ 1 การกาํ หนดคุณภาพผลผลติ หรือการบริการ
เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหทุนปจ จัยการผลิตหรือการบริการ
เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดเปา หมายการผลิตหรือการบรกิ าร
เรอ่ื งท่ี 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลติ หรอื การบริการ
เร่ืองที่ 5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ

20

เร่อื งที่ 1 การกําหนดคณุ ภาพผลผลติ หรอื การบรกิ าร
การดาํ รงชีวติ ของมนุษยท่มี คี วามสุข ตอ งดาํ เนนิ ไปใหส อดคลอ งกับธรรมชาติ มนุษยตองมีงานทํา

หรือ มีอาชพี มหี นาท่ีทต่ี อ งปฏิบตั ิ ไมวา จะเปนงานอาชีพในลักษณะการผลิตหรือการใหบริการ เพ่ือให
เกิดการหมนุ เวียนทางเศรษฐกิจทงั้ ในระดับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และประเทศชาติ

ลักษณะการประกอบอาชีพ แบงได 2 ลกั ษณะใหญ ๆ ดังน้ี
1. ลักษณะงานอาชพี ในการผลติ
2. ลกั ษณะงานอาชีพ การใหบ รกิ าร
1. ลักษณะงานอาชีพในการผลิต งานอาชีพในการผลิตน้ัน มีอยูท้ังในภาคเกษตรกรรม และ
ภาคอตุ สาหกรรม

ภาคเกษตรกรรม ไดแก
- เกษตรกรที่ประกอบอาชพี ทํานา ผลผลิต ไดแก ขาว
- เกษตรกรท่ีประกอบอาชพี ทาํ สวนผลไม ไดแก สวนสม สวนมะปราง
- ชาวประมงทีป่ ระกอบอาชีพจับสตั วน ้าํ ผลผลิต ไดแก สัตวน ้ําทจี่ ับมาได เชน กงุ ปลา
ภาคอุตสาหกรรม ไดแก

- ผูป ระกอบอาชพี ตดั เย็บเสื้อผา สาํ เร็จรปู ผลผลติ ไดแก เส้ือผาสาํ เร็จรูป
- ผูป ระกอบอาชพี ผลิตโทรศัพทม ือถือ ผลผลติ ไดแ ก โทรศพั ทม อื ถอื
- ผูประกอบอาชีพผลติ รถยนต ผลผลติ ไดแก รถยนต
สรปุ ไดว า การผลิตหมายถงึ การสรางสรรคหรือการแปรสภาพส่ิงหน่ึงส่ิงใด ใหเปนสินคา
ออกมาเพอื่ จําหนาย
การผลิตที่ดตี องใหต รงกบั ความตอ งการของผูใชหรอื ผซู ื้อใหมากที่สุดนั้น ผูผลิตตองมี
คณุ ลักษณะทดี่ ีตอกระบวนการผลติ ดว ย ไดแก
1. ซอื่ สัตยตอ ผูบรโิ ภค
2. รกั ษาคุณภาพของผลผลิตใหค งทแี่ ละปรับปรุงใหดขี น้ึ
3. ไมปลอมปนผลผลิต
4. ลดตนทุนการผลติ
5. ยน ระยะเวลาในการผลติ
6. มคี วามรู ความชาํ นาญในงานอาชพี ท่ีดําเนนิ การเปนอยา งดี
7. ใชวสั ดุท่มี ีคณุ ภาพ
8. สินคาใชง านไดสะดวก
9. มคี วามคิดริเร่มิ และมีมนุษยส มั พนั ธท่ีดี

21

2. ลักษณะงานอาชีพการใหบ ริการ
การบรกิ ารเปนกจิ กรรมหรือการกระทําที่ผูใ หบ รกิ ารทาํ ขึน้ เพื่อสงมอบการบรกิ ารใหแก ผูรับบริการ
การบรกิ ารจะเกิดขน้ึ โดยทนั ที เมือ่ ผูร บั บริการมีความตองการรับบริการ
ในการบริการนน้ั ผรู บั บรกิ ารจะใหค วามสําคญั กบั “กจิ กรรม” หรอื “กระบวนการบริการ” ของ
ผูใหบ รกิ ารมากกวาสง่ิ อ่ืน และจะรบั รูไดด วยความรสู ึกทางใจ หรอื เรยี กวา “ความประทับใจ” โดยความ
ประทับใจจะเกิดขนึ้ ในขณะที่ผรู ับบรกิ ารสัมผสั ไดก ับการไดร ับบรกิ ารนนั้ ๆ
คุณภาพของการบรกิ าร จะเกิดขึ้นขณะที่ผูรับบริการไดสัมผัสหรือรับการบริการ โดยสามารถ
กําหนดคุณลกั ษณะคุณภาพการบริการที่ดไี ด 7 ประการ ดังน้ี
1. การยิ้มแยม เอาใจใส เห็นอกเหน็ ใจตอความลาํ บากยุงยากของลูกคา
2. การตอบสนองตอ ความประสงคของลกู คาอยา งรวดเรว็ ทันใจ
3. การแสดงออกถงึ ความนบั ถอื ใหเกยี รติลูกคา
4. การบริการเปน แบบสมคั รใจและเตม็ ใจทาํ
5. การแสดงออกถงึ การรกั ษาภาพลกั ษณของการใหบ รกิ าร
6. การบรกิ ารเปนไปดวยกิริยาทสี่ ุภาพ และมมี ารยาทดี ออ นนอมถอมตน
7. การบริการมีความกระฉับกระเฉง กระตอื รือรน
การบริการ จงึ มีความแตกตางจากสินคาหรอื ผลิตภณั ฑอยางมาก โดยเฉพาะในสวนท่ีเกี่ยวของ
กบั การบรโิ ภค แตท ัง้ น้ใี นลักษณะงานอาชีพดานการบริโภค จะมีลักษณะงานอาชีพรวมกันท้ังการผลิต
และการบริการ เชน ผปู ระกอบการอาชพี รา นอาหาร ตองมผี ลผลิต เชน อาหารประเภทตาง ๆ ควบคูกับ
การใหบ ริการเสิรฟ อาหาร เปน ตน

