The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2020-11-23 00:37:43

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

42
จากตาราง 9 พบวา ครูผูสอนสวนใหญกำหนดกลุมเปาหมายที่ใชในโครงรางการวิจัยใน
ช้นั เรียนเปน นักเรียนระดบั ชวงชน้ั ท่ี 2 คดิ เปน รอ ยละ 31.25 สามารถเขยี นเปน กราฟไดดงั นี้

ตาราง 10 จำนวนคำศัพทใ นนิยามศัพทเ ฉพาะท่ีใชใ นโครงรา งการวจิ ัยในช้นั เรยี น

จำนวนคำศพั ทในนยิ ามศัพทเฉพาะ จำนวน รอยละ

1 – 3 คำ 12 37.50
4 – 6 คำ 14 43.75
มากกวา 6 คำ 6 18.75

รวม 32 100.00

จากตาราง 10 พบวาครูผูสอนสวนใหญมีคำศัพทในนิยามศัพทเฉพาะ จำนวน 4 – 6 คำ
คิดเปนรอ ยละ 43.75 สามารถเขียนเปนกราฟไดดังนี้

43

ตาราง 11 จำนวนขอ ในประโยชนที่คาดวาจะไดรับทใี่ ชในโครงรา งการวิจัยในช้นั เรียน

จำนวนขอ ในประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร ับ จำนวน รอยละ

1 – 3 ขอ 26 81.25
4 – 6 ขอ 6 18.75

รวม 32 100.00

จากตาราง 11 พบวา ครผู สู อนสว นใหญมีจำนวนขอในประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั จำนวน
1 – 3 ขอ คดิ เปนรอยละ 81.25 สามารถเขยี นเปน กราฟไดดังนี้

ตาราง 12 จำนวนหวั ขอ เอกสารท่ีคน ควาทป่ี รากฎในบทที่ 2 ที่ใชใ นโครงรางการวิจัยในชน้ั เรียน

จำนวนหัวขอ จำนวน รอยละ

1 – 3 หัวขอ 6 18.75
4 – 6 หวั ขอ 15 46.88
มากกวา 6 หวั ขอ 11 34.38

รวม 32 100.00

จากตาราง 12 พบวา ครูผูสอนสวนใหญมีจำนวนขอในบทที่ 2 จำนวน 4 - 6 หัวขอ
คิดเปน รอ ยละ 46.88 สามารถเขียนเปน กราฟไดด งั น้ี

44

ตาราง 13 แหลงคน ควาเอกสารทีป่ รากฎในบทท่ี 2 ทใี่ ชใ นโครงรางการวิจัยในชนั้ เรียน

แหลง คน ควา จำนวน รอยละ

website 11 34.38
เอกสาร หนังสือ หรอื ตำราวชิ าการ 21 65.63

รวม 32 100.00

จากตาราง 13 พบวา ครูผูสอนสวนใหญคนควาเอกสารในบทที่ 2 โดยใชเอกสาร หนังสือ
หรือตำราวิชาการ คดิ เปนรอ ยละ 65.63 สามารถเขียนเปน กราฟไดด งั นี้

45

ตาราง 14 จำนวนแหลงอางองิ เอกสารท่ีปรากฎในบทที่ 2 ท่ใี ชในโครงรา งการวจิ ยั ในช้ันเรียน

จำนวนแหลง อา งองิ จำนวน รอยละ

1 – 5 แหลง 15 46.88
6 – 10 แหลง 9 28.13
มากกวา 10 แหลง 8 25.00

รวม 32 100.00

จากตาราง 14 พบวา ครูผูสอนสวนใหญมีแหลงอางอิงสำหรับเอกสารในบทที่ 2 จำนวน
1 – 5 แหลง คดิ เปน รอยละ 46.88 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด งั นี้

ตาราง 15 ประชากรหรอื กลมุ ตัวอยางที่ใชในโครงรา งการวิจัยในช้ันเรยี น

ประชากรหรือกลุม ตัวอยาง จำนวน รอยละ
ประชากร / กลมุ เปาหมาย 21 65.63
กลมุ ตวั อยาง 11 34.38
32 100.00
รวม

จากตาราง 15 พบวา ครผู สู อนสวนใหญใชป ระชากรในการดำเนินการวิจยั คดิ เปนรอยละ
65.63 สามารถเขยี นเปนกราฟไดด งั น้ี

46

ตาราง 16 จำนวนประชากรหรือกลุมตัวอยางทีใ่ ชในโครงรา งการวิจยั ในช้นั เรียน

จำนวนประชากรหรือกลุมตวั อยาง จำนวน รอ ยละ

1 – 5 คน 1 3.13
6 – 10 คน 1 3.13
16 – 20 คน 3 9.38
มากกวา 20 คน 27 84.38

รวม 32 100.00

จากตาราง 16 พบวา ครูผูสอนสวนใหญใชจำนวนนักเรียนมากกวา 20 คนใน
การดำเนนิ การวจิ ัย คดิ เปน รอยละ 84.38 สามารถเขียนเปนกราฟไดด งั น้ี

47

ตาราง 17 จำนวนเครอื่ งมือทใี่ ชใ นโครงรางการวจิ ยั ในชนั้ เรียน

จำนวนเครื่องมือ จำนวน รอ ยละ

1 ชนดิ 4 12.50
2 ชนดิ 9 28.13
3 ชนดิ 16 50.00
4 ชนดิ 2 6.25
5 ชนดิ 1 3.13

รวม 32 100.00

จ า ก ต า ร า ง 17 พ บ ว า ค รู ผู ส อ น ส ว น ให ญ ใช เค ร่ื อ งมื อ จ ำ น ว น 3 ช นิ ด
ในการดำเนนิ การวจิ ัย คดิ เปนรอ ยละ 50.00 สามารถเขียนเปนกราฟไดด งั น้ี

ตาราง 18 จำนวนแผนการจดั การเรยี นรูที่ใชในโครงรา งการวจิ ยั ในช้นั เรยี น

จำนวนแผนการจัดการเรียนรู จำนวน รอ ยละ

1 แผน 5 15.63
2 แผน 1 3.13
3 แผน 2 6.25
4 แผน 2 6.25
5 แผน 5 15.63
มากกวา 5 แผน 17 53.13

รวม 32 100.00

48
จากตาราง 18 พบวา ครูผูส อนสวนใหญใชแผนการจัดการเรียนรู จำนวนมากกวา 5 แผน
ในการดำเนนิ การวจิ ยั คดิ เปน รอ ยละ 53.13 สามารถเขียนเปน กราฟไดด ังนี้

ตาราง 19 นวัตกรรมหลกั ทใ่ี ชในโครงรา งการวิจัยในชั้นเรียน

นวตั กรรมทใี่ ชแกปญ หา จำนวน รอยละ
สือ่ การเรยี นการสอน 15 46.88
วธิ สี อน / กระบวนการสอน 17 53.13
32 100.00
รวม

