The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2021-04-05 10:08:23

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การคนควาความจริง
อยางเปนระบบและเชื่อถอื ได

คำนำ

แ น ว ท างก ารเขี ย น ราย งาน ก าร วิ จั ย ใน ชั้ น เรีย น ดั งก ล าวนี้ ข า พ เจ าเขี ย น ขึ้ น
จากประสบการณตรงจากตัวขาพเจาเอง อาทิเชน จากการเลาเรียนในระดับมหาบัณฑิต
จากการอานหนังสือที่เก่ียวของกับการทำวิจัยทางการศึกษา จากการอานผลงานทางวิชาการ
และจากการสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรูร ะหวางตัวขา พเจาและผรู ทู ่ีขา พเจา เคารพนบั ถือ ตลอดจนการ
ซักถามขอสงสัยตาง ๆ ในกระบวนการทำวิจัยในช้นั เรียนจากคณะครูท่ีตองการเรียนรูหลาย ๆ ทาน
ซึ่งประสบการณต รงเหลา น้ีทำใหขาพเจาเกิดแนวคดิ ท่ีจะนำเสนอแนวทางการเขียนรายงานการวิจยั ใน
ช้ันเรียน ฉบับครูผูสอนขั้นพื้นฐาน โดยมีวัตถุประสงคที่สำคัญประการหน่ึงคือเพ่ือใหเพ่ือนครูระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีกำลังทำรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมีเข็มทิศ ที่คอยกำหนดวา การเขียน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนทีถ่ ูกตองนน้ั ควรมรี ูปแบบการเขยี นที่เหมาะสมอยา งไรบาง แตขา พเจาขอ
เนนย้ำวัตถุประสงคในการเขียนแนวทางเลมนี้วา เหมาะกับการศึกษาเพื่อเปนแนวทางหรือ
ตัวอยางในการเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรยี นเทานนั้ ความถกู ตอ งประการใดคุณครตู องปรึกษา
จากผรู เู ทานน้ั

แนวทางเลมนี้ขาพเจาจะไมลงลึกในรายละเอียดของขั้นตอนหรือกระบวนการทำวิจัย
ในชน้ั เรยี น เพราะขาพเจามีความเช่ือวาคณะครูสามารถเขาถึงแหลงขอมลู ในเรือ่ งน้ีไดอยางกวางขวาง
ท้ังในรูปของส่ือส่ิงพิมพ การเขารับการอบรมจากหนวยงานตนสังกัด การสอบถามจากผูรู
หรือจากแหลงคนควาออนไลนทพี่ บเห็นไดโดยทว่ั ไป

ขอขอบพระคุณคณะผูบริหาร คณะศึกษานิเทศก ผูบริหารและคณะครูทุกโรงเรียน
ท่ีไดจุดประกายความคิดของขาพเจาในการนำผลึกความรูที่ไดสะสมมานาน ใหสามารถนำมาใชเพื่อ
พัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาโรงเรียน ทายสุดขอกราบขอบพระคุณคณาจารยจากภาควิชา
ประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทุกทานที่ไดประสิทธิ์
ประสาทวิชาความรูในดานของการวัดผลการศึกษาและการวิจัยการศึกษาใหแกขาพเจา ประโยชนที่
เกิดจากการเขียนแนวทางเลมน้ี ขาพเจาขอมอบใหกับบุพการีของขาพเจา และผูที่มีพระคุณในชีวิต
ของขา พเจา ทุกทา น

ห า ก เอ ก ส า ร เล ม น้ี ข อ ง ข า พ เจ า มี ส ว น ผิ ด พ ล า ด ป ร ะ ก า ร ใด ทั้ งจ า ก ค ว า ม ต้ั งใ จ ห รื อ
จากความไมต ้งั ใจใด ๆ ก็ตาม ขาพเจา ยินดีนอ มรับคำตชิ ม เพอื่ นำไปพัฒนางานใหสมบูรณม ากย่งิ ขน้ึ

ขอเคารพดว ยจติ คารวะในความเพยี ร
นายรัชภูมิ สมสมัย

สารบัญ หนา

คำนำผูเขียน ข
สารบัญ 1
ตัวอยางการเขยี นปกรายงานการวจิ ัยในชัน้ เรยี น 2
ตัวอยางการเขียนกติ ตกิ รรมประกาศ 3
ตัวอยางการเขียนบทคดั ยอ 5
ตัวอยา งการเขยี นสารบญั 7
ตัวอยางการเขยี นสารบญั ตาราง 8
ตัวอยางการเขยี นสารบญั รูปภาพ (ถา มี) 8
ตัวอยางการเขียนสารบัญแผนภูมิ (ถามี) 9
ตัวอยา งการเขียนบทที่ 1 บทนำ 12
ตัวอยา งการเขียนบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กีย่ วของ 13
ตัวอยางการเขยี นบทท่ี 3 วิธีดำเนินการศกึ ษา 21
ตวั อยางการเขยี นบทที่ 4 ผลการศกึ ษา 29
ตวั อยางการเขยี นบทที่ 5 สรปุ อภิปราย และขอเสนอแนะ 32
ตวั อยางการเขียนบรรณานุกรม 33
ตัวอยางการเขียนภาคผนวก 36
แบบประเมนิ รายงานการวจิ ยั ในชั้นเรยี น (ฉบับประเมินตนเอง)

1

(ตวั อยา ง)

การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเร่อื ง.........................
โดยใช...............-ชอ่ื นวัตกรรมทค่ี รูเลอื กใช-......................

สำหรบั นกั เรยี นชนั้ ..........................................

โดย
.............................................

โรงเรียน..............................
ตำบล .................. อำเภอ .................. จังหวดั ..................

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา.................. เขต ..........
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

2

กิตตกิ รรมประกาศ

(ตัวอยา ง)

งานศึกษาคนควาเลมน้ีสำเร็จไดดวยความกรุณาจากคณาจารยผูเชี่ยวชาญหลายทาน
ดังรายนามท่ีอยูในภาคผนวก ท่ีไดใหแนวคิด ตลอดจนการแกไขขอบกพรองตางๆ จนงานศึกษา
คนควา เลม นีเ้ สรจ็ สมบรู ณ ผูศึกษาจึงขอขอบพระคุณเปน อยางสูง

ขอขอบพระคณุ ผูเช่ียวชาญดังรายนามในภาคผนวก ก ที่ไดตรวจสอบและใหคำแนะนำใน
การสรางเคร่ืองมือ และขอขอบคุณผูท่ีมีสวนเก่ียวของทุกทานที่ไดใหความชวยเหลือจนงานศึกษา
คนควานี้สำเร็จลงดว ยดี

ขอขอบคุณผูบริหาร คณะครูและนักเรียนโรงเรียน....................ทุกคน ท่ีไดใหความ
อนุเคราะหค วามรู ชว ยเหลือ แนะนำ และใหกำลังใจ ตลอดจนการเกบ็ ขอมูลเพ่ือการศึกษาคน ควา ใน
ครง้ั นี้

ทายสุดขอขอบคุณครอบครัว....................ทไี่ ดชว ยเหลือ สงเสริมสนับสนุน และใหกำลังใจ
ดวยดตี ลอดมา

..........ชื่อผูจัดทำ.........

3

ชื่อเรอื่ ง การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเรอ่ื ง..............................................
โดยใช.............- ชือ่ นวัตกรรม-..................

ผศู ึกษา .......................................

ปท ีท่ ำการศกึ ษา ....................

บทคัดยอ

(ตัวอยาง)

การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของ........-ช่ือนวัตกรรม-
.............. สำหรับนักเรียนช้ัน....................ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง .............................ของนักเรียนทั้งกอนและหลังเรียนดวย........
-ชอ่ื นวตั กรรม-.............. และเพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ตี อ ........-ช่ือนวัตกรรม-..............
กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ ไดแก นักเรียนระดับช้ัน.................... โรงเรียน....................
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา.................... เขต .......... ปก ารศกึ ษา .................... จำนวน ....................
คน โดยวิธีสุม....................เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคร้ังน้ีคือ ........... -นวัตกรรมท่ีใช-.........
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง.................... แผนการจัดการเรียนรูเร่ือง ....................
และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ และสถิติท่ีใชในการ
วิเคราะหขอมูลคือ หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลองของความเห็นของ
ผูเช่ียวชาญ หาประสทิ ธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ ดวยวิธี E1/E2 หาความเชอ่ื ม่ัน
ของแบบวัดความพึงพอใจดวยวธิ ีการหาความคงที่ภายในจากสตู รสัมประสิทธิ์ แอลฟา ของครอนบาค
หาคาความยากงา ยของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ ง .................... ดวยเทคนิค 25%
กลุมสูง – กลุมต่ำ หาความเชอื่ มั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง ....................
ดวยสูตร KR-20 เปรยี บเทียบคะแนนกอนเรียนและ หลังเรยี นโดยการทดสอบที (t-test) และศึกษา
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ..........-ชื่อนวัตกรรม-............โดยใชคาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) ผลการศกึ ษาสรุปไดด งั น้ี

4

สรุปผลการศกึ ษา
1. ประสิทธิภาพของ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ สำหรับนักเรียนชั้น....................