22

ใบงานที่ 1
การกาํ หนดคุณภาพผลผลติ หรือการบริการ

คาํ สงั่ ใหผ เู รียนเขยี นบรรยายขอ มูลเก่ียวกบั การกําหนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื บรกิ าร ในงานอาชพี ทผี่ เู รียน
ดําเนนิ การเองหรอื อาชีพทส่ี นใจ ทผี่ ลติ หรอื การบรกิ ารนน้ั มกี ารดาํ เนนิ งานทม่ี คี ุณภาพเปน
อยา งไร
1. ลกั ษณะงานอาชพี ……………………………………………………………………………...
2. ประเภทของผลผลิตหรอื การบรกิ าร…………………………………………………………...
3. ชือ่ เจา ของธุรกจิ ………………………………………………………………………………..
4. ทต่ี ้ังของธุรกจิ …………………………………………………………………………………
5. คณุ ภาพของการผลิตหรือการบรกิ ารทป่ี รากฏ ไดแก
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

23

เรื่องท่ี 2 การวเิ คราะหทุนปจจยั การผลติ หรือการบริการ
ทุน หมายถึง ปจจัยการผลิตรวมถึงเงินลงทุนดวยทุนถือวาเปนปจจัยสําคัญในการประกอบ

กิจการธรุ กจิ ใหดาํ เนนิ งานไปอยางมปี ระสิทธิภาพ และมคี วามเจริญเตบิ โตทางธุรกิจ
ตน ทุนการผลิต หมายถงึ ทุน ในการดําเนินธุรกจิ แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื
1. ทุนคงที่ คือ ทุนท่ีผูประกอบการธุรกิจจัดหามา เชน ดอกเบี้ยเงินกู ที่ดิน อาคาร

เครือ่ งจกั ร เปน ตน ทุนคงท่ี สามารถแบงได 2 ลักษณะ คือ
1) ทุนคงที่ท่ีเปนเงินสด เปนจํานวนเงินที่ตองจายเปนคาดอกเบ้ียเงินกู เพ่ือ

นํามาใชในการดาํ เนินงานธุรกิจ
2) ทนุ คงทีท่ ่ไี มเ ปนเงินสดไดแ ก พน้ื ท่ี อาคารสถานที่ โรงเรอื น คา เสื่อมราคาของ

เครอ่ื งจักร เปน ตน
2. ทนุ หมนุ เวยี น คือ ทนุ ที่ใชใ นการดําเนินธุรกิจเปนคร้ังคราว เชน วัตถุดิบในการผลิต

หรือการบรกิ าร วัสดุสิ้นเปลือง คาแรงงาน คาขนสง คาไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ทุนหมุนเวียน แบง
ออกเปน 2 ลักษณะ คอื

1. คา วัสดอุ ุปกรณใ นการประกอบอาชีพ ดังน้ี
1.1) วสั ดุ อปุ กรณในกลมุ การผลิต เชน คาปุย คาพันธุพืช คาพันธุสัตว คาน้ํามัน

เปน ตน
1.2) วสั ดุ อุปกรณอาชพี ในกลมุ บรกิ าร เชน คา ผงซกั ฟอก คานํา้ ยาซกั ผา เปนตน

2. คาจางแรงงานเปน คาจางแรงงานในการผลิตหรือบรกิ ารเชน คา แรงงานในการไถดิน
คา จา งลูกจางในรา นอาหาร

3. คาเชาท่ดี นิ /สถานท่ี เปน คาเชา ท่ีดนิ /สถานท่ีในการประกอบธุรกิจ
4. คา ใชจายอน่ื ๆ เปน คาใชจ ายในกรณอี ื่นทีน่ อกเหนอื จากรายการจา ยตามขอ 1.1) - 1.2)
5. คาแรงงานในครัวเรือนสวนใหญ ในการประกอบการธุรกิจจะไมนํามาคิดเปน
ตน ทนุ จงึ ไมท ราบขอ มลู การลงทุนที่ชัดเจน โดยการคดิ คา แรงในครัวเรอื น กาํ หนดคิดในอัตราคาแรงข้ันตํ่า
ของทองถ่นิ น้ัน ๆ
6. คา เสียโอกาสทด่ี ิน กรณีเจาของธุรกิจมีท่ีดินเปนของตนเอง การคิดตนทุนใหคิด
ตามอตั ราคาเชา ที่ดนิ ในทองถิน่ หรอื บรเิ วณใกลเคยี ง
ในการดาํ เนินธุรกิจ การบริหารเงินทุน หรอื ดานการเงิน น้ัน เปนสิ่งท่ีผูประกอบการธุรกิจตอง
ใหความสาํ คัญเปนอยา งมาก เพราะมีผลตอความมั่นคงของธุรกิจวาจะกาวหนาหรือลมเหลว ดังนั้น การใช
ทุนตอ งวเิ คราะห เชน ความคมุ ทนุ ความปลอดภยั ความแข็งแรง ความทนทาน ประโยชนในการใชงาน
ความสะดวก ความเหมาะสม

24

ใบงานท่ี 2
การวเิ คราะหท ุนปจจยั การผลติ หรอื การบริการ

คาํ ส่ัง ใหผเู รียนรว มกนั กาํ หนดทุนและวเิ คราะหท นุ ในงานอาชพี ท่ผี ูเรียนดําเนินการหรืออาชีพท่ีสนใจ

ในการดําเนนิ การพฒั นาอาชีพในรอบ 6 เดอื น วามีอะไรบาง และเหตผุ ลการใชทุน

ทนุ คงท/่ี ทนุ หมนุ เวยี น เหตุผลในการใชท ุนเพอ่ื พฒั นาอาชีพ

รายการ จํานวน

25

เรอ่ื งท่ี 3 การกําหนดเปา หมายการผลิตหรอื การบรกิ าร
เปา หมายการผลิตหรือการบริการ เปนเสมือนธงท่ีผูประกอบการธุรกิจมุงท่ีจะไปใหถึง ทําให

เกิดผลลพั ธตามทต่ี อ งการดวยวิธกี ารตาง ๆ เปา หมาย จงึ เปนตัวบง ช้ีปริมาณท่ีจะตองผลิตหรือบริการใหได
ตามระยะเวลาทีก่ าํ หนดดวยความพงึ พอใจของลูกคา

ปจจยั ทสี่ ง ผลใหก ารดําเนนิ งานธุรกิจไมวาจะเปน ธุรกิจประเภทใด ใหป ระสบความสาํ เรจ็ ไดน้ัน
ตอ งประกอบดวยปจจยั ตอ ไปน้ี