จากตาราง 19 พบวา ครูผูส อนสวนใหญใชวิธีสอน / กระบวนการสอนเปนนวัตกรรมใน
การดำเนินการวจิ ัย คดิ เปนรอ ยละ 53.13 สามารถเขียนเปน กราฟไดด งั น้ี

49

ตาราง 20 ประเภทนวตั กรรมหลกั ท่ใี ชใ นโครงรางการวิจยั ในช้นั เรียน

ประเภทนวตั กรรมหลกั จำนวน
1
ชดุ สือ่ แมเ หลก็ มหาสนกุ 1
สือ่ จำนวนและการนบั 1
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู 1
แบบฝก ทกั ษะ เร่ือง การคูณการหารทศนิยม 1
สือ่ พนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร 1
สมรรถนะรายวชิ าวทิ ยาศาสตรตามแนวทาง PISA
แผนการจดั การเรยี นรเู พอ่ื ศกึ ษาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษเพ่ือความ 1
เขา ใจ โดยใชวิธีสอนอานแบบบรู ณาการของเมอรด อค
ชดุ ฝกทักษะการคดั ลายมือ 1
การสอนโฟนิกส 1
แบบฝก เสรมิ ทักษะ 1
แผนการจดั การเรยี นรูสองภาษาโดยใชรปู แบบการจัดการเรยี นรูทส่ี ง เสรมิ ทกั ษะการ
คดิ และแกป ญหา เรื่อง การนำความรูเ รื่องการแยกสารไปใชประโยชน 1
แผนการจดั การเรียนรู
บทเรียนคอมพิวเตอรผานเว็บดว ย Google 1
ชดุ ฝกเสรมิ ทักษะการเขียนเร่ืองตามจินตนาการเชิงสรา งสรรค 1
แบบฝก 1
การจัดการเรยี นรูแบบ 5 แนวปฏบิ ตั ิการสอน 1
แบบฝก ทกั ษะ 1
การใชเบ้ียอรรถกร (ดาว) 1
ชดุ กิจกรรมเกมการศึกษา 1
บทเรยี นคอมพิวเตอรช วยสอน 1
วดี ีทศั นจาก YOUTUBE 1
รวั้ กระโดด 1
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู 1
แบบฝกเทียบเสียงสระ 1
รปู แบบการสอน 1
การอา นเชงิ คดิ วเิ คราะห วชิ าภาษาไทยโดยใชเทคนคิ STAD 1
1

50

ประเภทนวตั กรรมหลกั จำนวน

กิจกรรมพสี่ อนนอง 1
ชุดฝกออกเสียงแบบโฟนิกส 1
คมู อื การพฒั นาพฤติกรรมความรว มมอื โดยใชเกมและการเลน 1
คมู ือการพฒั นาทักษะการเรียนโนตสากล ของนกั เรยี นชุมนุมโยธวาธิต 1
แบบจำลองรวมกับแบบสบื เสาะหาความรู 7 ขน้ั 7E 1
แบบฝกทกั ษะการอา น 1

จากตาราง 20 พ บ วา ครูผูสอน สวนให ญ ใชน วัตกรรม ท่ีห ลากห ล ายใน การ
การดำเนินการวิจยั ท้ังท่ีเปนสอ่ื การเรียนการสอน และวธิ ีสอน / กระบวนการสอน

ตาราง 21 ประเภทเคร่ืองมอื ที่ใชเ ก็บขอ มูลหลกั ในโครงรา งการวจิ ยั ในชัน้ เรียน

เครอ่ื งมือหลกั ทใี่ ชเก็บขอมูล จำนวน รอยละ

แบบทดสอบ 23 71.88
แบบสอบถาม 4 12.50
แบบสังเกต 5 15.63

รวม 32 100.00

จากตาราง 21 พบวา ครูผูสอนสวนใหญใชเครื่องมือประเภทแบบทดสอบในการ
ดำเนนิ การวิจัย คดิ เปน รอ ยละ 71.88 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด ังนี้

51

ตาราง 22 การสรางเครอื่ งมือที่ใชใ นโครงรางการวจิ ยั ในชั้นเรยี น

การสรางเครื่องมือ จำนวน รอ ยละ

สรา งเอง 14 43.75
ประยกุ ตใชจ ากผอู ่นื 18 56.25

รวม 32 100.00

จากตาราง 22 พบวา ครูผูสอนสวนใหญสรางเคร่อื งมือที่ใชในการวิจัยโดยการประยกุ ตใ ช
จากผอู ่ืน คดิ เปน รอยละ 56.25 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด ังน้ี

ตาราง 23 วธิ ีการการหาคุณภาพของเครื่องมือโดยการสอบถามจากผเู ชย่ี วชาญ

การหาคุณภาพของเครือ่ งมือโดยการสอบถามผเู ชีย่ วชาญ จำนวน รอยละ

ทำ 28 87.50
ไมท ำ 4 12.50

รวม 32 100.00

จากตาราง 23 พบวา ครูผูสอนสวนใหญดำเนินการหาคุณภาพของเครื่องมือโดยการ
สอบถามจากผูเ ชีย่ วชาญ คดิ เปนรอยละ 87.50 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด งั นี้

52

ตาราง 24 วิธีการการหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือโดยการทดลองใช (Try out)

การหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือโดยการทดลองใช (Try out) จำนวน รอยละ

ทำ 21 65.63
ไมท ำ 11 34.38

รวม 32 100.00

จากตาราง 24 พบวา ครูผูสอนสวนใหญดำเนินการหาคุณภาพของเคร่ืองมือโดยการ
ทดลองใช (Try out) คดิ เปน รอยละ 65.63 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด งั น้ี

53

ตาราง 25 วิธีการคำนวณคา สถิติท่ีใชใ นโครงรางการวิจยั ในชนั้ เรยี น

วิธกี ารคำนวณคาสถิติ จำนวน รอ ยละ

เครื่องคิดเลข 6 18.75
โปรแกรมสถิติ 19 59.38
ใหเพ่ือนครชู ว ยคำนวณ 7 21.88

รวม 32 100.00

จากตาราง 25 พบวา ครผู ูสอนสวนใหญคำนวณคา สถิติในการวิจัยโดยใชโปรแกรมสถิติ
คดิ เปนรอยละ 59.38 สามารถเขียนเปนกราฟไดด งั นี้

ตาราง 26 ชว งเวลาในการเก็บรวบรวมขอ มลู ท่ใี ชใ นโครงรางการวิจัยในชัน้ เรียน

ชวงเวลาในการเกบ็ รวบรวมขอมูล จำนวน รอ ยละ

เวลาเรียนปกติ 23 71.88
นอกเวลาเรียน (ชวงเชา ชว งพักเท่ยี ง หรอื ชว งเยน็ ) 9 28.13

รวม 32 100.00

จากตาราง 26 พบวา ครูผูสอนสวนใหญดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในชวงเวลาเรียน
ปกติ คิดเปน รอ ยละ 71.88 สามารถเขียนเปนกราฟไดด ังน้ี

