The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2.การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2020-10-09 08:35:09

2.การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน

2.การวิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียน

1

คํานาํ

คูมือนิเทศเรื่อง การวิจัยในช้ันเรียนสําหรับครูผูสอนระดับชั้นประถมศึกษาเลมนี้ไดจัดทําขึ้น
โดยมีวัตถุประสงค,เพอื่ เป.นเครอื่ งมือประกอบการนิเทศกับครูผูสอนระดับประถมศึกษา ผูบริหาร และ
ผูสนใจใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักการวิจัยในช้ันเรียน ทั้งนี้ขาพเจาไดเรียบเรียงความรูจาก
เอกสาร หนังสือ ตําราของนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน รวมท้ังประสบการณ,จากการปฏิบัติหนาท่ีดาน
การนิเทศ การเป.นวิทยากร มาสอดแทรกแนวคิด ทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ เพ่ือใหงายตอ
การอานและทาํ ความเขาใจ และท่สี าํ คญั สามารถนาํ ไปสกู ารปฏิบตั ิจรงิ ได

เน้ือหาของคูมือนิเทศมีทั้งหมด 12 เลม ในเลมน้ีจะเป.นเลมท่ี 2 เร่ือง การวิเคราะห,สภาพ
ป8ญหาในชั้นเรียน รายละเอียดในเลมนี้จะกลาวถึง ประเด็นในการวิเคราะห,สภาพป8ญหาในชั้นเรียน
การตั้งขอสงสัย ลักษณะของป8ญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และตัวอยางการต้ังคําถามการวิจัย
ในช้ันเรียน

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย,ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร,
มหาวิทยาลยั เชียงใหม ทไ่ี ดประสิทธิป์ ระสาทวิชาความรูดานการวดั และประเมินผลทางการศึกษาและ
การวจิ ัยการศกึ ษาแกขาพเจา

ขอขอบคุณผูบริหารและคณะศึกษานิเทศก, สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหมทุกทาน
ท่ีไดรวมปฏิบัติงาน ใหขอคิด และขอเสนอแนะแนวทางที่เป.นประโยชน,ตอการจัดทําคูมือนิเทศเรื่อง
การวจิ ยั ในช้นั เรยี น

ทายนี้ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัวอินทร,ทอง ครอบครัวสมสมัย และ
ครอบครัวเทพเที่ยง ตลอดจนภรรยาและบุตรชายทั้งสองคน ท่ีใหกําลังใจในการทํางานมาโดยตลอด
และจนผลงานสําเร็จไปไดดวยดี

หวังเป.นอยางย่ิงวาคูมือนิเทศเลมนี้ จะกอใหเกิดประโยชน,แกครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา
ผทู สี่ นใจ ตลอดจนผเู กยี่ วของทางการศกึ ษาทกุ ฝ=าย หากมีขอบกพรองประการใด ขอความกรุณาโปรด
ใหคําชี้แนะ และพรอมท่ีจะนําขอเสนอแนะน้ันมาปรับปรุงใหคูมือนิเทศเลมน้ีมีความสมบูรณ,ถูกตอง
ยิ่งขนึ้ ตอไป

รชั ภมู ิ สมสมยั
ศึกษานิเทศก,

2

สารบญั หนา
1
คาํ นํา 2
สารบัญ 3
คําช้แี จง 4
คาํ แนะนําการศึกษาคูมือนเิ ทศเร่ือง การวจิ ัยในชน้ั เรยี น เลมท่ี 2 5
วัตถุประสงค-ของการจดั ทําคมู ือนิเทศเรื่อง การวิจัยในชน้ั เรยี น เลมท่ี 2 6
โครงสรางคูมือนิเทศเลมท่ี 2 เรอ่ื ง การวเิ คราะห-สภาพป4ญหาในชัน้ เรยี น
รายละเอยี ดขน้ั ตอนการศึกษาคมู ือนเิ ทศเลมที่ 2 เรอ่ื ง การวเิ คราะห-สภาพป4ญหา 7
ในช้นั เรยี น 8
เง่ือนไขสคู วามสาํ เร็จ 9
รายละเอียดเน้ือหา การวเิ คราะหส- ภาพป4ญหาในช้นั เรียน
คาํ ถามทบทวนความรู 16
บรรณานกุ รม 17