1. การกาํ หนดกลุมลูกคาเปา หมายใหชดั เจน
2. เสริมสรา งสวนประสมทางการตลาด
3. คาํ นงึ ถงึ สภาวะแวดลอมท่คี วบคุมไมไ ด
4. สามารถตอบคาํ ถามเกี่ยวกับลูกคา และผลผลติ หรือการบริการตอไปน้ีไดท กุ ขอ
ในสวนของลูกคา ประกอบดวย
1. ใครคอื กลุม ลูกคาเปาหมายสาํ หรบั ผลผลติ ที่ผลิตขนึ้ หรือการบรกิ าร
2. ลูกคา เปา หมายดังกลาวอยู ณ ที่ใด
3. ในปจจุบนั ลกู คา เหลา นีซ้ ้อื ผลผลติ หรือการบรกิ ารไดจากทใี่ ด
4. ลูกคา ซ้ือผลผลติ หรอื การบริการบอยแคไ หน
5. อะไรคอื สิ่งจงู ใจท่ที าํ ใหล ูกคาเหลานัน้ ตดั สินใจใชบรกิ าร
6. ลูกคา ใชอะไร หรือทําไมลกู คาถึงใชสินคาหรือบรกิ ารของเรา
7. ลูกคาเหลาน้ันชอบและไมช อบผลผลิตหรือบริการอะไรท่เี รามอี ยบู าง
ในสว นของผลผลติ หรอื การบรกิ าร ประกอบดว ย
1. ลกู คาตองการผลผลิตหรือบรกิ ารอะไร
2. ลกู คาอยากจะใหมผี ลผลิตหรือบริการในเวลาใด
3. เฉพาะการบรกิ าร ควรต้ังช่ือวา อะไร เพ่ือเปน สง่ิ ดึงดูดใจไดม ากทสี่ ุด
นอกจากขอ มูลดานลูกคา ดา นผลผลิตหรือบรกิ ารแลว ในการกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการ
บริการใหสอดคลอ งกบั ความเปนจรงิ และความเปน ไปได ผูป ระกอบการธุรกิจตอ งคํานึงและพิจารณาถึง
องคป ระกอบดา นผูป ระกอบการธุรกจิ ทเี่ กย่ี วของตา ง ๆ ดว ย
องคป ระกอบดานผปู ระกอบการธุรกิจท่ีตอ งพิจารณาประเดน็ สาํ คัญ ๆ ดังนี้
1. แรงงานตองใชแ รงงานมากนอ ยเทาไรปจ จบุ นั มแี รงงานเพียงพอตอการดําเนินงาน เพอ่ื ไปสู
เปา หมายไดห รอื ไม ถาไมเ พยี งพอจะทําอยา งไร
2. เงนิ ทนุ ตอ งใชเงนิ ทนุ มากนอยเพยี งไรปจจุบันมีเงินทนุ เพียงพอตอ การดาํ เนนิ งาน เพอื่ ไปสู
เปา หมายไดหรือไม ถา ไมเ พียงพอจะทําอยางไร
3. เคร่อื งมอื /อุปกรณ ตอ งใชเคร่อื งมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรือไม ถาไม
เพยี งพอจะทําอยา งไร

26

4. วตั ถดุ บิ เปน ส่งิ สําคญั มากขาดไมไ ด เพราะไมว าจะเปนการดาํ เนินธุรกิจในดานการผลิต
หรอื การบริการก็ตองใชวตั ถดุ บิ เปนวตั ถุในการดาํ เนนิ งานท้ังส้นิ ผูผลิตจะตองพิจารณาวาจะจัดหาจัดซื้อ
วัตถดุ ิบจากท่ใี ด ราคาเทาไร จะหาไดจากแหลง ไหน และโดยวธิ ีใด

5. สถานที่ หากเปนธรุ กิจดา นการผลติ ตองกําหนดสถานท่ีทใี่ กลแ หลงวัตถดุ บิ ถาเปน ธรุ กิจ
ดา นการบรกิ าร ตองจัดสถานทใ่ี หมคี วามเหมาะสม สะอาด และเดนิ ทางสะดวก เปนหลกั

ใบงานท่ี 3
การกาํ หนดเปาหมายการผลติ หรอื การบรกิ าร

คาํ สัง่ เมือ่ ผูเ รยี นผานการเรยี นเกี่ยวกับการกาํ หนดคณุ ภาพการผลิตหรือการบริการ ใหวิเคราะหทุนท่ีจะ
ใชก าํ หนดเปา หมายการผลิตหรอื การบริการในอาชีพท่ีผูเรียนดําเนินการเองหรืออาชีพที่สนใจวา
มรี ายละเอียดและกาํ หนดเปาหมายการผลติ หรอื การบรกิ าร อยา งไร
1. ลักษณะงานอาชีพ…………………………………….………………………………………
2. ประเภทของผลผลิตหรอื การบรกิ าร…………………………………………………………..
3. ชื่อเจาของธรุ กิจ………………………………………………………………………………
4. ทีต่ งั้ ของธุรกิจ………………………………………………………………………………..
5. เปา หมายการผลิตหรือการบริการ……………………………………………………………
6. เหตุผลในการกาํ หนดเปา หมายการผลติ หรือการบรกิ าร เพราะ
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

27

เรอ่ื งที่ 4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลติ หรอื การบริการ
การกาํ หนดกจิ กรรมการผลิตหรอื การบริการ ดวยการกําหนดข้ันตอนการประกอบธุรกิจเปนสิ่งที่

สําคัญยิ่งตอการประกอบอาชีพ เพราะเปนการกําหนดเปาหมายในส่ิงที่ตองการใหเกิดรายละเอียดที่ตอง
ปฏิบัติ ผา นกระบวนการตัดสนิ ใจอยางมีระบบและขอ มูล เพื่อใหเ กิดผลการปฏบิ ัติบรรลผุ ลตามเปาหมาย
ท่กี าํ หนดไว โดยมีข้ันตอนการกาํ หนดแผนกิจกรรมการผลิตหรอื การบริการ ดังนี้