54

ตาราง 27 ระยะเวลาท่ีใชใ นโครงรา งการวิจัยในชัน้ เรียน

ระยะเวลาท่ใี ชด ำเนินการวจิ ัย จำนวน รอยละ

1 เดอื น 1 3.13
2 เดือน 6 18.75
3 เดอื น 5 15.63
4 เดือน 12 37.50
มากกวา 4 เดอื น 8 25.00

รวม 32 100.00

จากตาราง 27 พบวา ครูผูสอนสวนใหญดำเนินการวิจัยโดยใชระยะเวลา 4 เดือน
คดิ เปนรอ ยละ 37.50 สามารถเขยี นเปนกราฟไดด งั น้ี

55

1.3 ปญ หา อปุ สรรค และขอ เสนอแนะ

ตาราง 28 ปญ หา อปุ สรรคจากการทำโครงรา งการวจิ ัยในช้ันเรียน

ปญ หา อุปสรรค จำนวน รอ ยละ

การเลือกปญหาในการทำวจิ ัย 3 9.38
การทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วของ 6 18.75
การเขียนโครงรางการวจิ ัย 2 6.25
การสรา งนวัตกรรม/แผนการเรยี นรูประกอบการทำวิจยั 5 15.63
การสรา งเคร่อื งมือวดั ผลการวจิ ัย 6 18.75
การวิเคราะหคณุ ภาพของเครื่องมือ 2 6.25
การวเิ คราะหข อ มลู ประกอบการทำวจิ ยั 2 6.25
บุคลากรใหคำปรึกษา 2 6.25
การบริหารเวลาในการทำวจิ ัย 4 12.50

รวม 32 100.00

จากตาราง 28 พบวาครูผูสอนมีปญหา อุปสรรคดานการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ี
เก่ียวของและการสรางเคร่ืองมือวัดผลการวิจัย คิดรวมเปนรอยละ 37.50 สามารถเขียนเปนกราฟได
ดังน้ี

56

ตาราง 29 ขอ เสนอแนะและความตอ งการความชว ยเหลือในภาคเรียนที่ 2

ขอเสนอแนะ จำนวน รอ ยละ

ใหคำปรึกษา ตดิ ตาม และคำแนะนำ 11 34.38
การเขยี นบรรณานกุ รม และรปู เลม รายงาน 4 12.50
สถติ แิ ละการคิดวิเคราะหข อมูล 9 28.13
ตรวจสอบวจิ ัยบทตางๆ และแนะนำขอ ผิดพลาด 7 21.88
การสรางนวตั กรรม 1 3.13

รวม 32 100.00

จากตาราง 29 พบวาครูผูสอนมีขอเสนอแนะและความตองการความชวยเหลือในภาค
เรียนท่ี 2 ดา นการใหคำปรึกษา ติดตาม และคำแนะนำ คดิ เปนรอ ยละ 34.38 สามารถเขยี นเปนกราฟ
ไดดงั นี้

57

ตาราง 30 เรอ่ื งท่ตี องการความชว ยเหลือเพอ่ื ใหก ารทำวิจัยในช้นั เรียนสำเรจ็ (เพมิ่ เติม)

เรื่องท่ตี อ งการความชว ยเหลือเพ่ิมเตมิ จำนวน

ต้ังแตเริ่มตนจนถึงจบการวิจัย 1

การเขียนอภปิ รายผลคะ 1
แนวทางการนำขอมูลที่ไดร ับไปตอยอด อา งองิ หรือการนำไปพัฒนาปรับปรุงการเรยี น

การสอนตอไป 1

การสรา งเคร่ืองมอื ทีใ่ ชในการวจิ ยั 1
การทำงานวิจัย R and D 1

สถติ แิ ละการวิเคราะหขอ มลู 1

การแนะนำขอผดิ พลาด 1
การเขยี นแผนการสอนประกอบงานวิจัย 1

ตองการผูเชี่ยวชาญใหค ำแนะนำอยเู สมอ 1

การสรางเครื่องมอื ทีใ่ ชในงานวิจยั 1
วิธีการวิเคราะหขอมูล 1

หากมกี ารติดตามครัง้ ตอ ไปอยากใหท านผูเชีย่ วชาญไดมาสัมผัสการลงมอื ปฏิบัติ

กระบวนการวจิ ยั ในรปู แบบเชงิ ประจักษมากเลยคะเพราะโดยเฉพาะอยา งยิง่ เด็กท่ีอยู
ในชว งยา งเขาสวู ยั รนุ จะตอ งใชจิตวิทยาในการทจ่ี ะแกปญหาท่ีเกดิ ขนึ้ กบั เด็กนักเรยี น

ซงึ่ ในสว นนีอ้ ยากไดผ เู ชี่ยวชาญทใี่ หค ำปรึกษาเกย่ี วกับจิตวิทยาการศกึ ษาดวยคะ

อยา งเชน สมมุติการทำวิจัยโดยการเลอื กนักเรยี นที่มีปญ หาดานการอานเขียนสะกดคำ
มาประมาณ 5 คนกอ็ าจจะจะทำใหเ ดก็ กลมุ นีม้ คี วามรสู ึกวาแปลกแยกแตกตางและ

เปน การที่เด็กอาจจะรสู ึกวา ดอยกวาผอู ื่นหรือมีความเปราะบางในดานความรูสึกจึง

อยากไดผ ูเชยี่ วชาญดา นจติ วิทยาการศึกษาหรือดา นจิตวทิ ยาวัยรุนเขารวมให
คำแนะนำดว ยคะ 1

การตรวจสอบวิจัยบทตางๆ และแนะนะขอผดิ พลาด 1

บทที่ 5
สรุป อภปิ ราย และขอเสนอแนะ

งานวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน
โรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก รายงานโครงราง
การวิจัยในชั้นเรียนของครผู ูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟา บดราษฎรบ ำรงุ ) อ.สันปาตอง จ.เชยี งใหม
ประจำปการศึกษา 2563 จำนวน 32 เร่ือง เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยไดแก แบบสอบถามเรื่อง
การสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครูผสู อนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง)
สถิติท่ีใชไดแก วิธีสังเคราะหเชิงคุณภาพดวยวิธีวิเคราะหเน้ือหาและทำการแจกแจงความถ่ีและ
คารอ ยละ

สรุปผลการวจิ ยั
ผลการวจิ ยั สรุปไดดงั น้ี
ขอมูลทั่วไปของครูผูสอน พบวา ครูผูสอนสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 87.50

มีอายุ 36 - 45 ป คิดเปนรอยละ 81.46 และมีประสบการณสอน 6 - 15 ป คิดเปนรอยละ 65.63
ผลการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน พบวา ครูผูสอนไดจัดทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน
ครอบคลุมทุกกลุมสาระการเรียนรู สอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทักษะพิสัย คิดเปน
รอยละ 43.75

