The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2020-11-23 00:37:43

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

สังเคราะห์ทุ่งฟ้าบด CMPEO2

การสงั เคราะหโครงรา งการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น
ของครูผสู อนโรงเรยี นเทศบาล ๑ (ทุงฟา บดราษฎรบ ำรุง)

กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชยี งใหม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2563



กิตตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยครั้งนี้สำเร็จลุลวงไปดวยดีดวยความกรุณาของนายกิตติ์ธเนศ ศรีสวัสด์ิ ศึกษาธกิ าร
จังหวัดเชียงใหม ผูอำนวยการกลุมนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ผูอำนวยการกลุมงานทุกกลุมงาน
และบุคลากรสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหมทุกทานท่ีไดใหขอคิด ขอเสนอแนะตาง ๆ จน
รายงานฉบบั นี้สำเรจ็ เรียบรอยตรงตามวัตถปุ ระสงคท ตี่ ง้ั ไว

ขอขอบคุณผูบริหาร และครูผูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) อ.สันปาตอง
จ.เชียงใหม ท่ีไดจัดทำโครงการพัฒนาครูผูสอนเร่ืองการวิจัยในช้ันเรียน ขอขอบคุณศึกษานิเทศก
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม และผูเชี่ยวชาญทุกทาน ที่ไดใหความอนุเคราะหในการ
ตรวจสอบเครือ่ งมือ ใหแนวคิดที่เปนประโยชนสำหรับการทำวิจัยในคร้ังนี้ และขอขอบคณุ ผูที่มีสวน
เกี่ยวขอ งทุกทานทไ่ี ดใหค วามชว ยเหลือจนการวิจัยสำเรจ็ ลงดว ยดี

กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผล
สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดเชยี งใหม

ชือ่ เร่อื ง การสงั เคราะหโครงรา งการวิจัยในช้ันเรียนของครผู สู อนโรงเรยี นเทศบาล ๑
(ทุงฟาบดราษฎรบ ำรงุ )

ผวู ิจัย กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล

ปท ีท่ ำวจิ ัย พ.ศ.2563

บทคดั ยอ

งานวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน
โรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก รายงานโครงราง
การวจิ ัยในช้ันเรียนของครูผูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม
ประจำปการศึกษา 2563 จำนวน 32 เร่ือง เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยไดแก แบบสอบถามเร่ือง
การสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครูผสู อนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง)
สถิติที่ใชไดแก วิธีสังเคราะหเชิงคุณภาพดวยวิธีวิเคราะหเนื้อหาและทำการแจกแจงความถี่และ
คารอ ยละ

สรุปผลการวจิ ยั
ผลการวจิ ัยสรุปไดดงั นี้
ขอมูลทั่วไปของครูผูสอน พบวา ครูผูสอนสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 87.50

มีอายุ 36 - 45 ป คิดเปนรอยละ 81.46 และมีประสบการณสอน 6 - 15 ป คิดเปนรอยละ 65.63
ผลการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน พบวา ครูผูสอนไดจัดทำโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน
ครอบคลุมทุกกลุมสาระการเรียนรู สอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทักษะพิสัย คิดเปน
รอยละ 43.75

ครูผูสอนไดกำหนดวัตถุประสงคในโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนจำนวน 2 ขอ คิดเปน
รอยละ 37.50 นักเรียนระดับชวงช้ันที่ 2 เปนกลุมเปาหมาย คิดรวมเปนรอยละ 31.25 มีคำศัพทใน
นิยามศัพทเฉพาะ จำนวน 4 - 6 คำ คดิ เปนรอยละ 43.75 มีจำนวนขอในประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั
จำนวน 1 – 3 ขอ คิดเปนรอยละ 81.25 มีจำนวนหัวขอในบทท่ี 2 จำนวน 4 - 6 หัวขอ คิดเปนรอย
ละ 46.88 และคนควาเอกสารในบทที่ 2 จากเอกสาร หนังสือ หรือตำราวิชาการ คิดเปนรอยละ
65.63 มีแหลงอา งอิงสำหรับเอกสารในบทท่ี 2 จำนวน 1 – 5 แหลง คิดเปนรอยละ 46.88 ประชากร
ทใี่ ชเปน นักเรยี นในชัน้ เรียนท่ีตนเองรบั ผิดชอบสอน คดิ เปนรอยละ 65.63 โดยมจี ำนวนกลมุ เปาหมาย
มากกวา 20 คน คิดเปนรอยละ 84.38 ใชเครื่องมือจำนวน 3 ชนิดในการดำเนินการวิจัย คิดเปน
รอยละ 50.00 ใชแผนการจัดการเรียนรู ตั้งแต 5 แผนในการดำเนินการวิจัย คิดเปนรอ ยละ 53.13



ใชวิธีสอน / กระบวนการสอนเปนนวัตกรรมในการแกปญหาในช้ันเรียน คิดเปนรอยละ 53.13
ครูผูสอน สวนใหญใชแบบทดสอบ แบบสอบถาม และแบบสังเกตเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ขอมูล และสรางเคร่ืองมือโดยการประยุกตใชจากผูอ่ืน คิดเปนรอยละ 56.25 มีการหาคุณภาพของ
เครื่องมือโดยการสอบถามจากผูเช่ียวชาญ คิดเปนรอยละ 87.50 และทดลองใช (Try out) คิดเปน
รอยละ 65.63 คำนวณคาสถิติในการวจิ ัยโดยใชโปรแกรมสถิติ คิดเปนรอยละ 59.38 ดำเนินการเก็บ
รวบรวมขอมูลในชวงเวลาเรียนปกติ คิดเปนรอยละ 71.88 โดยใชระยะเวลา 4 เดือนในการ
ดำเนนิ การวิจัย คดิ เปนรอ ยละ 37.50

การจัดทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนน้ัน ครูผูสอนมีปญหา อุปสรรคดานการทบทวน
เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของและการสรา งเคร่ืองมือวัดผลการวจิ ัย คดิ รวมเปนรอยละ 37.50 และ
ครูผูสอนมีขอเสนอแนะและความตองการความชวยเหลือในภาคเรียนที่ 2 ดานการใหคำปรึกษา
ตดิ ตาม และคำแนะนำ คดิ เปนรอยละ 34.38

สารบญั หนา

กิตตกิ รรมประกาศ ข
บทคดั ยอ ฉ
สารบัญตาราง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
3
ความเปนมาและความสำคญั ของปญ หา 3
วัตถุประสงคของการวจิ ยั 4
ขอบเขตการวจิ ัย 5
นยิ ามศพั ทเฉพาะ 6
ประโยชนท ่ีไดรบั จากการวิจยั 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วของ 17
การสังเคราะหง านวิจัย 29
การวจิ ัยในชัน้ เรียน 33
งานวิจัยท่ีเก่ียวของ 33
บทที่ 3 วิธดี ำเนินการศึกษา 33
ประชากรและกลุมตัวอยาง 33
เครื่องมอื ทีใ่ ชใ นการวจิ ัย 34
การเก็บรวบรวมขอมูล 35
การวิเคราะหขอมูลและสถติ ิทีใ่ ช 35
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข อมูล 37
ตอนท่ี 1 ขอมลู ทว่ั ไปของครูผูสอน 55
ตอนท่ี 2 ผลการสงั เคราะหโ ครงรา งการวิจยั ในช้นั เรยี น 58
ตอนท่ี 3 ปญ หา อุปสรรคและขอเสนอแนะ 58
บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และขอเสนแนะ 59
สรปุ ผลการวจิ ัย 61
อภปิ รายผล 62
ขอเสนอแนะ 65
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก รายชอ่ื งานวจิ ยั ในช้นั เรยี นท่ใี ชป ระกอบงานวิจัย จ
ภาคผนวก ข แบบสอบถามประกอบการวจิ ัย 66
69



สารบญั ตาราง

ตาราง หนา
1 ขอเปรียบเทียบระหวาง Formal Research กับ Action Research 18
2 ขอมลู ทั่วไปของครูผูส อนดา นเพศ 35
3 ขอ มูลทวั่ ไปของครูผูสอนดา นอายุ 36
4 ขอ มลู ทัว่ ไปของครูผสู อนดา นประสบการณการสอน 36
5 ชอ่ื เรื่องโครงรางการวจิ ยั ในช้ันเรียนของครูผสู อน 37
6 ความสอดคลองระหวางโครงรา งการวิจัยในชน้ั เรียนและกลมุ สาระการเรยี นรู 39
7 ความสอดคลองระหวา งโครงรา งการวจิ ัยในชน้ั เรียนและวตั ถุประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม 40
8 จำนวนวัตถุประสงคใ นโครงรางการวจิ ัยในช้ันเรียน 41
9 กลุมเปาหมายท่ใี ชใ นโครงรางการวิจัยในช้นั เรยี น 41
10 จำนวนคำศพั ทใ นนิยามศพั ทเฉพาะทใ่ี ชในโครงรางการวิจัยในชนั้ เรยี น 42
11 จำนวนขอ ในประโยชนที่คาดวาจะไดรับที่ใชในโครงรา งการวจิ ัยในช้นั เรียน 43
12 จำนวนหัวขอ เอกสารท่คี นควา ทปี่ รากฎในบทท่ี 2 ท่ีใชในโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน 43
13 แหลง คน ควาเอกสารทป่ี รากฎในบทที่ 2 ทใ่ี ชในโครงรา งการวิจัยในช้ันเรียน 44
14 จำนวนแหลง อา งองิ เอกสารทป่ี รากฎในบทท่ี 2 ทใ่ี ชใ นโครงรางการวจิ ัยในชั้นเรยี น 45
15 ประชากรหรอื กลุมตัวอยางทใ่ี ชในโครงรางการวจิ ัยในช้นั เรียน 45
16 จำนวนประชากรหรือกลมุ ตัวอยางทีใ่ ชในโครงรางการวจิ ัยในชน้ั เรยี น 46
17 จำนวนเครอ่ื งมือท่ีใชในโครงรางการวจิ ัยในช้ันเรียน 47
18 จำนวนแผนการจดั การเรียนรูทใ่ี ชในโครงรา งการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น 47
19 นวตั กรรมหลักท่ใี ชในโครงรางการวจิ ยั ในช้นั เรยี น 48
20 ประเภทนวัตกรรมหลกั ทใ่ี ชในโครงรา งการวิจัยในช้ันเรยี น 49
21 ประเภทเคร่อื งมอื ท่ีใชในโครงรา งการวจิ ยั ในชัน้ เรียน 50
22 การสรางเครื่องมือท่ใี ชใ นโครงรางการวจิ ัยในชน้ั เรียน 51
23 วิธกี ารการหาคณุ ภาพของเครื่องมอื โดยการสอบถามจากผเู ช่ียวชาญ 51
24 วธิ กี ารการหาคณุ ภาพของเคร่ืองมือโดยการทดลองใช (Try out) 52
25 วิธกี ารคำนวณคาสถิติท่ใี ชในโครงรางการวจิ ยั ในชน้ั เรียน 53
26 ชวงเวลาในการเกบ็ รวบรวมขอมลู ทีใ่ ชใ นโครงรางการวจิ ยั ในชนั้ เรียน 53
27 ระยะเวลาทใ่ี ชใ นโครงรา งการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น 54
28 ปญ หา อปุ สรรคจากการทำโครงรา งการวิจัยในชั้นเรยี น 55

ตาราง ช
29 ขอ เสนอแนะและความตอ งการความชว ยเหลือในภาคเรยี นที่ 2 หนา
56

บทที่ 1
บทนำ

ความเปนมาและความสำคัญของปญ หา
นับจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มีผลบังคับใชต้ังแตวันท่ี 20 สิงหาคม

พ.ศ.2542 โดยยึดหลักการปฏิรูปการเรียนรูตามแนวทางท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญซึ่งเปนหัวใจสำคัญ
ของการปฏิรูปการศึกษา (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา , 2548 , หนา 1) ซึ่งมีการดำเนินการ
อยางตอเน่ืองจนถึงปจจุบัน กอใหเกิดการปรับเปล่ียนการจัดการศึกษา ท้ังดานนโยบาย หลักสูตร
การจัดการเรียนรู และการประเมินผลการเรียนรู มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ
การบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการมีสวนรวมในการจัด
การศึกษา เพราะนับแตน้ีไปการศึกษาของประเทศจะตองมีการปฏิรูปปรับเปลี่ยนโฉมหนาใหมไปสู
การจัดการศกึ ษาอบรมใหเกดิ ความรคู ูคุณธรรม และจัดการศึกษาใหมีคณุ ภาพสูงสุดเพ่ือทำใหเกิดการ
พัฒนาลักษณะของคนไทยที่พึงปรารถนา คือ ดี เกง และมีความสุข (ปริวัตร เขื่อนแกว , 2551 ,
หนา 1)

การจดั กระบวนการเรียนรูที่เนน ผูเรยี นเปน สำคัญ เนนการพัฒนาคนใหม ีความสามารถในการ
พัฒนาตนเอง เพื่อการดำรงชีวติ อยา งมีความสุข มีความสามารถในการคดิ แกปญหาและปรับตัวเขา
กับสังคมได ซ่ึงหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา คือ การปฏิรูปการเรียนรู และสาระของการปฏิรูปการ
เรียนรูก็คือ การจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ เพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนรูและ
พัฒนาการเรียนรไู ดจ ากประสบการณจรงิ การปฏิบัติ คิดเปน ทำเปน แกปญ หาเปน มีนสิ ัยรักการอา น
ศึกษาคนควาดวยตนเอง ใฝเรียนใฝรู การจัดกระบวนการเรียนรูจึงตองเนนการจัดเนื้อหาสาระและ
กิจกรรมท่ีสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนใหมีการฝกทักษะกระบวนการคิด
การจัดการและการประยกุ ตใชค วามรูเพ่ือการปองกันและแกปญหาได การปฏิรูปการเรยี นรูจึงนับวา
เปน การเปลีย่ นแปลงวฒั นธรรมและพฤติกรรมการจดั กระบวนการเรียนรูจากเดมิ ที่ยึดตัวครูเปนสำคัญ
เปล่ียนเปน ยึดผเู รียนเปนสำคญั แทน

การศึกษาในโครงสรางของระบบการศกึ ษาสมัยใหม การศกึ ษาวิจัยคน ควา ในแตละสาขาตอ ง
ทำความเขาใจกับทง้ั องคค วามรูของสาขาน้นั ๆ ตลอดจนบุกเบิกหรือขยายองคความรแู ละจำกัดตวั เอง
ใหแคบลงเพ่ือท่ีจะสามารถทำการศึกษาแบบเจาะลึกลงไปใหมากขึ้น (อรรณพ พงษวาท , 2543 ,
หนา 6) กระบวนการวิจัยเปนกระบวนการที่ดอี ยางหน่ึงในการแสวงหาความรูเพราะกระบวนการวิจัย
เปนกระบวนการท่ีมีระบบและเปนวิทยาศาสตร มีประโยชนตอการตรวจสอบใหรอบคอบนาเชื่อถือ
สามารถที่จะไปขยายผลไดอยางมีความนาเชื่อถือ (สุภรณ สุภาพงศ , 2543 , หนา 57) อีกท้ัง
ผลการวิจัยเปนเครือ่ งมือในการพัฒนา เปนยทุ ธศาสตรในระดับการศึกษากับผลท่ีเกดิ ขึ้นแกสังคมโดย

2

วิธีการวิจัยสามารถทำใหเขาใจปญหากระจางชัด เขาใจสภาพ นอกจากน้ันผลการวิจัยสามารถนำไป
ประกอบการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยสวนรวมได เพราะการวางแผนที่ดีจะตองมีการ
กำหนดเปาหมายและยุทธวิธีในการนำไปสูเปาหมายใหเหมาะสมถูกตองในอนาคต ท้ังยังเปนการ
ควบคุมตวั แปรหรือปจจัยบางอยางใหเกิดข้ึนหรือลดนอยลงตามสภาพทส่ี ังคมตองการได เพื่อใหการ
พฒั นาบรรลเุ ปา หมาย (ทองคูณ หงสพนั ธุ อา งในสยาม กาวลิ ะ , 2550)

ในแตละชวงของแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติไดกำหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของกับ
การศึกษาไดสงเสริมใหมีการนำผลการวจิ ัยไปใชและองคค วามรูในศาสตรส าขาตางๆ ที่เปนประโยชน
ตอการพัฒนาเนื้อหาสาระ โดยใหความสำคญั กับการนำผลการวจิ ัยไปใชอยางมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งสวน
ใหญพบวา นโยบายหรือผลการวิจัยเหลานั้นจะเก็บอยูในรูปเอกสารยังไมไดนำไปปฏิบัติอยางจริงจัง
ชอ งวางจงึ เกิดขน้ึ ระหวา งนโยบายกับการปฏบิ ัติ (บญั ชา อ๋งึ สกุล , 2541 , หนา 58) การทผ่ี ลงานวจิ ัย
ถูกนำไปใชนอยนั้น สาเหตุหน่ึงอาจมาจากการเผยแพรผลงานวิจัยยังไมดีพอ ซึง่ กอใหเกิดปญหากับ
ผูผลิตงานวิจัยรุนหลังที่มักไมทราบจะทำวิจัยเรื่องใด เพราะขาดความรูรอบและขาดสิ่งส่ือสาร
ลักษณะการทำวิจัยก็ยังกระจัดกระจายเปนลักษณะตางคนตางทำ (คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย อางในอา งในสยาม กาวลิ ะ , 2550)

สำหรับแนวทางท่ีจะนำเอาผลการวิจัยไปใชใหเปนประโยชนตอการพัฒนาศาสตรนั้นๆ
หรอื ประยุกตใชใหเขากับการปฏิบัติงานไดนั้นวิธีหน่ึงก็คอื การดำเนินการศึกษางานวิจัยท่ีมีผูจัดทำไว
แลว เพื่อคนหาเลือกเฟนและสรุปขอคนพบท่ีสำคัญ แลวนำมาสังเคราะหใหเกิดประโยชน ซึ่งการ
ดำเนินการในลักษณะน้ีสามารถนำเอางานวิจัยหลายๆ เรื่องที่เก่ียวกับศาสตรนั้นๆ มาวิเคราะหและ
สงั เคราะหใหเกิดการพัฒนาศาสตร หรอื แนวทางในการปฏิบัติงาน นอกจากน้ีวิธกี ารดังกลาวยังทำให
ไดขอความรู หลักการ และวิธีการปฏิบัติตางๆ ที่มีความเชื่อม่ันมากกวาวิธีการอื่นๆ ทั้งนี้เพราะไดมี
การกลั่นกรอง ศึกษาเปรียบเทียบกับงานวิจัยช้ินตา งๆ จำนวนหลายเรื่องในขอบเขตชนิดเดียวกันท้ัง
ยังสามารถทำไดกับงานวิจัยจำนวนมากโดยใชงบประมาณนอยกวาวิธีการแบบอ่ืนๆ (สมบูรณ
ฟูเต็มวงศ , 2535 , หนา 3)