มีคา เทากบั 85.98/89.90
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา.................... สำหรับนักเรียนชั้น....................จากที่ไดรับ

การสอนโดยใช..........-ชอื่ นวัตกรรม-............ เรอ่ื ง ....................มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสูงขน้ึ อยาง
มีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ ในภาพรวมอยูในระดับ ดี
เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจในระดับดี ไดแกขอที่ 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 และ 9
และมคี วามพงึ พอใจในระดับ ดีมาก ไดแ กข อ ที่ 1 , 2 และ 10 ตามลำดับ

หมายเหตุ
บทคัดยอ จะมีลกั ษณะที่เหมอื นกบั สว นแรกของบทท่ี 5

5

สารบญั หนา
พยญั ชนะไทย
(ตัวอยา ง) พยญั ชนะไทย
พยัญชนะไทย
กิตติกรรมประกาศ พยญั ชนะไทย
บทคดั ยอ พยัญชนะไทย
สารบญั ตาราง
สารบัญรูปภาพ (ถา ม)ี ตัวเลข
สารบัญแผนภูมิ (ถา มี) ตวั เลข
บทท่ี 1 บทนำ ตัวเลข
ตัวเลข
ความเปน มาและความสำคญั ของปญหา ตัวเลข
วัตถุประสงคของการศกึ ษา ตัวเลข
ขอบเขตของการศึกษา ตัวเลข
นยิ ามศพั ทเฉพาะ ตวั เลข
ประโยชนทไ่ี ดรบั จากการศึกษา ตวั เลข
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วของ ตวั เลข
หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2551 กลุมสาระการเรียนรูท่ีครูสง ประเมนิ ตัวเลข
ลักษณะสำคญั /การจดั การเรียนการสอนของกลุมสาระการเรยี นรูท่คี รูทำการศึกษา ตวั เลข
ลักษณะสำคัญและการหาประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมท่ีครเู ลอื กใช ตัวเลข
การวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ตวั เลข
การศกึ ษาความพงึ พอใจ ตวั เลข
งานวิจัยทีเ่ กย่ี วของ ตวั เลข
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา ตัวเลข
ประชากรและกลมุ ตวั อยาง ตวั เลข
เครอ่ื งมือที่ใชในการศึกษา ตวั เลข
การสรางและหาประสิทธิของเคร่อื งมือ ตวั เลข
การเก็บรวบรวมขอมลู
การวเิ คราะหขอ มลู และสถิติที่ใช
เกณฑการแปลผลความพงึ พอใจของนักเรียน

6

สารบญั (ตอ) หนา
ตวั เลข
(ตวั อยา ง) ตัวเลข
ตัวเลข
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา ตวั เลข
ผลการวเิ คราะหหาประสทิ ธภิ าพของ.................... ตวั เลข
ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นจาก.................... ตวั เลข
ผลการวเิ คราะหความพงึ พอใจของนักเรียนท่มี ตี อ.................... ตัวเลข
ตวั เลข
บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และขอ เสนแนะ ตัวเลข
สรุปผลการศกึ ษา ตัวเลข
อภิปรายผล ตวั เลข
ขอเสนอแนะ ตัวเลข
ตัวเลข
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก ตวั เลข

ภาคผนวก ก รายนามผูเชยี่ วชาญ ตัวเลข
ภาคผนวก ข ผลการพิจารณาแผนการจดั การเรยี นรูของผูเ ชย่ี วชาญ ตัวเลข
ภาคผนวก ค ผลการหาประสทิ ธภิ าพ (คะแนนดิบ) ของนวตั กรรม ตัวเลข
ตวั เลข
ท้ัง 4 ข้ันตอน ตัวเลข
ภาคผนวก ง ผลการพิจารณาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ตัวเลข
ตวั เลข
ของผเู ช่ยี วชาญ
ภาคผนวก จ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นฉบับสมบรู ณ
ภาคผนวก ฉ ผลการพิจารณาแบบวดั ความพึงพอใจของผูเ ชีย่ วชาญ
ภาคผนวก ช แบบวัดความพึงพอใจฉบบั สมบูรณ
ภาคผนวก ซ หนงั สอื ราชการขอความอนเุ คราะหใ นการทำวิจัย
ภาคผนวก ฌ หนงั สอื ราชการประกอบการเผยแพร และตอบรบั
ภาคผนวก ญ บรรยากาศขณะดำเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ประวัติผูเขียน

7

สารบัญตาราง หนา
ตวั เลข
(ตัวอยา ง) ตวั เลข
ตัวเลข
ตาราง ตัวเลข
1 ประสิทธิภาพของ.................... จากการทดสอบแบบหน่งึ ตอหน่ึง ตัวเลข
2 ประสิทธภิ าพของ.................... จากการทดสอบแบบกลุม เลก็
3 ประสทิ ธภิ าพของ.................... จากการทดสอบแบบกลมุ ใหญ ตวั เลข
4 ประสทิ ธภิ าพของ.................... จากการทดสอบกบั กลุมตัวอยาง ตวั เลข
5 แสดงผลการวิเคราะหความแตกตา งของคะแนนการทดสอบกอ นเรียนและ

หลังเรียน ภายหลงั เรียนดวย....................
6 จำนวนและรอยละของนกั เรียนจำแนกตามสถานภาพสว นตวั ไดแ ก เพศ
7 คาเฉลย่ี คา สวนเบยี่ งเบนมาตรฐานและระดับความคดิ เหน็ ของคะแนน

เกี่ยวกับความพึงพอใจของนกั เรยี นตอ....................

8

สารบญั รปู ภาพ (ถามี)

รูปภาพท่ี หนา
1 รายละเอียด ตัวเลข
2 รายละเอยี ด ตวั เลข
3 รายละเอยี ด ตวั เลข
4 รายละเอียด ตัวเลข
5 รายละเอยี ด ตัวเลข

สารบญั แผนภูมิ (ถามี)

แผนภูมิที่ หนา
1 รายละเอยี ด ตวั เลข
2 รายละเอียด ตวั เลข
3 รายละเอียด ตวั เลข
4 รายละเอียด ตวั เลข
5 รายละเอยี ด

ใหใ สต าราง เพือ่ ใหงายตอ การปรบั ชิดซาย ชดิ ขวา
และเม่ือแบบฟอรม ถูกตอ งแลว กอ นพมิ พใ หปรบั ตารางเปนโปรงใส

9

บทที่ 1
บทนำ

(ตวั อยาง)

ความเปน มาและความสำคัญของปญ หา (ควรเขียนจากกวา งไปสแู คบ และมีอา งองิ เสมอ)
(ตัวอยาง)
ยอ หนา แรกควรกลา วถึงความสำคญั ของหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ.2551
ยอหนาสองควรกลา วถึงความสำคญั ของกลุมสาระการเรียนรทู ่คี รูไดท ำการศึกษา
ยอหนาสามควรกลาวถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนของกลุมสาระการ

เรยี นรทู ี่ครูไดท ำการศกึ ษา
ยอ หนาสคี่ วรกลาวถึงสภาพปญหาทีเ่ กิดจากยอหนาท่ีสาม
ยอ ห น าห าควรกลาวถึงความสำคัญ /ป ระโยชน ของน วัตกรรมท่ี ครูเลื อก ใช

เพ่อื สนบั สนุนการแกป ญหาทเ่ี กิดจากยอหนา สี่
ยอหนาสดุ ทายสรุปใหชัดเจนถงึ ความจำเปน ท่ตี องทำวิจัยเรือ่ งนี้

วัตถุประสงคของการศกึ ษา
1. เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ สำหรับนักเรียนชั้น

....................ใหมปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง .............................ของนักเรียนทั้งกอน

และหลังเรยี นดว ย..........-ชือ่ นวัตกรรม-............
3. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนทีม่ ีตอ..........-ชื่อนวัตกรรม-............

สมมติฐานการศึกษา
1. ..........-ช่อื นวัตกรรม-............ ทส่ี รา งขนึ้ มีประสิทธิภาพสงู กวา เกณฑ 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรู....................เรื่อง ....................

ของนักเรียนสงู ขนึ้ ภายหลงั เรียนดว ย....................
3. นักเรียนมีความพงึ พอใจตอ ..........-ชือ่ นวัตกรรม-............ อยูในระดบั ดี

10

ขอบเขตการศึกษา
ขอบเขตดานประชากร
ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้เปนนักเรียนช้ัน.................... ประจำปการศึกษา

.................... โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา.................... เขต ..........
จำนวน .................... คน

ขอบเขตดานเน้อื หา
เนอ้ื หาทใ่ี ชใ นการศกึ ษาครัง้ นี้ ไดแกเรอื่ ง.......................................ช้นั ........................กลุม
สาระการเรียนรู.......................................ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 และหลักสูตรสถานศกึ ษา สาระท่ี ...............ซ่งึ มดี ว ยกนั ทั้งหมด.........เน้อื หา ดงั นี้ .....................
(เขียนเฉพาะเนอ้ื หาทีเ่ ราตองการพัฒนานักเรยี น ไมใ ชใสช ื่อนวัตกรรม)..................
ขอบเขตดา นตัวแปร
ตัวแปรอิสระ คือ 1. การจัดการเรยี นการสอนดวย ..........-ชือ่ นวตั กรรม-............
ตัวแปรตาม คอื 1. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นกลุมสาระการเรยี นร.ู ...................

เรื่อง....................
2. ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่มี ีตอ ..........-ชื่อนวตั กรรม-............
ขอบเขตดา นระยะเวลา
ระบุถึงชวงเวลา เดือน ป พ.ศ. ท่ที ำการวจิ ยั คร้งั น้ี (แนะนำควรระบุเปนปการศึกษา)

นยิ ามศพั ทเฉพาะ
..........-ช่ือนวตั กรรม-............ หมายถึง ....................
ประสิทธิภาพ ของ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ หมายถึง คุณ ภาพของ......