3

คาํ ชแ้ี จง

คูมือนิเทศเลมท่ี 2 เร่ือง การวิเคราะหสภาพปญหาในชั้นเรียนสําหรับครูผ'ูสอนระดับช้ัน
ประถมศึกษาเลมนี้ มีลักษณะเป-นเอกสารสําหรับการศึกษาด'วยตนเองหรือใช'ประกอบการนิเทศ
เนื้อหาสาระภายในคูมือนิเทศเลมที่ 2 ประกอบด'วยเน้ือหาท่ีเก่ียวข'องกับประเด็นในการวิเคราะห
สภาพปญหา การต้ังข'อสงสัย ลักษณะของปญหาที่เกิดข้ึนในชั้นเรียน และตัวอยางการต้ังคําถาม
การวิจัยในช้ันเรียน สําหรับใช'เป-นแนวทางให'ครูผู'สอนระดับช้ันประถมศึกษา หรือครูผู'สอนที่สนใจ
สามารถนําความร'ูท่ีได'รับจากคูมือนิเทศไปใช'พัฒนาตนเอง พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยใช'การวจิ ัยในชน้ั เรียนเป-นฐาน สงผลให'สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได'อยางหลากหลาย
และมีประสทิ ธิภาพสงผลให'ผ'เู รยี นเรยี นร'ูไดอ' ยางมีความสุข

การจดั ทาํ คมู อื นเิ ทศเรือ่ ง การวิจยั ในชน้ั เรียน มีวตั ถุประสงคสําคญั ดังน้ี
1. เพื่อให'ครูผู'สอนระดับช้ันประถมศึกษาได'มีเอกสารไว'ศึกษาเน้ือหาถึงหลักการวิจัยใน
ชนั้ เรยี นทถี่ ูกตอ' งได'
2. เพื่อให'ครูผ'ูสอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถนําความรู'ท่ีได'รับจากการศึกษาด'วยตนเอง
และจากการนิเทศติดตาม ไปใช'ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช'การวิจัยในช้ันเรียน
เป-นฐานได'
3. เพ่ือให'ครูผู'สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความรู'ที่ได'รับจากการศึกษาเน้ือหา
ด'วยตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปผลิตงานวิจัยในช้ันเรียนท่ีมีคุณภาพ ถูกต'องตามหลักวิชา
และสามารถแลกเปลยี่ นเรยี นรถ'ู ึงองคความรู'ท่ีค'นพบกบั คณะครคู นอนื่ ๆ ตอไปได'
เนื้อหาของคูมือนิเทศเลมที่ 2 เร่ือง การวิเคราะหสภาพปญหาในชั้นเรียนจะประกอบด'วย
คําแนะนําการศึกษาคูมือนิเทศ วัตถุประสงคของการจัดทํา เน้ือหาสาระ และคําถามทบทวนความรู'
ครูผู'สอนระดับช้ันประถมศึกษาต'องศึกษาเน้ือหาด'วยตนเองทุกเลม โดยเริ่มต'นศึกษาจากคูมือการใช'
คูมือนิเทศ เพ่ือทําความเข'าใจในรายละเอียดในภาพรวมของคูมือนิเทศท้ัง 12 เลม เม่ือทําการศึกษา
คมู ือการใช'คมู ือนเิ ทศจนมีความเข'าใจดแี ล'ว ครผู 'ูสอนระดบั ช้นั ประถมศึกษาสามารถท่ีจะศึกษาเน้ือหา
ในเลมใดกอนหรือหลังก็ได'ตามความต'องการของตนเอง เนื่องจากคูมือนิเทศแตละเลมน้ันมีเนื้อหา
สาระที่จบสมบูรณภายในตัวเอง เม่ือได'ศึกษาเนื้อหาในแตละเลมเสร็จเรียบร'อยแล'ว ควรทําคําถาม
ทบทวนความร'ู เพื่อใหก' ารศึกษาดว' ยตนเองไดผ' ลดียิ่งขน้ึ สามารถท่ีจะพัฒนาตนเองในเร่ืองการวิจัยใน
ชนั้ เรียนได'เต็มตามศกั ยภาพ