การสังเคราะหงานวิจัยเปนระเบียบวิธีการวิจัยที่ตองการแสวงหาขอเท็จจริง โดยศึกษา
วิเคราะหจากงานวิจัยในปญหาเดียวกันหลายๆ เรื่องที่ทำไวแลวในอดีต การศึกษาและวิเคราะห
จะตองทำอยา งมีระบบระเบียบ เพ่ือใหไดข อสรุปท่ีเปนขอยตุ ิของปญหาการวจิ ัยน้นั ๆ ช่อื ที่ใชเรยี กที่มี
ความหมายใกลเคยี งกัน เชน การวิเคราะหผลการวเิ คราะห ระเบียบวิธบี ูรณาการงานวจิ ัย ระเบียบวธิ ี
ประสานงานวิจัย หรือการวิจัยงานวิจัย

โรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม ไดดำเนินโครงการ
การพัฒนาครูผูสอนเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน และไดเชิญผูวิจัยรวมเปนวิทยากร ในภาคเรียนท่ี 1
ปการศกึ ษา 2563 โรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) และผูวิจัยไดดำเนนิ โครงการดังกลาว

3

อยู 2 ขัน้ ตอน คือ บรรยายใหความรูเรื่องการวจิ ัยในชั้นเรียนเมื่อวันที่ 25 – 26 กันยายน พ.ศ.2563
และครูผูสอนทั้ง 32 คนนำเสนอโครงรา งการวิจัยในช้ันเรียนพรอมทั้งผวู ิจัยวิพากษ และเติมเต็มโครง
รา งการวิจยั ในชน้ั เรยี น เมอื่ วันท่ี 9 – 10 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2563

จากการดำเนินงานทั้ง 2 ขั้นตอนดังกลาว ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิดในการนำโครงรางการวิจัยใน
ช้ันเรียนทั้ง 32 เลมมาสังเคราะหเพื่อใหเห็นภาพรวมระดับโรงเรียนของโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน
ในประเด็นเรื่อง มีการทำวจิ ัยในชั้นเรียนเพ่ือแกปญหาผูเรียนในเรื่องใดบาง กลุมเปาหมายท่ีใชในการ
วิจัยในชั้นเรยี น ใชอ ะไรเปนนวัตกรรมในการแกปญ หา มีวธิ ดี ำเนินการวิจัยอยางไร ปญหาอุปสรรคท่ี
เกิดข้ึนระหวา งการทำโครงรางการวิจัยในชัน้ เรยี นคอื อะไร และตองการความชวยเหลอื เร่อื งอะไรจาก
โรงเรียนและหนวยงานท่ีเก่ียวของ เม่ือไดผลการสังเคราะหแลว ผูวิจัยและโรงเรียนเทศบาล ๑
(ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) จะไดนำผลการสังเคราะหดังกลาวไปวางแผนเพ่ือการพัฒนา นิเทศ และ
ติดตามครูผูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563
สงผลใหปลายทางสุดทายคือ ครูผสู อนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) มีทัศนคติท่ีดีตอ
การทำวิจัยในช้ันเรียน ใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเปนฐานของการพัฒนากิจกรรมการเรียนการ
สอนในกลุมสาระการเรียนรูท ี่ตนเองรับผิดชอบ สง ผลใหเ กดิ การพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี นต้งั แตร ะดบั ช้ัน
เรียนและระดับโรงเรียนสืบตอไป และนอกจากนี้ยังมีประโยชนสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตลอดจนผูท่ีเกี่ยวของเพ่ือใชเปนแนวทางในการผลิตงานวิจัยในชั้นเรียนที่ถูกตอง และ มีคุณภาพ
นอกจากนี้ยังเปนการนำเสนอขอมูลเชิงวิพากษใหเกิดแนวทางในการดำเนินการวิจัยในช้ันเรียนท่ี
เหมาะสมตอ ไปในอนาคต

วตั ถุประสงคของการวจิ ัย
เพอ่ื สงั เคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรยี นของครูผูสอนโรงเรยี นเทศบาล ๑ (ทงุ ฟา บดราษฎร

บำรุง) อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม

ขอบเขตการวจิ ัย
ขอบเขตดานประชากร
ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก รายงานโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนของครูผูสอน

โรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม ประจำปการศึกษา 2563
จำนวน 32 เร่ือง

ขอบเขตดา นเนือ้ หา
เนื้อหาของการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เปนการสังเคราะหในดานของ
ขอมลู พ้ืนฐานของโครงรา งการวิจัยในชัน้ เรียน รายละเอยี ดดังนี้

4

1. ขอมลู พื้นฐานโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน ประกอบดวย ชื่อเร่ืองงานวิจัยท่ีไดดำเนินการ
ปญหาของนักเรียนที่ตองการแกไข วตั ถุประสงคข องการทำวิจัย ขอบเขตของการทำวิจัย นิยามศัพท
เฉพาะ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ กลุมตัวอยางหรือ
กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัย นวัตกรรมหลักท่ีใชแกปญหา เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย วิธีการหา
คุณภาพเคร่ืองมือ ระยะเวลาที่ใชดำเนินการวิจัย สถิติท่ีใชในการวิเคราะห และปญหา อุปสรรค
ขอเสนอแนะในการทำวิจยั ในชัน้ เรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2563

ขอบเขตดานระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2563

นยิ ามศัพทเฉพาะ
การสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การนำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน

ของครูผูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563
มาจัดเปนหมวดหมู และใชวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปความเหมือน ความแตกตางระหวางโครงรางการ
วิจัยในชั้นเรียนแตละเรื่อง เพื่อใหไดภาพรวมของข้ันตอนในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน
โรงเรยี นเทศบาล ๑ (ทุงฟา บดราษฎรบำรงุ ) ในภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563

ขอ มูลพื้นฐานโครงรางการวิจัยในชนั้ เรยี น หมายถึง สวนประกอบของโครงรา งการวิจัยใน
ชั้นเรียน ประกอบดวย ช่ือเร่ืองงานวิจัยท่ีไดดำเนินการ ปญหาของนักเรียนที่ตองการแกไข
วัตถุประสงคข องการทำวิจัย ขอบเขตของการทำวิจัย นิยามศัพทเฉพาะ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ
การศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวของ กลมุ ตัวอยา งหรือกลุมเปาหมายที่ใชในการวจิ ัย นวัตกรรม
หลักท่ีใชแกปญหา เคร่ืองมือที่ใชใ นการวิจัย วิธีการหาคุณภาพเครอื่ งมอื ระยะเวลาทีใ่ ชดำเนินการ
วิจัย สถิติท่ีใชในการวเิ คราะห และปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะในการทำวิจัยในช้ันเรียนภาคเรียน
ที่ 2 ปก ารศึกษา 2563

ปการศึกษา 2563 หมายถึง ระยะเวลาดำเนินการวิจัยในช้ันเรียน ไดแก ดำเนินการจัดทำ
โครงรางการวิจยั ในชั้นเรยี นในภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 และดำเนินการทำวิจยั ในชั้นเรยี นตาม
โครงรางการวจิ ยั ในช้ันเรยี นท่ีนำเสนอในภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2563

5

ประโยชนทไ่ี ดร บั จากการวจิ ัย
1. ทำใหทราบขอ มลู พ้ืนฐานในภาพรวมเกย่ี วกับประเด็นในการทำวิจัยในชั้นเรียน นวัตกรรม

ท่ีใชในการแกปญหา กลุมเปาหมายท่ใี ชในการทำวิจัย เครือ่ งมือท่ีใช การเก็บรวบรวมขอ มูล สถิติท่ี
ใชในการวิเคราะห และปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะในการทำวิจัยในช้ันเรียนภาคเรียนท่ี 2
ปการศกึ ษา 2563

2. ผูรับผิดชอบโครงการไดเตรียมความพรอมสำหรับการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน
ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563

3. เปน แนวทางในการพฒั นางานโดยใชก ารวิจยั เปน ฐาน

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ ง

การวิจัยครง้ั นม้ี ีวตั ถุประสงคเ พอ่ื สังเคราะหโครงรางการวิจยั ในช้ันเรียนของครูผสู อนโรงเรียน
เทศบาล ๑ (ทงุ ฟา บดราษฎรบ ำรุง) อ.สนั ปาตอง จ.เชยี งใหม โดยผูวิจัยไดศ กึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที่
เกีย่ วของ ดังรายละเอียดตอไปน้ี

1. การสงั เคราะหงานวิจัย
2. การวิจยั ในช้ันเรียน
3. งานวิจัยที่เกยี่ วขอ ง

การสังเคราะหงานวิจัย

ความหมายของการสังเคราะหง านวจิ ยั
การสังเคราะห (Synthesis) เปนการนำหนวยยอยหรือสวนตาง ๆ มาประกอบใหเปนเนื้อ
เร่ืองเดียวกัน โดยไมเคยมีกานำสิ่งตาง ๆ เหลานี้มารวมเขาดวยกันมากอน (อุทุมพร จามรมาน,
2527) ซงึ่ กรมวิชาการ (2542) อธิบายเพม่ิ เติมวา การสังเคราะหงานวจิ ัยเปนระเบียบวิธีทศี่ ึกษาหรือ
คนควาหาขอเท็จจริง เพ่ือตอบปญหาใดปญหาหนึ่ง (เปนงานวิจัยประเภทหน่ึง) ดำเนินการโดยการ
รวบรวมงานวิจัยทศ่ี ึกษาในปญหาเดียวกัน (ที่เราตอ งการศึกษา) หลาย ๆ เลม มาวิเคราะหหาขอสรุป
และนำขอสรุปอยางมีระบบเปนการไดความรูใหม ซึ่งสอดคลองกับความคิดของนงลัษณ วิรัชชัย
(2529) ทวี่ าการสงั เคราะหงานวจิ ัยเปนวิธีการศึกษาขอเท็จจรงิ เพ่ือตอบปญหาใดปญหาหนึ่ง โดยการ
รวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับปญหาน้ัน ๆ หลาย ๆ เลม มาศึกษาวิเคราะหและนำเสนอขอสรุปอยางมี
ระบบ ใหไดคำตอบของปญหาท่ีเปนขอยุติ นักวิจัยสังเคราะหงานวิจัยได 2 ลักษณะ ลักษณะแรก
เปนสวนหนงึ่ ของการวิจัย ไดแก กิจกรรมการศึกษาคน ควา งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ โดยการสังเคราะห
งานวจิ ัย เพ่ือเปนพ้ืนฐานในการออกแบบการวิจยั และกำหนดสมมติฐาน ลกั ษณะทสี่ องเปนการวิจัย
เพ่ือการแสวงหาความรูใหมและนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนตอมวลมนุษยและสังคมมีคำศัพทท่ี
ใกลเคยี งและมผี ูใชคำแทนการสังเคราะหงานวจิ ัยหลายคำ ไดแ ก
- ระเบยี บวิธบี ูรณาการงานวิจยั (Method of Integrating Research)
- ระเบยี บวิธีผสมผสานงานวิจยั (Method of Combining Research)
- การวเิ คราะหผลการวเิ คราะห (Analysis of Analysis)
- การวิจัยงานวิจัย (Research of Research)

7

สรุปไดว า การสังเคราะหงานวิจยั เปนการนำงานวจิ ัยที่ศกึ ษาปญหาเดียวกันหลาย ๆ เลมมา
วิเคราะหอยางเปนระบบเพื่อสรางความรูใหม โดยการเชื่อมโยงความรูเกาเขาดวยกันแลวนำเสนอ
ขอ สรุปใหชดั เจน ซงึ่ อาจเปนสวนหนง่ึ ของการวิจัยเตม็ รปู

ประเภทของการสังเคราะหง านวิจยั
ศิริยุพา พูลสุวรรณ (2541) แบงประเภทของการสังเคราะหงานวิจัยตามวิธีการสังเคราะห
และตามลักษณะขอ มลู ไวด งั น้ี
1. แบงตามวิธีการสังเคราะห การสังเคราะหงานวิจัยแบงตามวิธีการสังเคราะหได 2
ประเภท คอื

ก. Comulative Research Review เปนการสังเคราะหแบบโบราณ (Narrative
Review) หรือ แบบขนมชน้ั ผสู ังเคราะหจะใชวิธอี านงานวจิ ยั หรอื อานบทคดั ยอของงานวิจยั เมื่อ
ไดขอสรุปมาหน่ึงยอหนา การสังเคราะหจะแสดงขอมูลวาผูวิจัยทำวิจัยเร่ืองอะไร ในปใด ไดผล
อยางไร อีกยอหนาหนึ่งก็จะเปนงานวิจัยเลมใหมโดยสังเคราะหแบบเดียวกัน การสังเคราะหแบบน้ี
เรียกวาการสงั เคราะหแ บบขนมชนั้ เพราะเปนการนำงานวิจยั มาสรปุ ตอ ๆ กันนัน่ เอง

ข. Integrative Research Review เปนการบูรณาการนำขอมูลจากงานวิจัยหลาย
ๆ เร่ืองมาหาขอสรุป เปนการบูรณาการงานวิจัยท้ังเลม เชน สังเคราะหงานวิจัยท่ีศึกษาปญหาการ
วิจัยเดยี วกันแลวดูผลการวิจัยที่ไดวา ตางกันหรือไม ตางกันเพราะอะไรหรอื อาจจะนำผลการวิจัยท่ีมี
อยูห าขอสรุปเขาดวยกัน

2. แบงตามลักษณะขอมูล การสังเคราะหงานวิจัยแบงตามลักษณะขอมูลได 2 ประเภท
คือ

ก. การสังเคราะหงานวิจยั เชงิ คุณภาพหรือเชิงคุณลกั ษณะ (Qualitative Synthesis)
ดว ยวิธีการวเิ คราะหเนือ้ หา (Content Analysis) โดยการสรุปประเด็นหลักของผลการวจิ ัยแตละเรอื่ ง
แลวบรรยายใหเห็นความสัมพันธและความขัดแยงระหวางผลการวิจัยเหลานั้น ใชไดกับการ
สังเคราะหงานวิจัยท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มักเปนวิธีของนักวิจัย เชิงคุณภาพ โดยเฉพาะ
นักวิจัยทางประวัติศาสตรและมานุษยวิทยาใชในการวิเคราะหขอมูลเชิงบรรยายสำหรับนักวิจัยท่ัว ๆ
ไปนยิ มใชเปนกิจกรรมในการรายงานเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ งหรือเรียกวาบทที่ 2 ของรายงาน
การวิจัย (Review of Literature)

ข. การสังเคราะหงานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Synthesis) ดวยวิธีการ
วิเคราะหอภิมาน (Meta Analysis) นักสังเคราะหจะใชวิธีการที่มีระบบ ความรู หลักการและ
ระเบียบวิธีทางสถิติวิเคราะหผลการวิจัยเพ่ือหาขอสรุปที่เปนวัตถุประสงคหรือขอยุติของการหา
คำตอบงานวิจัยท่ีนำมาวิเคราะหตองเปนงานวิจัยเชิงปริมาณมีผลการวิจัยท่ีสามารถนำมาวิเคราะห
ดวยระเบียบวิธีทางสถิตไิ ด การสังเคราะหป ระเภทนจี้ ะแกปญ หาการสังเคราะหหรือสรปุ ผลงานวิจัยท่ี

8

ตอบปญหาเดียวกันแตผลการวิจัยมีท้ังสอดคลองและขัดแยงกัน จึงใชวิธีการทางสถิติที่เชื่อถือไดมา
วิเคราะห การวิเคราะหเชิงปริมาณจึงเปนการวิเคราะหผลวิเคราะห (Analysis of Analysis) หรือ
การวิเคราะหเชิงผสมผสาน (Integrative Analysis) หรือการวจิ ัยงานวิจัย (Research of Research)
(อุทมุ พร จามรมาน, 2531) ซึง่ สว นใหญเปน งานวจิ ัยประเภททดลองและสหสัมพนั ธจ ึงมกั ใชสถติ ิตา ง
ๆ มาวิเคราะหโดยเนนการสรางดัชนีมาตรฐานจากผลการวิจัยแตละเร่ือง แลวจึงศกึ ษาการกระจาย
ของดัชนี ทดสอบสมมติฐานและประมาณคาพารามิเตอรดัชนีน้ันสถิติท่ีนิยมใชคือ ความนาจะเปน
ของคา สถติ ิ คา สหสมั พันธ และคา ขนาดอิทธิพล (กรมวิชาการ, 2542)

ศิริยพุ า พูลสวุ รรณ (2541) กลา ววา การสงั เคราะหเชิงคุณภาพกับการสงั เคราะหเชิงปริมาณ
เทคนิคบางเทคนิคจะใชไดกับวิธีการสังเคราะหเชิงปริมาณเทานั้น เชน เทคนคิที่เรียนกวา Meta
Analysis ห รือ ก ารวิเค ราะ ห อ ภิ ม าน แ ต จ ะ มี บ างเท ค นิ ค คื อ Content Analysis ห รือ
การวิเคราะหเนื้อหา จะเปนไดทั้งการสังเคราะหที่ไดขอมูลในลักษณะเชิงปริมาณและขอมูลใน
ลักษณะเชิงคุณภาพ เพราะกรอบเน้ือหาในการสังเคราะห (Content Area) ไมไดหมายความถึง
ตวั หนังสือ อาจจะเปนคำ เปนประโยค เปนภาพหรือเปนปรากฏการณ การสงั เคราะหในลักษณะน้ี
เรียกวา การสังเคราะหเชิงคุณภาพ คือเปนการทำความเขาใจกับปรากฏการณ นักสังเคราะห
และนักวิเคราะหตองตีความวาปรากฏการณน้ันสื่อถึงอะไรหรือตองการสะทอนสิ่งใด ซ่ึงอุทุมพร
จามรมาน (2531) สรุปวิธีการวิเคราะหเน้ือหา (Content Analysis) ไว 2 ข้ันตอน ไดแก
การแปลภาษาเปนขอมูล คอื การจับประเด็นท่ีซอ นอยูในเนื้อหาสาระใหชดั เจนแลวแยกเนื้อหาสาระ
ออกเปนสวนยอย ๆ และการแปลขอมูลเปนตวั เลขคือการแปลขอ มูลจาสว นยอ ยเปนจำนวน (ความถ่ี)
หรอื แปลเปนคา