(นวัตกรรม)...........เรอ่ื ง .........................ชัน้ ......... ตามคาเปา หมายทก่ี ำหนดคือ 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง รอยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนท่ีไดจากการทำ

............................................................และการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นแตล ะชุด.....(นวัตกรรม)..........
คดิ เปนรอ ยละ 80 (E1)

80 ตัวหลังหมายถึง รอยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนท่ีไดจากการทำ
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คดิ เปน รอ ยละ 80 (E2)

แบบท ดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรู....................
เร่ือง.................... หมายถึง แบบทดสอบที่ผูศึกษาสรางข้ึนเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุมสาระ
การเรียนรู....................เร่ือง ....................มีลักษณะเปนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก
จำนวน 30 ขอ จำนวน 1 ฉบับ

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรียนรูเน้ือหาในกลุมสาระการ
เรียนรู....................เร่ือง....................ของนักเรียน โดยวัดจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นเรอื่ ง....................กอนเรียนและหลงั เรียนทีผ่ ูศ กึ ษาสรา งข้นึ

11

ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรูสึกของนักเรียนที่มีตอ ..........-ช่ือนวัตกรรม-
.............ซ่ึงเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนมีความชอบ ไมเกิดความเครียด ไดรูเห็นและเต็มใจ โดยประเมินจาก
แบบวัดความพงึ พอใจ

แบบวัดความพึงพอใจ หมายถึง แบบวัดชนิดมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับที่ผูศึกษา
สรางข้นึ เพื่อวัดความพึงพอใจของนักเรยี นที่มีตอ ..........-ช่ือนวัตกรรม-............

นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้น....................ปการศึกษา .................... โรงเรียน
.................... ตำบล.................... อำเภอ.................... จังหวัด.................... สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา.................... เขต ....................

ประโยชนท ่ีไดรบั จากการศกึ ษา
1. ไดแนวคิดในการพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกลมุ สาระการเรยี นรู.........................
2. ไดแ นวคิดในการสรา ง......(นวัตกรรม).........ในกลุมสาระการเรียนรตู างๆ สำหรับนกั เรียน

ระดบั ชน้ั อนื่ ๆ ตอ ไป
3. ไดขอมูลพ้ืนฐานที่เปนประโยชนตอครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรู....................

เพอ่ื นำ......(นวัตกรรม).........ไปใชพ ัฒนาการจัดการเรียนรกู ลุมสาระการเรยี นรู.....................ตอไป
4. การจัดกิจกรรมดวย......(นวัตกรรม).........ทำใหนักเรียนเกิดทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู

กลมุ สาระการเรียนรู.................. ชนั้ ........................ และเพิ่มประสทิ ธิภาพในการเรยี นรู

12

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ ง

(ตัวอยาง)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของ........-ชื่อนวัตกรรม-
.............. สำหรับนักเรียนชั้น....................ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง .............................ของนักเรียนท้ังกอนและหลังเรียนดวย........
-ชอ่ื นวัตกรรม-.............. และเพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมตี อ........-ชือ่ นวัตกรรม-..............
โดยผูศกึ ษาไดศ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วของ ดงั รายละเอียดตอ ไปนี้

1. หลกั สูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ.2551 กลมุ สาระการเรยี นรู............................
2. ลักษณะสำคัญ/การจัดการเรียนการสอนของกลุมสาระการเรียนรูที่ครูได
ทำการศกึ ษา
3. ลกั ษณะสำคัญและการหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมที่ครเู ลือกใช
4. การวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
5. การศกึ ษาความพึงพอใจ
6. งานวิจยั ทเี่ กี่ยวของ
หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.2551 กลุมสาระการเรียนรูทค่ี รสู งประเมนิ
เนอื้ หา...(อยา ลมื การอางอิง ชื่อผแู ตง , พ.ศ.ที่พิมพ , หนา ที่)
ลักษณะสำคัญ/การจัดการเรยี นการสอนของกลุมสาระการเรียนรทู ่คี รูไดทำการศกึ ษา
เนอ้ื หา...(อยาลืมการอางอิง ชอ่ื ผแู ตง , พ.ศ.ที่พมิ พ , หนา ที่)
ลักษณะสำคญั และการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมท่คี รูเลอื กใช
เนื้อหา...(อยาลืมการอา งองิ ชอื่ ผูแตง , พ.ศ.ทพ่ี ิมพ , หนาที่)
การวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
เนื้อหา...(อยา ลืมการอางองิ ชื่อผูแ ตง , พ.ศ.ที่พิมพ , หนาท่ี)
การศกึ ษาความพงึ พอใจ
เนอ้ื หา...(อยา ลมื การอา งองิ ช่ือผแู ตง , พ.ศ.ท่พี มิ พ , หนาที่)
งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วของ
เนือ้ หา…(เรียงลำดบั ตามปท ี่พมิ พ และอยา ลมื การอางอิง)

(ท้ัง 6 หัวขอน้ีเปนหัวขอตัวอยางข้ันต่ำทีต่ องปรากฏอยูในบทที่ 2
และหากมเี วลาครูสามารถเพ่มิ เตมิ หัวขออ่นื ๆไดตามความเหมาะสม)

13

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ การศึกษา

(ตัวอยาง)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของ........-ชื่อนวัตกรรม-
.............. สำหรับนักเรียนช้ัน....................ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง .............................ของนักเรียนท้ังกอนและหลังเรียนดวย........
-ช่อื นวตั กรรม-.............. และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมตี อ ........-ชอื่ นวัตกรรม-..............
โดยผศู กึ ษาไดด ำเนินการตามรายละเอยี ดดังตอ ไปน้ี

1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง
2. เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชในการศึกษา
3. การสรา งและหาประสทิ ธขิ องเครอ่ื งมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ มลู
5. การวเิ คราะหข อมลู และสถติ ิท่ใี ช
6. เกณฑก ารประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนท่มี ีตอ........-ชอื่ นวัตกรรม-..............

ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง
ประชากรท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้เปนนักเรียนช้ัน.................... ประจำปการศึกษา

.................... โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา.................... เขต ..........
จำนวน .................... คน (ถา เปนประชากรอยางเดยี ว กไ็ มตอ งมีกลมุ ตัวอยาง)

กลมุ ตวั อยางที่ใชใ นการศกึ ษาครง้ั นี้ ประกอบดว ย
1. กลุมตัวอยางท่ีใชในการสรางและพัฒนา..........-ช่ือนวัตกรรม-............ครงั้ น้ีคือ นักเรยี น
ช้ัน....................โรงเรียน....................สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา....................เขต .........
ปการศึกษา ....................จำนวน .................... คน ซ่ึงไดมาจากวิธีสุมอยางงาย (Simple Random
Sampling)
2. กลุมตัวอยางท่ีใชในการสรางและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูและแบบทดสอบวัดผล
สมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกลุมสาระการเรยี นร.ู ...................เรอ่ื ง .................... คือ นักเรยี นช้ัน....................
โรงเรยี น....................สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา....................เขต ......... ปการศกึ ษา ....................
จำนวน .................... คน ซึง่ ไดมาจากวิธสี ุมอยางงา ย (Simple Random Sampling)
3. กลุมตัวอยางท่ีใชในการสรางและพัฒนาแบบวัดความพึงพอใจ คือ นักเรียนชั้น
....................โรงเรียน....................สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา....................เขต ......... ปก ารศึกษา
....................จำนวน .................... คน ซ่งึ ไดมาจากวธิ ีสุมอยางงา ย (Simple Random Sampling)
4. กลุมตัวอยา งทใี่ ชในการศกึ ษาคร้ังน้ีคอื นกั เรียนช้ัน.................. (นกั เรยี นในชนั้ จริงๆของ
ครู) โรงเรียน....................สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา.................... เขต ......... ปการศึกษา
....................จำนวน .................... คน ซ่ึงไดมาจากวิธีสุมอยางงาย (Simple Random Sampling)

14

เครอ่ื งมือที่ใชในการศึกษา
เครื่องมอื ทใ่ี ชในการศกึ ษาคร้งั น้ี ประกอบดวย
1. นวตั กรรมท่ีครเู ลือกใช
2. แผน การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู....................เร่ือง....................

ชัน้ .................... จำนวน....................แผน
3. แบ บทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรู....................

เร่ือง.................... เปนแบบทดสอบที่ใชวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง....................ของนักเรียนชั้น
....................ซง่ึ ใชสำหรบั ทดสอบนักเรียนกอนและหลงั ใช....................เปน แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ
มี 4 ตัวเลือก จำนวน .................... ขอ จำนวน 1 ฉบับ

4. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอ........-ช่ือนวัตกรรม-........มีลักษณะเปนแบบ
มาตราสว นประมาณคา 5 ระดบั จำนวน .................... ขอ จำนวน 1 ฉบบั

วธิ สี รา งเครื่องมอื ในการศกึ ษา
ผูศึกษาขอกลาวถึงขั้นตอนการสรางเคร่อื งมือ ตามลำดบั ดังนี้

1. นวัตกรรมที่ครูเลือกใช
2. แผนการจดั การเรยี นรูกลมุ สาระการเรยี นรู....................เร่อื ง....................
ช้นั ....................
3. แบ บทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรู....................
เรื่อง....................
4. แบบวัดความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีตอ..........-ชอ่ื นวัตกรรม-..........