รชั ภูมิ สมสมัย
ศึกษานิเทศก

4

คําแนะนําการศกึ ษา
คมู อื นิเทศเลมท่ี 2 เรอ่ื ง การวเิ คราะหสภาพป!ญหาในชน้ั เรียน

เพ่ือใหการศึกษาคูมือนิเทศเลมที่ 2 เรื่อง การวิเคราะหสภาพป!ญหาในชั้นเรียน ไดผลเต็ม
ศกั ยภาพ ครผู ูสอนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาควรปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้

1. ศึกษาคําช้ีแจงของคูมือนิเทศเลมที่ 2 เร่ือง การวิเคราะหสภาพป!ญหาในชั้นเรียน เพื่อจะ
ไดเห็นความจําเป5นในการศึกษา และความสําคัญของคูมือนิเทศเลมที่ 2 เร่ือง การวิเคราะหสภาพ
ป!ญหาในช้ันเรียน ท่ีทานกําลังจะศึกษา รวมทั้งไดทราบวาเม่ือศึกษาเน้ือหาครบตามท่ีกําหนดแลว
ทานจะไดรับการพัฒนาไปจดุ ใด

2. ศึกษาสาระสําคัญจากคูมือนิเทศเลมท่ี 2 เรื่อง การวิเคราะหสภาพป!ญหาในช้ันเรียน
เพ่ือใหเกิดความชํานาญและมีความรูความเขาใจ ตลอดจนสามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน
สงู สุดตอไป

3. ขณะศึกษาคูมือนิเทศเลมที่ 2 เรื่อง การวิเคราะหสภาพป!ญหาในช้ันเรียน ผูศึกษาควร
บันทึกสาระสําคัญและความคิดเห็นเพ่ิมเติมเกี่ยวกับเร่ืองท่ีศึกษาไว เพ่ือชวยใหการศึกษาเนื้อหาไดดี
ขึ้น และไดมีโอกาสคิดวเิ คราะห และพฒั นาการเรยี นรูดวยตนเอง

4. ทําคําถามทบทวนความรูหลังศึกษาเนื้อหาดวยตนเอง แลวตรวจคําตอบของตนเองจาก
แนวทางการตอบคําถาม โดยกําหนดเกณฑการผานรอยละ 80 ขึ้นไป (8 คะแนนข้ึนไปจากคะแนน
เต็ม 10 คะแนน) เพ่ือจะไดทราบวาตนเองมีความรู ความสามารถผานเกณฑท่ีกําหนดไว หรือไม
ถาสวนใดยังไมเขาใจใหทบทวนใหมเฉพาะสวนน้นั ใหเขาใจ

5

วตั ถปุ ระสงคของการจดั ทํา
คูมอื นเิ ทศเลมท่ี 2 เร่ือง การวเิ คราะหสภาพป%ญหาในชัน้ เรยี น

การจดั ทําคมู อื นเิ ทศเลมท่ี 2 เรอื่ ง การวเิ คราะหสภาพป!ญหาในชน้ั เรียน มีวตั ถุประสงคสําคัญ
ดังน้ี

1. เพื่อให,ครูผส,ู อนระดับชั้นประถมศึกษาได,มีเอกสารอานเพ่ิมเติมไว,ศึกษาเน้ือหาถึงหลักการ
วิจัยในชนั้ เรียนที่ถกู ต,องได,