1. ตรวจสอบตวั เองเพ่อื ใหร ถู ึงสถานภาพในปจจุบนั ของงานอาชพี เปน การตรวจสอบขอมูลธรุ กิจ
ของผูประกอบการธรุ กิจเกย่ี วกับแรงงาน เงนิ ทุน เครือ่ งมือ/อุปกรณ วตั ถดุ บิ และสถานท่ีวามีสภาพความพรอม
หรอื มีปญหาอยางไร รวมถึงผลผลติ หรือบริการของผูประกอบการธรุ กจิ วา มอี ะไรบกพรองหรอื ไม

2. สาํ รวจสภาพแวดลอ ม เปน การตรวจสอบขอ มูลภายนอกเกี่ยวกับสภาพธุรกิจประเภทเดียวกัน
ในชมุ ชน ความตองการของลกู คา

การดาํ เนนิ งานตามขั้นตอนท่ี 1 และ 2 เปนการศึกษาขอมูลเพ่ือระบุถึงปญหาท่ีเกิดขึ้นและ
ควรแกไ ข

3. กาํ หนดวตั ถุประสงค เปน การกาํ หนดเปา หมายของการดาํ เนนิ งานวา ตอ งการใหเกดิ อะไร
4. พยากรณสภาพการณในอนาคต เปนการคิดผลบรรลุลวงหนาวา หากดําเนินการตาม
แผนกิจกรรมการผลิตหรือการบรกิ ารแลว ธรุ กิจท่ดี ําเนนิ งานจะเกิดอะไรข้นึ
5. กําหนดแนวทางการปฏิบัติ เปนการกําหนดรายละเอียดข้ันตอนการปฏิบัติวาจะทําอยางไร
เม่ือไร เพอ่ื ใหเกิดผลตามวัตถุประสงคท ่กี ําหนดไว
6. ประเมนิ แนวทางการปฏิบัตทิ ี่วางไวเปนการตรวจสอบความสมบรู ณข องแผนกจิ กรรมการผลิต
หรอื การบรกิ ารวา มคี วามสอดคลอ งกนั หรอื ไม อยา งไร สามารถทจ่ี ะปฏิบตั ติ ามขั้นตอน วิธกี ารทีก่ ําหนด
ไวไ ดห รอื ไม อยา งไร หากพบวา แผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการที่จัดทําข้ึนยังไมมีความสอดคลอง
หรือมีข้ันตอนวิธีการใดท่ีไมม่ันใจใหจัดการปรับปรุงใหมใหมีความสอดคลองและเหมาะสม เชน แผน
กิจกรรมการผลิตผกั บุง

1-2 เม.ย. 54 3 เม.ย. 54 4-23 เม.ย. 54 24-26 เม.ย. 54 24-26 เม.ย. 54

การเตรียม การปลูก การดูแล การเกบ็ การสง
ปจ จัยการ ผัก รกั ษาแปลง ผัก ผักขาย
ปลูกผัก
ผัก

ใหตรวจสอบความเปนไปไดข องกิจกรรมการปลกู ผักแตล ะข้ันตอน หากพบปญ หาตองรบี แกไ ข

ไวลว งหนา

7. ทบทวนและปรบั แผน เมอ่ื สถานการณเ ปลี่ยนแปลงไป และผลลัพธไ มเ ปนไปตามท่ีกําหนด

เปน การพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการปฏิบัติตามแผน เม่ือมีสถานการณ

เปล่ยี นแปลงไป หรือมีขอ มลู ใหมท่ีสําคญั

28

ใบงานท่ี 4
การกาํ หนดกิจกรรมการผลติ หรอื การบรกิ าร

คําส่ัง ใหผูเรียนกําหนดกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในอาชีพที่ผูเรียนดําเนินการเองหรืออาชีพท่ี
สนใจ
1. ลกั ษณะงานอาชีพ……………………………………………………………………………
2. ประเภทของผลผลติ หรอื การบรกิ าร…………………………………………………………
3. ช่ือเจาของธรุ กิจ………………………………………………………………………………
4. ทตี่ งั้ ของธรุ กิจ………………………………………………………………………………….
5. แผนกจิ กรรมการผลิตหรอื การบรกิ าร
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

เร่อื งที่ 5 การพัฒนาระบบการผลติ หรอื การบริการ
การดําเนินธุรกิจทั้งการผลิตและการบริการ ถึงแมวาธุรกิจที่ดําเนินการอยูจะสามารถดําเนิน

ธรุ กิจไปไดด ว ยดีแลว ก็ตาม แตเ พือ่ ใหธ รุ กิจมคี วามกา วหนา และมั่นคง ผูป ระกอบการธุรกิจตองคํานึงถึง
การพัฒนาระบบการผลติ หรอื การบริการอยา งตอ เน่ือง

คุณภาพของการผลติ หรือการบริการเปน สง่ิ สาํ คญั ทีผ่ ปู ระกอบการธุรกจิ ตอ งรกั ษาระดับคณุ ภาพ
และพัฒนาระดบั คุณภาพการผลิตหรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอคุณภาพการผลิตหรือ
การใหบรกิ ารตามลูกคา คาดหวงั หรอื เกินกวา สิ่งทีล่ ูกคาคาดหวังไวเสมอ ดังนั้น สิ่งท่ีจะทําใหการผลิต
สินคา เปน ไปตามคุณภาพและเปา หมายทีก่ ําหนด เมอื่ มกี ารกาํ หนดกิจกรรมการผลติ แลว ผูประกอบการ
ตอ งพัฒนากระบวนการผลติ อยา งตอเน่อื ง ท้งั กอ นการผลิต ระหวา งการผลติ และหลังการผลติ

29

ใบงานท่ี 5
การพัฒนาระบบการผลิตหรอื การบรกิ าร

คาํ สั่ง ใหผ ูเรียนกําหนดการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการในอาชีพที่ผูเรียนดําเนินการเอง หรือ
อาชพี ที่สนใจ วามีการพฒั นาระบบการผลิตหรือการบริการอยา งไร ตามกิจกรรมการผลิตทก่ี าํ หนดไว
1.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
2.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
3.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
6.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

30

บทที่ 4
การพัฒนาธรุ กจิ เชงิ รุก

สาระสําคญั
การพัฒนาอาชีพใหมีอยมู ีกนิ จะตองเหน็ ความจําเปน และคุณคา ของธรุ กจิ เชิงรุก การแทรกความ

นิยมเขาสูค วามตองการของผูบริโภค การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม และการพัฒนาอาชีพใหมี
ความมั่นคง คอื พออยูพ อกิน มีรายได
ตัวช้ีวัด