1...........-ชื่อนวัตกรรม-............ทคี่ รูเลือกใช
อธิบายถงึ ขนั้ ตอนการสรา งและหาประสทิ ธิภาพเปนข้นั ๆโดยละเอียด ที่สำคญั อยทู ่ีข้ันตอน

การหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมนั้นตอ งประกอบดว ย 3 ขนั้ ตอนดังนค้ี ือ
ขัน้ ตอนการหาประสทิ ธิภาพแบบเด่ยี ว (หน่งึ ตอหน่งึ ) และผลการหาประสิทธิภาพ
ขน้ั ตอนการหาประสิทธิภาพแบบกลุม เลก็ (หนึ่งตอ สบิ ) และผลการหาประสทิ ธภิ าพ
ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพแบบกลุมใหญ (หนึ่งตอสามสิบ) และผลการหาประสิทธิภาพ

(ผลการหาประสทิ ธภิ าพอาจจะไปปรากฏในบทท่ี 4 ก็เปน ไปได)

เม่ือผานข้ันตอนการหาประสิทธิภาพท้ังสามขั้นตอนแลว ครูถึงนำนวัตกรรมนั้นไปใชกับ
นกั เรยี นในหอ งเรียนของตนจริงๆ

15

2.แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู....................เรื่อง................... ชั้น....................
(ตัวอยาง)

มขี นั้ ตอนการสรา งและหาประสิทธิภาพมีดงั น้ี
1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 กลุมสาระการเรียนรู....................
เรื่อง .................... ชัน้ .........................
2. วเิ คราะหมาตรฐานการเรยี นรกู ลมุ สาระการเรยี นรู....................
3. กำหนดหวั เรอื่ ง หนวยการเรยี นรยู อย เวลาเรียน
5. นำแผนการจัดการเรียนรูท่ีสรางข้ึนใหผูเชี่ยวชาญ พิจารณาเพ่ือตรวจสอบความ
เหมาะสมและแกไ ขตามขอ เสนอแนะ (รายละเอียดภาคผนวก ..... หนา ....)
6. นำแผนการจัดการเรียนรูที่ผานการปรับปรุงแกไขแลว ไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง
กลุมที่ 2 ตอ ไป
7. ปรบั ปรุงขอ บกพรองที่พบจากการสอนกับกลุม ตวั อยางกลุมที่ 2
8. ไดแ ผนการจัดการเรยี นรูทสี่ มบูรณจำนวน......... แผน รวมท้งั หมด....... ชั่วโมง

3.แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (ตัวอยาง)
ผูศึกษาไดสรางแบบทดสอบตามหลักการสรางแบบทดสอบ โดยใชเกณฑของบุญเชิด

ภิญโญอนัตพงษ (2527 , หนา 16-17) แบบทดสอบที่สรางขึ้นเปนแบบทดสอบท่ีเนนเน้ือหา และ
จุดประสงค โดยใชวัดความรูและทักษะของนักเรียนเก่ียวกับเน้ือหา.................... แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูศึกษาสรางขึ้น มีลักษณ ะเปนแบบเลือกตอบ จำนวน 1 ชุด
มี .................... ขอ โดยดำเนินการสรางตามขน้ั ตอนตอ ไปนี้

1. ศึกษาเน้ือหากลุมสาระการเรียนรู.................... เรื่อง .................... จากหลักสูตร
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551

2. ศกึ ษาวิเคราะหจ ุดประสงคในหลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรู....................
3. กำหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหสอดคลองกับจุดประสงคในหลักสูตร
กลมุ สาระการเรยี นรู....................
4. สรางแบบทดสอบตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ซ่ึงเปนแบบทดสอบแบบ
เลอื กตอบ มี 4 ตัวเลือก จำนวน 1 ฉบับ มี .................... ขอ
5. นำแบบทดสอบท่ีสรางขึ้นใหผูเช่ียวชาญดานการวัดและประเมินผล 3 ทาน
(รายละเอียดในภาคผนวก ก) ตรวจสอบความถูกตอง ความครอบคลุมเน้ือหา ความเท่ียงตรงตาม
เน้ือหา และจุดประสงค ความถูกตอ งตามหลักการสรางของขอสอบท่ีดีโดยใชเทคนิคของ Hamphill
และ Westie (อางใน โกวิท ประวาทพฤกษแ ละสมศักด์ิ สินธุระเวชญ, 2533, หนา 266) ซึ่งการให
ความคดิ เหน็ ของผเู ช่ียวชาญ ไดกำหนดเกณฑ ดังน้ี (รายละเอยี ดภาคผนวก ..... หนา ....)

+1 แนใ จวาขอสอบนน้ั วดั ไดต รงตามวัตถปุ ระสงคข อ นน้ั
0 ไมแ นใจวา ขอ สอบนน้ั วัดไดต รงตามวตั ถปุ ระสงคข อ น้นั
-1 แนใ จวาขอ สอบนั้นไมไ ดว ดั ตรงตามวตั ถปุ ระสงคขอน้ัน

16

จากน้ันนำเอาผลคะแนนการตรวจสอบของผูเชี่ยวชาญทั้งหมดมาทำการวิเคราะห
และเทียบเกณฑโดยถาผลรวมของคะแนนเกินรอยละ 50 ของคะแนนเต็ม ก็ถือวาขอสอบขอนั้น
สามารถวัดไดต ามจุดประสงค สามารถนำไปใชไ ด (รายละเอียดภาคผนวก ..... หนา ....)

6. นำแบบทดสอบท่ีผา นผูเช่ียวชาญทั้ง 3 ทา น มาวเิ คราะหห าความเท่ียงตรงโดยใช
คา IOC แลว คัดเลือกขอสอบทีม่ ีคา IOC ตั้งแต 0.60 ขึน้ ไดจำนวนขอ สอบที่ผานเกณฑจ ำนวน......ขอ
แลว นำมาพิมพเ ปนแบบทดสอบตอไป

7. นำแบบทดสอบท่ีไดร ับการปรบั ปรุงแกไขแลว นำไปทดลองใช (Try-out) กับกลุม
ตัวอยางกลุมที่ 2 ไดแกนักเรียนชั้น....................โรงเรียน.................... ปการศึกษา ....................
จำนวน .................... คน เพอื่ นำขอมลู มาวิเคราะหแ บบทดสอบทสี่ รางข้ึน

8. นำแบบทดสอบที่ไดมาวิเคราะหคาความยากงาย (p) และคาอำนาจจำแนก (r)
เพ่ือคัดเลือกขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) อยูระหวาง 0.2-0.8 และขอสอบที่มีอำนาจจำแนก (r)
ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป คัดเลือกไดท้ังหมด......ขอ ซึ่งเปนขอสอบท่สี ามารถนำไปใชจริงไดท้ังหมดทุกขอ
(รายละเอยี ดภาคผนวก ..... หนา ....)

9. นำแบบทดสอบที่ผานการวเิ คราะหค าความยากงาย และคาอำนาจจำแนกแลวไป
วิเคราะหหาคาความเชอ่ื ม่ันโดยใชสูตร KR-20 ของคูเดอร ริชารดสันไดคาความเช่ือมั่น ....................
(รายละเอยี ดภาคผนวก ..... หนา ....)

10. ไดแ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนฉบบั สมบรู ณ

4.แบบวดั ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีตอ..........-ชือ่ นวตั กรรม-............ (ตัวอยา ง)
1. ศึกษาทฤษฎี หลักการสรา งแบบวดั ความพึงพอใจ
2. สรา งแบบวดั ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ตี อ ........-ชอ่ื นวัตกรรม-...........
3. นำแบบวัดความพึงพอใจท่ีสรางข้ึนไปใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผล

การศกึ ษา (รายชอื่ ตามภาคผนวก ก) ตรวจสอบความเที่ยงตรงเพื่อนำมาปรบั ปรุงแกไ ข
4. นำแบบวัดความพงึ พอใจไปทดลองใช (Try-out) กับกลุมตัวอยางกลุมท่ี 3 ไดแก

นักเรียนชั้น....................โรงเรียน.................... ปการศึกษา .................... จำนวน .................... คน
เพื่อนำขอมูลมาวเิ คราะหแบบทดสอบทส่ี รางขน้ึ

5. คำนวณหาคาความเช่ือมน่ั ของแบบวัดความพึงพอใจโดยใชสูตรสัมประสทิ ธิ์แอล
ฟา(Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) ไดคาความเช่ือม่ัน .................... (รายละเอียด
ภาคผนวก ..... หนา ....)