2. เพื่อใหค, รูผส,ู อนระดับชัน้ ประถมศึกษามีความรู, ความเข,าใจในหลักการและความร,ูพ้ืนฐาน
ในเร่ืองการวจิ ยั ในชั้นเรยี นกบั วชิ าชพี ครู

3. เพ่อื ใหค, รูผ,ูสอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความรู,ที่ได,รับจากการศึกษาเนื้อหาด,วย
ตนเอง และจากการนิเทศติดตาม ไปใช,ในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช,การวิจัยใน
ชน้ั เรยี นเปน8 ฐานได,

4. เพ่อื ใหค, รูผู,สอนระดับชั้นประถมศึกษาสามารถนําความร,ูที่ได,รับจากการศึกษาเนื้อหาด,วย
ตนเอง และจากการนเิ ทศตดิ ตาม ไปผลิตงานวจิ ยั ในชัน้ เรียนท่มี คี ณุ ภาพ ถูกตอ, งตามหลกั วชิ าได,

5. เพ่ือให,ครูผ,ูสอนระดับช้ันประถมศึกษาสามารถแลกเปลี่ยนเรียนร,ูถึงองคความรู,ท่ีค,นพบ
จากการทําวิจยั ในช้นั เรียนกบั คณะครูคนอ่ืน ๆ ตอไปได,

6

โครงสราง
คมู อื นเิ ทศเลมที่ 2 เรอ่ื ง การวิเคราะหสภาพปญหาในช้นั เรียน

ในการจัดทําคูมือนิเทศเลมที่ 2 เร่ือง การวิเคราะหสภาพป"ญหาในช้ันเรียนคร้ังน้ี
ได(ดําเนนิ การตามกรอบโครงสร(างหลกั ดงั ตอไปน้ี

คาํ นํา

คาํ ชี้แจง

คําแนะนําการศึกษา
คมู ือนิเทศ เลมท่ี 2

วัตถุประสงคของการจดั ทํา
คูมือนิเทศ เลมท่ี 2

รายละเอียดเนื้อหา
คมู อื นเิ ทศ เลมที่ 2

คาํ ถามทบทวนความรู

บรรณานกุ รม













13

แต!คําถามท่ี 5 ที่ครูมาลีตั้งข้ึนน้ี มีความต!างจากคําถามที่ 1 - 4 กล!าวคือ ครูมาลีกําลัง
พยายามแสวงหาแนวทาง วิธีการแกไขขอบกพร!อง ดานการระบายสีน้ําของนักเรียนว!า มีวิธีการหรือ
แนวทางอะไรบางและวิธีการใดท่ีเหมาะสมกับนักเรียนช้ัน ป.4 ท่ีครูมาลีสอนอยู! น่ันคือ คําถามวิจัย
หรือปญหาวิจัย คาํ ถามที่ 5 ของครูมาลี มุ!งเนนท่ีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของนักเรียน ขอคนพบท่ี
จะไดจากการศึกษาตามคําถามท่ี 5 น้ี มีความลึกซึ้งและมีรายละเอียดมากกว!าคําถามท่ี 1 - 4ท่ีกล!าว
มาขางตน

ดงั น้ันการเขยี นปญหาวจิ ัยของครูในการทําวจิ ัยในชนั้ เรยี นครูควรจะลึกถงึ ว!าครูตองการศึกษา
ทําความเขาใจปญหาหรือสถานการณ ท่ีเกิดข้ึนในหองเรียน หรือว!าครูตองการศึกษาโดยม!ุงท่ีจะ
ปรับเปลย่ี นหรือแกไขปญหาหรือสถานการณน้นั ๆ

14

กลา! วโดยสรปุ การวเิ คราะหสภาพปญหาในชั้นเรียน อาจดําเนนิ การดังน้ี

ปญหาทส่ี นใจคอื อะไร

ปญหาน้ันเก่ียวของกบั สิ่งใดบาง

ครูสนใจท่ีจะศึกษาประเด็นใด

ปญหาวจิ ัยที่แทจริงคอื อะไร

รปู ภาพท่ี 1 กระบวนการวเิ คราะหสภาพปญหาในช้นั เรียน
(บญั ชา แสนทวี , 2545 , หนา 16)