ลักษณะของการสังเคราะหงานวิจัย ศิริยุพา พูลสุวรรณ (2541) แบงการสังเคราะห
งานวจิ ยั โดยอาศยั การวิเคราะห 5 ลักษณะ ไดแ ก

1. Primary Analysis คือ การวเิ คราะหขอมูลจากขอมูลดิบที่ผูว ิจัยเก็บรวบรวมมาเองแลว
นำมาวเิ คราะหสรุปผล เปนการวเิ คราะหข้นั ปฐมภมู ิแตไมไดหมายความวาเปนการวเิ คราะหในระดับ
ตำ่

2. Secondary Analysis คอื การวิเคราะหข อมูลดิบท่ีผูวิจัยไดเ ก็บรวบรวมขอมูลเอง แตมผี ู
เก็บรวบรวมขอมูลอยูแลว ซึ่งผูวิจัยนำมาวิเคราะหเพื่อตอบปญหาการวิจัยใหม เชน สำนักสถิติ
แหงชาติเก็บรวบรวมขอมูลตา ง ๆ ไวห ลายประเภท ผูวิจัยสามารถนำขอมูลที่สำนักงานสถติ ิแหงชาติ
เกบ็ ไวมาวิเคราะหเพือ่ ตอบปญหาในเร่อื งทีส่ นใจไดโ ดยไมจ ำเปนตองเก็บขอมลู ใหม

3. Meta Analysis หรือการสังเคราะหงานวิจัย คือการเก็บรวบรวมขอมุลจากงานวิจัย
เพ่ือที่จะอธิบายปรากฏการณของขอมูลของงานวิจัยเหลานั้น มีลักษณะคลาย ๆ กับ Survey
Research แตข อมูลคอื รายงานการวิจัย

9

4. Best Evidence Analysis เปนการวเิ คราะหขอมูลโดยการทำ Meta Analysis แตว าใช
เฉพาะงานวิจัยท่ีมีคุณภาพมาสังเคราะห ดังน้ันจึงเกิดปญหาวาการใชเฉพาะงานวิจัยที่มีคณุ ภาพมา
สังเคราะหจะทำใหไดขอมูลเกี่ยวกับปญหาในการวิจัยทั้งหมดหรือไม เพราะอาจมีการละเลยบางเรื่อง
ไปหรอื การประเมินคณุ ภาพงานวิจยั ผูวจิ ยั อาจเกิดความลำเอยี งขนึ้ ได

5. Best Case Analysis คือการทำ Meta Analysis ท่ไี มไดใ ชขอมูลจากงานวจิ ัยแตย อนไป
ใชขอมูลดิบจากงานวิจัยเดิม ลักษณะจะคลาย ๆ กับ Secondary Analysis แตขอมูลเหลานี้จะมา
จากงานวิจัยหลาย ๆ เรื่องโดยสมมติวางานวิจัยเดิมอาจมีการวิเคราะหผิดพลาดหรือใหคาสถิติ
ผดิ พลาด วธิ ีการนี้สามารถแกป ญ หาในประเดน็ นี้ได

พฒั นาการของการสงั เคราะหงานวิจัย
อทุ ุมพร จามรมาน (2527) กลาวถึงพัฒนาการของการสังเคราะหงานวิจัย โดยจำแนกตาม
พัฒนาการได 3 ระยะ คือ
1. ระยะท่ี 1 เปน การนำผลวจิ ัยมารวมกนั ซึง่ มี 2 ลักษณะ

ก. การนำบทคัดยอหรือผลสรุปของงานวิจัยแตละเร่ืองมาวางเรียงตอกันลักษณะเชนน้ี
จะพบมากในวิทยานิพนธของนิสติ นักศึกษา บทคดั ยอหรือผลสรปุ ของวทิ ยานิพนธดังกลา วมักจะคลุม
ป ญ ห าก ารวิจั ย วัตถุ ป ระส งค ส ม ม ติ ฐาน วิธีก ารดำเนิ น การวิจั ยแ ละผ ล การวิจั ย
การนำเสนอผลการสังเคราะหงานวิจัยในลักษณะนี้จะชวยใหผูอานทราบแตเพียงวา ใครทำอะไร
อยางไร ไดผลอยางไร มิไดมีการผสมผสานหรือเช่ือมโยงงานวิจัยท้ังหลายเขาดวยกันเพ่ือใหเกิด
ความรูเชงิ บรู ณาการออกมา

ข. การอานรายงานวิจัยจนเกิดความเขาใจแลวนำผลการวิจัยมาเชื่อมโยงกับ
ขอปญหา เพื่อใหไดความรูวาใครทำอะไร ไดผลอยางไร และอยูสวนใดของหัวขอใหญนั้น
การสังเคราะหใหไดผลดังกลาวอยูกับความเช่ียวชาญของผูสังเคราะหวาจะเขาถึงประเด็นหลักได
อยางไร ดังน้ันคาของผลการสังเคราะหในลักษณะนี้จึงข้ึนอยูกับความสามารถของผูสังเคราะหเปน
สว นใหญ

2. ระยะที่ 2 เปนการสังเคราะหเชิงปริมาณท่ีวิเคราะหคาสถิติที่ปรากฏในงานวิจัยการ
เร่ิมตน นำวิธีการทางสถิติมาสงั เคราะหงานวิจยั โดยพิจารณาจากผลการวิจัย มวี ิธดี ำเนนิ การดงั นี้

ก. วิธีการนับคะแนนเสียง (Vote Counting Method) การสังเคราะหงานวิจัยนี้ใชกับ
จำนวนงานวิจัย จำแนกตามผลการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งแบงเปน 3 กลุม คือ กลุมท่ีผลการวิจัยมี
นัยสำคัญทางสถิติไปในทางเดียวกัน กลมุ ที่ผลการวิจัยมีนัยสำคัญทางสถิตแิ ตทศิ ทางตางกนั และกลุมท่ี
ผลการวิจัยไมมีนัยสำคัญทางสถิติ แลวนับความถ่ีของงานวิจัยแตละกลุม การสรุปผล การสังเคราะห
จะสรุปผลตามกลุมที่มคี วามถีส่ ูงสดุ

10

ข. วิธีการรวมคาความนาจะเปนโดยนำคาดังกลาวมารวมเปนคาความนาจะเปนของ
งานวิจัยทั้งหมด จุดออนของวิธีการนี้คือ ไมสามารถระบุปริมาณของผลการวิจัย จึงเกิด
การพัฒนาการสังเคราะหงานวิจัย แนวทางที่สามคือ การประมาณคาดัชนีมาตรฐานหรือขนาด
อิทธพิ ลของงานวิจัย

3. ระยะที่ 3 เปนการสังเคราะหหาขนาดของผล (Effect size) หรือเรียกเทคนิควิธีที่ใชใน
ข้ันนี้วา การวิเคราะหแบบเมตตา (Meta Analysis) เปนการนำวิธีการทางสถิติมาประมาณคาขนาด
อิทธิพลจากงานวิจัยเพื่อหาขอสรุปอยางมีระบบจากงานวิจัยหลาย ๆ เร่ืองที่ศึกษาปญหาการวิจัย
เดยี วกัน ซ่ึงแบงออกเปน 2 แนวคิด คอื

ก. การสังเคราะหแบบเมตตาตามแนวคิดของ Glass ในป พ.ศ. 2519 Glass เปน ผูว าง
พน้ื ฐานทำใหก ารสงั เคราะหงานวิจัยกลายเปนระบบ มรี ูปแบบและใชสถิติมาเก่ียวของในความหมาย
วา The Analysis of Analysis (Studies) ครอบคลมุ ลักษณะวาเปนการสังเคราะหงานวิจัยโดยการ
รวบรวมตัวเลขและสงั เคราะหวิเคราะหเชิงบรรยายในงานวิจัยท้ังหลาย Glass สรุปแนวคิดของตน
โดยเนน ทีข่ นาดของผล (Effect size) วามีคา เทาใดมากกวาการเนนท่ีระดบั ความมนี ัยสำคัญ เขาเชื่อ
ในผลการวิจัยท้ังหลายในระดับการบรรยายเมตตาของ Glass ที่แสดงคาความมากนอยของ
ผลการวิจยั คือคา ประมาณของสัมประสิทธิส์ หสัมพันธหรือคา ประมาณของความตา งของผลทดลองกับ
ผลควบคมุ

ข. การวิเคราะหแบบเมตตาตามแนวคิดของ Schmidt Hunter จากแนวคิดของ Glass
ที่ตอ งหาขนาดของผลออกมาเปนคาหรือตัวเลขโดยวิธีหาคาเฉล่ียหรือสว นเบี่ยงเบนมาตรฐานแตม ิได
คำนึงถึงคาความคลาดเคลื่อนจากการสุม จากการวัดและชวงกวาง-แคบของขอมูลดิบท่ีนำมาหา
คาสถิติในงานวิจัยน้ัน ๆ Schmidt Hunter จึงคิดสูตรเพอแกหรือปรับลดความคลาดเคลื่อนตาง ๆ
ของคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธและของความแตกตางของผลการทดลองกับผลการควบคุมออกจาก
คาพารามิเตอรเ พื่อใหไดค า พารามเิ ตอรท ่ีแทจ รงิ

วิธกี ารของการสงั เคราะหง านวจิ ยั
หากจำแนกการสังเคราะหงานวิจัยเปน 2 ประเภท คือ การสังเคราะหเชิงคุณลักษณะและ
การสงั เคราะหเ ชงิ ปรมิ าณ มีวธิ ีการสงั เคราะหง านวิจัยดงั ตอ ไปนี้
1. การสงั เคราะหเชิงคุณลักษณะดว ยวธิ ีวิเคราะหเน้อื หา (Content Analysis)

นงลักษณ วิรัชชัย (2529) กลาวถึงวิธีการวิเคราะหเน้ือหาวาผูสังเคราะหจะตองสรุป
ประเด็นหลักของผลการวิจัยแตละเรื่องแลวบรรยายใหเห็นความสัมพันธ และความขัดแยงระหวาง
ผลการวิจัยเหลาน้ัน ท้ังนี้ผูสังเคราะหตองสรุปดวยความเที่ยงธรรม ไมลำเอียง และไมผนวกความ
คดิ เห็นของตนเองในการสังเคราะห วิธีการสังเคราะหเ ชิงคุณลกั ษณะของผลการวจิ ยั นีเ้ ปนวิธีการทีใ่ ช

11

กับงานวจิ ัยเชิงคณุ ภาพและงานวจิ ัยเชิงปริมาณและเปน วิธีการทีน่ ักวจิ ัยเชิงคุณภาพโดยเฉพาะนักวจิ ัย
ทางประวัติศาสตรแ ละมนุษยวทิ ยาใชในการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา สวนนักวิจัยทัว่ ไปนิยมใชเ ปน
กิจกรรมในการรายงานเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วของ

2. การสังเคราะหเชิงปริมาณดวยวิธีวิเคราะหอภิมานหรือวิธีวิเคราะหเมตตา (Meta
Analysis)

การสังเคราะห เชิงปริมาณ ดวยวิธีวิเคราะห อภิมานหรือวิธีวิเคราะหเมตตา
ตามแนวคิดของ Glass ซึ่งอุทุมพร จามรมาน (2527) กลาวสรุปไวด ังนว้ี า

ก. เนนท่ขี นาดของผล (Effect size) มากกวา เนนความมนี ัยสำคญั
ข. สถิตทิ ่ใี ชหาขนาดของผล คือ คา ขนาดของผลในงานวจิ ัยเชิงทดลองและคา เฉลย่ี ของ
สัมประสทิ ธ์ิแบบเพยี รส ันสำหรบั งานวิจยั เชงิ สหสมั พันธ
ขน้ั ตอนของการสังเคราะหง านวิจยั
นงลักษณ วิรัชชัย (2529) กลาววา การสังเคราะหงานวิจัยโดยทั่ว ๆ ไป ประกอบดวย
ข้นั ตอนในการดำเนินงาน 5 ขน้ั ตอน แตละขั้นตอนมีวิธีการดงั ตอไปน้ี
1. การกำหนดหวั ขอปญหา
การสังเคราะหงานวิจัยเร่ิมตนจากการกำหนดปญหาการวิจัย ซ่ึงตองเปนปญหาท่ีมีการทำ
วิจัยแลวอยางนอยสองราย เน่ืองจากปญหาจากการวิจัยที่มีคุณคา นาสนใจ และเปนปญหาท่ียังไมมี
คำตอบแนชัดนั้นมักเปนปญหาที่นักวิจัยสนใจและทำวิจัยเปนจำนวนมาก ปญหาในลักษณะดังกลาว
จงึ เปน ปญ หาท่ีเหมาะสมตอ การสังเคราะหง านวิจัย
2. การวเิ คราะหป ญ หา
เมื่อกำหนดหัวขอปญหาแลว นักสังเคราะหงานวิจัยตองนิยามปญหาใหชัดเจน ศึกษาตาม
แนวคิด หลกั การ และทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับปญหาใหแจมชัด เพ่ือเปนพื้นฐานในการกำหนดแบบแผน
และสมมตฐิ านการวจิ ัย
3. การเสาะคน คัดเลอื กและรวบรวมงานวจิ ัย
3.1 การเสาะคน งานวิจัยโดยแสวงหางานวจิ ัยทั้งหมดทเ่ี กี่ยวกับปญหาท่ีผูวจิ ัยกำหนดไว
การเสาะคนงานวิจัยสวนใหญจะไดจากเอกสาร เชน รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ บทคัดยอ
วิทยานิพนธ วารสาร ดัชนีวารสาร ศูนยทรัพยากรขอมูลทางการศึกษา (Education Resource
Information Center หรือ ERIC) เปน ตน
3.2 การคัดเลือกงานวิจัย นักสังเคราะหตองอานงานวิจัย ศึกษา และตรวจสอบ
งานวิจัยแตล ะเร่ืองอยางละเอียด ตองสรา งเกณฑก ารคัดเลือกงานวิจัยและคัดเลือกงานวิจัยที่มคี ุณคา
มีความเท่ยี งตรงภายนอกและภายในสูงสุดตามเกณฑทก่ี ำหนดไว

12

3.3 การรวบรวมผลงานวิจัยหลังจากคัดเลือกงานวิจัยใชในการสังเคราะหแลว
ขั้นตอไปคือ รวบรวมรายละเอียดและผลการวิจัยของงานวิจัย วิธีการรวบรวมอาจใชการจดบันทึก
การถายเอกสาร หรอื การกรอกแบบฟอรมก็ได ทง้ั นน้ี ักสังเคราะหงานวิจัยตอ งใชความระมัดระวังใน
การเก็บรวบรวมขอมูลใหไดขอมลู ทมี่ คี วามเที่ยงตรง เชื่อถอื ได และครบดวย

4. การวเิ คราะหเ พอ่ื สังเคราะหผลการวจิ ยั
เปนขั้นตอนที่จัดกระทำและวิเคราะหขอมูลซึ่งประกอบดวยผลการวจิ ัยรายละเอียด ลักษณะ
และวิธีการวิจัยจากงานวิจัยท้ังหมด เพ่ือสังเคราะหหาขอมูลที่เปนขอยุติและทดสอบวาสอดคลอง
ตามสมมติฐานการวิจัยทีต่ ้ังไวหรือไม จากนั้นจึงแปลความหมายผลการวิเคราะห เพื่อตอบปญ หาการ
วิจัย ซ่ึงวิธีการวิเคราะหเพ่ือสงั เคราะหผ ลการวิจัยที่ใชกันอยูในสาขาสังคมศาสตร แบงตามวธิ ีการได
เปนสองประเภท ดังนี้

4.1 การวิเคราะหเชิงคุณภาพเพื่อสังเคราะหผลการวิจัย การวิเคราะหประเภทน้ีเปน
การบรรยายสรปุ ผลการสังเคราะหผ ลการวิจยั โดยนกั สังเคราะหสรุปประเดน็ หลักของผลการวิจัยแต
ละเรื่องแลวบรรยายใหเห็นถึงความสัมพันธและความขัดแยงระหวางผลการวิจัยเหลานั้น ทั้งนี้นัก
สงั เคราะหตองบรรยายสรุปดวยความเที่ยงตรงไมล ำเอียง และไมผนวกความคดิ เห็นของตนเองในการ
วิเคราะห

4.2 การวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อสังเคราะหผ ลการวิจัย การวิเคราะหเชิงปริมาณน้ีนัก
สังเคราะหจะใชวธิ ีการที่มรี ะบบ ใชความรู หลักการ และระเบียบวธิ ที างสถติ ิวิเคราะหผลการวจิ ยั เพื่อ
หาขอสรุปที่เปนขอยุติในการสังเคราะหงานวิจัย งานวิจัยที่จะนำมาสังเคราะหดวยการวิเคราะห
ประเภทน้ีตองเปนงานวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งผลการวิจัยท่ีนักสังเคราะหสามารถนำมาวิเคราะหดวย
ระเบยี บวธิ ที างสถติ ิได