6. ไดแ บบวัดความพงึ พอใจสำหรบั นักเรียนฉบบั สมบรู ณ

17

การดำเนินการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูล
การเตรียมสถานท่ีและเคร่อื งมอื
1. ติดตอฝายบริหารและฝายวิชาการของโรงเรียน.................... ซึ่งเปนโรงเรียนที่ใชใน

การทดลอง เพ่อื ขออนุญาตทำการทดลองกับกลุมตัวอยางท่ีเปนนักเรียนชั้น.................... ปการศึกษา
.................... จำนวน ....................คน

2. ดำเนนิ การตามขั้นตอนตาง ๆ ท่ไี ดก ำหนดไว (อธิบายเปนขอ ๆวา ครมู วี ิธีดำเนินการ
ศกึ ษาในขนั้ ตอนนี้อยางไรบาง)

การวเิ คราะหข อมลู และสถิติท่ีใช (ตองอางองิ แหลงท่ีมาของสูตรดวย)
ผศู ึกษาวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสำเรจ็ รูป โดยมีสถิตทิ ่ีใชในการศึกษาคร้งั

นค้ี ือ (สูตรทุกสตู รอยาลมื อา งองิ แหลง ทมี่ าของสตู ร (ช่อื ผแู ตง , ปท พี่ ิมพ , หนา ))
1. หาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ โดยใชดัชนีความ

สอดคลอ งของความเหน็ ของผูเชี่ยวชาญ (IOC)

IOC  R
N

IOC คอื ดชั นีความสอดคลองระหวางขอกระทงกับจดุ ประสงค

R คือ ผลรวมคะแนนความคดิ เหน็ ของผเู ช่ยี วชาญ

N คือ จำนวนผเู ชี่ยวชาญ

(ชื่อผูแตง , ปทีพ่ ิมพ , หนา)

2. หาประสิทธิภาพของ..........-ชอื่ นวตั กรรม-............ โดยใช E1/E2 โดยใชสูตร ดังนี้

E1 =  
    100



เมือ่ E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ

X คอื คะแนนรวมของแบบฝก ทักษะ
A คอื คะแนนเต็มของแบบฝกทักษะทุกชดุ รวมกัน
N คอื จำนวนนักเรียน

F 
=    100
E2


18

เมื่อ E2 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ

F คือ คะแนนรวมของแบบทดสอบหลงั เรยี น
B คอื คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรียน
N คอื จำนวนนกั เรยี น

(ชอื่ ผูแตง , ปท พี่ ิมพ , หนา )

3. หาคาความเช่ือมั่นของแบบวัดความพึงพอใจ ดวยวิธีการหาความคงที่ภายในจากสูตร
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรเร่ือง
การคณู โดยใช KR-20โดยใชสูตร ดงั นี้

 n 2 
Alpha 1 i 
n s 
 
  i 1

n 1  s 2
t



เมอ่ื Alpha คือ คา ความเช่ือมั่นของแบบวัด

n คือ จำนวนขอ
S2i คอื ความแปรปรวนของคะแนนขอ สอบขอ ที่ i
S2t คอื ความแปรปรวนของคะแนนขอสอบทง้ั หมด

rxx = n (1-  pq )
n 1
s 2
x

เมือ่ rxx คือ คาสมั ประสิทธิ์แหง ความเทยี่ ง

n คอื จำนวนขอ สอบในแบบทดสอบ

p คอื สดั สว นของคนท่ตี อบขอสอบไดถกู

q คือ สัดสวนของคนทต่ี อบขอสอบไดผ ดิ

 pq คอื ผลรวมความแปรปรวนของแตล ะขอ

S2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้งั ฉบับ
x

4. หาคาความยากงายและคาอำนาจจำแนกของของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
คณติ ศาสตรโ ดยใชเทคนคิ กลุม สงู กลุมต่ำ (เทคนิค 25%)

P Rm  Rn
Nm 2 Nn

19

เม่ือ P คือ คาความยากของขอ กระทง
คอื จำนวนคนทีต่ อบถกู ของกลุมรอบรู
Rm คือ จำนวนคนที่ตอบถูกของกลุมไมรอบรู
Rn คอื จำนวนทงั้ หมดของกลุม รอบรู
Nm คอื จำนวนทงั้ หมดของกลมุ ไมร อบรู
Nn

t  xH  xL
sH2  sL2
n

เมือ่ t คือ คาความแตกตา งของคะแนนเฉลี่ยรายขอ

xH คือ คะแนนเฉลี่ยของกลุมท่ีไดค ะแนนสูง
xL คือ คะแนนเฉลีย่ ของกลุมท่ีไดค ะแนนต่ำ

S2 คือ ความแปรปรวนของกลุมที่ไดค ะแนนสูง
H

S2 คอื ความแปรปรวนของกลมุ ที่ไดค ะแนนต่ำ
L

n คอื จำนวนผูตอบแบบวดั

(ชอ่ื ผูแตง , ปท ี่พิมพ , หนา )

5. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ โดยใชคาเฉล่ีย
( X ) สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) โดยใชส ตู ร ดงั นี้

= 



เมือ่  คือ คะแนนเฉล่ยี
∑X คอื ผลรวมของคะแนนเฉลย่ี ทัง้ หมด
N คือ จำนวนขอ มลู

SD = n  fx 2   fx2
nn 1

เมือ่ SD คอื ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
x คอื คะแนนแตละคนในกลุม ตัวอยา ง
f คือ ความถ่ี
∑fx คือ ผลรวมท้งั หมดของความถคี่ ูณ
n คอื จำนวนกลุม ตัวอยาง
(ชอ่ื ผแู ตง , ปทีพ่ ิมพ , หนา)

20

6. การวเิ คราะหข อมลู เพื่อหาความกาวหนาการเรยี นของนกั เรยี นกอนและหลงั เรียนดว ย
..........-ช่ือนวัตกรรม-............ โดยใชค า t-test

t = D
  D 2   D 2

 1

เม่อื D คือ คาความแตกตา งของคะแนนแตละคู
N คือ เปนจำนวนคขู องคะแนน

(ชือ่ ผูแ ตง , ปทพ่ี ิมพ , หนา )

เกณฑการแปลผลความพงึ พอใจของนักเรียนทม่ี ีตอ..........-ชอ่ื นวตั กรรม-............ (บุญสง นิลแกว,
2541 , หนา 147)

คาเฉลีย่ ตง้ั แต 1.00 ถึง 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ที่ไมด ีอยา งมาก
ต้ังแต 1.50 ถึง 2.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับท่ีไมดี
ตงั้ แต 2.50 ถึง 3.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดับท่ีปานกลาง
ตั้งแต 3.50 ถงึ 4.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับท่ีดี
ตั้งแต 4.50 ถงึ 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับทดี่ มี าก

หรอื

คา เฉล่ีย ต้ังแต 1.00 ถึง 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ที่ไมด ีอยางมาก
ต้งั แต 1.51 ถงึ 2.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั ที่ไมดี
ตั้งแต 2.51 ถงึ 3.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดบั ทปี่ านกลาง
ตัง้ แต 3.51 ถงึ 4.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับท่ดี ี
ตง้ั แต 4.51 ถึง 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับทด่ี มี าก

21

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหขอ มลู

(ตัวอยาง)

การศึกษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของ........-ชื่อนวัตกรรม-
.............. สำหรับนักเรียนช้ัน....................ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง .............................ของนักเรียนท้ังกอนและหลังเรียนดวย........
-ชื่อนวตั กรรม-.............. และเพือ่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนทม่ี ตี อ........-ชอื่ นวัตกรรม-..............
โดยผศู กึ ษาไดเสนอผลการวิเคราะหขอ มูล เพ่อื ตอบวัตถุประสงคข องการศึกษาตามลำดับดงั น้ี

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหห าประสทิ ธิภาพของ........-ชอื่ นวัตกรรม-..............
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลังเรียนดวย........
-ชือ่ นวัตกรรม-..........
ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะหความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่ีมตี อ........-ชือ่ นวัตกรรม-........

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะหห าประสิทธภิ าพของ..........-ชอื่ นวตั กรรม-............
การสราง..........-ชื่อนวัตกรรม-............ในวิชา....................เรื่อง .................... สำหรับ

นักเรยี นชนั้ ....................น้ี มีวัตถุประสงคเพ่ือใหนักเรียนสามารถแกโจทยปญหาในเรอ่ื ง....................
ได โดยผูศึกษาไดสรา งเปนบทเรียนแบบสือ่ ผสม คอื เปนบทเรยี นท่ีประกอบดว ย ตวั อักษร ภาพ และสี
ซึ่งนักเรียนสามารถท่ีจะเรียนรูไดดวยตนเองจาก..........-ช่ือนวัตกรรม-............โดยสามารถใชเวลาใน
การเรียนรูไดตามความตองการและความสามารถของตนเอง ซึ่งนักเรียนแตละบุคคลจะมี
ความสามารถในการเรยี นรแู ละตอ งการเวลาในการเรยี นรทู แ่ี ตกตา งกัน

..........-ช่ือนวัตกรรม-............ชดุ นจ้ี ะประกอบดว ยหนวยยอย 4 หนว ยดว ยกันคอื
1. หนว ยชีแ้ จงรายละเอียดเกี่ยวกบั ..........-ชื่อนวัตกรรม-............
2. หนวยเสนอเน้ือหาบทเรียน เปนเนื้อหาในเร่ือง .................... และแบบฝกหัดทาย
บทเรียน โดยภายหลังจากท่ีทำแบบฝกหัดเสร็จเรียบรอยแลว นักเรียนจะทราบวาทำถูกก่ีขอ และ
ประเมนิ ผลนกั เรยี นคนน้ัน ๆ วาผานเกณฑหรอื ไมผานเกณฑท ี่ตง้ั ไว
3. หนวยทบทวนความรูภายหลงั เรยี นดวย..........-ช่ือนวัตกรรม-............ ซงึ่ เปนความรูท่ี
นกั เรียนจะไดฝ กทำภายหลงั จากทเ่ี รยี นเน้ือหาครบทกุ เนื้อหาแลว
4. หนวยทดสอบกอ นเรียนและหลังเรียน
หลังจากนั้นผูศึกษานำ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ท่ีผานการตรวจสอบจากผเู ช่ียวชาญ
และปรับปรุงแกไขแลวไปทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............3 ข้ัน คือ
ทดสอบแบบหนึ่งตอหนึ่ง ทดสอบกลุมเล็ก และทดสอบกลุมใหญ ไดผลการทดสอบเปนดังนี้
(ผลการหาประสทิ ธิภาพท้ัง 3 ข้นั ตอนนอี้ าจไปอยใู นบทท่ี 3 ขัน้ ตอนการสรางและหาคุณภาพกไ็ ด)

22

การทดสอบแบบหนึง่ ตอหน่ึง
ผลการนำ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ ไปทดลองรายบุคคลกับกลุมตัวอยางกลุมท่ี 1

ซึ่งเปนนักเรียนช้ัน....................โรงเรียน....................จำนวน 3 คน โดยแบงเปนนักเรียนที่เรียนดี
จำนวน 1 คน ปานกลาง 1 คน และออน 1 คน มีวิธดี ำเนนิ การดังตอ ไปน้ี

1. อธิบายใหนักเรียนเขาใจถึงขั้นตอนตาง ๆ กอนที่จะดำเนินการสอนโดย..........
-ช่อื นวัตกรรม-............