1. อธบิ ายความจําเปน และคณุ คา ของธุรกจิ เชงิ รกุ
2. อธิบายการแทรกความนยิ มเขาสคู วามตอ งการของผูบริโภคไดอ ยางแทจริง
3. อธบิ ายการสรางรูปลักษณค ณุ ภาพสนิ คาใหม
4. อธบิ ายการพัฒนาอาชีพใหมคี วามมน่ั คง
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรือ่ งท่ี 1 ความจําเปนและคณุ คา ของธุรกจิ เชิงรกุ
เรือ่ งที่ 2 การแทรกความนยิ มเขาสูความตองการของผบู รโิ ภค
เรอื่ งที่ 3 การสรา งรปู ลักษณค ณุ ภาพสนิ คาใหม
เร่ืองที่ 4 การพัฒนาอาชพี ใหม ีความมน่ั คง

31

เรอ่ื งท่ี 1 ความจาํ เปน และคณุ คา ของธรุ กจิ เชิงรกุ
1. ความหมายของธรุ กจิ เชิงรุก
ธุรกิจเชิงรุก หมายถึง การบริหารจัดการธุรกิจแบบมีแบบแผน เปนระบบการพัฒนางานท่ีดี

อํานวยประโยชนใ หกบั ผปู ระกอบการ และสามารถวางแผนตดิ ตามและควบคมุ ใหก ารดาํ เนินงานในทุกดาน
ไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ความจําเปน และคณุ คาของธรุ กจิ เชิงรกุ
ความจาํ เปนและคุณคาของธุรกิจเชิงรุก เปนความพยายามที่จะหาวิธีการใหไดเปรียบทางการ
แขง ขันทางธรุ กจิ เปนการพัฒนาสนิ คาไดตรงตามความตองการของผูบริโภค สินคาไดรับการพัฒนาอยู
ตลอดเวลาและผูบรโิ ภคมีโอกาสเลอื กซ้อื ไดหลากหลาย

3. ปจ จยั ท่สี ง ผลใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงของธรุ กิจอยา งรุนแรงและรวดเร็ว ไดแก
1.) การแขงขนั ทไ่ี รพรมแดน
2.) การเปล่ยี นแปลงทางนวตั กรรมเทคโนโลยี

32

ใบงานที่ 1
ความจาํ เปน และคุณคาของธรุ กิจเชงิ รกุ

คําส่ัง ใหผูเรียนรวมกลุมและ อภิปรายรวมกันวา “ธุรกิจเชิงรุกมีความจําเปนและมีคุณคาอยางไร”
แลว บันทกึ เปน ผลงานรายบคุ คล
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

33

เรอื่ งท่ี 2 การแทรกความนิยมเขาสูค วามตอ งการของผบู ริโภค
ในการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภค ผูประกอบการตองมีขอมูลความ

ตอ งการของผูบรโิ ภค เพือ่ จะไดนําขอมูลน้ันมาพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของผูบริโภค เชน
เมื่อมขี อมูลวาในปจ จบุ ันผูบ ริโภคตองการรับประทานผักปลอดจากสารเคมี ดังน้ัน ในการพัฒนาอาชีพ
ปลกู ผกั ไมควรใชสารเคมี

เรือ่ งที่ 3 การสรางรปู ลกั ษณค ุณภาพสนิ คาใหม

1. การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคาใหม เปนการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของ
ผูบริโภค เชน ใหมีความสวยงาม ใชงานสะดวก มีความทนทานและการพัฒนาผลิตภัณฑของธุรกิจมี
หลายรูปแบบ ดงั นนั้ การพัฒนาผลติ ภณั ฑ อาจมสี าเหตุมาจากความมั่นคงของธุรกิจหรือการเติบโตของ
ธุรกิจจึงตองมีการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีคุณภาพแตกตางกัน ผูประกอบการรับรูความตองการในการ
ตัดสนิ ใจซอ้ื สนิ คา และบริการ จงึ กําหนดทิศทางวิธกี ารพฒั นาผลิตภัณฑไดเหมาะสมสอดคลองกับความ
ตอ งการของผปู ระกอบการ สง ผลใหธ ุรกจิ ไดร ับการพฒั นารูปลกั ษณคณุ ภาพสินคาใหม

2. แนวทางพิจารณาของผลติ ภณั ฑ หมายถึง เฉพาะรูปแบบหรือวตั ถสุ ่ิงของทเี่ ปน รูปรางเทานั้น
รวมไปถึงคุณคาของผลิตภัณฑและการบริการดวย ดังนั้น ผลิตภัณฑ จึงหมายถึง สินคาที่สามารถ
ตอบสนองความพอใจที่จับตอ งไดและจบั ตอ งไมได

3. สว นประกอบท่สี าํ คญั ในการพัฒนาผลิตภณั ฑ มี 2 ประการ คอื
1. ผลติ ภัณฑนน้ั ตองมีคุณคา และตอบสนองความตองการผูบ รโิ ภคไดมากที่สดุ
2. สวนประกอบของผลติ ภณั ฑต อ งมอี ยางครบถวน

4. หนาทใี่ นการพัฒนาผลติ ภัณฑ ในการคิดคนผลิตภณั ฑใหมออกสตู ลาดผูผ ลิตควรดาํ เนนิ การดังน้ี
1. รวบรวมขอ มลู สาํ หรับปรับปรุงและวิธีการดําเนนิ การพัฒนาผลิตภัณฑ
2. กาํ หนดแผนการพัฒนาผลิตภณั ฑ
3. ดําเนินการและตดิ ตามผลพัฒนาผลติ ภณั ฑใ หม ีประสทิ ธภิ าพ
4. วางแผนกลยุทธการขายผลติ ภณั ฑ

34

ใบงานที่ 2
การพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รกุ

คาํ สั่ง ใหผ เู รยี นแบงกลุม 3 คน ดาํ เนนิ การพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รกุ ในสนิ คา ของผูเรยี นหรือสนิ คาท่ีสนใจ ตาม
หัวขอ ดังนี้
1. ชอ่ื สินคา …………………………………………….………………………………………………...
2. แทรกความนิยมใดบา งเขาสคู วามตอ งการของผูบรโิ ภค………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….
3. รปู ลกั ษณค ุณภาพสนิ คาทพ่ี ฒั นาขึน้ ใหมเปน อยางไร………………………………………………......
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….