5. การเสนอรายงานการสงั เคราะหงานวจิ ยั การเขยี นรายงาน
การสังเคราะหงานวิจัยมีหลักการเชนเดียวกับการเขียนรายงานวิจัยท่ัว ๆ ไป นักสังเคราะห
งานวิจัยตองเสนอรายละเอียดวิธีการดำเนินงานทุกข้ันตอนพรอมท้ังสรปุ ขอคนพบและขอเสนอแนะ
จากการสังเคราะหง านวจิ ัย โดยใชภาษาถูกตอง กะทดั รัด และชัดเจน
สวนสุภางค จันทวานิช (2533) เสนอข้ันตอนของการสังเคราะหงานวิจัยดวยวิธีวิเคราะห
เน้อื หา (Content Analysis) ไว 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. ผูวจิ ัยตองต้ังกฎเกณฑขึ้นสำหรับการคัดเลือกเอกสารและหัวขอที่จะวิเคราะห เพราะใคร
ก็ตามที่จะมาวิเคราะหเน้ือหาตอไปจะไดมีเกณฑและระเบียบเดียวกันในการคัดเลือก ไมใชวา
ผูวเิ คราะหแ ตล ะคนตางกม็ ีเกณฑข องตนและรับชว งงานตอ กนั ไมได
2. ผูวิจัยตองวางเคาโครงของขอมูลโดยการทำรายช่ือคำหรือขอความในเอกสารท่ีจะนำมา
วิเคราะหแลวแบงไวเปน ประเภท (Categories) การทำเชนนีจ้ ะชว ยใหการวิเคราะหมีความสม่ำเสมอ

13

ผูวิเคราะหส ามารถตัดสินใจไดวาจะคดั คำหรือขอความใดออกมาจากเอกสารหรือตัวบท (Text) และ
จะตัดคำหรือขอความใดออกไป

3. ผูวิจัยจะตอ งคำนึงถึงบริบท (Context) หรือสภาพแวดลอมประกอบของขอมูลเอกสารท่ี
จะนำมาวิเคราะหดวย เชน ผูวิจัยควรตั้งคำถรมเก่ียวกับเอการวาใครเปนผูเขียน เขียนใหใครอาน
ชวงเวลาที่เขียนเปนอยางไร ทั้งน้ีเพ่ือใหการวิเคราะหเปนไปอยางลึกซึ้งข้ึน การพิจารณาเอกสารใน
สภาพทเ่ี ปนองคประกอบจึงเปนสิ่งจำเปน การบรรยายคุณลักษณะเฉพาะของเนื้อหาโดยไมโยงไปสู
ลักษณะของเอกสารของผูสงสารและผูรับสารจะทำใหผลการวิเคราะหมีคุณคานอย แตถาไดมีการ
เปรยี บเทยี บคุณลักษณะของเนื้อหาเขากับบริบทของเอกสารและมกี ารโยงคุณลักษณะดังกลา วเขากับ
กรอบแนวคิดทฤษฎีที่เหมาะสมท่ีผูวิจัยเลือกมาเปรียบเทียบ จะทำใหการวิเคราะหขอมูลมีความ
กวา งขวางข้ึนและนำไปสูก ารอางองิ ใชกับขอ มูลอ่นื ๆ ได

4. โดยปกตกิ ารวิเคราะหเนื้อหาจะกระทบกับเนือ้ หาตามท่ีปรากฏ (Manifest Content) ใน
เอกสารมากกวากระทำกับเน้ือหาที่ซอนอยู (Latent Content) การวดั ความถ่ีของคำหรือขอความใน
เอกสารก็หมายถึงคำหรือขอความที่มีอยู ไมใชคำหรือขอความที่ผูวิจัยตีความได การตีความขอความ
จะกระทำในอีกขั้นตอนหนง่ึ ภายหลงั เมือ่ ผูวจิ ยั จะสรุปขอมูล

5. ขั้นตอนนี้เปนส่ิงท่ีถกเถียงกันอยูระหวางนักวิจัยเชิงปริมาณกับนักวิจัยเชิงคุณภาพ
สำหรบั นักวิจัยเชิงปริมาณเมื่อไดทำตามชั้นตอน 4 ข้ันที่กลาวมาแลวถือวา ผูวิจัยสามารถสรุปขอมูล
อยางแมนยำและนำขอมูลไปอางอิงกับประชากรท้ังหมดได แตสำหรับนักวิจัยเชิงคุณภาพมักมีขอ
ทักทวงอยูบาง โดยที่นักวิจัยเชิงคุณภาพเห็นวา ความถี่ของคำหรือขอความที่ปรากฏอาจมิไดแสดง
ความสำคัญของคำหรือขอความนัน้ ก็ได นอกจากนั้นการดึงความสำคญั ของสาระจากตัวบทอาจใชว ิธี
สรุปใจความไดดกี วา การวัดความถี่ของคำ นกั วจิ ัยเชงิ คุณภาพใหเ หตุผลวา การมุงจะวดั ความถ่ีของคำ
อยา งเดียวอาจนำไปสูคำตอบท่ชี ัดเจนแตไรความหมายโดยสน้ิ เชงิ

Glass, G.V., Mc Graw, B. and Smith, M.L. (1981) เสนอขั้นตอนของการสังเคราะห
งานวิจัยดว ยวิธีวเิ คราะหอภมิ าน (Meta Analysis) ไว 4 ขัน้ ตอน ดังนี้

1. การกำหนดขอบเขตและการสมุ ตัวแทนงานวิจยั งานวิจยั ท่ีเลอื กมาศกึ ษาควรเปนงานวจิ ัย
ที่มีจำนวนมากและกำหนดขอบเขตงานวิจัยที่นำมาศึกษาชัดเจน ถาพบวางานวิจัยมีจำนวนไมมาก
นักสงั เคราะหควรศกึ ษาทั้งประชากร แตถางานวิจัยมากเกินความสามารถของนักสังเคราะหก็ควรสุม
งานวิจัยตามความเหมาะสม

2. การจำแนกและการลงรหัสลักษณะของงานวิจัย เปนการจัดกระทำกับลักษณะตาง ๆ
ของงานวิจัยใหเปนปริมาณซ่งึ จะนำไปสูการวัดขอคนพบตอไป ลักษณะงานวิจัยแบง เปน 2 พวก คือ
ลกั ษณะของเน้อื หาที่ทำวิจัยกับลักษณะของวิธีการศึกษาหรือวิธีซงึ่ จะครอบคลมุ ขอมูลตาง ๆ เชน ปที
ทำวิจยั ประเภทของการวิจัย ประชากร ขนาดของกลุมตวั อยา ง เปน ตน ซึง่ ส่ิงเหลาน้ีจะถูกแปลงให

14

เปน รหสั ตามทก่ี ำหนด คุณลกั ษณะของสิ่งทีว่ ดั และจำแนกรหัสจะสัมพันธก ับคุณลกั ษณะของงานวจิ ัย
และผลการวิจัย

3. การวดั ขอคนพบของงานวิจัย วตั ถปุ ระสงคแ ละการสรุปผลการวิจยั น้ัน เพื่อประมาณคา
คุณลักษณะประชากรจาคาสถิติท่ีคำนวณจากผลวิจัย ซึ่งคาดังกลา วจะเปนตัวบงช้ีไดชัดเจนท่ีสุดใน
การบอกระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติของผลการวิจัย การวิเคราะหแบบเมตตาจึงมีลักษณะที่
สำคัญคือ การประมาณคาขนาดของผลจากงานวิจัยเชิงทดลองและประมาณคาความสัมพันธของ
ประชากรจากงานวิจัยเชงิ สัมพันธ โดยที่การประมาณคาน้นั จะตองปรบั ผลการวิจัยแตละเร่อื งใหเปน
หนวยมาตรฐานเดียวกัน เพราะงานวิจัยแตละเร่ืองใชเทคนิควิธีดำเนินการและเสนอผลการวิจัยที่
แตกตางกนั

4. การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล โดยใชการวิเคราะหขอมูลแบบเมตตานี้มีหลักการ
วเิ คราะหเชนเดยี วกับการวเิ คราะหทางสถิติในการวิจัยท่ัว ๆ ไป แตแตกตางกันทใี่ ชง านวิจัยแตละเรื่อง
เปนหนวยการวิเคราะห หาคาเฉล่ียของผลการวิจัยวา ปริมาณมากนอยเพียงใด สวนการวิเคราะห
เพ่ืออธิบายความแปรปรวนขนาดของผลการวิจัย ใชวิธีการวิเคราะหสมการถดถอย (Regression
Analysis) โดยมีตัวแปรคุณลักษณะงานวิจัยเปนตัวแปรอิสระและขนาดของผลการวิจัยเปนตัวแปร
ตาม เพื่ออธิบายตัวแปรคุณลักษณะวางานวิจัยใดอธิบายความแปรปรวนขนาดของผลการวิจัยมาก
นอยเพยี งใด

ความหมายของการวจิ ยั
การวจิ ัย (Research) เปนคำท่ีมีความหมายไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการ

วิจัย นักวิจัยสวนใหญมักใหความหมายของการวิจัยไมตรงกันแตมีความสอดคลองกันในวิธีการหรือ
กระบวนการข้ันตอนของการวจิ ัย ดงั ตวั อยางเชน

ตามพระราชบัญญตั ิสภาวิจยั แหง ชาติ ฉบับปจ จุบันไดน ยิ ามความหมายของการวจิ ัยไวว า การ
วิจัยหมายถึง การศึกษาคน ควาอยางมรี ะบบและแผนการเพ่ือใหไดม าซึ่งความรูทางดานสังคมศาสตร
และมนุษยศาสตร

พจน สะเพียรชัย ใหความหมายของการวิจัยไววา การวจิ ัย คือ การแกปญหาท่ีมีระบบแบบ
แผนเช่ือถอื ได

เครือวลั ย ลิ้มปยะศรสี กลุ ใหความหมายของการวิจัยไววา การวจิ ัย หมายถงึ กระบวนการ
แสวงหาความจริงหรือพสิ ูจนความจรงิ เพื่อใหไดมาซ่งึ ความรูท ่ถี กู ตองและเชื่อถือได โดยกระบวนการที่
ใชเพอ่ื การแสวงหาความจริงมีลักษณะสำคัญดังนี้

1. ตอ งเปนการแสวงหาหรอื พสิ จู นค วามจรงิ ทีเ่ ปนขอ เท็จจริง

15

2. ตองเปน การกระทำท่ีมคี วามมุงหมายอยางแนนอน ดังนั้น การคน พบความจริง
โดยบงั เอิญจงึ ไมเปนการวจิ ยั

3. ตอ งดำเนนิ ไปอยางมีระเบียบแบบแผนที่แนน อนตามวิธีการทางวิทยาศาสตร
นงลักษณ วิรัชชัย ไดใหความหมายของการวิจัยไววา การวิจัยคือกระบวนการศึกษา
ความสัมพันธระหวางปรากฏการณธรรมชาติตามสมมุติฐานท่ีนิรนัยจากทฤษฎีโดยใชระเบียบวิธีทาง
วิทยาศาสตรที่มีระบบ มีการใชขอมูลเชิงประจักษ มีการควบคุม และมีการดำเนินการอยางเปน
ขั้นตอน โดยแตละขั้นตอนมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันเพื่อนำไปสูคำตอบของปญหาวิจัย และ
ผลการวิจัยที่ไดเปนความรูใหมหรือเปนผลของการพัฒนาส่ิงใหม ๆ ซงึ่ จะเปนประโยชนตอมนุษยและ
สังคมตอไป

ข้ันตอนของการวจิ ัย
การวิจัยเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร ท่ีสามารถนำมาประยุกตใชเปนสวนหนึ่งของ

การศึกษาปญหาท่ีเกิดจากพฤติกรรมและการกระทำของมนุษยท่ีเรียกวา การวิจัยทางดานพฤติกรรม
ศาสตรและสังคมศาสตร ซึ่งวธิ ีการท่ีนำมาใชในการศึกษาจะมีรปู แบบไมแตกตางจากระเบียบวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร แตอาจมีเทคนิคท่ีแตกตางกันบางในรายละเอียดของขั้นตอน วิธีการทาง
วทิ ยาศาสตรทน่ี ำมาใชเพ่ือการแสวงหาความรูค วามจริงของมนุษยสามารถแบงออกไดเปน 5 ข้นั ตอน
คอื

1. ข้ันการกำหนดปญหา (Problem) เปนขอสงสัย ความสนใจใครรูของผูวิจัยใน
ปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นหรือพบเห็น วามีสาเหตุมาจากอะไร ทำไมถึงเปนเชนนั้น การกำหนดปญหา
หรือหัวขอปญหาวิจัยเปนคนละอยางกับสภาพของปญหา กลาวคือ หัวขอปญหาเปนขอสรุป หรือ
ความคิดรวบยอดของสภาพปญหาซ่ึงมีลักษณะเปนขอความส้ัน ๆ ในขณะที่สภาพปญหามีลักษณะ
เปนขอความบรรยาย หรือพรรณาที่มีความยาวเพื่อแสดงใหเห็นถึงสภาพของปญหาที่ตองการศึกษา
ดังน้ัน สภาพปญหาจึงตอ งมากอน มกี อน หรือเกิดข้ึนกอนปญหาวิจัย การกำหนดปญหา หรือการตั้ง
ชอื่ ปญหาวิจัยเปนข้ันตอนน้ีมีความสำคัญตอการศึกษา หรือการวิจัยเปนอยางมาก และเปนข้ันตอนท่ี
มีความยุงยากเปนอยางมากเน่ืองจากผูวิจัยมักมีความสงสัยวาจะเขียนหัวขอปญหา หรือกำหนด
ปญ หาอยางไรจงึ มีความเหมาะสมท่นี ำไปศึกษา

2. ขั้นการตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยไดทำการศกึ ษาถึงสภาพ
การเกิดของปญหาท่ีเกิดข้ึนแลวจึงทำการคาดคะเนคำตอบของปญหาวิจัยที่ตองการศึกษาลวงหนา
โดยการใชความรูท่ีไดศึกษาคนควา และสติปญญาอยางรอบคอบมาเปนแนวทางในการอธิบาย
ปรากฏการณท่ีเกิดขึ้น และเปนแนวทางในการทดลอง หรือศึกษาคนควาเกี่ยวกับเร่ืองน้ันโดยตรง

16

อาจเปนขอ สรปุ ท่ไี มค งที่แตอ าจมคี วามจรงิ และสถานการณบ างอยา งที่สัมพันธกบั ปรากฏการณน้ันอยู
สมมติฐานทีต่ ั้งตอ งมีความสอดคลอ งกับชือ่ ปญหาวิจยั และสภาพปญหาท่ีตองการศึกษา

3. ข้ันทดลองและเก็บขอมูล (Experimentation and Data Collection) เปน
ขั้นตอนท่ีผูวิจัยทำการศึกษาส่ิงท่ีเกี่ยวกับหัวขอปญหาที่กำหนดไวโดยวิธีการทดลอง และทำการ
จดั เก็บขอมูลที่เกิดข้ึนจากการทดลองแตละครั้งไว ขอ มลู ท่ีเก็บรวบรวมไดต องมคี วามสมั พันธก ับหัวขอ
ปญหาและสภาพปญหาทผ่ี ูว จิ ัยกำลงั ศกึ ษา ขอ มลู มีความสำคัญตอผลการวิจัยเปนอยางมาก ถาขอมูล
ท่ีเก็บรวบรวมไดไมถูกตอง มีความคาดเคลื่อน ยอ มสง ผลตอการสรุปผลเพื่อตอบปญหาวิจัยที่กำหนด
ไว

4. ขนั้ วเิ คราะหขอ มูล (Data Analysis) เปนการนำขอมูลท่ีรวบรวมไดจากข้ันตอนท่ี
3 มาทำการจัดกลุม หมวดหมู ดวยวิธกี ารทางสถิติถาเปนขอมูลเชิงปรมิ าณที่ประกอบดวยตวั เลขตาง
ๆ หรืออาจใชวิธีการอ่ืน ๆ ในการจัดกระทำขอมูลเหลาน้ัน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อนำผลที่ไดจากการ
วิเคราะหขอมูลไปตอบคำถามวิจัยท่ีผูวิจัยตั้งข้ึน ขอพึงระวังในข้ันตอนน้ี คือ ถามีการใชสถิติในการ
วิเคราะห หรือจัดกระทำขอมูล ผูวิจัยจะตองตระหนักถึงขอตกลงเบื้องตนของสถิติตาง ๆ ที่นำมา
วเิ คราะหข อมลู ความถูกตอง ความชัดเจน และความสอดคลอ งกับขอ มูลทเ่ี ก็บรวบรวมไดกับตวั แปรที่
นำมาศึกษา ซ่งึ นักวจิ ัยมกั ละเลยหรอื ไมคำนงึ ถงึ หลักเกณฑเ หลานี้

5. ขั้นการสรุปผล (Conclusion) เปนขัน้ ตอนสุดทายของกระบวนการวิจัย ขั้นตอน
น้ีผูวิจัยตองนำผลทีไ่ ดจากการวิเคราะหขอ มูลในขั้นท่ี 4 มาลงสรปุ ผล ดงั นัน้ ผลสรุปจะมีความถูกตอง
ชัดเจนเพียงใดข้ึนอยูกับผลการวิเคราะหขอมูลเปนสำคญั ข้ันตอนน้ีจึงเหมือนกับเปนการตอบคำถาม
วจิ ัยท่ีถกู ตงั้ ไวจากขั้นตอนท่ี 1

จะเห็นวาขั้นตอนท้ัง 5 ขั้นตอนน้ีมีความสัมพันธกันเกี่ยวของกันท้ังหมด แตละขั้นตอนมี
ความสำคัญไมมากนอยกวากัน ดังนั้น ผูวิจัยจะตองตระหนักถึงความสัมพันธของทุกข้ันตอนอยาง
ชดั เจน เพราะความถูกตอง ชัดเจน และความนาเชื่อถือของงานวิจัยขึ้นอยูกับข้ันตอนตาง ๆ ของการ
วจิ ยั ตามทน่ี ำเสนอมาแลวขางตน

17

ลกั ษณะของการวิจัยในชน้ั เรียน
การวจิ ัยในช้ันเรียน เปนรูปแบบหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) ซ่ึงเปน