ตัวอยา% งปญหาวิจยั หรอื คําถามวิจัยในช้นั เรียน
1. กรณีนักเรยี นระบายสนี ํา้ ไมไ% ด
1. อะไรคือสาเหตุท่ที าํ ใหนกั เรยี นระบายสนี ํ้าไม!ได
2. แนวทางแกไขการระบายสีนํ้าไม!ไดมีอะไรบาง ถาจะทําใหนักเรียนมีทักษะการ

ระบายสีนาํ้ แลว ครูควรเลือกแนวทางหรือวิธีการใด
3. เมอ่ื นกั เรียนไดรบั การฝก[ ทักษะการระบายสนี ้าํ แลว นกั เรียนมีพฤติกรรมอะไรบาง

ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป
4. ความพงึ พอใจ และเจตคตขิ องนักเรียนเป(นอย!างไร เม่ือครูใชวิธีการใหม!ในการฝ[ก

ทักษะการระบายสีน้าํ ของนกั เรยี น
2. กรณนี กั เรยี นไม%มีทักษะในการใชภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร
1. อะไรคือสาเหตุทท่ี ําใหนักเรียนไมม! ีทกั ษะในการใชภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสาร
2. แนวทางการแกไขเพ่ือใหนักเรียนมีทักษะการใชภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารมี

อะไรบาง แนวทางตา! งๆ เหลา! น้ันเหมาะสมกบั นักเรียนหรือไม! เพราะเหตุใด
3. เมื่อครูเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนการสอนแลว นักเรียนมีพฤติกรรมดานการใช

ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารหรือไม! พฤตกิ รรมอะไรทีเ่ ปล่ียนแปลง และพฤตกิ รรมใดไมเ! ปล่ยี นแปลง
4. นักเรียนมีความพึงพอใจ และเจตคติต!อการใชวิธีการใหม!ในการจัดการเรียนการ

สอนมากนอยเพียงใดเปน( ไปในทศิ ทางใด (ดหี รอื ไม!ดี)
3. กรณีนกั เรยี นแกโจทยปญหาคณิตศาสตรไม%ได
1. อะไรคือสาเหตุที่ทําใหนักเรียนแกโจทยปญหาคณิตศาสตรไม!ได

15

2. ทักษะการแกโจทยปญหาคณติ ศาสตรมีความสัมพันธกับทักษะการอ!านภาษาไทย
มากนอยเพยี งใด

3. นักเรียนมีความรูสกึ อย!างไร ถานกั เรียนแกโจทยปญหาคณติ ศาสตรไมไ! ด
4. เจตคติของนักเรียนต!อการเรียนวิชาคณิตศาสตรและต!อการสอนของครูเป(น
อย!างไร (เพิม่ ขนึ้ -ลดลง , ดี-ไมด! ี)

ถงึ แมว!าปญหาวิจัยหรอื คําถามวิจัยจะเป(นส!วนสําคัญและเป(นจุดเริ่มตนของการทําวิจัยในชั้น
เรยี นก็ตาม สาํ หรับครูท่ีเพิ่งเริ่มทําวิจัยในช้ันเรียน ก็ไม!ควรจะวิตกกังวลว!า ปญหาวิจัยของตนเองจะมี
ความเหมาะสมและถูกตองตามหลักวิชาหรือไม! แทจริงแลว ครูสามารถคิดและเขียนปญหาวิจัยหรือ
คําถามวิจัยที่ตนเองสนใจข้ึนแลวนําไปใหเพ่ือนครู ไดช!วยวิพากษวิจารณว!าเป(นอย!างไร โดยครูบอก
หรือเล!าถึงจุดมุ!งหมายหรือวัตถุประสงคท่ีเขียนปญหาวิจัยนี้ข้ึนมา เพ่ือครูท!านอ่ืนจะไดช!วยแนะนํา
และใหขอคดิ ซึง่ จะเปน( การมองต!างมุมท่ีมีคุณค!าย่ิงแก!ครูที่ตองการทําวิจัยในชั้นเรียนอีกท้ังยังเป(นการ
ฝ[กใหครมู คี วามกลา และม่ันใจในการยอมรับฟงความคิดเห็นของคนอื่น ไม!กลัวท่ีจะถูกวิพากษวิจารณ
ซ่ึงจะทําใหครูไดขอมูลต!างๆ นํามาปรับปรุงใหปญหาวิจัยมีความชัดเจน ถูกตองและตรงกับ
จุดมุ!งหมายหรอื วัตถปุ ระสงคของครทู ่สี นใจทําวิจยั ในชั้นเรยี น น่นั เอง