ครูผูสอนไดกำหนดวัตถุประสงคในโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนจำนวน 2 ขอ คิดเปน
รอยละ 37.50 นักเรียนระดับชวงช้ันท่ี 2 เปนกลุมเปาหมาย คิดรวมเปนรอยละ 31.25 มีคำศัพทใน
นยิ ามศพั ทเฉพาะ จำนวน 4 - 6 คำ คดิ เปน รอ ยละ 43.75 มีจำนวนขอ ในประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
จำนวน 1 – 3 ขอ คิดเปนรอยละ 81.25 มีจำนวนหัวขอในบทท่ี 2 จำนวน 4 - 6 หัวขอ คิดเปนรอ ย
ละ 46.88 และคนควาเอกสารในบทท่ี 2 จากเอกสาร หนังสือ หรือตำราวิชาการ คิดเปนรอยละ
65.63 มีแหลงอา งอิงสำหรับเอกสารในบทท่ี 2 จำนวน 1 – 5 แหลง คิดเปน รอ ยละ 46.88 ประชากร
ทใ่ี ชเปนนักเรยี นในชั้นเรียนที่ตนเองรบั ผดิ ชอบสอน คดิ เปนรอ ยละ 65.63 โดยมจี ำนวนกลุมเปาหมาย
มากกวา 20 คน คิดเปนรอยละ 84.38 ใชเคร่ืองมอื จำนวน 3 ชนิดในการดำเนนิ การวิจัย คิดเปนรอ ย
ละ 50.00 ใชแ ผนการจัดการเรียนรู ต้ังแต 5 แผนในการดำเนนิ การวจิ ัย คิดเปนรอ ยละ 53.13 ใชวิธี
สอน / กระบวนการสอนเปนนวัตกรรมในการแกปญหาในชั้นเรียน คิดเปนรอยละ 53.13 ครูผูสอน
สวนใหญใชแบบทดสอบ แบบสอบถาม และแบบสังเกตเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล และ
สรางเครื่องมือโดยการประยุกตใชจากผูอื่น คิดเปนรอยละ 56.25 มีการหาคุณภาพของเคร่ืองมือโดย
การสอบถามจากผูเชี่ยวชาญ คิดเปนรอยละ 87.50 และทดลองใช (Try out) คิดเปนรอยละ 65.63

59

คำนวณคาสถติ ใิ นการวิจัยโดยใชโปรแกรมสถติ ิ คดิ เปน รอ ยละ 59.38 ดำเนินการเก็บรวบรวมขอ มูลใน
ชวงเวลาเรยี นปกติ คดิ เปนรอ ยละ 71.88 โดยใชระยะเวลา 4 เดอื นในการดำเนนิ การวจิ ัย คดิ เปน รอ ย
ละ 37.50

การจัดทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนนั้น ครูผูสอนมีปญหา อุปสรรคดานการทบทวน
เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของและการสรางเครื่องมือวัดผลการวจิ ัย คิดรวมเปนรอยละ 37.50 และ
ครูผูสอนมีขอเสนอแนะและความตองการความชวยเหลือในภาคเรียนท่ี 2 ดานการใหคำปรึกษา
ติดตาม และคำแนะนำ คดิ เปนรอยละ 34.38

อภิปรายผล
จากสรุปผลการวจิ ัย ผวู จิ ยั สามารถอภปิ รายผลไดด ังนี้
1.ประเด็นการอภปิ รายจากผลการสังเคราะหงานวิจัยในชน้ั เรียน
ผูวิจัยพบวา ครูผูสอนเริ่มทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนโดยเร่ิมจากปญหาในช้ันเรียน

พบวา โครงรางการวจิ ัยในชนั้ เรยี นสวนใหญมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคเ ชิงพฤติกรรมดานทกั ษะ
พิสัย ท้ังน้ีอาจเปนเพราะ วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทักษะพิสัยเปนส่ิงสำคัญที่เกิดข้ึนไดในทุก
ระดับช้ัน และทุกกลุมสาระการเรียนรู ประเด็นดังกลาวทำใหครูผูสอนเกิดความตระหนักถึงความ
จำเปนท่ีตองเรงแกปญหาในช้ันเรียนดังกลาว อีกทั้งผูวิจัยพบวานวัตกรรมหลักท่ีใชแกปญหาในช้ัน
เรียนดังกลาวน้ัน ครูผูสอนสวนใหญเลือกใชวิธีสอน / กระบวนการสอน ทั้งนี้อาจเปนเพราะ ระบบ
การเรยี นการสอนเปรียบเสมอื นพิมพเขยี วท่ีจดั วางองคป ระกอบของการเรียนการสอน ตาง ๆ ไวอ ยา ง
เปนระเบียบ ทำใหครูรูจุดมุงหมายของการเรียนการสอน การดำเนินการจัดการเรียนการสอน และ
การวัดผลผูเรียน ซ่ึงอำนวยความสะดวกแกครูในการเตรียมการสอนทำใหเกิดความพรอมในการ
ดำเนนิ งาน สื่อการเรียนการสอน ทกุ ชนดิ น้ัน สรา งขึน้ บนพนื้ ฐานของการเรยี นรูจากงายไปหายาก ทำ
ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางเปนลำดับขั้นตอน ความรูและทักษะของนักเรียนจึงพัฒนาข้ึน
นอกจากนั้นผูวิจัยยงั พบวาครูผูสอนไดดำเนนิ การสรา งเครือ่ งมือประกอบการวิจัยไดแกนวัตกรรมทใ่ี ช
แกปญหา แผนการจดั การเรียนรู แบบทดสอบ แบบสอบถาม และแบบสังเกต ซ่ึงเครื่องมอื ทุกชนิดนั้น
มีการหาคุณภาพโดยการสอบถามจากผูเชี่ยวชาญ ทั้งน้ีอาจเปนเพราะ ครูผูสอนตองการยืนยันวา
เคร่ืองมือที่ตนเองสรางข้ึนมาน้ันมีคุณภาพโดยการสอบถามจากผูเช่ียวชาญที่มีความรูความสามารถ
และเปนไปตามหลักการสรางเครื่องมือสำหรับงานวิจัยในชั้นเรียนที่มุงเนนการแกปญหาในช้ันเรียน
เปนสำคัญ อีกทั้งไดใชสถิติพ้ืนฐานในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉล่ีย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ทงั้ นีอ้ าจเปนเพราะ คา สถติ ิดังกลาวเปนคา สถิติพ้ืนฐานทเี่ หมาะสมกับการวิจัยในช้ันเรยี น มุงเนน ท่ผี ล
การแกปญหาในชั้นเรียนเปนสำคัญ และในการคำนวณคาสถิติน้ันผูวิจัยพบวาครูผูสอนใชโปรแกรม
สถิติชวยในการคำนวณ สวนระยะเวลาในการดำเนินงานวิจัย ผูวิจัยพบวาครูผูสอนใชระยะเวลา
ประมาณ 4 เดือน ทั้งน้ีอาจเปนเพราะ งานวิจัยดังกลาวเปนในลักษณะเชิงงานวิจัยและพัฒนา