การวิจัยท่ีมุงแกปญหาที่เกิดข้ึนเฉพาะหนาเปนครั้ง ๆ ไป หรือเปนเรื่องใดเร่อื งหน่ึงในชวงระยะเวลา
หนึ่ง ผลการวิจัยท่ีคนพบน้ีไมสามารถนำไปใชอางอิงกับกลุมอื่น ๆ ได เพราะเปนปญหาที่เกิดข้ึนใน
วงจำกัด หรือเปนปญหาเฉพาะที่ เชน ปญหาท่ีเกิดข้ึนในหองเรียนบางอยางท่ีครูตองการคำตอบมา
อธิบายเฉพาะท่ีเกิดข้ึนในหองท่ีตนรับผิดชอบอยู เทาน้ัน ไมเก่ียวกับปญหาของหองเรียนอ่ืน ๆ
การศึกษาปญหาลักษณะน้ี เราเรียกวา การวิจัยในช้ันเรียน (Classroom Action Research) ซ่งึ เปน
รูปแบบของการวิจัยที่ครูกำลังใหความสนใจเปนอยางย่ิง เพราะสามารถนำไปใชเพ่ือการศึกษา และ
การวิจัยในสถานการณท่ีเกิดข้ึนจริงของหองเรียน จึงอาจกลาวไดวา การวิจัยในชั้นเรียนเปนวิธีการ
วิจัยท่ีออกแบบ และพัฒนาขึ้นมาเพ่ือชวยใหครูสามารถคนพบวามีอะไรเกิดขึ้นในหองเรียนบาง และ
ยงั ชวยใหครทู ราบขอมูลที่จะนำไปใชเพื่อการพัฒนาการเรยี นการสอนที่จะมีขึ้นตอไปในอนาคต โดย
เลือกใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงบรรยาย หรือการวิจัยเชิงทดลอง
อยา งใดอยา งหนึ่งเปนวิธีการศึกษา

ขอแตกตา งระหวา ง Action Research กับ Formal Research
เนื่องจากการวิจัยตามรูปแบบ (Formal Research) มีรายละเอียดและรูปแบบที่จะตอง

ยดึ ถอื อยตู ลอดเวลา ทำใหเกิดขอยงุ ยากและขอจำกัดในการทำวิจัยเปนอยา งมากโดยเฉพาะกบั ผูท่ีไมมี
พื้นฐาน หรือความรทู างดานระเบียบวิธวี ิจัยที่ดีพอ วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการจึงถูกพัฒนาขึน้ มาเพื่อแกไข
ขอยุงยากที่เกิดจากการวิจัยตามรูปแบบและมีความเหมาะสมสำหรบั ครูในการนำมาใชศ กึ ษาเกี่ยวกับ
สิ่งที่เกิดข้ึนในหองเรียน มีการลดข้ันตอน และขอจำกัดที่เปนของการวิจัยตามรูปแบบลงไป ทำใหงา ย
ที่จะทำความเขาใจ และนำไปใช เพื่อแสดงใหเห็นถึงความแตกตางระหวางการวิจัยตามรูปแบบกับ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ จึงขอเสนอขอเปรียบเทียบระหวางการวิจัยเชิงปฏิบัติการกับการวิจัยตาม
รูปแบบ ซ่ึงสามารถสรุปไดด งั นี้

18

ตาราง 1 ขอ เปรยี บเทียบระหวาง Formal Research กับ Action Research

หวั ขอ Formal Research Action Research

1. ผลการวิจยั มีความกวางขวาง และครอบคลุม เฉพาะที่ เฉพาะเรอ่ื ง ไมส ามารถอางอิง
อางอิงไปใชก ับกลุมอ่นื ได ไปใชกับกลมุ อน่ื ได

2. จุดมุงหมายของการ มุงศกึ ษา คน หาความรูเ พ่ือ มุงศกึ ษา คน หาความรเู พ่ือที่นำไปใชกับ
วจิ ยั นำไปใชกับบุคคล หรอื สถาการณ บุคคล หรอื สถาการณเฉพาะท่ีใดท่ีหน่ึง

ทั่วไปไมเ จาะจง

3. วธิ กี ารกำหนดปญหา ศึกษาจากปญหาวจิ ัยที่ทำมากอน ไดจ ากปญหาท่ีเกิดข้ึนเฉพาะหนา หรอื

ท่นี ำมาศึกษา หรือปญหาท่มี ีมมุ มองกวา ง จากเปาหมายในขณะน้นั

4. กระบวนการท่ีใชใน ทำอยางกวางขวาง ชัดเจน และ คน ควาอยางงา ย ๆ และเปน แหลง ทตุ ิย

การคน ควาเอกสารและ เปน แหลง ปฐมภมู ิ ภมู ิ

งานวิจยั

5. วธิ ีการไดม าซึง่ กลุม ใชวิธกี ารสมุ เลือกโดยใชวธิ กี าร เปนนักเรียนในหอ งเรียน หรอื ผทู ำงาน

ตวั อยาง ทางสถิติ และความนา จะเปน รวมกนั

6. แผนแบบการวิจยั มกี ารควบคมุ ตวั แปรอยางเขมงวด ตัดข้นั ตอนทไ่ี มจ ำเปน บางอยางออกไป

และใชร ะยะเวลายาวนาน ใชระยะเวลาส้ัน ไมเขม งวดในการ
ควบคุมตวั แปร

7. กระบวนการวัดผล ประเมนิ ผล และมีการวดั กอนการ วดั ตามแบบปกตหิ รอื ใชแบบทดสอบ
ทดลอง ระหวา งการทดลอง และ มาตรฐาน
หลังการทดลอง

8. การวิเคราะหขอมลู ใชว ธิ ีการทดสอบนยั สำคญั ทาง ขึ้นอยกู ับความชดั เจนของการกระทำ
สถิติ หรือวธิ กี ารเชิงคณุ ภาพ เสนอเปน ขอมลู ดิบ และไมเ นนการ
ทดสอบนัยสำคญั ทางสถิติ ซงึ่ จะมี
หรอื ไมมีก็ได

9. การประยกุ ตใช ยดึ ความสอดคลองตามทฤษฎี ยึดความสอดคลองในการปฏิบัติ
ผลการวิจยั

10. ระยะเวลาใน ใชร ะยะเวลานานเปนภาคเรยี น ใชร ะยะเวลาสนั้ ๆ ตามหวั ขอหรอื
การศกึ ษา หรอื ปก ารศกึ ษา หรือมากกวา นน้ั ประเดน็ ที่ศกึ ษา

19

จะเห็นวา รูปแบบของการวิจัยปฏิบัติการมีความสอดคลองกับธรรมชาติของการเรียนการ
สอนและเหมาะสำหรับครูที่ไมมีความรูในระเบียบวธิ ีวิจัย เนื่องจากไดลดกฎเกณฑบางอยางของการ
วิจัยตามรูปแบบออกไป ทำใหครูสามารถนำวิธีการวิจัยในช้ันเรียนไปใชในการศึกษาเกี่ยวกับส่ิงที่
เกิดขึ้นมาแลว หรือกำลังจะเกิดขึ้นตอไปในอนาคตได และยังชวยใหครูไดทราบวา มีอะไรเกิดขึ้นใน
หองเรียนของตนบาง หรือจะพัฒนาการเรียนการสอน หรือผลการเรียนรูของนักเรียนใหดีขึ้นได
อยางไร และท่ีสำคญั คือ ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยในชั้นเรยี นตองไมยาวนานเกินไป สวนมากใชเปน
สปั ดาห หรือตามประเดน็ ของหวั ขอ ทีค่ รูตอ งการศึกษาในแตล ะคร้ัง

หลกั การและแนวคดิ ของการวจิ ยั ในช้ันเรยี น
เน่ืองจากการวิจัยในช้ันเรียนเปนรูปแบบหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัติการท่ีใชเพ่ือการศึกษา

สภาพทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในหองเรยี นโดยมคี รูเปนผูดำเนนิ การ จงึ มีหลักการและแนวคิดดังนี้
1. เปนการศึกษาคน ควา ทเ่ี กี่ยวของกบั การเรยี นการสอนในหองเรยี น
2. เปน การหาแนวทางในการปรับปรงุ คณุ ภาพการเรยี นการสอนทเ่ี กีย่ วของกบั

หลกั สตู ร วิธีสอน การจดั กจิ กรรม ส่อื แบบฝก และวธิ กี ารวดั และประเมินผล
3. เปน ประโยชนต อ การพฒั นาประสิทธภิ าพการเรยี นการสอน

วตั ถปุ ระสงคข องการวจิ ัยในช้นั เรียน
จากหลักการและแนวคิดของการวิจัยในชั้นเรียน เราสามารถกำหนดวัตถุประสงคของการ

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น ไดด ังนี้
1. เพื่อศึกษาคน ควาเกยี่ วกบั กิจกรรมการเรยี นการสอนทม่ี ีประสิทธิภาพ
2. เพ่ือพฒั นา ปรบั ปรุงคณุ ภาพการเรยี นการสอน
3. เพื่อการพัฒนา ปรบั ปรงุ หลักสตู ร และนวตั กรรม
4. เพอ่ื พัฒนา ปรบั ปรุงเทคนิคการวัดและประเมนิ ผล
5. เพื่อพฒั นาประสิทธภิ าพการสอนของครู - อาจารย
6. เพอ่ื พฒั นาเทคนคิ การเรยี นการสอน

ลักษณะของการวจิ ัยในชนั้ เรียน
การวิจัยในชั้นเรียน เปนการวิจัยที่เกิดจากการศึกษาโดยครูซึ่งเปนผูที่อยูในเหตุการณหรือ

สถานการณข องหอ งเรียนในขณะท่ีทำกจิ กรรมการเรียนการสอนในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง แลวทำ
การเขียนรายงานผลการศึกษาออกมาในรูปแบบของงานวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือใชเปนแนวทางใน
การศกึ ษาปญหาทเี่ กดิ ข้ึนในครงั้ ตอ ไป ดงั นั้น การวจิ ยั ในชนั้ เรียนจงึ มีลกั ษณะดังน้ี

20

1. เปน งานวิจยั ท่ีมุงคนหารปู แบบ และวธิ กี ารท่เี ก่ยี วกับการเรียนการสอน
2. เปน งานวจิ ัยทม่ี งุ พฒั นาคุณภาพของตัวผูเรียนและประสิทธิภาพของครูผสู อน
3. เปนงานวิจัยท่ีมุงศึกษา สำรวจสภาพที่ปรากฏตามความตองการ ความคิดเห็น
และความสนใจของบคุ คลในหองเรยี น

รปู แบบของการวจิ ัยในชั้นเรยี น
กิจกรรมการเรียนการสอนมีองคประกอบมากมายท่ีเขามามีสวนท่ีทำใหการเรียนการสอน

สามารถดำเนินการไดประสบผลสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงคข องการจัดการศึกษา การวจิ ัยในชั้นเรยี นจึงมี
รูปแบบ หรอื แนวทางในการศกึ ษา ดังน้ี

1. เปน การศกึ ษาเกย่ี วกบั วิธีการ หรือรูปแบบเพือ่ การพฒั นาการเรียนการสอน การ
วิจยั ดานนีม้ ุง ศกึ ษาเกย่ี วกบั

1.1 การปรบั เปลี่ยน และพัฒนาวธิ ีการสอน
1.2 ทดลองสอนดวยเทคนคิ และวธิ ีการตาง ๆ
1.3 คนหาวิธกี ารใหม ๆ เพ่ือปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมผเู รยี น
1.4 การสรา งแบบฝกทักษะดา นตาง ๆ ของผูเรยี น
1.5 เทคนิค วิธีการเสรมิ สรางทักษะการเรียนรู
1.6 หาแนวทางในการแกไขขอบกพรอ งของผเู รียน
2. เปน การศกึ ษาเกี่ยวกบั องคป ระกอบของการเรียนการสอน การวจิ ัยดานนี้มงุ ศกึ ษา
เกี่ยวกบั
2.1 ความสมั พันธร ะหวางครกู ับนักเรยี น
2.2 ความรูเดิมกบั พฒั นาการของการเรยี นรู
2.3 ปจจัยทมี่ ผี ลตอ การเรยี นของผูเรียน
2.4 คารวเิ คราะหหลกั สูตร การนำหลักสตู รไปใช
2.5 ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของการวดั ประเมนิ ผล
2.6 บรรยากาศในหองเรียนกับผลการเรยี นรูของนักเรียน
3. เปนการศกึ ษาเกย่ี วกบั ลกั ษณะ และรปู แบบของหลักสูตร การวิจยั ดา นนี้มุง ศกึ ษา
เกี่ยวกบั
3.1 การประเมินหลกั สตู ร
3.2 การตดิ ตามการใชหลักสตู ร
3.3 การพัฒนาหลกั สูตร
3.4 การพฒั นาเทคนคิ การวัดและประเมนิ ผล

21

3.5 วิเคราะหความเหมาะสมของรายวิชาตาง ๆ
4. เปนการศกึ ษาเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นการสอน การวิจัยดา นนี้มุงศึกษาเกี่ยวกบั

4.1 การประเมิน ติดตามการใชแ ผนการสอน
4.2 การทดลองใชว ิธีการสอนหรือชุดการสอน
4.3 การสรางสือ่ แบบฝก ชดุ การสอน หนงั สอื นวตั กรรม
4.4 ผลการใชส่ือ แบบฝก ชดุ การสอน หนงั สอื นวตั กรรม
4.5 การจดั หรอื ใชรปู แบบของกิจกรรมการเรียนการสอน
4.6 เจตคตขิ องครู - อาจารย นกั เรยี นที่มตี อรายวชิ าตาง ๆ
4.7 บรรยากาศในหองเรียน และโรงเรียน
4.8 การจดั หอ งเรียน และหองปฏบิ ัติการตาง ๆ
5. เปน การศกึ ษาเกีย่ วกับเทคนคิ วิธกี าร และรูปแบบของการวดั และประเมินผล การ
วิจยั ดา นนมี้ ุงศกึ ษาเก่ยี วกับ
5.1 การสรา งและพัฒนาแบบทดสอบแบบตาง ๆ
5.2 การวเิ คราะหหาคณุ ภาพของแบบทดสอบ
5.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
5.4 การหาความสมั พันธของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในรายวิชาตา ง ๆ
5.5 การหาปจจยั ทม่ี ผี ลตอ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
6. เปน การศกึ ษาเกยี่ วกบั สอ่ื เทคโนโลยี และนวัตกรรม การวิจยั ดา นน้มี ุงศกึ ษา
เกยี่ วกบั
6.1 การพฒั นาสื่อการสอน
6.2 การหาประสทิ ธภิ าพของสื่อการสอน
6.3 การเปรยี บเทยี บวิธีสอนแบบตา ง ๆ
6.4 การเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพของสือ่ การสอน
6.5 ศึกษาผลการนำเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน
6.6 ศกึ ษาผลการเรียนรูที่เกิดจากการใชนวัตกรรม
6.7 ศึกษาความสมั พนั ธร ะหวางผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาตาง ๆ ที่เกดิ จากการ
ใชส ่อื

22

ข้นั ตอนของการวิจยั ในชั้นเรียน
การวจิ ยั ในช้นั เรยี นมขี ้ันตอนคลา ยกับการวิจัยตามรปู แบบ เพอ่ื ใหครไู ดท ราบข้ันตอนตา ง ๆ

จงึ ไดแบง ขั้นตอนของการวิจยั ในชน้ั เรียนออกเปน 6 ขั้นตอน ดงั นี้
1.การศึกษาสภาพปญหาท่ีตองการศึกษา (Focusing your Inquiry) เปนขั้นตอน

แรกของการวิจัยที่ครูทำความเขาใจ และศึกษาสภาพของปญหาท่ีตองการศึกษาวามีความเปนมา
อยางไร และมีความเก่ียวของกับเรื่อง (ตัวแปร) ใดบาง วิธีการอาจใชการประชุมรวมกันระหวางครทู ี่
พบปญหาคลาย ๆ กัน โดยสภาพปญหาตองมีความเกี่ยวของกับกิจกรรมที่เกิดข้ึนภายในหองเรียน
หรืออาจเปนสภาพของปญ หาตามท่ีไดน ำเสนอในขอ 9

2. การกำหนดปญหาวิจัย (Formulating a Question) เปนการกำหนดหัวขอของ
เร่ืองที่ตองการทำวิจัย หรือท่ีเราเรียกวา ชื่อวิจัย ซึ่งมีความสอดคลองกับสภาพปญหาที่ได
ทำการศึกษามากอนหนานี้ ปญหาวิจัยในชั้นเรียนแตละเรื่องไมควรใชระยะเวลาในการศึกษานาน
เกินไป โดยท่ัวไปมักไมเกิน 1 ภาคเรียน หรือ1 ปการศึกษา ปญหาวิจัยในช้ันเรียนทดี่ จี ะประกอบดวย
ลกั ษณะทีส่ ำคญั 3 อยา ง คือ

2.1 ตองเปนเร่ืองที่มีความสำคัญตอการเรียนการสอน และนักเรียน ซึ่ง
อาจเปนปญหาทค่ี รูตองการแกไข ตองการปรบั ปรุง หรือประเมินผลท่ีเกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมการ
เรียนการสอน

2.2 มีความสัมพันธกับปญหาท่ีตองการศึกษา ถาครูทำการศึกษาปญหา
ตา ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนมมี ากกวาหน่งึ ปญหาแลว ทุกปญหาท่ีทำการศึกษาตองมีความสัมพันธกันที่มีลักษณะ
เปนชุดวจิ ยั (Batteries of Research)

2.3 เปนปญหาที่สามารถหาคำตอบได เน่ืองจาก ปญหาวิจัยในช้ันเรียน
เปนปญหาท่ีใชขอมูล ซ่ึงรวบรวมไดจ ากหองเรียนในการตอบคำถามวิจัย ซึ่งตองเปนปญหาที่ไมกวาง
มากเกนิ ไป เพราะมิฉะน้นั จะหาขอมลู มาตอบคำถามวิจัยไมได หรือตอบไดไ มส มบูรณ

3. คน ควาเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวของ (Review of literature and resources
related to your question) การทำวิจัยในชั้นเรียนมีความจำเปนอยางยิ่งท่ีตองอาศัยผลงาน
การศึกษาคนควาของบุคคลอ่ืนเปนแนวทาง จะคิดวาเราเปนคนแรกท่ีคิดทำเปนคนแรกคงไมได
ถึงแมวาปญหานั้นจะไมซ้ำกับใครหรือยังไมเคยมีใครศึกษามากอนเลยก็ตาม การท่ีผูวิจัยจะนิยาม
ปญหาวิจัยไดชัดเจนเพียงใด สามารถทำการวิจัยไดหรือไมนั้น จำเปนที่จะตองมีการศึกษาเอกสาร
งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวของใหมาก ๆ ถา พิจารณาดใู หด ีแลว จะพบความจรงิ ประการหน่ึงวาปญหาทกุ อยา งเปน
ของเดิมท่ีมีอยูกอนแลวทั้งสิ้น การท่ีเรามองเห็นวาเปนปญหาใหมเพราะมีการแปลงรูปไปจากเดิม
เทานั้น แหลงสำคัญท่ีสุดของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ คือ หองสมดุ เพราะหอ งสมุด
ถือวาเปนที่รวบรวมของหนังสือ ตำรา และเอกสารตาง ๆ มากมาย โดยเฉพาะหองสมุดของ