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

16

คาํ ถามทบทวนความรู

คาํ ชีแ้ จง เมื่อครผู สู อนอ!านเนื้อหาในบทที่ 2 เสรจ็ เรยี บรอยแลว จงตอบคาํ ถามตอ! ไปน้ี
โดยแตล! ะขอมีคะแนน 2 คะแนน รวมคะแนนเตม็ 10 คะแนน

1. ใหทา! นยกตัวอยา! งปญหาทเี่ กดิ ขึ้นภายในช้ันเรยี นมา 3 ปญหา
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

2. จากขอท่ี 1 ใหท!านจัดกลุ!มของปญหาโดยใชเกณฑ ปญหาดานตัวบุคคล ปญหาดานสื่อการเรียน
การสอน และปญหาดานสภาพแวดลอม
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

3. ลักษณะทด่ี ขี อง ปญหาการวจิ ยั ควรมีลักษณะอย!างไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

4. ท!านเห็นดวยกับคํากล!าวท่ีว!า “ปญหาที่เกิดในชั้นเรียน มักเกิดจากตัวนักเรียนเป(นสําคัญ” หรือไม!
อย!างไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

5. จงเขียนขัน้ ตอนการวเิ คราะหสภาพปญหาในช้ันเรยี น
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………
……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

17

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ . (2539) . ครกู บั การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน . กรุงเทพ
: คุรุสภาลาดพราว.

กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2545). การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน . กรงุ เทพ : ครุ ุสภาลาดพราว.

กติ ติพร ป$ญญาภิญโญผล . (2549) . วิจัยเชงิ ปฏิบัติการ แนวทางสําหรบั ครู . ภาควิชาประเมนิ ผล
และวจิ ัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร. มหาวิทยาลยั เชียงใหม2.

เกียรติสดุ า ศรสี ุข . (2552) . ระเบียบวธิ ีวิจยั . ภาควชิ าประเมนิ ผลและวิจัยการศกึ ษา
คณะศกึ ษาศาสตร. มหาวิทยาลยั เชียงใหม2.

ครุรกั ษ. ภิรมยร. กั ษ. . (2544) . เรยี นรูและฝก- ปฏิบตั ิการวิจยั ในช้ันเรียน . สาํ นกั งานการ
ประถมศกึ ษา จังหวัดฉะเชงิ เทรา.

จริ ะศกั ด์ิ สาระรัตน. . (2552) . ชดุ การเรียนรูดวยตนเองและปฏบิ ัตกิ าร การวิจัยทางการศกึ ษา
เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอน : การวิจัยและพัฒนา . โรงพมิ พ.บริษัท เอเชยี
ดจิ ิตอลการพิมพ. จํากดั .

ชมรมพัฒนาความรดู านระเบียบกฎหมาย . (2545) . การวจิ ัยในช้นั เรยี นตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา .
หมูบ2 านชยั นาทโมเดิรน. โฮม อ.เมอื ง จ.ชยั นาท.