60

เน่ืองจากระยะเวลาดังกลาวเปนระยะเวลาที่เหมาะสมในการดำเนินการ ซ่ึงมีในลักษณะรูปแบบการ
วิจัยคือ one group pretest – posttest และมีระยะเวลาดำเนินงานท่ีนานพอจะเห็นการ
เปล่ียนแปลงในตัวผูเรียน ท้ังดานความรู ทักษะ และเจตคติ สงผลใหผลการดำเนินงานวิจัยสามารถ
ตอบสนองวัตถุประสงคงานวิจัยท่ีตั้งไวไดเปนอยางดี และชวงเวลาในการเก็บรวมรวมขอมูลจะ
ดำเนินการในเวลาเรียนปกติ เพราะการวิจัยในช้ันเรียนนั้นตองเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอน
ปกติ มงุ เนน การแกปญหาท่ีเกิดขน้ึ ในช้ันเรยี นเปนสำคัญ

2.ประเด็นการอภิปรายจากปญหา อุปสรรคจากการทำวิจัยในชัน้ เรียน
ผูวิจัยพบวา ครูผูสอนมีปญหาจากการทำโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนในทุกขั้นตอน
โดยเฉพาะประเด็นการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ทั้งน้ีอาจเปนเพราะ การทบทวน
เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของเปนปญหาเน่ืองจากโรงเรียนไมมีแหลง คนควาเอกสารท่ีสอดคลองกับ
โครงรางการวิจัยในช้ันเรียน บางคร้ังจึงจำเปนตองดำเนินการคน ควาจาก website อาจจะสงผลตอ
การเขียนอา งองิ ในบรรณานุกรม นอกจากน้ันผูวิจัยยงั พบวา ครผู ูสอนเสนอวาหนวยงานตนสังกัดควร
จัดหาบุคลากรท่ีมีความรูดานนี้ไวเปนท่ีปรึกษา เมื่อเกิดปญหาครูผูสอนจะไดมีผูเช่ียวชาญเปนท่ี
ปรึกษา และงา ยตอ การตดิ ตอ ทำใหร ักษาเวลาในการทำวจิ ัยไดเปนอยางดี
3.ประเดน็ การอภปิ รายจากขอเสนอแนะและความตองการความชว ยเหลือ
ผวู จิ ัย พบวา ครผู สู อนเสนอแนะมากมายหลายประเด็น โดยเฉพาะอยา งยิ่งขอ เสนอแนะที่
กลาววา ควรมีหนวยงานสนับสนุนการทำวิจัยในช้ันเรียน มีการนิเทศ ติดตามเปนระยะ ท้ังนี้
อาจเปน เพราะ ครูผสู อนท่ีตอ งการพัฒนาตนเอง จะไดม ที ี่ปรึกษาที่มีความรูความเช่ียวชาญเฉพาะดา น
การวิจัยในชั้นเรียน ประเด็นดังกลาวผูวิจัยมองวาเปนขอเสนอแนะท่ีหนวยงานตนสังกัดควรจัดทำ
ขึ้นมา เพื่อชวยเหลือบุคลากรในสังกัด เพราะผูวิจัยเช่ือวาครูผูสอนสวนใหญมีความตองการพัฒนา
ตนเอง แตดวยขอจำกัดตาง ๆ ทำใหคุณภาพของงานวิจัยในชั้นเรียนไมไดคุณภาพตามมาตรฐาน
อีกทง้ั ผูวจิ ัยยังเชือ่ วาจะทำใหครูผูสอนเกิดขวัญและกำลังใจในการผลิตงานวจิ ัยในชน้ั เรียนที่มีคณุ ภาพ
ผลสะทอ นตอ ไปคือผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนทม่ี กี ารพัฒนาไปในทศิ ทางทดี่ ีข้นึ

61

ขอ เสนอแนะ
จากผลการวิจัยท่ีพบ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะสำหรับผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการจัดการศึกษา

การพัฒนาบุคลากรทางการศกึ ษา และผูท่ีสนใจท่วั ไป ดังน้ี
ขอ เสนอแนะสำหรับนำผลการวิจัยไปใช
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหมและหนวยงานที่เก่ียวของควรจัดหาบุคลากรท่ีมี

ความรู ความเช่ียวชาญในดานการทำวิจัยในชัน้ เรียน และการวิเคราะหขอมูลทางการศึกษา เพ่ือทำ
หนาท่ีใหคำปรึกษางานวิจัยแกครูผูสอนในสังกัด ตลอดจนจัดหางบประมาณสนับสนุนการดำเนิน
งานวิจัยของครูผูสอนในสังกัด และควรจัดตั้งศูนยกลางขอมูลการวิจัยในชั้นเรียนของโรงเรียนใน
จงั หวัดเชยี งใหม ทั้งน้เี พ่อื เปน แหลงคน ควา หรือแหลงอา งอิงความรูเพ่มิ เติม

ขอเสนอแนะสำหรับการวิจัยคร้งั ตอ ไป
ควรจัดทำงานวิจัยในลักษณะนี้ใหครอบคลมุ ทุกกลุมสาระการเรียนรู เพื่อใหผูเก่ียวขอ งหรือ
ผูที่สนใจทราบถึงคุณลกั ษณะของงานวิจัยในช้ันเรียนในแตล ะกลุมสาระการเรียนรู ตลอดจนทราบถึง
ปญหา อุปสรรค และความตองการการดำเนินงานวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในแตละกลุมสาระ
การเรยี นรู เพื่อนำผลท่ไี ดไปวางแผนพฒั นาครูผสู อนในสังกดั ตอไป

บรรณานุกรม

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. (2529). การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพื่อการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงให ม . ภ าควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษ า คณ ะศึกษ าศาสตร
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.

กนกทิพย พฒั นาพัวพนั ธ. (2541). สถติ ิอา งองิ เพ่อื การวิจัยทางการศกึ ษา . ภาควิชาประเมินผลและ
วิจยั การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.

กองวจิ ัยทางการศกึ ษา กรมวิชาการ . (2542) . การสังเคราะหงานวิจัยเก่ียวกับการเรียนการสอน
วิทยาศาสตรร ะดบั ประถมศึกษา . กระทรวงศกึ ษาธิการ

เกยี รตสิ ุดา ศรีสุข . (2549) . ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย . ภาควิชาประเมนิ ผลและวจิ ยั การศึกษา
คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

โกวิท ประวาทพฤกษแ ละสมศกั ดิ์ สินธุระเวชญ . (2533) . การประเมินในชน้ั เรียน . กรงุ เทพ :
วัฒนาพานชิ

จริ พรรณ บุญสูง. (2545). การสงั เคราะหว ิธีวิทยาการวจิ ัยในวทิ ยานพิ นธศึกษาศาสตรม หาบณั ฑติ
คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. วทิ ยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.

ทองสขุ ปยวงษ. (2540). การสงั เคราะหขอคน พบเก่ียวกับเทคนคิ วธิ ีวจิ ยั จากวิทยานิพนธ
สาขาวิชาวิจัยการศกึ ษา.วิทยานพิ นธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.