2. ใหน กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ นเรยี น
3. ดำเนนิ การสอนโดยใช..........-ชือ่ นวัตกรรม-............จนครบทกุ หนว ยการเรียน
4. ใหนักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
ซึ่ ง ผู ศึ ก ษ า ได สั ง เก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม ใน ก า ร เรี ย น โ ด ย ใ ช ..........-ช่ื อ น วั ต ก ร ร ม -............
ของนกั เรยี นทั้งสามคน ตลอดจนทำการซักถามความคดิ เห็นในเร่ืองของปญหาและความเขาใจในดาน
ตาง ๆ เกี่ยวกับ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ของนักเรียนปรากฏผลดังน้ี (ปรับไดตามสภาพความ
เปนจริง)

1. นักเรียนมีความสนใจและช่ืนชอบในการเรียนกับ..........-ช่ือนวัตกรรม-............
เปน อยา งมาก โดยสงั เกตไดจ ากความกระตอื รอื รน และความสนใจในการเรยี น

2. นักเรียนสามารถเขาใจในคำสั่งและคำอธิบาย ในวิธีการเรียนโดยใช..........
-ชอื่ นวัตกรรม-............เปน อยางดี

3. นักเรียนมีความรูสึกวาตัวหนังสือในบางกรอบกับฉากหลังมีความกลมกลืนกัน
ทำใหอ านไดย าก

4. นักเรยี นมคี วามเขา ใจในคำอธิบายของเนอ้ื หาในบทเรยี นอยูใ นระดับที่ดี
หลังจากทดสอบแบบหนึ่งตอหนึ่งแลว ผูศึกษาไดนำ..........-ชื่อนวัตกรรม-............
มาทำการแกไ ขและปรับปรุงขอบกพรองตาง ๆ ทพ่ี บ

23

ตาราง 1 ประสทิ ธิภาพของ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ จากการทดสอบแบบหนึ่งตอหน่ึง

รายการ จำนวน คะแนนเตม็ คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ ประสทิ ธิภาพ
การทดสอบ นกั เรียน (E1/E2)

ระหวางเรียน 3

หลังเรียน 3

จากตาราง 1 พบวาประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............มีคาต่ำกวา 80/80
จึงยังไมไ ดมาตรฐาน จึงไดป รึกษาผเู ชีย่ วชาญเพอื่ แกไ ขปรับปรงุ ตอ ไป

ผลการทดสอบกลุมเล็ก
ในขน้ั น้เี ปน การทดสอบเพื่อดูวา ..........-ชื่อนวัตกรรม-.............ใชง านไดหรอื ไม โดยนำเอา

..........-ช่ือนวัตกรรม-............ไปทดลองใชสอนกับกลุมตัวอยางกลุมที่ 1 ซ่ึงเปนนักเรียนชั้น
....................โรงเรียน....................จำนวน 10 คน โดยแบงเปนนักเรียนที่เรียนดีจำนวน 3 คน
ปานกลาง 4 คน และออ น 3 คน มีวธิ ีดำเนินการดงั ตอไปน้ี

1. อธิบายใหนักเรียนเขาใจถึงข้ันตอนตาง ๆ กอนที่จะดำเนินการสอนโดย..........
-ชื่อนวตั กรรม-............

2. ใหนักเรยี นทำแบบทดสอบกอ นเรยี น
3. ดำเนินการสอนโดยใช..........-ชือ่ นวัตกรรม-............จนครบทุกหนวยการเรียน
4. ใหนกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

ภายหลังจากการทดสอบกลุมเล็กแลวคำนวณหาประสิทธิภาพของ..........-ชื่อนวัตกรรม-
............โดยทำการวิเคราะหจากผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด ปรากฏวา
..........-ชื่อนวัตกรรม-............ มีประสิทธิภาพ เปน .................... ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดไว ดังที่
แสดงใหเ ห็นในตาราง 2

24

ตาราง 2 ประสิทธภิ าพของ..........-ช่อื นวตั กรรม-............จากการทดสอบแบบกลมุ เล็ก

รายการ จำนวน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ ประสทิ ธิภาพ
การทดสอบ นกั เรยี น (E1/E2)

ระหวางเรยี น 10

หลังเรียน 10

จากตาราง 2 พบวาประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............มีคาสูงกวา 80/80
แสดงวา..........-ช่ือนวัตกรรม-............มีประสิทธิภาพสูงตามมาตรฐาน จึงนำไปทดสอบกับกลุมใหญ
ตอ ไป ผลการทดสอบกบั กลมุ ใหญปรากฏดงั ตาราง 3

ผลการทดสอบกลุมใหญ
ใน ข้ั น น้ี เป น ก า ร ท ด ส อ บ เพื่ อ ดู ว า ..........-ชื่ อ น วั ต ก ร ร ม -. ...........ใช ง า น ได ห รื อ ไ ม

โดยนำเอา..........-ช่ือนวัตกรรม-............ไปทดลองใชส อนกับกลุมตวั อยางกลุมท่ี 1 ซ่ึงเปนนักเรียนชัน้
....................โรงเรียน....................จำนวน 30 คน โดยแบงเปนนักเรียนที่เรียนดีจำนวน 10 คน ปาน
กลาง 10 คน และออ น 10 คน มีวธิ ีดำเนินการดังตอ ไปน้ี

1. อธิบายใหนักเรียนเขาใจถึงข้ันตอนตาง ๆ กอนท่ีจะดำเนินการสอนโดย..........
-ชื่อนวตั กรรม-............

2. ใหน กั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียน
3. ดำเนนิ การสอนโดยใช..........-ชอื่ นวัตกรรม-............จนครบทกุ หนวยการเรียน
4. ใหนกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

ภ ายห ลังจากการท ดสอบ กลุมให ญ แล วคำนวณ หาป ระสิทธิภ าพ ของ..........
-ช่ือนวัตกรรม-............โดยทำการวิเคราะหจากผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด
ปรากฏวา ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ มปี ระสิทธภิ าพ เปน .................... ซึง่ สงู กวา เกณฑที่กำหนดไว
ดังทีแ่ สดงใหเหน็ ในตาราง 3

25

ตาราง 3 ประสทิ ธภิ าพของ..........-ชื่อนวตั กรรม-............จากการทดสอบแบบกลุมใหญ

รายการ จำนวน คะแนนเตม็ คะแนนเฉล่ีย รอ ยละ ประสิทธิภาพ
การทดสอบ นักเรยี น (E1/E2)

ระหวางเรียน 30

หลงั เรียน 30

จากตาราง 3 พบวาประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ มีคาสูงกวา 80/80
แสดงวา ..........-ช่ือนวัตกรรม-............มปี ระสิทธิภาพสูงตามมาตรฐาน จงึ นำไปทดสอบกับกลุม ตวั อยา ง
ตอ ไป ผลการทดสอบกบั กลมุ ตัวอยางปรากฏดังตาราง 4

การทดสอบกบั กลมุ ตัวอยาง
โดยนำเอา..........-ชื่อนวัตกรรม-............ไปทดลองสอนกับกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา

คอื นกั เรียนช้นั ....................โรงเรยี น.................... สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา.................... เขต ……
จำนวน .................... คน โดยมวี ธิ ีดำเนนิ การดังตอ ไปน้ี

1. อธิบายใหนักเรียนเขาใจขั้นตอนตาง ๆ กอนที่จะดำเนินการสอนโดย..........
-ชื่อนวัตกรรม-............

2. ใหน ักเรียนทำแบบทดสอบกอ นเรียน
3. ดำเนินการสอนโดยใช..........-ชอื่ นวัตกรรม-............จนครบทุกหนว ยการเรียน
4. ใหนกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น

ภายหลังจากการทดสอบภาคสนามแลวคำนวณ หาประสิทธิภาพของ..........
-ช่ือนวัตกรรม-............ โดยทำการวเิ คราะหจากผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด
ปรากฏวา..........-ช่ือนวตั กรรม-............มีประสทิ ธิภาพ .................... ซง่ึ สูงกวาเกณฑท ่ีกำหนดไว ดังท่ี
แสดงใหเหน็ ในตาราง 4

26

ตาราง 4 ประสทิ ธิภาพของ..........-ชือ่ นวตั กรรม-............ จากการทดสอบกบั กลุมตวั อยา ง

รายการการ จำนวน คะแนนเตม็ คะแนนเฉล่ยี รอยละ ประสทิ ธภิ าพ
ทดสอบ นกั เรียน (E1/E2)

ระหวางเรยี น จำนวน

นักเรียนจริง

หลงั เรียน จำนวน

นกั เรียนจริง

จากตาราง 4 พบวา
1. รอ ยละของคะแนนระหวา งเรียนดวย.................... มีคาเฉลี่ยคดิ เปนรอ ยละ 85.98
2. รอ ยละของคะแนนหลังเรยี นดว ย.................... มีคาเฉลี่ยคิดเปน รอยละ 89.90
3. ประสทิ ธภิ าพของ..........-ชอื่ นวตั กรรม-............มีคา เฉลี่ยคดิ เปน รอยละ 85.98/89.90

ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลังเรียนดวย..........-ช่ือนวัตกรรม-
............