23

มหาวิทยาลัย หรอื สถาบันการศึกษาท้งั หลาย โดยผูวิจยั สามารถคน ควาหาความรูทีเ่ กี่ยวขอ งกับปญหา
วิจัยจากแหลงความรตู อ ไปน้ี

3.1 หนงั สอื ตำราทเ่ี กีย่ วของกบั ปญหาวิจยั ท่ีกำลงั ศกึ ษา
3.2 สารานกุ รมและทีร่ วบรวมผลงานการวจิ ยั ที่เกี่ยวของ
3.3 วารสารการวิจยั สาขาตา ง ๆ
3.4 ปริญ ญ านิพนธ หรือวิทยานิพนธของผูสำเร็จการศึกษาระดับ
บณั ฑิตศกึ ษา
3.5 หนังสือรวบรวมบทคดั ยอ ปริญญานิพนธแ ละวทิ ยานพิ นธ
3.6 หนงั สอื พมิ พทง้ั รายวนั และรายสัปดาห นติ ยสารตาง ๆ
3.7 Dissertation Abstract International (DAI)
3.8 ERIC Educational Documents Abstract (ERIC)
3.9 ระบบเครือขายขอมลู ทาง INTERNET
4. การรวบรวมขอมูล (Collecting relevant data) เปนสิ่งท่ีจะชวยใหครูตอบ
คำถามการวิจัยในช้ันเรียนไดถูกตอง ลักษณะของขอมูลที่ดีตองมีความสมั พันธโดยตรงกับปญหาวิจัย
ขอมูลที่ใชสำหรับการวิจัยในชั้นเรียนไดมาจากแหลงตาง ๆ ไดแก จากแบบบันทึกที่ไดการสังเกต
พฤติกรรมของนักเรียน แบบทดสอบ แบบสอบถาม จากกลุมทดลองที่ครูจัดข้ึน ขอมูลท่ีรวบรวมได
ตองอยูภายใตกรอบของปญหา ประเภทของขอมูลที่ใชเพื่อการวิจัยในชั้นเรียนแบงออกไดเปน นาม
บัญญัติ (Norminal Scale) เรียงลำดับ (Ordinal Scale) อันตรภาคช้ัน (Interval Scale) และ
สดั สวน (Ratio Scale) ซึ่งอาจอยูในรูปของขอมูลเชงิ ปริมาณ หรือเชิงคณุ ภาพก็ได การรวบรวมขอ มูล
ครตู อ งยึดถอื คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของผูว ิจัย (Ethical Issues) อยางเขมงวด ไมมคี วามลำเอยี ง หรือ
อคตใิ ด ๆ ท้ังส้นิ มฉิ ะนน้ั ผลการศกึ ษาจะเกดิ ความผิดพลาดไดงา ย
5. การวิเคราะห ขอมูลและการแปลผล (Analyzing and interpreting the
data) เปนข้ันตอนที่ครูทำการประมวลผลขอมูลที่รวบรวมไดแลวนำเสนอในรูปของแผนภูมิ ตาราง
ตาง ๆ ซ่ึงอาจอยูในรูปของขอมูลดิบก็ได รูปแบบของขอมูลที่นำเสนออาจมีลักษณะเปนกลุม เปน
รายบุคคล หรือผลการทดสอบนัยสำคัญทางสถิติ ซ่ึงประกอบดวยสถิตพิ รรณาตาง ๆ ที่เก่ียวของกับ
ปญหาวิจัยในชั้นเรียน การแปลผลการวิเคราะหน้ัน ครูตองทำการอานผลการวิเคราะหและทำการ
แปลผลออกมาเพ่ือใหบุคคลอื่นสามารถทำความเขาใจในผลการวเิ คราะหได ในขั้นตอนนี้ไมค วรแสดง
ความคิดเหน็ ใด ๆ ทไ่ี มม ีหลกั การหรือเอกสารการวจิ ัยรองรับ ควรแปลผลตามผลการวิเคราะหท่ีไดรับ
อยางแทจรงิ และไมควรมีอคติในการแปลผล แตถามีขอเสนอแนะใด ๆ ครูสามารถเพิ่มเติมในสวนที่
เกย่ี วกบั ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

24

6. การเขียนรายงานการวิจัย (Reporting Results) เปนขั้นตอนที่มีความสำคัญตอ
การเผยแพรผลการศึกษา พิมพดวยตัวอักษรขนาด 16 pixels จะเปน font อะไรก็ได แตผูเขียนขอ
เสนอแนะใหใช font แบบ BrowalliaUPC รายงานการวจิ ัยในช้ันเรยี นมี 3 สวน คือ

6.1 สวนหัว (Heading) เปนสวนที่ประกอบดว ย ปก คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง
(ถา มี) บัญชีภาพประกอบ (ถา ม)ี

6.2 สวนตัวรายงาน (Reporting) สวนประกอบของตัวรายงานมี 5 สวน ตาม
ข้นั ตอนของการวิจัยในช้ันเรยี น แตละสวนมีจำนวนหนา ดังนี้

6.2.1 การศกึ ษาสภาพปญหาท่ตี องการศกึ ษา 1 - 2 หนา
6.2.2 การกำหนดปญหาวิจยั 1 - 2 หนา
6.2.3 คนควาเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วของ 3 - 5 หนา
6.2.4 การรวบรวมขอมูล 2 - 4 หนา
6.2.5 การวิเคราะหขอมูลและการแปลผล 2 - 4 หนา จำนวนหนาของ
งานวิจัยในชั้นเรียนสวนน้ีของแตละเร่ืองรวมแลวไมเกิน 17 หนาแตถามีเอกสารหรือรายการใด ๆ ที่
ตองการเพิม่ เติมสามารถใสล งไปไดใ นสว นของภาคผนวก
6.3 สว นทาย (Tailing) เปน สวนท่ีประกอบดว ย บรรณานุกรม และภาคผนวก

แนวทางในการทำวจิ ยั ในช้ันเรียนของครู
1. ควรเปนงานวิจัยขนาดเล็ก ใชกลุมตัวอยางขนาด 1-2 หองเรียน เน่ืองจากการวิจัยใน

ช้ันเรียนเปนงานวิจัยท่ีมีลกั ษณะเปนการวจิ ัยเชงิ ทดลอง ดังนั้น หากครทู ำวจิ ัยท่ีใชกลุมตวั อยางหลาย
ๆ หองเรยี นมากเกินไปก็จะทำใหครูไมสามารถควบคมุ ตวั แปรแทรกซอ นทอี่ าจจะเกิดขึ้นในการทำวิจัย
ได

2. หากมีปญหาหลาย ๆ ประเด็นเกิดข้ึนในช้ันเรียนพรอม ๆ กัน เชน นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนต่ำ ใหความรวมมือทางการเรียนนอย หรือขาดความรับผิดชอบในการสงงาน
ครูอาจจะนำปญหาเหลานั้นมาแกพรอม ๆ กันได โดยครูอาจจะคิดนวัตกรรมท่ีสามารถแกปญหาที่
เกิดข้ึนหลาย ๆ เรื่องไปพรอม ๆ กัน เชน อาจใชการเรียนการสอนที่เนนการใชกิจกรรมกลุมสัมพันธ
กนั ระหวางผูเรยี น ซง่ึ การใชก ิจกรรมนสี้ ามารถแกปญหาสิ่งท่ีเกิดขน้ึ ทง้ั สามเรื่องไปดวยกนั

3. เนน การใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่งกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรป ระกอบดวย 5
ข้ันตอน คือ ขั้นเลือกปญหาในการวิจัย ขั้นตั้งสมมติฐานการวิจัยเพื่อคาดเดาคำตอบไวลวงหนา
ข้ันเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือหาขอเท็จจริงตามสมมติฐานท่ีตั้งไว ข้ันการวิเคราะหเพ่ือวิเคราะห
ขอเทจ็ จรงิ ท่รี วบรวมไดและแปลผลตามผลการวิเคราะหเพื่อตอบปญหาท่ตี องการแกไข และขน้ั สรุป

25

ผลการวิจัยท้ังหมดวาดำเนินการอยางไร ไดผลเปนอยางไร ซ่ึงขั้นตอนท้ัง 5 ข้ันตอนดังกลาวจะ
นำไปสคู วามมีระบบ ระเบียบ มหี ลกั ฐานทีน่ า เชือ่ ถอื ของงานวจิ ัย

4. ตองเปนปญหาท่ีแทจริงของหองเรียน มีงานวิจัยหลายเรื่องท่ีไมใชปญหาท่ีแทจริงของ
นักเรียนจึงทำใหการแกไขปญหาดวยกระบวนการวิจัยไมเกิดประโยชนใด ๆ ท้ังกับผูเรียน
กบั ครูผสู อน หรือแมก ระทงั่ กับสถานศึกษา

5. ใชขอมูลที่อยูในหองเรียนในการหาคำตอบของงานวิจัยเปนหลัก เริ่มต้ังแตการใช
นวัตกรรมทางการศึกษาตาง ๆ การรวบรวมขอมูลในข้ันของการสังเกตผล อยางไรก็ตาม
บางงานวจิ ัยอาจมีการหาคำตอบของงานวิจัยโดยการรวบรวมขอมลู จากผูท่เี ก่ียวขอ งกบั นักเรียน เชน
ผปู กครอง ครผู ูส อนในวชิ าอ่นื ๆ เปน ตน

เกณฑการเลอื กปญ หาการวิจัยในชนั้ เรยี น
ในการเลือกปญหามาทำการวิจัยในช้ันเรียนแตละครั้ง ผูวิจัยควรคำนึงถึงประเด็นสำคัญ

ตอ ไปนี้
1. ปญหาท่ีเลือกมาทำการวิจัยไดผานการวิเคราะหมาอยางดีวาเปนปญหาที่แทจริงและเปน

ปญหาที่สำคัญที่ตองรีบแกไข และเมื่อทำการแกไขแลวจะเกิดประโยชนกับผูเรียนมากท่ีสุด หากครู
พบวาในช้ันเรียนของตนมีปญหาท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียนมากกวา 1 เร่ืองท่ีจะตองรีบแกไข ครูจะตอง
วเิ คราะหวา ปญ หาใดเปน ปญ หาท่ีสำคญั มากทีส่ ดุ และเลอื กเร่ืองนั้นมาทำวิจยั ในช้นั เรยี น

2.ประโยชนท่ีจะไดรับจากงานวิจัย ส่ิงที่ผูวิจัยจะตองคำนึงถึงในอันดับตอมากอนตัดสินใจ
เลือกปญหาท่ีจะวิจัย คือ การพิจารณาวา สิ่งท่ีกำลังตัดสินใจทำน้ันจะกอใหเกิดประโยชนกับผูเรียน
ดานใดบาง ท้ังดานความรู ดานทักษะ และดานจิตพิสัย หากเรื่องใดที่ทำแลวจะเกิดประโยชนกับ
ผเู รียนในดา นใดดา นหนง่ึ หรอื มากกวา นั้น กถ็ ือวาเหมาะทจ่ี ะเลือกเรือ่ งนั้นมาทำวจิ ยั ในชัน้ เรยี น

3.ความซ้ำซอนกับงานวิจัยอ่ืน งานวิจัยท่ีดีตองไมซ้ำซอนกับผลงานวิจัยที่มีผูทำไวแลว
เพราะปญหาที่เราสนใจนน้ั มีคำตอบถูกคน พบไปแลว การท่ีจะทราบวามีผูใดทำวจิ ัยเรื่องน้ัน ๆ หรือ
ยัง ตองอาศัยการศึกษาคนควาจากรายงานการวิจัยหรือเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ท้ังที่มีอยูใน
หองสมดุ และในระบบฐานขอมลู ของหนว ยงานตา ง ๆ อยา งเพยี งพอ

4.ตรงกับความสนใจของผูวิจัย ผูท่ีทำวิจัยตรงกับความสนใจของตนเองจะมีความตั้งใจใน
การทำงาน สนุกกับการทำงาน สนุกกับปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการวิจัย มคี วามอดทนตอการ
ทำงานหนักในชว งวจิ ยั และจะพยายามทำงานวจิ ัยเร่อื งน้ันออกมาอยางมีคุณภาพและเชื่อถือไดดีกวา
ผูที่ไมสนใจเรื่องนั้นอยา งแทจริง ดงั นั้น เร่ืองนี้จึงเปนอีกประเด็นหนึ่ง ที่ผูว ิจัยจะตองตระหนักวา รัก
ชอบ หรือสนใจเรื่องน้จี รงิ หรือไม

26

5.ความเหมาะสมกับผูวิจัย นอกจากความสนใจในประเด็นปญหาท่ีตองการแลว ความ
เหมาะสมของผวู ิจัยกบั งานทก่ี ำลังจะทำกเ็ ปนประเด็นสำคญั ท่ีตองพิจารณาเชนกัน งานวจิ ัยท่ีมีความ
เหมาะสมกบั ผูวจิ ยั พจิ ารณาไดจ าก

1) การมคี วามรูในเนอ้ื เรื่องทจี่ ะทำวิจยั
2) การมคี วามถนดั หรือความสามารถในกระบวนการวจิ ยั ท่ีใช
3) การมงี บประมาณสนับสนุนอยา งเพียงพอ
4) การมเี วลาอยา งเต็มท่ีท่ีจะทำวิจยั เรอ่ื งนี้
6.การไดมาซ่ึงขอมูลท่ีเชื่อถือได การพิจารณาวาหากทำการวิจัยเร่ืองน้ีแลว จะรวบรวม
ขอมูลดว ยเคร่ืองมือประเภทไหน จากแหลงใดนั้น เปนเรื่องท่ีสำคัญอีกประการหนึง่ เพราะขอ มูลที่ใช
ในการวิจัยตองเปนขอมูลท่ีเชื่อถือได ขอมูลเหลาน้ีตองมีการรวบรวมมาจากเครื่องมือที่มีคุณภาพ มี
ความเหมาะสมทจี่ ะใชวัดตวั แปรทีต่ อ งการศึกษา และตอ งใชแหลง ขอ มูลท่มี คี วามเชือ่ ถือไดด ว ย
7.ความคุมคาของผลท่ีไดรับจากการวิจัย ในการทำวิจัยชั้นเรียนแตละเรื่อง ผูวิจัยจำเปนที่
จะตองเปรียบเทียบผลท่ีไดรับจากการวิจัยกับตนทุนตางๆท่ีลงไป เชน กำลังกายของผูวิจัยที่ทุมเทใน
การทำงานวิจัย งบประมาณที่ใช ซ่ึงส่ิงเหลานี้จะเปนอีกประเด็นหนึ่งท่ีผูวิจัยจะตองนำมาคิดกอน
ตัดสินใจเลือกทำงานวิจยั เร่อื งนนั้ ๆ วาคมุ คา หรือไมกับผลวิจยั ท่ไี ดร ับ
8.ความรวมมือจากผูเก่ียวของ ในงานวิจัยชั้นเรียนมีความจำเปนตองอาศัยความรวมมือจาก
บุคคลหลายฝาย ทั้งตัวผูเรียน ผูปกครอง ครูคนอื่นๆ และผูบริหาร ดังนั้น ในการทำวิจัยผูวิจัยตอง
พิจารณาอยางรอบคอบวา จะไดรับความรวมมือจากผูท่ีเกย่ี วของ หรือแหลง ขอมูลท่ีไดกำหนดไวอยาง
แนนอน

การวเิ คราะหปญ หาเพื่อการทำวิจยั ในช้นั เรยี น
ปญหาท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียน คือ การที่ผลของการเรียนการสอนหรือส่ิงท่ีเกิดขึ้นในชั้นเรียนไม

เปน ไปตามทค่ี าดหวงั ไว หรอื ไมเ ปน ไปตามทวี่ างเปาหมายไว
ในการจัดการศึกษามีจุดมุงหมาย คือ การพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น ดังนั้น การวิเคราะหป ญหา

เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนจึงตองมีจุดเริ่มที่คุณภาพผูเรียนเปนหลักครูผูสอนอาจวิเคราะห
คณุ ภาพผูเรยี นไดจากแหลง ขอ มลู ตอไปนี้

1. จากสารสนเทศของโรงเรยี นและสวนอื่น ๆ ที่เก่ียวของ สารสนเทศในโรงเรียนมีมากมาย
หลายชนิด ครผู สู อนสามารถใชสารสนเทศไดท งั้ ระดับชั้นเรยี น เชน จากบันทึกทายแผนการสอน การ
ทำสังคมมิติในช้ันเรียน จากผลการทดสอบยอย และจากผลการทดสอบปลายภาค นอกจากนี้ยังมี
สารสนเทศในระดับท่ีเปนภาพรวมของโรงเรียน เชน ผลการประเมินโรงเรียนจาก สมศ. (สำนกั รับรอง

27

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) ผลการประเมินคุณภาพนักเรียนจากเขตพื้นที่การศึกษา รายงาน
การตรวจเยย่ี มโรงเรียนของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา เปน ตน

อยางไรก็ตามสารสนเทศที่ครสู ามารถนำมาวจิ ัยช้ันเรียนนัน้ อาจมาจากสารสนเทศภายนอก
เชน จากขาวสารบานเมืองที่เปนปญหาในภาพรวม เชน ปญหาการทุจริตการสอบเขาศึกษาตอใน
ระดบั มหาวิทยาลัย ปญหาความเครียดของนักเรียน ปญหาการทะเลาะวิวาท ฯลฯ หรือจากงานวิจัย
ของบคุ คลตางๆ ทมี่ ีการชี้ประเด็นใหทำวจิ ยั ตอ ในเรอ่ื งนั้น เปน ตน

2. จากขอมูลความคิดเห็นของนักเรียนและผูที่เก่ียวของ แหลงขอมูลที่สำคัญอีกแหลงหน่ึง
ของการหาปญหาในการทำวิจัย คือ ความคิดเห็นของนักเรียน ครูผูสอน ผูบริหาร ผูปกครอง และ
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ซ่ึงครผู ูสอนอาจจะใชการพูดคยุ ใชการสังเกต ใชแบบสอบถาม
ถงึ ปญหาตา ง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ กับนกั เรียน เพ่อื นำมาวจิ ัยชนั้ เรยี นได