ทศั วรรณ คำทองสขุ . (2550) . การสังเคราะหงานวจิ ัยดา นการจัดการเรียนการสอน
แบบบรู ณาการ (ระบบออนไลน) วิทยานพิ นธ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย

ณรงค ศรสี วสั ด.์ิ (2542). วิธกี ารวจิ ยั ทางสังคมวทิ ยา. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพแหง มหาวทิ ยาลัย
เกษตรศาสตร.

นิศา ชโู ต. (2548). การวจิ ัยเชิงคุณภาพ=Qualitative Research. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั พร้นิ ตโ พร.
นัทธี เชยี งชะนา . (2550) . การสังเคราะหงานวิจัยทางดนตรศี ึกษา: การวิเคราะหอภิมานและ

การวิเคราะหเนื้อหา (ระบบออนไลน) วิทยานิพนธ ปรญิ ญามหาบัณฑิต
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย
บัญชา องึ๋ สกุล . (2541) . ยุทธศาสตรก ารนำผลการวจิ ยั ไปใชเพอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา .
วารสารวิชาการ 1 มกราคม พ.ศ.2541
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยสำหรบั คร.ู กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาสน .
บุญสง นลิ แกว. (2541). วิจยั ทางการศึกษา. คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม.

63

ปริวตั ร เขอ่ื นแกว . (2551) . การสังเคราะหง านวจิ ัยเกยี่ วกับการเรียนการสอนและการประเมินผล
ในระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน . วทิ ยานิพนธระดบั มหาบณั ฑิต คณะศกึ ษาศาสตร
มหาวิทยาลยั เชียงใหม

ลวน สายยศ และอัคณา สายยศ . (2538) . เทคนคิ การวิจยั ทางการศึกษา (พิมพคร้ังท่ี 4) . กรุงเทพฯ:
สุวีริยาสาสน .

พงษพันธ พงษโ สภา. (2542). จติ วิทยาทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : พฒั นาศกึ ษา.
พรพรรณ รัตนะ. (2545). มโนทศั นท ่ีคลาดเคลื่อนทางการวจิ ยั การศึกษาของนักศึกษาปรญิ ญาโท

คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วทิ ยานิพนธศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ
บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.
ระวีวรรณ โพธิว์ ัง. (2548). หลักการจดั การศึกษายุคใหม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พคุรสุ ภา.
วราภรณ บวรศริ ิ . (2541) . การสังเคราะหง านวจิ ยั ดา นการเรียนการสอนในประเทศไทย .
(ระบบออนไลน) คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั
วรรณี ลิมอักษร. (2540). จติ วิทยาการศกึ ษา. คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยทกั ษณิ
สิน พนั ธพินจิ . (2547). เทคนิคการวจิ ัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : วิทยพฒั น
สมบูรณ ฟูเต็มวงศ . (2553) . การสงั เคราะหว ิทยานิพนธ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม . วทิ ยานพิ นธระดบั มหาบณั ฑิต คณะศกึ ษาศาสตร
มหาวิทยาลยั เชียงใหม
สมศักดิ์ ภูว ภิ าดาวรรธน. (2545). การยดึ ผเู รียนเปน ศนู ยก ลางและการประเมินตามสภาพจรงิ .
กรุงเทพฯ : เดอะโนวเ ลจ.
สยาม กาวิละ . (2550) . การสังเคราะหงานวิจัยที่เกีย่ วของกับการประกันคุณภาพการศึกษาของ
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม . วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.
สงดั อทุ รานนท . (2526) . การจดั การเรยี นการสอนอยางเปนระบบ . กรงุ เทพฯโรงพมิ พว งเดอื น .
สุลกั ษณ ศวิ ลกั ษณ. (2545). ปรัชญาการศึกษา : ศาสตรแ ละศลิ ปแหงการปฏิรูปการเรยี นร.ู
นครปฐม : สำนกั พมิ พม ลู นธิ ิเด็ก. พมิ พค รั้งที่ 2
สโุ ท เจรญิ สขุ . (2523) . จิตวิทยาการศึกษา . นนทบุรี : โอเดยี นสโตร.
สธุ รรม จันทนหอม . (2531) . จติ วทิ ยาการศกึ ษา . คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.
สุภรณ สภุ าพงศ . (2543) . กรอบความคิดและขอ เสนอแนะการวิจยั เพ่อื การปฏิรปู การเรียนรูข อง
สงั คมไทย . วารสารวิชาการ ฉบับท่ี 10 ตลุ าคม พ.ศ.2543
สุนีย ธีรดากร . (2525) . จติ วิทยาการศึกษา . นนทบรุ :ี โรงพิมพส ถานสงเคราะหหญงิ .

64

สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2548). รูปแบบการจดั การเรียนรใู นการอา นคดิ วเิ คราะห
เขียนและสรา งองคค วามรดู ว ยตนเองทเ่ี นนผเู รยี นเปน สำคญั . กรงุ เทพฯ : สำนักงาน.

อรรณพ พงษวาท . (2543) . ผูบ ริหารการศกึ ษากบั พฒั นศึกษาอะไร? ทำไม? อยา งไร? . เอกสาร
ประกอบการเรียนการสอนกระบวนวชิ า สมั มนาพัฒนศึกษาสำหรับผบู ริหารการศกึ ษา
คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม

อทุ มุ พร จารมรมาน. (2531). การวิเคราะหขอมูลเชงิ คุณลักษณะ. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พับบลชิ ช่ิง.
อุทมุ พร จารมรมาน. (2531). การสังเคราะหง านวิจยั : เชงิ ปรมิ าณ. กรงุ เทพฯ : ฟนนี่พับบลิชชง่ิ .
องอาจ นัยพฒั น. (2548). วธิ ีวิทยาการวิจยั เชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพทางพฤตกิ รรมศาสตรแ ละ

สงั คมศาสตร = Quantitative and qualitative research methodologies in
behavioral and social sciences. กรุงเทพฯ : สามลดา.
อรพินธ ใจสนุ ทร. (2542). การสงั เคราะหงานวจิ ยั เกี่ยวกับความรู ทศั นคติและพฤตกิ รรมการ
ปอ งกนั ตนเองจากการตดิ เชอ้ื เอชไอวี ในเขตภาคเหนือตอนบนโดยวิธวี ิเคราะห
อภมิ าน.วทิ ยานิพนธ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.