เรอื่ งท่ี 4 การพฒั นาอาชพี ใหมคี วามมนั่ คง
การพัฒนาอาชีพเขาสูความมั่นคงของผูประกอบการท่ีประสบความสําเร็จมีมากมาย จะมี

ลักษณะการกระทําที่สอดคลองกันเปนสวนใหญวา ความม่ันคงของอาชีพข้ึนอยูกับองคประกอบ
อยางนอ ย 3 ประการ คือ (1) การลดความเส่ยี งในผลผลติ (2) ความมงุ ม่นั พัฒนาอาชพี และ (3) การยึด
หลักคณุ ธรรม

ลดความเสีย่ ง

มงุ มน่ั พฒั นาอาชพี สคู วามม่ันคงยงั่ ยืน

ยึดหลกั คณุ ธรรม
แผนภมู แิ สดงองคป ระกอบสคู วามมัน่ คงของอาชพี

35

จากแผนภูมิ จะพบวา องคประกอบรวมทงั้ 3 องคป ระกอบ เปน ตวั สง ผลตอ ความมัน่ คงย่ังยืนใน
อาชพี ทเี่ ราจะตองนํามาบรู ณาการใหเปนองคร วมเดยี วกัน

1. การลดความเสี่ยง การประกอบอาชพี มกั จะประสบกบั ความเส่ียง ดงั น้ี
- เสย่ี งตอ การขาดทนุ ตอ งจัดการดว ยการหาตลาดไวล วงหนา เชน มกี ารประกันราคาผลผลติ
- เสี่ยงตอการไมมเี งนิ ทนุ ในการประกอบธรุ กิจ ดวยการแกปญหาความเสย่ี งดว ยการจัดหาแหลง
เงนิ ทนุ หรือพยายามที่จะลดตนทุนการผลิต
2. การพัฒนาอาชพี เปนกระบวนการท่ีเนน ความสําคญั การพัฒนาระบบการจดั การทัง้ การผลติ
และการตลาดใหต รงกับความตอ งการของลูกคา ดังน้ี

คณุ ภาพผลผลิต

ลดตนทุนการผลิต การพฒั นาอาชีพ
การสงมอบ

ความปลอดภัย
แผนภูมแิ สดงปจจยั ท่สี ง ผลตอ การพฒั นาอาชพี

ปจจยั รว มทั้ง 4 ดาน เปนปจ จัยทส่ี ง ผลตอการพฒั นาอาชพี โดยมีลักษณะความสาํ คัญ ดงั นี้
1) คณุ ภาพผลผลิต เปนเร่อื งทเ่ี ราจะตอ งจัดการใหคุณภาพตรงตามความตองการของลูกคาให
มากทส่ี ดุ เพอ่ื ใหล กู คาม่นั ใจไดวา จะไดร บั สินคา /บรกิ ารทด่ี เี ปน ไปตามความคาดหวัง
2) ลดตนทุนการผลติ เกย่ี วขอ งกับการกําหนดราคาผลผลิตท่จี ะตองเปนราคาที่ลูกคา สามารถซือ้
ผลผลิตของเราได แตไมใชกําหนดราคาตํ่าจนกระท่ังรายไดไ มพ อเพียง ดงั นนั้ การลดตนทนุ จึงเปนเร่ือง
สําคญั ทเ่ี ราจะตองศึกษาเรียนรูหาวิธลี ดตน ทนุ ที่ทาํ ใหม ีรายไดเพียงพอ ไมใ ชล ดตน ทุนกับคาแรงงาน แต
เปน การบรหิ ารจดั การใหลดความเสยี หายในปจจยั การผลิตและการจดั การใหไดผลผลติ สงู
3) การสง มอบผลผลิต ใหลูกคาตองเปนไปตามขอตกลงท้ังเวลานัดหมายและจํานวนผลผลิต
ตวั อยางเชน อาชพี รา นตดั เย็บเส้อื ผา ชาย สว นใหญม กั จะผิดนัดทาํ ใหเสียหายกับลูกคาท่ีมีกําหนดการจะ
ใชเส้ือผา จึงหันไปใชบริการเสื้อผาสําเร็จรูปท่ีมีความสะดวกมองเห็นสินคาและตัดสินใจเลือกซ้ือได
ทันที ทําใหปจจบุ นั รา นเยบ็ เสอ้ื ผา ชายเกอื บหายไปจากสังคมไทย
4) ความปลอดภัย ผผู ลิตและผบู ริโภคตองมคี วามปลอดภยั จากผลผลติ เชน อาชพี เกษตรอนิ ทรยี 
เปนอาชีพท่ไี มใชส ารเคมีในการผลติ สนิ คาเกษตร ทําใหผผู ลิตและผบู รโิ ภคปลอดภัย

36

3. การยึดหลกั คณุ ธรรม เปน พฤติกรรมภายในของผูประกอบอาชีพที่สําคัญสงผลตอการความ
มั่นคงของอาชพี ดงั นี้

การขยนั

ความประหยดั คุณธรรมประกอบอาชพี
ความซือ่ สัตย

ความอดทน
แผนภูมแิ สดงคณุ ธรรมทส่ี ําคัญตอ การประกอบอาชพี

คุณธรรมท้ัง 4 ประการดงั กลาว หลายคนบอกวา เปน เร่ืองที่ตองปลูกฝงมาแตเยาวว ัยจึงจะ
เกิดขนึ้ ได ความเช่ือนเ้ี ปน จริง แตม นษุ ยเราสามารถเรยี นรู สรา งความเขาใจ มองเห็นคณุ คา ปรบั เปล่ียน
และตกแตงพฤติกรรมเพื่อใชเ ปน เครื่องมือสรางความสําเรจ็ ใหก บั ตนเองได

1) การขยัน เปน ลกั ษณะพฤติกรรมทม่ี ุงม่นั และไมเ กียจคราน ถา ผูประกอบอาชพี มคี ุณธรรม จะ
สามารถยกระดบั ความสําเรจ็ ไปอยา งตอเนื่อง ความมน่ั คงก็จะเกิดขนึ้ ในทีส่ ุด

2) ความประหยัด เปน พฤติกรรมของการยับย้ัง ระมัดระวังการใชจาย มีความรอบคอบในการ
ทํางานและเกิดความคุมคาทาํ ใหมคี วามเสียหายในธรุ กิจนอ ยท่สี ดุ