เทคนคิ การรวบรวมขอมลู และเคร่ืองมือท่ใี ชใ นการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น

ในการดำเนินการวิจัยเพ่ือใหไดมาซ่ึงขอเท็จจรงิ ตาง ๆ ที่ผวู ิจัยตองการศึกษา ตองอาศัยการ
รวบรวมขอมูล ซ่ึงการรวบรวมขอมูลในการวจิ ัยมีหลายประเภท ผูวิจัยจำเปนท่ีจะตอ งศึกษากอน
วาเทคนิคการรวบรวมขอมูลแบบไหนท่ีเหมาะกับงานวิจัยของตนเอง ในบทนี้ขอแนะนำ เทคนิคท่ี
นิยมใชร วบรวมขอมูลในงานวิจัยในชัน้ เรียน 4 ประเภท คอื การรวบรวมขอมูลโดยแบบสอบถาม โดย
การสัมภาษณ โดยการสังเกต และโดยการทดสอบ เพ่ือชวยใหผูวิจัยไดตัดสินใจเลือกเทคนิคการ
รวบรวมขอมูลในงานวิจัยของตนเองไดอยางเหมาะสม โดยจะขอกลาวถึงหลักการสำคัญ ขอดี-
ขอจำกดั ลกั ษณะและหลกั การสรา งเครื่องมอื ในการรวบรวมขอมูลเพอ่ื การวิจัยในช้ันเรยี น

1. การรวบรวมขอมลู โดยแบบสอบถาม
การรวบรวมขอมูลโดยแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนการรวบรวมขอมูล โดยผาน
แบบวัดหรอื แบบสอบถาม เพือ่ หาขอสรุปตามทีต่ องการ
ขอ ดแี ละขอจำกัดของการรวบรวมขอมูลโดยแบบสอบถาม

ขอ ดีของการรวบรวมขอมลู โดยแบบสอบถาม คือ
1. มีรปู แบบทงี่ า ยตอการตอบ
2. เปนทคี่ ุนเคยของคนโดยทัว่ ไป
3. สามารถเก็บรวบรวมขอมลู ไดทีละหลาย ๆ คน
4. เสียเวลา คา ใชจ า ย และแรงงานคอ นขา งนอย
ขอจำกดั ของการรวบรวมขอมูลโดยแบบสอบถาม คอื
ตองอาศัยความรวมมือและความเต็มใจตอบจากผูใหขอมูลเปนอยางมากในกรณีที่
ผูว ิจัยสอบถามขอมูลจากคนทีอ่ านหนังสอื ไมอ อก เขยี นไมได เปน เด็ก หรอื ผูสงู อายุแลว อาจจะตอ งใช

28

วิธีการอานขอคำถามใหฟงแลวใหบอกคำตอบแกผูวิจัยไดจดบันทึกทำใหตองใชเวลาในการรวบรวม
ขอ มูลมากขน้ึ

2. การรวบรวมขอมูลโดยการสมั ภาษณ
การรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณ (Interview) เปนการรวบรวมขอมูลโดยการสนทนา
หรือสอบถามกันอยางมีจุดมุงหมายเพ่ือหาขอสรุปตามที่ตองการ ในการสัมภาษณสวนใหญนิยมใช
แบบบนั ทึกการสัมภาษณ เครอ่ื งบันทึกภาพ/เสียง เปนเคร่ืองมือบันทกึ ผลการสมั ภาษณ
ขอดแี ละขอจำกัดของการรวบรวมขอมลู โดยการสัมภาษณ

ขอดีของการรวบรวมขอมลู โดยการสัมภาษณ คือ
1. เหมาะที่จะใชในกรณีท่ีตองการใหผูตอบขอคำถามไดแสดงออกโดยการพูด
มากกวาการเขียนตอบ
2. เหมาะสำหรับการรวบรวมขอมูลจากคนอานหนังสือไมออก เขียนไมได
เชน เดก็ หรอื ผูส ูงอายุ
3. สามารถสอบถามในประเด็นตา ง ๆ ในเชิงลึกไดจ นเปน ที่พอใจ
4. สามารถเหน็ ความจริงใจในการตอบคำถาม
ขอจำกัดของการรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณ คอื
1. สน้ิ เปลอื งเวลาและงบประมาณคา ใชจ า ยมากกวาการรวบรวมขอมูลแบบอื่น
2. การฝก ผูชว ยสมั ภาษณใ หม ีความชำนาญ หรอื มีความสามารถเทยี บเทา ผูวจิ ยั ทำ
ไดคอ นขางยาก
3. การรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต
การรวบรวมขอมูลโดยการสงั เกต (Observation) เปนการรวบรวมขอมูลโดยการใชประสาท
สัมผัสของผูสังเกตในการศึกษาพฤติกรรม หรือปรากฏการณตาง ๆ เพื่อหาขอสรุปตามท่ีตองการ
ในการสังเกตสวนใหญนิยมใชแบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินคา เครื่องบันทึกภาพ/เสียง
เปนเครอื่ งมอื บันทึกประกอบการสังเกต
ขอ ดีและขอจำกัดของการรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต
ขอ ดีของการรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต คือ
1. เหมาะกับการรวบรวมขอมูลเชิงพฤตกิ รรม และทักษะการปฏบิ ัตติ า ง ๆ
2. ทราบสภาพความเปน จริง หรอื ความเคลื่อนไหวของสิ่งท่ีทำการสังเกตในขณะน้นั
ขอ จำกัดของการรวบรวมขอมูลโดยการสงั เกต คือ
1. ในการสงั เกตอาจใชเวลาคอนขา งมากกวา การใชเทคนิคแบบอ่ืน ๆ
2. หากพฤตกิ รรมหรือปรากฏการณเกิดขึ้นพรอม ๆ กันหลายเหตุการณอาจรวบรวม
ขอมูลไมได

29

3. การฝกผูชวยสังเกตใหมีความชำนาญหรือมีความสามารถเทียบเทาผูวิจัยทำได
คอ นขางยาก

4. การรวบรวมขอมลู โดยการทดสอบ
การรวบรวมขอมูลโดยการทดสอบ (Testing) เปนการรวบรวมขอมูลโดยการกระตุน หรือ
เราใหผูใหขอมูลไดแสดงออกมาซึ่งความรู ความสามารถ และความรูสึกนึกคิดตาง ๆ เพื่อหาขอสรุป
ตามที่ตองการ ในการทดสอบสวนใหญจะใชแบบทดสอบแบบปรนัย แบบทดสอบ แบบอัตนัย
แบบวัดผลงานภาคปฏบิ ตั ิ แบบวดั ทางจิตวทิ ยาอน่ื ๆ เปน เครอ่ื งมอื ในการทดสอบ
ขอดแี ละขอจำกัดของการรวบรวมขอ มูลโดยการทดสอบ

ขอ ดีของการรวบรวมขอมูลโดยการทดสอบ คือ
1.เหมาะสมมากท่ีจะใชวัดความรู ความสามารถ
2.สามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดทีละหลาย ๆ คน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเก็บ
รวบรวมขอมูลในชั้นเรยี น ทำใหใชเวลาไมมากนัก
ขอจำกัดของการรวบรวมขอมูลโดยการทดสอบ คอื
1. กรณที ่ีผูถูกทดสอบไมไดอยใู นสภาพเหมือนกับนกั เรยี นในชั้นเรียนจะทำใหล ำบาก
ในการตอบ
2.หากเปนลักษณะแบบทดสอบคนสวนใหญมักจะกลัวและไมใหความรวมมือ
เทาที่ควร

งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วขอ ง
วราภรณ บวรศิริ (2541) พบวา งานวิจัยสวนใหญถึงรอยละ 88 เปนงานวิจัยที่ทำเปน

วิทยานิพนธ เม่ือพิจารณาแหลงผลิตงานวิจัยพบวา เปนงานวิจัยของสถาบันการศึกษาเปนสวนใหญ
ประเภทของงานวิจัยพบวา เปนงานวิจัยประยกุ ตถึงรอ ยละ 98 โดยเปนงานวิจัยและพัฒนาไมถ ึงรอ ย
ละ 1 และเปนงานวิจัยพ้ืนฐานไมถึงรอ ยละ 1 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยพบวา สวนใหญใชวิธวี จิ ัยเชงิ สำรวจและ
รองลงมาเปนงานวิจัยเชิงทดลอง ระดับการศึกษาที่วิจัยพบวา ทำมากในระดับมัธยมศึกษา
ประถมศึกษา และอุดมศึกษาเรยี งตามลำดับ สวนงานวิจัยระดบั อาชีวศกึ ษาและกอนประถมศึกษายัง
มีนอยมาก มิติของงานวิจัยพบวา สวนใหญเปนงานวิจัยมิติกระบวนการ จัดการเรียนการสอนมาก
ที่สุด รองลงมาไดแก งานวิจัยมิติผูเรียน งานวิจัยหลายมิติและงานวิจัยมิติผูสอนตามลำดับ สำหรับ
งานวิจัยมิติสภาพแวดลอมยังมีนอยมากงานวิจัยมิติกระบวนการจัดการเรียนการสอนพบวา เปน
งานวิจัยเกี่ยวกบั วิธีการสอนมากทส่ี ุด รองลงมาไดแ ก การใชสอื่ งานวจิ ัยมติ ิผเู รียนพบวา เปนงานวจิ ัย
เกยี่ วกับภูมิหลังของผเู รยี นมากท่ีสุด รองลงมาไดแก ความเขาใจของผูเรียน พฤติกรรมของผูเรยี นและ
ความสามารถของผูเรียนตามลำดับ งานวิจัยมิติผูสอนพบวาเปนงานวิจัยเกี่ยวกับสภาพปญหามาก

30

ที่สุด รองลงมาไดแก ภูมิหลังของผูสอน ความเขาใจของผูสอน และพฤติกรรมการสอนตามลำดับ
งานวิจัยมิติสภาพแวดลอมพบวา เปนงานวิจัยดานการสอน และงานวิจัยสภาพปญหามากที่สุดเทา ๆ
กัน รองลงมาไดแก ภูมหิ ลังของบุคคลในชมุ ชน

กองวิจยั ทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2542) ผลการสงั เคราะหงานวิจัย
เชิงปริมาณ พบวา 1.1 การสอนวิทยาศาสตรในระดับประถมศึกษา ดวยวธิ ีการสอนแบบใชกิจกรรม
วิธีการสอนแบบใชสื่อการเรียนการสอน และวิธีการสอนแบบผสม ทำใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงกวาการสอนตามปกติ 1.2 การสอนวทิ ยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา ดวยวิธีการสอนแบบ
ผสม (โดยใชชุดการสอน) ทำใหผูเรยี นมีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เจตคติทางวิทยาศาสตร
และความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรสูงกวาการสอนตามปกติ ผลการสังเคราะหงานวิจัยเชิง
เนื้อหา พบวา 2.1 วิธีการสอนแบบใชกิจกรรม มี 15 วิธี วิธีการสอนที่ทำใหผูเรียนมีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร และความสามารถในการแกปญหาสงู กวาการสอนตามปกติ ไดแ ก การ
สอนแบบสืบเสาะหาความรู วิธีการสอนแบบแกปญหา และใชแผนการสอนหรือชุดกิจกรรมที่เนน
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร วิธีการสอนที่ทำใหผูเรียนมีความคิดสรา งสรรคทางวิทยาศาสตร
สูงกวาการสอนตามปกติ ไดแก การสอนแบบสืบเสาะหาความรูและชุดฝกกิจกรรมเพื่อสงเสริม
ความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร วิธีการสอนที่ทำใหผูเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรสูงกวาการ
สอนตามปกติ ไดแก วิธีการสอนแบบแกปญหา แบะใชชุดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร
2.2 วิธกี ารสอนแบบใชสอื่ การเรียนการสอน มี 10 วิธี วิธีการสอนท่ีทำใหผูเรียนมีทักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรสูงกวาการสอนตามปกติ ไดแก การใชบทเรียนแบบโปรแกรมและหนงั สือการตนู เพื่อ
เสริมทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การใชบทเรยี นคอมพิวเตอรช วยสอน ทำใหผูเรียนมีเจตคติ
ทางวิทยาศาสตรสูงกวาการสอนตามปกติ การใชสไลดจากโปรแกรมนำเสนอในคอมพิวเตอร ทำให
ผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูสูงกวาการสอนตามปกติ การใชสไลด – เทป ท่ีมีส่ิงชวยจัดมโนมติ
ดว ยนัน้ การใชส่งิ ชว ยจัดมโนมตกิ อ น จะทำใหผ ูเ รยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นดีทีส่ ดุ รองลงมาคอื การ
ใชร ะหวางใชสไลด – เทป และการใชสิ่งชวยจัดมโนมติแบบเร่ืองยอ กบั บทเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร
จะดกี วาการใชส่ิงชวยจดั มโนมตแิ บบโครงเร่ือง 2.3 วิธกี ารสอนแบบผสม มี 12 วธิ ี วธิ กี ารสอนท่ที ำให
ผูเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสูงกวาการสอนตามปกติ ไดแก การใชเกมและของเลน
ทางวิทยาศาสตร การใชคมู ือ / แผนการสอนเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การใชเคร่ือง
เลนเชิงวิทยาศาสตรทำใหผูเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรส ูงกวาการสอนตามปกติ และชุดการสอน
ทำใหความคงทนในการเรียนรูสงู กวาการสอนตามปกติ 2.4 รูปแบบการเรียนการสอน มี 5 รูปแบบ
รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของ Bruner, Ausubel และ Suchman ทำใหผูเรียนมี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรสูงกวาการสอนตามปกติ รปู แบบการ
เรียนการสอนของ Gagne ทำใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวาการสอนตามปกติ

31

วิธีการสอนทั้ง 37 วธิ ี และรูปแบบการเรียนการสอน 5 รูปแบบน้ี ลวนสงผลตอกระบวนการเรียนรูที่
ยงั่ ยืนของผูเรียน เพราะสวนใหญนอกจากจะทำใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนหรือสูงกวา
การสอนตามปกติแลว ยังทำใหกระบวนการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตรของผูเรียนสูงขึ้นหรือสูง
กวา การสอนตามปกตดิ วย

ทัศวรรณ คำทองสุข (2550) พบวา ปริมาณงานวิจัยท่ีเปนวิทยานิพนธเกี่ยวกับการจัดการ
เรยี นการสอนแบบบรู ณาการท้ัง 5 มหาวิทยาลัย พบวา ปที่ทำวจิ ัยสำเรจ็ อยใู นชว งปพ .ศ. 2546 2547
และ 2549 สถาบันที่ผลิตงานวิจัยมากที่สุด คือ มหาวิทยาลัยขอนแกน สวนสาขาวิชาทผ่ี ลติ งานวิจัย
มากท่ีสุด คือ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ลักษณะเนื้อหาการวิจัยใชรูปแบบการบูรณาการท้ัง
ภายในกลุมสาระการเรียนรูและระหวางกลุมสาระการเรยี นรูจำนวนใกลเ คยี งกัน สวนใหญบูรณาการ
ครบทุกกลุมสาระการเรียนรู โดยใชทฤษฎี Constructivism เปนหลักในการศึกษา สำหรับงานวิจัย
เชงิ ปรมิ าณวิธีการท่ีใชใ นการศึกษาสวนใหญใชว ิจัยเชิงทดลองท่ไี มมกี ารจดั ดำเนนิ การแบบสมุ และไมมี
กลมุ ควบคุม งานวิจัยเชิงผสมผสานใชแบบแผนการวจิ ัยโดยใชปรมิ าณเปนหลักคณุ ภาพเปนรอง สวน
งานวจิ ัยเชิงคุณภาพใชวิธีการศกึ ษาแบบ Single study เปน สวนใหญ 2. ผลการวเิ คราะหลักษณะและ
ความแตกตางของคาขนาดอิทธิพลตามตัวแปรคุณลักษณะงานวิจัย พบวา ตัวแปรที่ทำใหคาขนาด
อิทธิพลแตกตางกันมีท้ังหมด 5 ตัวแปร ตวั แปรประเภทตวั แปรตาม ตัวแปรส่ือ/ อุปกรณป ระกอบการ
เรียนการสอน ตัวแปรแบบแผนการวิจัย ตัวแปรจำนวนเครือ่ งมือที่ใชในการวจิ ัย ตัวแปรเคร่ืองมือวัด
ตัวแปรอิสระ 3. ผลการวิเคราะหเนื้อหา พบวา รูปแบบการบูรณาการภายในกลุมสาระการเรียนรู
สอดแทรกเนื้อหาวิชาที่เรียนเขากับชีวิตจริง รูปแบบการบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรู
เช่ือมโยงเนื้อหาวิชาท่ีเรียนกับการจัดกิจกรรมนอกสถานท่ี 4. ผลการสังเคราะหองคความรู พบวา
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการภายในกลุมสาระการเรียนรูบูรณาการครบทุกชวงช้ัน
กลุมสาระการเรียนรทู ่ีนำมาสอดแทรกกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนมากที่สุดคือ กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาไทย รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหวางกลุมสาระการเรียนรูบรู ณาการใน
ระดับชวงช้ันที่ 1-3 โดยรูปแบบการบูรณาการแบบคูขนาน บูรณาการ 2 กลุมสาระการเรียนรูไดแก
กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตรก ับวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรยี นรูส ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษากับกลุม
สาระการเรียนรูศิลปะ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบพหุวิทยาการ กำหนดกลุมสาระการ
เรียนรูที่เปนแกนกลาง 4 กลุมสาระการเรียนรู คือ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการ
เรียนรศู ิลปะ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศึกษา
และพลศกึ ษา

รัชภูมิ สมสมยั (2562) งานวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้น
เรียนของครูผูสอนโรงเรยี นสันติศึกษา ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก รายงานโครงรางการวิจัย