ชาตรี เกิดธรรม . (2545) . อยากทาํ วจิ ยั ในชน้ั เรียนแต1เขยี นไมเ1 ปน3 . กรงุ เทพ : เล่ียงเชี่ยง.
ชศู รี วงศร. ัตนะ และคณะ . (2544) . การวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู . กรงุ เทพ : บริษัทจาํ กดั ก.พล(1996).
ณรงค. ศรีสวัสด.ิ์ (2542) . วิธีการวิจยั ทางสังคมวทิ ยา . กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ.แหง2 มหาวิทยาลยั

เกษตรศาสตร..
ทศิ นา แขมมณี . (2540) . แบบแผนและเคร่ืองมือการวิจัยทางการศึกษา . กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ.

มหาวิทยาลัย.
นรนิ ทร. สงั ขร. กั ษา . (2555) . การวจิ ัยและพัฒนาทางการศึกษา . โรงพมิ พ.มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.
นโิ ลบล นมิ่ ก่ิงรตั น.. (2543) . วิจัยการศึกษา . เอกสารประกอบการสอน ภาควิชาประเมินผลและ

วจิ ยั การศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร. มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม2.
บัญชา แสนทวี . (2545) . การวิจัยในชัน้ เรียน จากทฤษฎีสูป1 ฏิบัติ . กรุงเทพ : สาํ นักพิมพ.

ไทยวฒั นาพานชิ .
บุญธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ์ . (2534) . เทคนิคการสรางเครอื่ งมอื รวบรวมขอมูลสาํ หรับการวิจัย .

คณะสังคมศาสตรแ. ละมนุษย.ศาสตร. มหาวิทยาลยั มหดิ ล นครปฐม.
บุญส2ง นิลแกว . (2541) . วิจัยทางการศกึ ษา . ภาควชิ าประเมนิ ผลและวิจยั การศึกษา

คณะศกึ ษาศาสตร. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม2.
ประวติ เอราวรรณ. . (2542) . การวจิ ัยในช้นั เรยี น . กรุงเทพ : สํานักพมิ พด. อกหญาวิชาการ.
ประสาท เนืองเจริญ . (2556) . วิจัยการเรียนการสอน . กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พ.แหง2 จฬุ าลงกรณ.

มหาวิทยาลยั .

18

ผอ2 งพรรณ ตรัยมงคลกลู . (2544) . การวิจยั ในชัน้ เรยี น . สํานกั พมิ พม. หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร..
พิสณุ ฟองศรี . (2553) . วิจัยทางการศกึ ษา . กรุงเทพฯ : บริษัท ด2านสทุ ธาการพิมพ. จาํ กัด.
รวีวรรณ ชินะตระกลู . (2533) . คู1มอื การทาํ วิจัยทางการศึกษา . หางหนุ ส2วนจํากดั ภาพพิมพ..
รัตนะ บวั สนธ. . (2554) . การวิจัยและพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษา . หจก.ริมปงH การพิมพ..
สวุ ิมล วอ2 งวาณิช . (2550) . การวิจัยปฏิบตั ิการในชนั้ เรยี น . สํานกั พิมพ.แหง2 จุฬาลงกรณ.

มหาวิทยาลยั .
สวุ ฒั นา สุวรรณเขตนิคม . (2538) . เสนทางส1กู ารวิจัยในชั้นเรียน . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ.บริษัท

บพิธการพมิ พ...
สมั มา รธนธิ ย. . (2544) . การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอนจากประสบการณ7ส1ูปฏิบัติการ . สุรินทร. :

รง2ุ ธนเกยี รตอิ อฟเซท็ .
สํานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ . (2546) . การทําวิจัยแบบง1าย :

บันไดสูค1 รนู กั วจิ ัย (วจิ ยั แผน1 เดียว) . กรุงเทพ : องคก. ารรบั ส2งสินคาและพัสดภุ ณั ฑ..
อทุ ุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน . (2544) . การวจิ ยั ในชั้นเรียนและในโรงเรยี นเพือ่ พัฒนานักเรียน

. กรงุ เทพ : ฟ$นน่ีพับบลิชช่งิ .


Click to View FlipBook Version