3) ความซอ่ื สัตย เปนลักษณะการประพฤตติ รงและจริงใจตอลูกคา มคี วามภักดี ใหความไววางใจ
ตอ ลูกคา ทีมงานและหุนสวน

4) ความอดทน มีลักษณะพฤติกรรมทส่ี ามารถอดกลั้น งดเวน ทนอยไู ดก บั ความยากลาํ บาก ไมทิ้ง-
งาน หรอื ยกเลกิ ขอ ตกลงงา ย ๆ

37

ใบงานท่ี 3
การพัฒนาอาชพี ใหมีความมัน่ คง

คาํ ส่งั ใหผูเรียนแบงกลมุ ๆ ละ 5 คน อภิปรายวาการพฒั นาอาชพี ใหมคี วามมน่ั คง ตองอาศยั ปจ จัยใดบาง
อยา งไร

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………….……..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

38

บทท่ี 5
โครงการพฒั นาอาชีพใหมอี ยมู กี นิ
สาระสาํ คัญ
โครงการพฒั นาอาชีพใหมีอยมู กี นิ เปน การวเิ คราะหความเปน ไปไดของแผนการเขยี นโครงการ
และการปรบั ปรุงแกไ ขโครงการพัฒนาอาชีพใหม ีอยูมกี ิน
ตัวชว้ี ัด
1. อธบิ ายการวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผน
2. อธบิ ายการเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี ใหมอี ยมู ีกนิ
3. อธิบายการตรวจสอบความเปน ไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพใหม อี ยมู ีกนิ
4. อธบิ ายแนวทางปรบั ปรงุ โครงการพฒั นาอาชพี ใหม ีอยมู กี ิน
ขอบขา ยเน้ือหา
เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหค วามเปน ไปไดข องแผน
เรอ่ื งที่ 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี ใหม ีอยมู ีกนิ
เร่ืองที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดข องโครงการพฒั นาอาชพี ใหมีอยมู กี นิ
เรอ่ื งท่ี 4 การปรับปรงุ โครงการพัฒนาอาชีพใหมีอยมู กี นิ

39

เรือ่ งที่ 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผน
การปฏิบัตงิ านขององคก ร กอ นทจ่ี ะทาํ งานในเรอ่ื งใด ไมว าจะเปน ชว งเวลาที่ส้ันหรือยาว ตองวางแผน

ลวงหนาวาอนาคตทัง้ ใกลแ ละไกล ตามสภาพความจําเปนตา ง ๆ เราจะทําอะไรบาง มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธผิ ล เพอ่ื ใหง านทท่ี ําบรรลวุ ัตถปุ ระสงคเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ ตอ องคก รและประชาชนทุกดานของ
องคกรจึงถูกกําหนด และออกแบบไวล ว งหนาโดย “แผน” ขององคก ร แผน จึงตอ งผา นการวิเคราะห การ
ประเมินอนาคต และกําหนดวัตถุประสงคที่พึงปรารถนา เพ่ือเตรียมรับสถานการณท่ีไมแนนอน และ
เพ่ือใหบ ุคคลใชเ ปนแนวทางในการปฏิบัตงิ านวา จะทําอะไร เพ่ือใคร เพราะเหตุใดจึงตองทํา และจะทํา
เมอ่ื ใด

1. ความหมายของการวเิ คราะหแผน
แผน หมายถงึ งานทกุ ดานขององคก รที่ถูกกาํ หนดขน้ึ อยางมีเหตุผล เปน ระเบียบวิธี หรือ

ข้นั ตอนที่เปน ระบบทบี่ ุคลากรใชเ ปนคมู ือหรือแนวทางการดําเนินงานขององคก ร
การวิเคราะห หมายถงึ การแยกแยะรายละเอยี ด ความเปนไปไดแ ลว สังเคราะหใ หเหน็

ความสัมพันธและเกดิ กิจกรรมทีม่ เี ปา หมายทศิ ทางไปสคู วามสาํ เร็จ
2. ประเภทของแผน
1. แผนระยะยาว เปนแผนท่ีมขี อบขา ยกวางมีความยืดหยนุ สูง มีระยะเวลาต้ังแต 10 - 20 ป
2. แผนระยะปานกลาง เปน แผนทมี่ คี วามแนนอนและเฉพาะเจาะจงมากกวา แผนระยะยาว

มรี ะยะเวลา 4 - 6 ป
3. แผนระยะสั้น เปน แผนที่สามารถดําเนินการใหสาํ เรจ็ ไดใ นเวลาอนั ส้นั อยูท่ีองคกรกําหนด
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนในเรื่องน้ี เปนการนําแผนตาง ๆ ท่ีไดจัดทําไวในบท

กอ นหนาน้ี ไดแก แผนการพัฒนาการตลาด แผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก
นาํ มาวิเคราะหอ กี ครง้ั หน่ึง เพื่อตรวจสอบความเปนไปไดกอนที่จะเขียนเปนโครงการ เชน แผนพัฒนา
การผลิตในการปลกู ผกั เกษตรอินทรยี  มีตรวจสอบความเปน ไปไดจ ากการทําปุยหมักมาเปนการปลูกปุย
พืชสดแลวไถกลบ เน่ืองจากมีความเปนไปไดมากกวา เพราะไมตองจัดหาวัสดุทําปุยหมักท่ีไมมีใน
ทอ งถ่นิ ทั้งยังตองเสียคาขนสง ทําใหต น ทุนสูงข้นึ

40

ใบงานท่ี 1
การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผน

คาํ ส่งั ใหผูเรยี นวิเคราะหแ ผนพัฒนาอาชีพท่ีประกอบการอยูห รอื อาชีพทส่ี นใจ เพอื่ ตรวจสอบ
ความเปนไปไดอ กี ครั้งหนึ่งกอนนาํ ขอ มลู มาเขยี นโครงการ

1. แผนพฒั นาการตลาด สิ่งทตี่ อ งปรับปรุง มีดังนี้
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
2. แผนพฒั นาการผลติ /การบรกิ าร สงิ่ ท่ีตองปรบั ปรุง มดี งั นี้
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
3. แผนการพฒั นาธรุ กจิ เชิงรกุ สิง่ ท่ีตอ งปรบั ปรุง มดี งั นี้
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