32

ในชั้นเรียนของครูผสู อนโรงเรียนสันติศึกษา อ.เมือง จ.เชียงใหม ประจำปการศกึ ษา 2562 จำนวน 28
เรื่อง เคร่อื งมอื ที่ใชใ นการวิจัยไดแก แบบสอบถามเร่ืองการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของ
ครูผูสอนโรงเรียนสันติศึกษา สถิติที่ใชไดแก วิธีสังเคราะหเชิงคุณภาพดวยวิธีวิเคราะหเนื้อหาและ
ทำการแจกแจงความถีแ่ ละคา รอ ยละ ผลการวิจยั สรปุ ไดด ังน้ี ข อ มู ล ทั่ วไป ข อ งครูผูส อ น พ บ วา
ครูผสู อนสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอ ยละ 89.29 มีอายุ 26 – 30 ป คิดเปน รอยละ 35.71 และ
มีประสบการณสอน 1- 5 ป คิดเปนรอยละ 64.29 ผลการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียน
พบวา ปญหาในชนั้ เรยี นสวนใหญมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทกั ษะพิสัย คดิ
เปนรอยละ 67.86 ครูผูสอนไดกำหนดวัตถุประสงคในโครงรางการวิจัยในช้ันเรยี นจำนวน 1 ขอ คิด
เปน รอยละ 48.26 กำหนดนักเรียนระดับช้ันปฐมวยั และชวงชั้นท่ี 2 เปนกลุมเปาหมาย คดิ รวมเปน
รอ ยละ 57.14 มีคำศัพทในนยิ ามศัพทเฉพาะ จำนวน 1 – 3 คำ คิดเปน รอ ยละ 50.00 มีจำนวนขอ ใน
ประโยชนที่คาดวาจะไดร ับ จำนวน 1 – 3 ขอ คดิ เปนรอ ยละ 85.71 มีจำนวนขอในบทท่ี 2 จำนวน 1
– 3 หัวขอ คิดเปนรอยละ 64.29 และคนควาเอกสารในบทที่ 2 จาก website คิดเปนรอ ยละ 75.00
มีแหลงอางอิงสำหรับเอกสารในบทท่ี 2 จำนวน 1 – 5 แหลง คิดเปนรอยละ 85.71 ประชากรที่ใช
เปนนกั เรียนในชนั้ เรียนที่ตนเองรบั ผดิ ชอบสอน คดิ เปนรอ ยละ 42.86 ใชเครื่องมือจำนวน 2 – 3 ชนิด
ในการดำเนินการวิจัย คิดเปนรอยละ 61.42 มีแผนการจัดการเรียนรู จำนวน 1 แผนในการ
ดำเนินการวิจัย คิดเปนรอยละ 53.57 ใชสื่อการเรียนการสอนเปนนวัตกรรมในการแกปญหาในชั้น
เรียน คิดเปนรอยละ 78.57 ครูผูสอน สวนใหญใชแบบทดสอบ แบบสังเกต และแบบประเมิน
ทักษะเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมลู และสรางเคร่ืองมือโดยการประยกุ ตใชจากผูอ่ืน คิดเปน
รอยละ 64.29 คำนวณคาสถิติในการวิจัย โดยใชเคร่ืองคิดเลข คิดเปนรอยละ 60.71 ดำเนินการเก็บ
รวบรวมขอมูลในชวงเวลาเรียนปกติ คดิ เปนรอยละ 71.43 โดยใชระยะเวลา 4 เดอื น คดิ เปนรอยละ
64.29 การจัดทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนน้ัน ครูผูสอนมีปญ หา อุปสรรคดานการเลือกปญหาใน
การทำวิจัยและการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ คิดรวมเปนรอยละ 61.42 และมี
ขอเสนอแนะและความตองการความชวยเหลือในภาคเรียนท่ี 2 ลำดับแรกไดแก การใหคำปรึกษา
ตดิ ตาม และคำแนะนำท่ีสมำ่ เสมอ

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ การวิจยั

การวจิ ัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสังเคราะหโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครผู ูสอนโรงเรียน
เทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบ ำรุง) อ.สันปา ตอง จ.เชียงใหม โดยผวู ิจัยไดดำเนินการตามรายละเอียด
ดังตอ ไปนี้

1. ประชากร
2. เครื่องมือทใี่ ชใ นการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมขอ มลู
4. การวิเคราะหขอ มูลและสถติ ิทีใ่ ช

ประชากร
ประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังนี้ไดแก ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งน้ีไดแก รายงานโครงราง

การวิจัยในช้ันเรียนของครูผูสอนโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบดราษฎรบำรุง) อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม
ประจำปก ารศกึ ษา 2563 จำนวน 32 เรือ่ ง

เคร่ืองมือท่ีใชในการวจิ ยั
เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามเร่ืองการสังเคราะหโครงรางการวิจัยในช้ันเรียน

ของครูผูสอนโรงเรียนสันติศึกษาที่ผูวิจัยสรางขึ้นเองเพื่อใชในการเก็บรวบรวมและจดบันทึกขอมูล
โดยมรี ายละเอยี ดคือ ชอ่ื เร่ืองงานวิจัยทไ่ี ดดำเนินการ ปญหาของนักเรียนทต่ี อ งการแกไข วตั ถปุ ระสงค
ของการทำวิจัย ขอบเขตของการทำวิจัย นิยามศัพทเฉพาะ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ การศึกษา
เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ กลุมตัวอยางหรือกลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย นวัตกรรมหลักท่ีใช
แกปญ หา เครือ่ งมือท่ีใชใ นการวิจยั วธิ ีการหาคุณภาพเครอื่ งมือ ระยะเวลาทใี่ ชด ำเนนิ การวิจัย สถิติท่ี
ใชในการวิเคราะห และปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะในการทำวิจัยในช้ันเรียนภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2563

การเกบ็ รวบรวมขอ มลู
ผูวิจัยไดทำการรวบรวมขอมูลจากการนำเสนอโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน

ท้ัง 32 คน เมื่อวันท่ี 9 – 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 ณ หองประชุมโรงเรียนเทศบาล ๑ (ทุงฟาบด
ราษฎรบำรุง) อ.สันปา ตอง จ.เชียงใหม

34

การวิเคราะหข อมลู และสถติ ทิ ่ีใช
การวิเคราะหขอมูลใชวิธีสังเคราะหเชิงคุณภาพดวยวิธีวิเคราะหเน้ือหาและทำการแจกแจง

ความถี่และคารอยละ เพื่อลงสรุปประเด็นสำคัญของขอคน พบจากงานวิจยั แตล ะเรอ่ื ง แลว จำแนกและ
จัดหมวดหมูประเด็นสำคญั เขาดว ยกัน จากนน้ั จึงทำการเรยี บเรยี งใหมคี วามตอเน่ืองและสอดคลอ งกัน
และนำเสนอในลักษณะการบรรยาย

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครงั้ น้มี ีวตั ถุประสงคเพ่ือสังเคราะหโครงรา งการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนโรงเรยี น
เทศบาล ๑ ทุงฟาบด (ราษฎรบำรุง) เพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ผูวิจัยนำเสนอผลการวิจัย
ตามลำดับดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ขอมลู ทวั่ ไปของครูผูสอน
ตอนท่ี 2 ผลการสงั เคราะหโ ครงรา งการวิจยั ในชัน้ เรียน

2.1 ขอ มลู ทัว่ ไปของครูผสู อน
2.2 ผลการสังเคราะหโครงรา งการวจิ ัยในช้นั เรยี น
ตอนท่ี 3 ปญ หา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

ตอนท่ี 1 ขอ มูลท่ัวไปของครผู ูส อน

ตาราง 2 ขอ มลู ทั่วไปของครูผสู อนดา นเพศ

เพศ จำนวน รอ ยละ
ชาย 4 12.50
หญงิ 28 87.50
รวม 32 100.00

จากตาราง 2 พบวา ครผู สู อนสวนใหญเปนเพศหญงิ คิดเปนรอยละ 87.50 สามารถเขียน
เปนกราฟไดด ังน้ี

36

ตาราง 3 ขอ มูลทั่วไปของครผู ูสอนดานอายุ

อายุ จำนวน รอ ยละ

อายุ 26 – 30 ป 1 3.13
อายุ 31 – 35 ป 4 12.50
อายุ 36 – 40 ป 17 53.13
อายุ 41 – 45 ป 9 28.13
อายุ 51 – 55 ป 1 3.13

รวม 32 100.00

จากตาราง 3 พบวา ครูผูสอนสวนใหญมีอายุ 36 – 45 ป คิดรวมเปนรอยละ 81.26
สามารถเขยี นเปน กราฟไดด ังนี้

ตาราง 4 ขอ มลู ทว่ั ไปของครผู สู อนดานประสบการณส อน

ประสบการณส อน จำนวน รอยละ

1 – 5 ป 9 28.13
6 – 10 ป 11 34.38
11 – 15 ป 10 31.25
มากกวา 15 ป 2 6.25

รวม 32 100.00

จากตาราง 4 พบวา ครูผูสอนสว นใหญมีประสบการณสอน 6 - 15 ป คิดรวมเปนรอยละ
65.63 สามารถเขยี นเปนกราฟไดดงั นี้

37

ตอนที่ 2 ผลการสังเคราะหโครงรา งการวิจัยในช้ันเรียน

ตาราง 5 ชอื่ เรื่องโครงรา งการวจิ ยั ในชนั้ เรียนของครูผูสอน

ชอื่ โครงรา งงานวจิ ยั ในชัน้ เรียน จำนวน
1
การใชชดุ ส่อื แมเหล็กมหาสนุกเพื่อรับรูเรื่องแมเ หล็กของเด็กปฐมวัย
การพัฒนาดา นสตปิ ญญาเร่ืองจำนวนและการนับโดยใชส ื่อทางคณิตศาสตรของนักเรียนช้ัน 1
อนบุ าล 3/2
การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยใชชุดกจิ กรรมการเรียนรู กลมุ สาระการเรยี นรู 1
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เร่อื ง ระบบสรุ ยิ ะ สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4
การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรอื่ ง การคณู การหารทศนิยม โดยใชแบบฝก ทักษะ 1
ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 5
การพัฒนาทักษะพื้นฐานดานคณติ ศาสตร โดยใช 3 กจิ กรรมตะลุยสนุกคิด สำหรับนกั เรียน 1
อนุบาล 3/3
การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผูเรยี นระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ตามหลกั สูตรแกนกลาง 1
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3
การพัฒนาความสามารถในการอานภาษาอังกฤษเพอื่ ความเขา ใจ โดยใชวธิ สี อนอานแบบบรู ณา 1
การของเมอรด อค ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 1 ทุงฟา บดราษฎรบ ำรงุ
การพฒั นาทกั ษะการคดั ลายมือโดยใชชุดฝก ทกั ษะการคดั ลายมอื ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษา 1
ปท ่ี 4 โรงเรยี นเทศบาล 1 (ทุงฟา บดราษฎรบำรุง)
การพฒั นาความสามารถดานการอานออกเสยี งคำศัพทภ าษาอังกฤษสระเสยี งยาว 1
โดยวธิ โี ฟนกิ ส 1
การพัฒนาทักษะการสังเกตของนกั เรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 โดยใชแบบฝกเสรมิ ทกั ษะ

38

ช่ือโครงรา งงานวิจัยในชั้นเรยี น จำนวน

การพฒั นาผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนรูวทิ ยาศาสตรร ูปแบบสองภาษา เร่ือง การนำความรเู รื่องการ
แยกสารไปใชประโยชนโดยใชร ูปแบบการจดั การเรยี นรทู ่สี งเสรมิ ทกั ษะการคิดและแกปญหา

ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 1

การพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห โดยใชร ปู แบบการสอนแบบใชป ญหาเปน ฐาน ในสาระศาสนา 1
ศีลธรรม จรยิ ธรรม สำหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรื่องแนวคิดเชงิ คำนวณกับการแกป ญ หา โดยใชบทเรียน

คอมพิวเตอรผานเวบ็ ดว ย Google Site สำหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 1
การพัฒนาชดุ ฝกเสริมทักษะการเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการเชงิ สรา งสรรค สำหรับนกั เรียนช้นั

ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 1

การพฒั นาความสามารถดานการอานจับใจความสำคัญของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6 1
การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร เรอื่ ง พื้นท่ีผวิ และปรมิ าตรโดยการใช 5

แนวปฏบิ ัตกิ ารสอนสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 1

การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเรื่องการคูณโดยใชแ บบฝกทักษะการคณู กลมุ สาระการ
เรยี นรคู ณิตศาสตร สำหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี3 1

การศกึ ษาผลของการใชแรงเสริมทางบวกดว ยเบี้ยอรรถกรที่มตี อ พฤติกรรมความรับผิดชอบใน

การทำความสะอาดหองเรียนของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที่ 3/2 1
การใชช ดุ กิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อพฒั นาความรูทักษะพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรของเด็กปฐมวัย

ช้นั อนุบาล 3/3 1

การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน โดยการใชบทเรยี นคอมพวิ เตอรช ว ยสอน 1
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6

การสอนโดยใชส ่ือวดี ีทศั นประกอบการสอนเรือ่ งพลังงานบนโลกของเราระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา

ปท ี่ 3 โรงเรียนเทศบาล1 (ทุงฟาบดราษฏรบำรุง) 1
การพฒั นาทกั ษะกระโดดไกล 1

การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น โดยใชช ุดกิจกรรมการเรียนรู สำหรบั นักเรยี นชน้ั

ประถมศกึ ษาปที่ 5 1
การพัฒนาทกั ษะการเขียนสะกดคำและจดจำสระ สำหรับนักเรยี นท่ีมคี วามบกพรอ งทางการ

เรยี นรู ระดับชัน้ ประถมศึกษาปท 1่ี -6 โดยใชแบบฝกเทยี บเสียงสระ 1

การพัฒนารปู แบบการสอนอา นภาษาอังกฤษแบบเนน ภาระงานรวมกบั การเรียนรเู ชงิ รุกเพอื่
เสรมิ สรา งทักษะการอานเพื่อความเขา ใจสำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 3 1

39

ช่อื โครงรางงานวจิ ยั ในช้ันเรียน จำนวน

การศกึ ษาผลสัมฤทธดิ์ า นการอา นเชงิ คดิ วิเคราะห วชิ าภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษา 1
ปท ่ี 3 โดยใชเทคนคิ STAD

การพฒั นาทักษะการเขียนสะกดคำดวยกจิ กรรมพ่ีสอนนอ ง 1

การพัฒนาทักษะการอา นภาษาองั กฤษ โดยใช ชุดฝก ออกเสียงแบบโฟนิกส สำหรับนักเรียนชน้ั 1
อนุบาล 3/1

การพัฒนาพฤติกรรมความรวมมือโดยใชเกมและการเลน ของนกั เรียนชั้นอนุบาลปท1ี่ /2โรงเรียน

เทศบาล1 (ทุงฟาบดราษฎรบำรงุ ) 1
การพฒั นาทักษะการเรยี นโนต สากล ของนักเรียนชุมนุมโยธวาทิต ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษา

ปก ารศกึ ษา2563 โดยใชกระบวนการกลมุ 1

การศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่อง โลกและการเปล่ียนแปลง โดยใชก ารจัดการเรยี นรทู ่ี
เนน แบบจำลองรว มกับแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขน้ั (7E) สำหรับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 1

การพฒั นาทกั ษะการอา นผสมคำศัพท โดยใชวิธกี ารสอนโฟนิกส ในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 1

รวม 32

จากตาราง 5 พบวา ครูผูสอนดำเนินการจัดทำโครงรางการวิจัยในชั้นเรียนจำนวน 32
เร่อื ง

ตาราง 6 ความสอดคลองระหวา งโครงรางการวิจยั ในช้ันเรยี นและกลมุ สาระการเรยี นรู

กลุมสาระการเรียนรูทสี่ อน จำนวน รอยละ

ภาษาไทย 6 18.75
คณติ ศาสตร 3 9.38
วทิ ยาศาสตร 7 21.88
ภาษาอังกฤษ 4 12.50
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 9.38
สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 1 3.13
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 3.13
ศิลปะ 1 3.13
ปฐมวยั 6 18.75

รวม 32 100.00

40

จากตาราง 6 พบวา ครผู ูสอนไดจดั ทำโครงรางการวิจยั ในช้ันเรยี นครอบคลมุ ทุกกลุม สาระ
การเรยี นรู คดิ เปน รอ ยละ 100.00 สามารถเขียนเปน กราฟไดด งั นี้

ตาราง 7 ความสอดคลองระหวา งโครงรา งการวิจยั ในชั้นเรยี นและวัตถปุ ระสงคเ ชิงพฤติกรรม

วัตถปุ ระสงคเชิงพฤตกิ รรม จำนวน รอยละ

พุทธพิ สิ ัย (K) 5 15.63
ทกั ษะพสิ ัย (P) 14 43.75
รา งกาย 1 3.13
สังคม 1 3.13
สตปิ ญญา 9 28.13
บรู ณาการ 2 6.25

รวม 32 100.00

จากตาราง 7 พบวา ครูผูสอนสวนใหญไดจัดทำโครงรางการวิจัยในช้ันเรียนที่สอดคลอง
กบั วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานทกั ษะพสิ ัย คิดเปน รอ ยละ 43.75 สามารถเขยี นเปน กราฟไดด ังนี้

41

ตาราง 8 จำนวนวัตถปุ ระสงคใ นโครงรา งการวิจัยในชั้นเรียน

จำนวนวัตถปุ ระสงค (ขอ ) จำนวน รอยละ

1 ขอ 9 28.13
2 ขอ 12 37.50
3 ขอ 10 31.25
มากกวา 3 ขอ 1 3.13

รวม 32 100.00

จากตาราง 8 พบวา ครูผูสอนสวนใหญกำหนดวัตถปุ ระสงคในโครงรางการวจิ ัยในชั้นเรยี น
จำนวน 2 ขอ คดิ เปนรอยละ 37.50 สามารถเขียนเปน กราฟไดด งั น้ี

ตาราง 9 กลุมเปาหมายที่ใชใ นโครงรางการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น

กลมุ เปาหมายที่ใช จำนวน รอ ยละ

ปฐมวัย 1 1 3.13
ปฐมวัย 2 1 3.13
ปฐมวัย 3 4 12.50
ชวงชน้ั ที่ 1 6 18.75
ชวงชั้นที่ 2 10 31.25
ชวงชน้ั ที่ 3 9 28.13
ทง้ั โรงเรียน 1 3.13

รวม 32 100.00


Click to View FlipBook Version