65

ภาคผนวก

66

ภาคผนวก ก
รายชือ่ โครงรา งการวิจยั ในช้นั เรยี นทใี่ ชป ระกอบงานวิจยั

67

ชือ่ โครงรางงานวจิ ยั ในช้ันเรียน จำนวน

การใชชุดสือ่ แมเ หล็กมหาสนุกเพื่อรับรูเรื่องแมเ หลก็ ของเดก็ ปฐมวัย 1
การพัฒนาดานสติปญ ญาเร่ืองจำนวนและการนับโดยใชสอ่ื ทางคณิตศาสตรข องนักเรียนช้ัน 1

อนุบาล 3/2

การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู กลุมสาระการเรยี นรู 1
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เร่อื ง ระบบสุรยิ ะ สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 4

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่ือง การคูณการหารทศนิยม โดยใชแบบฝก ทักษะ 1

ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 5
การพฒั นาทักษะพ้ืนฐานดานคณติ ศาสตร โดยใช 3 กจิ กรรมตะลยุ สนกุ คดิ สำหรบั นกั เรยี น 1

อนุบาล 3/3

การประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู รยี นระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลาง 1
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3

การพัฒนาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเขา ใจ โดยใชวธิ สี อนอา นแบบบูรณา 1

การของเมอรดอค ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรยี นเทศบาล 1 ทงุ ฟาบดราษฎรบ ำรงุ
การพัฒนาทักษะการคดั ลายมือโดยใชช ดุ ฝก ทกั ษะการคัดลายมอื ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษา 1

ปท ี่ 4 โรงเรยี นเทศบาล 1 (ทุงฟาบดราษฎรบำรงุ )

การพัฒนาความสามารถดา นการอา นออกเสยี งคำศัพทภ าษาอังกฤษสระเสียงยาว 1
โดยวธิ โี ฟนิกส

การพัฒนาทกั ษะการสังเกตของนักเรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 โดยใชแบบฝกเสริมทกั ษะ 1

การพฒั นาผลสมั ฤทธก์ิ ารเรียนรูว ิทยาศาสตรรูปแบบสองภาษา เรื่อง การนำความรูเรื่องการ 1
แยกสารไปใชประโยชนโ ดยใชรปู แบบการจดั การเรยี นรูทีส่ งเสรมิ ทกั ษะการคิดและแกปญหา

ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 2

การพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะห โดยใชร ูปแบบการสอนแบบใชป ญหาเปน ฐาน ในสาระศาสนา 1
ศีลธรรม จรยิ ธรรม สำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 2

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เร่อื งแนวคิดเชิงคำนวณกบั การแกปญ หา โดยใชบทเรียน 1

คอมพวิ เตอรผา นเวบ็ ดวย Google Site สำหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2
การพฒั นาชดุ ฝกเสริมทักษะการเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการเชงิ สรางสรรค สำหรบั นักเรียนช้ัน 1

ประถมศกึ ษาปท ี่ 6

การพฒั นาความสามารถดานการอานจับใจความสำคัญของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 6 1
การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร เรือ่ ง พื้นท่ผี ิวและปริมาตรโดยการใช 5 1

แนวปฏิบัติการสอนสำหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 3

68

ช่ือโครงรา งงานวจิ ัยในช้ันเรียน จำนวน

การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นเร่อื งการคูณโดยใชแ บบฝกทักษะการคณู กลมุ สาระการ 1
เรยี นรูคณิตศาสตร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี3

การศกึ ษาผลของการใชแ รงเสรมิ ทางบวกดว ยเบีย้ อรรถกรที่มีตอพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบใน 1

การทำความสะอาดหองเรยี นของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3/2
การใชช ดุ กจิ กรรมเกมการศึกษาเพ่ือพฒั นาความรทู ักษะพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรของเด็กปฐมวยั 1

ช้ันอนบุ าล 3/3

การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น โดยการใชบ ทเรยี นคอมพวิ เตอรช ว ยสอน 1
ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6

การสอนโดยใชสือ่ วีดีทศั นประกอบการสอนเร่ืองพลังงานบนโลกของเราระดับชัน้ ประถมศกึ ษา 1

ปที่ 3 โรงเรยี นเทศบาล1 (ทงุ ฟา บดราษฏรบ ำรงุ ) 1
การพฒั นาทักษะกระโดดไกล

การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น โดยใชชุดกจิ กรรมการเรียนรู สำหรบั นกั เรียนช้ัน 1

ประถมศึกษาปที่ 5
การพัฒนาทักษะการเขยี นสะกดคำและจดจำสระ สำหรับนักเรียนทมี่ คี วามบกพรอ งทางการ 1

เรียนรู ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท 1่ี -6 โดยใชแ บบฝกเทียบเสียงสระ

การพัฒนารูปแบบการสอนอา นภาษาอังกฤษแบบเนน ภาระงานรวมกบั การเรยี นรูเชงิ รุกเพื่อ 1
เสริมสรางทักษะการอานเพ่ือความเขา ใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3

การศกึ ษาผลสัมฤทธิด์ านการอานเชงิ คิดวิเคราะห วิชาภาษาไทยของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษา 1

ปท ่ี 3 โดยใชเ ทคนคิ STAD
การพฒั นาทักษะการเขยี นสะกดคำดวยกจิ กรรมพีส่ อนนอง 1

การพัฒนาทักษะการอา นภาษาองั กฤษ โดยใช ชุดฝก ออกเสียงแบบโฟนกิ ส สำหรับนกั เรียนช้นั 1

อนุบาล 3/1
การพัฒนาพฤติกรรมความรวมมือโดยใชเกมและการเลน ของนกั เรียนชน้ั อนบุ าลปท 1่ี /2โรงเรยี น 1

เทศบาล1 (ทงุ ฟา บดราษฎรบ ำรงุ )

การพฒั นาทกั ษะการเรยี นโนตสากล ของนักเรียนชมุ นมุ โยธวาทติ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา 1
ปการศกึ ษา2563 โดยใชกระบวนการกลุม

การศกึ ษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอื่ ง โลกและการเปลี่ยนแปลง โดยใชการจัดการเรียนรูท ่ี 1

เนน แบบจำลองรวมกบั แบบสืบเสาะหาความรู 7 ข้นั (7E) สำหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2
การพฒั นาทกั ษะการอา นผสมคำศัพท โดยใชวธิ ีการสอนโฟนิกส ในระดับช้ันประถมศกึ ษาปที่ 2 1

รวม 32

69

ภาคผนวก ข
แบบสอบถามเรอ่ื ง การสังเคราะหโครงรางการวิจยั ในช้นั เรยี นของครผู สู อน

70

แบบสอบถามเรื่อง การสังเคราะหโครงรางการวจิ ยั ในชัน้ เรยี นของครผู ูสอน

**************************************************************

คำช้ีแจงในการตอบแบบสอบถาม

1. แบบสอบถามมที ้งั หมด 3 ตอน
ตอนที่ 1 เปน แบบสอบถามเกย่ี วกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถามมี 4 ขอ
ตอนที่ 2 ขอ มลู พ้นื ฐานของการวจิ ัยในชน้ั เรียน มี 11 ขอ
ตอนที่ 3 ปญหาอปุ สรรคทีเ่ กดิ ข้นึ ระหวางการทำวิจัยในชนั้ เรยี น ความตอ งการความ
ชวยเหลอื และขอเสนอแนะสำหรับการทำวจิ ยั ในชน้ั เรียนมี 2 ขอ

แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสังเคราะหโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนของครูผูสอน
โรงเรียนสันติศึกษาในดานขอมูลพ้ืนฐานของการวจิ ัยในช้ันเรียน ผูวิจัยขอความอนุเคราะหจากทาน
ตอบแบบสอบถามท่ีแนบมานด้ี วยตัวของทานเอง และโปรดตอบคำถามทุกขอคำตอบของทานจะเปน
ประโยชนอยางยง่ิ ตอ การทำวิจัยคร้ังน้ีและขอมูลทไี่ ดจากทานจะเก็บไวเปนความลับเฉพาะสำหรับการ
ทำวจิ ัยครั้งน้ีเทา นัน้

ผวู ิจยั ขอขอบพระคณุ ทานเปน อยา งสูงที่ไดใหความอนุเคราะหตอบแบบสอบถามมา ณ
โอกาสน้ี

นายรชั ภูมิ สมสมยั
ศึกษานเิ ทศกช ำนาญการพเิ ศษ
สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั เชียงใหม

71

ตอนที่ 1 ขอ มูลท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ ( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง

2. อายุ ( ) 2. อายุ 26 – 30 ป
( ) 1. อายุ 20 – 25 ป ( ) 4. อายุ 36 – 40 ป
( ) 3. อายุ 31 – 35 ป ( ) 6. อายุ 46 – 50 ป
( ) 5. อายุ 41 – 45 ป ( ) 8. อายุ 56 – 60 ป
( ) 7. อายุ 51 – 55 ป

3. ประสบการณการสอน ( ) 2. 6 – 10 ป
( ) 1. 1 – 5 ป ( ) 4. มากกวา 15 ป
( ) 3. 11 – 15 ป

4. กลุม สาระการเรียนรูหลกั ทส่ี อนในปจ จุบัน (เลือกตอบ 1 ขอ)
( ) 1. คณติ ศาสตร ( ) 2. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

( ) 3. ภาษาไทย ( ) 4. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

( ) 5. ภาษาตา งประเทศ ( ) 6. การงานอาชพี และเทคโนโลยี
( ) 7. วทิ ยาศาสตร ( ) 8. ศิลปะ

( ) 9. ปฐมวยั ( ) 10. กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน

72

ตอนท่ี 2 ขอ มูลพืน้ ฐานของรายงานการวจิ ัยในชนั้ เรยี น

1. ช่ือเรื่องงานวจิ ยั ท่ไี ดด ำเนินการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญหาของนกั เรยี นท่ีตองการแกไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. วัตถปุ ระสงคข องการทำวิจยั มี…………… ขอ ไดแก
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. นวัตกรรมทใ่ี ชแ กปญหา (เลือกตอบ 1 ขอ)

( ) 1. ส่อื คอื ...............................................................................................................
( ) 2. วธิ สี อน คอื ..............................................................................................................
( ) 3. อน่ื ๆ (โปรดระบุ)......................................................................................................

5. กลุม เปาหมายท่ีใชใ นการวิจยั
นักเรียนชน้ั ......................................................................... จำนวน........................ คน

6. แผนการจดั การเรียนรูท ี่ใชมีจำนวน................................แผน

7. เครอื่ งมือทใี่ ชใ นการวิจยั (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) 1. แบบทดสอบ ( ) 4. แบบสอบถาม

( ) 2. แบบสงั เกต ( ) 5. แบบสมั ภาษณ
( ) 3. แบบบันทกึ ( ) 6. อืน่ ๆ (โปรดระบุ)...................................

8. ระยะเวลาท่ีใชดำเนนิ การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นจนกระทัง่ งานวิจัยสำเร็จ
( ) 1. เวลา 1 เดือน ( ) 3. เวลา 3 เดอื น

( ) 2. เวลา 2 เดอื น ( ) 4. เวลา 4 เดือน

73

9. วิธกี ารการหาคณุ ภาพของเคร่อื งมอื โดยการสอบถามจากผเู ชี่ยวชาญ
( ) 1. ทำ ( ) 2. ไมทำ

10. สถติ ทิ ใี่ ชใ นการวเิ คราะห (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)
( ) 1. คา ความถี่ ( ) 5. คาประสทิ ธภิ าพ E1/E2

( ) 2. คาเฉลย่ี ( ) 6. คาดชั นีประสิทธผิ ล

( ) 3. คารอ ยละ ( ) 7. การเปรียบเทียบคา เฉลี่ย t-test
( ) 4. คาสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) 8. อื่นๆ (โปรดระบุ).................

11. การคำนวณคา สถิตทิ านใชส ง่ิ ใดชว ยคำนวณ (ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)
( ) 1. คำนวณดว ยตนเอง/เครือ่ งคิดเลข
( ) 2. โปรแกรมสถติ ิ
( ) 3. เพ่อื นครู

ตอนท่ี 3 ปญหาอุปสรรคทเี่ กดิ ขึ้นระหวางการทำวิจัยในชัน้ เรยี น ความตองการความชวยเหลือ

และขอ เสนอแนะสำหรับการทำวิจัยในชน้ั เรียน
1. ขณะที่ทานทำวจิ ัยในช้ันเรียน ทานมีปญหาตอไปนี้ หรือไม อยางไร

1. การเลือกปญ หาในการทำวิจยั ( ) ไมมปี ญหา ( ) มีปญ หา

2. การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ ง ( ) ไมมีปญ หา ( ) มีปญหา
3. การเขยี นโครงรา งการวจิ ยั ( ) ไมม ีปญหา ( ) มีปญหา

4. การสรา งนวัตกรรม/แผนการเรยี นรปู ระกอบการทำวิจัย ( ) ไมม ีปญหา ( ) มีปญหา

5. การสรางเครือ่ งมอื วัดผลการวิจัย ( ) ไมม ปี ญหา ( ) มีปญหา
6. การวเิ คราะหคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ( ) ไมม ีปญหา ( ) มีปญหา

7. การวิเคราะหขอมลู ประกอบการทำวิจยั ( ) ไมมปี ญหา ( ) มปี ญ หา

8. บคุ ลากรใหค ำปรึกษา ( ) ไมม ีปญหา ( ) มีปญหา
9. การบริหารเวลาในการทำวิจยั ( ) ไมม ปี ญ หา ( ) มปี ญหา

74

2. หากทานตองการทำวิจัยเรื่องอ่นื ๆ อกี ทานตองการความชวยเหลอื ในดานใดบา ง
(ตอบไดม ากกวา 1 ขอ)

( ) 1. การเขยี นโครงรา งการวิจัย
( ) 2. การสรางเครอ่ื งมอื และการวเิ คราะหค ณุ ภาพ
( ) 3. การวเิ คราะหข อมูลและการแปลผลการวิเคราะห
( ) 4. การเขียนรายงานการวิจัย
( ) 5. บุคลากรทีใ่ หคำปรึกษาการวิจัย
( ) 6. อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ ..........................................................................................

3. ขอ เสนอแนะอนื่ ๆ เพ่มิ เตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอขอบพระคุณทา นเปน อยา งสูง
ทไี่ ดเ สียสละเวลาตอบแบบสอบถามฉบบั น้ี


Click to View FlipBook Version