41

เรอื่ งที่ 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี ใหมอี ยมู กี นิ
1. หลักการเขยี นโครงการพัฒนาอาชีพ

การเขียนโครงการพฒั นาอาชพี มีขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน 2 ข้ันตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 กอ นเขยี นโครงการ
กอนการเขยี นโครงการจะตอ งทําความเขาใจหาขอ มลู และแผนตาง ๆ เพ่ือนาํ มาใชใ น

การจดั ทาํ รายละเอยี ดของโครงการ ซงึ่ เปนข้นั ตอนท่ีสัมพนั ธกนั มีลักษณะดังน้ี
1. มีความทนั สมัย สอดคลองกับความตองการ
2. มคี วามถกู ตอง
3. ขอมูลมคี วามเปนไปได
4. มคี วามกระชบั
5. มคี วามสมบรู ณใ นเน้อื หา

ขน้ั ตอนที่ 2 การเขียนโครงการ
องคประกอบของโครงการประกอบดว ย 12 หวั ขอ ดงั น้ี
1. โครงการอะไร (ช่อื โครงการ)
2. ทําไมตอ งทาํ โครงการ ( หลกั การและเหตผุ ล)
3. ทาํ เพอ่ื อะไร (วตั ถุประสงค )
4. ทาํ เพือ่ ใคร,อะไร,ในปรมิ าณเทาไร (เปา หมาย)
5. ทาํ อยา งไร (วิธีดาํ เนนิ งาน)
6. ใครทํา (ผรู ับผดิ ชอบโครงการ)
7. ใชงบประมาณเทา ไร (งบประมาณ แหลงท่ีมา)
8. ทาํ ทไ่ี หน (พนื้ ท่ีดําเนินการ)
9. ทําเมอ่ื ไร นานเทาใด ( ระยะเวลาดําเนินการ)
10. เมอื่ เสรจ็ ส้ินโครงการแลวจะไดอะไร (ประโยชนทีค่ าดวา จะไดร บั )
11. ชมุ ชนจะไดร บั อะไร (ดัชนีชว้ี ัดความสําเร็จของโครงการ)
12. ทาํ ไดบ รรลุวตั ถปุ ระสงคและเปา หมายหรอื ไม (การประเมนิ โครงการ)

42

ตัวอยาง
การเขียนโครงการพัฒนาอาชพี ใหมอี ยมู กี นิ
1. ชื่อโครงการ
การพัฒนาสารธรรมชาตปิ องกันกําจดั ศัตรพู ชื จากสมนุ ไพร
2. หลกั การและเหตุผล
ในการทาํ การเกษตรของเกษตรกร สว นใหญจะมีการใชสารเคมใี นการปองกนั กาํ จัดศตั รูพืชกันมาก
ซ่ึงสารเคมีเหลานี้กอใหเกิดมลภาวะเปนพิษ กระทบตอสภาพแวดลอมและชีวิตความเปนอยูของ
เกษตรกร คือ เสยี่ งตอการเปนมะเร็งสงู เกษตรกรเรมิ่ ตระหนักถึงผลทีเ่ กดิ ขึน้ กบั สมาชกิ ในครอบครัวที่มี
สุขภาพเส่ือมโทรม รวมท้ังสงผลตอผลผลิตการเกษตรท่ีเปนสินคาสงออกไปตางประเทศ เนื่องจาก
สารพิษตกคา งท่มี ีเกินกวา คา ความปลอดภยั นอกจากน้แี ลว สารเคมีทางการเกษตรที่สังเคราะหข้ึน ยังทําให
ศตั รูธรรมชาตลิ ดนอยลง และประสิทธภิ าพในการทําลายแมลงศตั รพู ืชก็ลดลง เน่อื งจากเกดิ การตานทาน
ของโรคและแมลงศตั รพู ชื ดงั นั้นเพื่อเปนการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนจากการใชสารเคมีทางการเกษตรชนิด
สังเคราะห จงึ ตอ งหาส่ิงทดแทน คือ สารธรรมชาติจากพืชทีม่ ศี ักยภาพในการปองกันกําจัดศัตรูพืช ซ่ึงมี
คุณสมบัติ ดังน้ี
1. เกษตรกรสามารถทาํ ใชเ องได
2. สามารถสลายตวั ไดเ ร็ว ไมก อ ปญหาสารพิษตกคา งในพืชและส่ิงแวดลอ ม
3. ไมเ กิดปญหาสิง่ แวดลอมเปน พิษ
4. ไมทําใหโรคแมลงสรางความตานทานไดเร็วกวาสารสังเคราะห จึงไดจัดใหมีการถายทอด
เทคโนโลยีเรือ่ งการปลูกสมุนไพรปองกนั กาํ จดั ศัตรพู ืช เพื่อนําสารธรรมชาติจากพืชสมนุ ไพรชนิดตาง ๆ
มาสกัดสารออกฤทธิ์ท่ีสามารถใชป อ งกนั กําจดั ศตั รูพชื แทนการใชส ารเคมีสงั เคราะห
3. วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื พัฒนาพชื สมุนไพรสําหรับปอ งกันกําจัดศตั รูพืช
2. สามารถสกัดสารธรรมชาติจากพืชสมนุ ไพรได
3. เพอื่ ใหใ ชสารสกดั สมุนไพรไดถ กู ตอง
4. เปาหมาย
หมบู านทา ขามพฒั นาสารธรรมชาติ ในการปอ งกนั กําจดั ศัตรพู ืชจากสมนุ ไพร จํานวน 26 ครอบครวั
ใหแลวเสรจ็ ภายในเดอื นกันยายน 2554
5. วิธีดําเนินงาน
1. ประชมุ ประสานงานทกุ ฝา ยทเี่ กี่ยวของเพอ่ื จดั ทํารา งโครงการ
2. ศึกษาดงู านผูท ่ปี ระสบความสําเร็จหรือหนว ยงานตาง ๆ เกย่ี วกับการสกดั สารธรรมชาติ
3. เปดเวทสี ัมมนาแลกเปลย่ี นเรียนรูซ ่ึงกนั และกัน
4. ดําเนนิ การโดยใหแ ตละคนไปปฏิบตั จิ รงิ ยงั แปลงปลูกพชื ของตนเอง


Click to View FlipBook Version