ผูศึกษานำขอมูลที่ไดจากการทดสอบกับกลุมตัวอยาง มาดูกาวหนาในการเรียนของ
นกั เรียนโดยวิเคราะหข อมลู คะแนนกอนและหลังเรียน ดงั น้ี

ตาราง 5 แสดงผลการวิเคราะหความแตกตางของคะแนนการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ภายหลงั เรียนดว ย..........-ช่อื นวัตกรรม-............

รายการการทดสอบ จำนวน คะแนนเฉล่ีย สวนเบยี่ งเบน t-test
กอนเรียน นกั เรียน มาตรฐาน

หลังเรียน จำนวน Xxx*
นักเรยี นจรงิ หรอื
Xxx**
จำนวน
นักเรยี นจรงิ

** มีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 หรอื * มีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05

27

จากตาราง 5 จะเห็นวานักเรียนท้ังหมดมีคะแนนเฉลี่ยจากการทำแบบทดสอบกอนเรียน
เทากับ ....................และของแบบทดสอบหลังเรียนเทากับ ....................ซึ่งเมือ่ ทำการทดสอบความ
แตกตางทางสถิติแลวพบวา คะแนนการทดสอบกอนเรียนและหลังเรยี นแตกตา งกันอยางมีนัยสำคญั ท่ี
ระดับ .01 โดยมีคะแนนการทดสอบหลังเรยี นสูงกวาคะแนนการทดสอบกอนเรยี น (ถา เปนประชากร
ไมตองทดสอบคาที ใหเอาคะแนนหลังเรียนลบดวยคะแนนกอนเรียน แลวเทียบออกมาเปนรอย
ละ)

ตอนที่ 3 ผลการวเิ คราะหค วามพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ีตอ..........-ช่อื นวัตกรรม-............

การวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ แบงเปน 2
ตอนคือ สถานภาพท่ัวไปของนักเรียนระดับชั้น....................โรงเรียน....................ผลการวิเคราะห
ขอ มลู ปรากฏดงั แสดงในตารางที่ 6 และความคิดเห็นของนกั เรียนตอ ..........-ชอ่ื นวัตกรรม-............ ดัง
แสดงในตารางท่ี 7

ตาราง 6 จำนวนและรอยละของนักเรยี นจำแนกตามสถานภาพสวนตัวไดแก เพศ

สถานภาพ จำนวน รอยละ

เพศ
ชาย
หญิง

รวม

จากตาราง 6 พบวา นักเรียนระดับช้ันระดับชั้น....................โรงเรียน....................
ที่เรียนดวย....................มีนักเรียนชาย รอ ยละ 30 และนักเรยี นหญิงรอยละ 70

28

ตาราง 7 คาเฉลี่ยและคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนและระดับความคิดเห็นของ
คะแนนความพึงพอใจของนักเรยี นตอ..........-ชอื่ นวตั กรรม-............

ความคิดเห็น คะแนนเฉลีย่ สวนเบย่ี งเบน ระดบั ความพึง
(ตวั อยาง) มาตรฐาน พอใจ
4.50 0.509 ดีมาก
1. คำช้ีแจงท่ปี รากฏใน....................อาน
เขา ใจงาย 4.87 0.346 ดีมาก

2. ....................ชว ยใหน กั เรียนมคี วาม 4.13 0.776 ดี
เขา ใจในเนื้อหาวชิ า.................... เรือ่ ง 4.30 0.702 ดี
....................มากขนึ้
4.17 0.791 ดี
3. การจดั เนอื้ หาใน....................นา สนใจ
4. ตวั อยา งทใี่ ชใน....................ทำใหเ กดิ 4.33 0.661 ดี
4.03 0.964 ดี
ความเขา ใจมากขน้ึ 4.27 0.691 ดี
5. การสรปุ บทเรยี นทำใหน ักเรยี นเขาใจ
4.37 0.718 ดี
มากข้ึน 4.83 0.379 ดีมาก
6. รูปแบบ สี และภาพประกอบสวยงาม 4.38 .323
ดี
และนา สนใจ
7. นกั เรยี นชอบการใหข อมลู ยอนกลับ
8. เวลาท่ีใชใ นเรยี นดวย....................ไม

นานเกินไป
9. การใช....................ทำใหนกั เรียนมคี วาม

รบั ผิดชอบตอ ตนเองมากขน้ึ
10. นักเรียนชอบการเรยี นดว ย....................

รวมเฉลยี่

จากตาราง 7 พบวาความพึงพอใจของนักเรียนตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............
ในภาพรวมอยูในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับ ดี เรียง
ตามลำดับจากมากไปนอยไดแก ขอ 9 การใช....................ทำใหนักเรียนมีความรับผิดชอบตอ ตนเอง
มากขึ้น , ขอ 6 รูปแบบ สี และภาพประกอบสวยงามและนาสนใจ , ขอ 4 ตัวอยางที่ใชใน
....................ทำใหเกิดความเขาใจมากขึ้น , ขอ 8 เวลาท่ีใชในเรียนดวย....................ไมนานเกนิ ไป ,
ขอ 5 การสรุปบทเรียนทำใหนักเรียนเขาใจมากขึ้น , ขอ 3 การจัดเนื้อหาใน....................นาสนใจ
และขอ 7 นักเรยี นชอบการใหขอมูลยอนกลับ และเมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา นักเรียนมีความพึง
พอใจในระดับ ดีมาก เรยี งตามลำดับจากมากไปนอยไดแก ขอ 2 ....................ชว ยใหนักเรียนมีความ
เขาใจในเนื้อหาวิชา.................... เร่ือง....................มากข้ึน , ขอ 10 นักเรียนชอบการเรียนดวย
....................และขอ 1 คำชี้แจงที่ปรากฏใน....................อา นเขา ใจงาย

29

บทที่ 5
สรุป อภปิ ราย และขอเสนอแนะ

(ตัวอยาง)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของ........-ช่ือนวัตกรรม-

.............. สำหรับนักเรียนชั้น....................ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง .............................ของนักเรียนท้ังกอนและหลังเรียนดวย........

-ช่อื นวัตกรรม-.............. และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมตี อ........-ชอ่ื นวัตกรรม-..............

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งน้ี ไดแก นักเรียนระดับช้ัน.................... โรงเรียน....................

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา.................... เขต .......... ปการศึกษา .................... จำนวน

.................... คน โดยวิธสี ุม....................เคร่ืองมอื ที่ใชในการศกึ ษาครัง้ นี้คอื ........... -

นวัตกรรมที่ใช-......... แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง.................... แผนการจัดการ

เรยี นรูเรอ่ื ง .................... และแบบวดั ความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมีตอ..........-ชื่อนวัตกรรม-............

และสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลคือ หาความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา โดยใชดัชนคี วามสอดคลองของ

ความเห็นของผูเชี่ยวชาญ หาประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ ดวยวิธี E1/E2

หาความเช่ือมั่นของแบบวัดความพึงพอใจดวยวิธีการหาความคงท่ีภายในจากสูตรสัมประสิทธิ์

แอลฟาของครอนบาค หาคาความยากงายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง

.................... ดวยเทคนิค 25% กลุมสูง – กลุมต่ำ หาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนเรื่อง ....................ดวยสูตร KR-20 เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและ หลังเรียนโดย

การทดสอบที (t-test) และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............

โดยใชคา เฉลีย่ ( X ) สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการศกึ ษาสรปุ ไดด งั นี้

สรปุ ผลการศกึ ษา

ผลการศกึ ษาสรุปไดดงั นี้

1. ประสิทธิภาพของ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ สำหรับนักเรียนช้ัน....................

มีคาเทา กบั 85.98/89.90

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา.................... สำหรับนักเรียนชั้น....................จากท่ีไดรับ

การสอนโดยใช..........-ช่ือนวัตกรรม-............ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้นึ อยางมีนยั สำคัญทางสถติ ิ

ทร่ี ะดับ .01

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............ ในภาพรวมอยูในระดับ ดี

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความพึงพอใจในระดับดี ไดแกขอท่ี 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 และ 9

และมีความพงึ พอใจในระดับ ดีมาก ไดแกขอท่ี 1 , 2 และ 10 ตามลำดับ

สว นแรกของบทที่ 5 จะมีลักษณะคลายกบั บทคัดยอ

30

อภิปรายผล
ผูศึกษาขออภิปรายผลตามลำดับของวัตถุประสงคดังนี้ (ใหอภิปรายผลโดยเรียงเนื้อหา

ตามลำดับของวตั ถุประสงค)

1. ผลการศกึ ษาพบวาประสิทธิภาพของ..........-ชือ่ นวัตกรรม-............ สำหรับนักเรียนช้ัน
.................... มีคาเทากับ 85.98/89.90 ซึ่งสูงกวาเกณฑท่ีกำหนดไว ทั้งนี้อาจเปนเพราะ
......................(เพราะเหตุใดนวัตกรรมท่ีเราสรางขึ้นถึงมีประสิทธิภาพ ใหอธิบายเปนความ
เรียง).................... ซ่ึงสอดคลองกับ ...................(สอดคลอ งกับงานวิจัยหรือคำกลาวของใครบาง
จากบทท่ี 2)..........................

2. ผลการศึกษาพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชา....................จากท่ไี ดรบั การสอนโดยใช
..........-ชื่อนวัตกรรม-............ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
ทั้งนี้อาจเปนเพราะ ......................(เพราะเหตุใดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนถึงไดเพิ่มขึ้น
ใหอธิบายเปนความเรียง).................... ซ่ึงสอดคลองกับ ...................(สอดคลองกับงานวิจัยหรือ
คำกลาวของใครบาง จากบทท่ี 2)..........................

3. ผลการศึกษาพบวานักเรียนมีความพึงพอใจตอ..........-ช่ือนวัตกรรม-............
ในภาพรวมอยูในระดับ ดี ท้ังนี้อาจเปนเพราะ ......................(เพราะเหตุใดนักเรียนถึงมีความ
พึงพอใจตอนวัตกรรมท่ีครูสรางข้ึน ใหอธิบายเปนความเรียง).................... ซึ่งสอดคลองกับ
...................(สอดคลอ งกบั งานวจิ ัยหรือคำกลาวของใครบา ง จากบทที่ 2)..........................

ขอ เสนอแนะ
ขอเสนอแนะสำหรบั การศกึ ษา (ปญ หาจากที่เรามองเห็น)
1. ครูผูสอนควรตองเตรียมเอกสารและส่ือการสอนในแตละกิจกรรมใหพรอม และ

เพียงพอกอนที่นักเรยี นจะทำกิจกรรมตอ งเนน ย้ำใหนักเรยี นปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนของกจิ กรรม
2. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกรรม ครูผูส อนควรดแู ลอยางใกลชิด ใหคำแนะนำ ชว ยเหลอื

นักเรียนเมื่อมีปญหา คอยกระตุนและใหกำลังใจ เพื่อใหนักเรียนเกิดความสนใจท่ีจะเรียนรูสงผลให
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน

3. นักเรียนตองมีความมุงม่ัน และต้ังใจรับผิดชอบงานในหนาท่ี ทำงานดวยความเพียร
พยายามและอดทน เพือ่ ใหง านเสรจ็ ตามเปา หมาย

4. ผูบริหารโรงเรียนควรใหความสำคัญกับการสรางส่ือนวัตกรรมประเภท.......
(นวัตกรรม)................. สนับสนุนงบประมาณและใหขวัญกำลังใจ เพื่อใหครูสามารถพัฒนา.......
(นวตั กรรม).................ไดอยา งมีคุณภาพ

31

ขอ เสนอแนะสำหรับการศึกษาในคร้ังตอไป (ครูทา นอ่นื จะเอางานเราไปตอยอด ครูทานนั้น
ตอ งเตรียมอะไรบาง)

1. ควรพฒั นา.......(นวัตกรรม)................. กลุม สาระการเรียนร.ู .................ในเนอ้ื หาอืน่ ๆ และ
ระดับชนั้ อืน่ ๆ โดยคำนงึ ถึงความแตกตางดา นวัย และศกั ยภาพของนักเรยี นแตล ะบคุ คล

2. ควรมีกลวิธีการนำเสนอ.......(นวัตกรรม).................ใหนาสนใจมากข้ึน โดยการนำเสนอ
ในรูปแบบของ.......(นวัตกรรม).................ประกอบภาพการตูนหรือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
เปนตน

3. ในการจัดสรางสือ่ ประเภทใดก็ตาม ข้ันแรกควรมีการสำรวจสภาพปญ หาความตองการ แลว
นำผลมาวิเคราะห โดยยึดหลักความสำคญั ความจำเปน ความเปน ไปได เปน แนวทางในการพิจารณา
แลวนำมาจัดเรียงตามลำดับความสำคัญ เพ่ือคัดเลอื กสื่อที่จะสรางใหเหมาะสมกับสภาพปญหาความ
ตอ งการทีเ่ ปน อยู

32

บรรณานุกรม

(ตัวอยา ง)

ใหเลือกใชรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบใดแบบหนง่ึ เทานั้น แตตองใชรปู แบบเดียวกัน
ท้งั หมดเชน

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2538) . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุมทักษะ
(คณิตศาสตร) ระดับประถมศกึ ษา . กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พครุ ุสภาลาดพราว.

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. (2529). การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงใหม . ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณ ะศึกษาศาสตร
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.

หรอื

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุมทักษะ
(คณิตศาสตร) ระดบั ประถมศึกษา . กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พครุ ุสภาลาดพราว. (2538).

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.เชียงใหม .
ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
(2529).

หรอื

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2538) . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุมทักษะ
(คณิตศาสตร) ระดบั ประถมศกึ ษา . กรงุ เทพฯ: โรงพิมพครุ ุสภาลาดพราว.

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. (2529). การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงใหม . ภ าควิชาและป ระเมินผลและวิจัยการศึกษา คณ ะศึกษ าศาสตร
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.

หรอื

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุมทักษะ
(คณิตศาสตร) ระดับประถมศึกษา . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พครุ สุ ภาลาดพรา ว. (2538).

กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ. การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.เชียงใหม .
ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
(2529).

33

ภาคผนวก

(ภาคผนวกเปน ท่ีอยูของคะแนนดิบ สวนคะแนนสกุ จะแยกอยตู ามบทตา งๆ
เพราะฉะน้นั ควรเรียงลำดับตามหวั ขอดังน้ี)

34

ภาคผนวก ก
รายนามผเู ชี่ยวชาญ (เปนการใหเกียรติผูเช่ียวชาญ)

ภาคผนวก ข
ผลการพจิ ารณาแผนการจัดการเรียนรขู องผเู ชยี่ วชาญ พรอ มตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู 1 แผน

ภาคผนวก ค
ผลการหาประสทิ ธภิ าพ (คะแนนดบิ ) ของนวัตกรรมท้ัง 4 ขั้นตอน (เดี่ยว เล็ก ใหญ และภาคสนาม)

ภาคผนวก ง
ผลการพิจารณาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู ชยี่ วชาญ
ตลอดจนแสดงผลการคำนวณแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

ทงั้ คา ความยากงาย อำนาจจำแนก และความเชอ่ื มั่นแบบ KR20
ภาคผนวก จ

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นฉบบั สมบูรณ
ภาคผนวก ฉ

ผลการพิจารณาแบบวดั ความพึงพอใจของผูเ ช่ยี วชาญ
ตลอดจนแสดงผลการคำนวณคาความเช่ือมน่ั ของแบบวัดความพึงพอใจ

โดยใชแ อลฟา ของครอนบาค
ภาคผนวก ช

แบบวดั ความพึงพอใจฉบบั สมบูรณ
ภาคผนวก ซ

หนงั สือราชการขอความอนเุ คราะหในการทำวิจยั เชน ขอผเู ช่ียวชาญ ขอเก็บขอมูล เปนตน
ภาคผนวก ฌ

หนงั สอื ราชการประกอบการเผยแพร และตอบรับนวัตกรรม
ภาคผนวก ญ

บรรยากาศขณะดำเนินการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชน วตั กรรม

อ่ืนๆตามทเี่ หน็ สมควรแตต องสอดคลองกบั รายงานวจิ ัยและตอ งตรงกับสารบญั

35

ประวตั ิผูศกึ ษา / ผวู ิจยั / ผปู ระเมนิ

ชอ่ื -สกุล .....................................

วนั เดือน ปเ กดิ .....................................

ทอ่ี ยปู จจุบนั .....................................

ประวตั ิการศึกษา

.....................................

ประวตั ิการทำงาน

.....................................

ผลงานวิชาการท่เี คยทำ (ถา ม)ี
.....................................

36

แบบประเมินรายงานการวิจยั ในชนั้ เรียน (ฉบบั ประเมินตนเอง)

คำชีแ้ จงในการตอบแบบประเมิน

1. แบบประเมินมีท้ังหมด 2 ตอน
ตอนท่ี 1 เปน การถามสถานภาพท่วั ไปของผตู อบแบบประเมิน
ตอนท่ี 2 เปนการประเมินความถูกตองของเลมรายงานการวิจัยในช้ันเรียนของ
ตัวทานเอง โดยมีประเด็นการประเมินที่ครอบคลุมทุกสวนของรายงานการ
วิจัยในช้นั เรยี นท่ถี กู ตอ งตามมาตรฐานการวจิ ยั ทางการศกึ ษาทวั่ ไป

แบบประเมินฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความสมบูรณ/ความถูกตอ งของรายงาน การ
วิจัยในช้นั เรียนดว ยตวั ของทา นเอง โดยมีวิธกี ารประเมนิ ดงั น้ี

ถาทา นพิจารณาวา ประเดน็ การประเมินท่ีกำหนดให มีความถูกตองกับเนอ้ื หาในเลม รายงาน
การวจิ ยั ของทาน ใหท า นเขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ ง “ระดับความคิดเห็น” ซึ่งมีเกณฑด ังน้ี

1 หมายถึง มีความถูกตอ งในประเดน็ การประเมนิ ขอนั้นนอยทีส่ ุด
2 หมายถงึ มคี วามถูกตองในประเด็นการประเมินขอนน้ั นอย
3 หมายถงึ มคี วามถูกตองในประเดน็ การประเมนิ ขอน้นั ปานกลาง
4 หมายถึง มีความถูกตอ งในประเด็นการประเมินขอนัน้ ถูกตอง
5 หมายถงึ มคี วามถูกตองในประเด็นการประเมนิ ขอนั้นถูกตองมากที่สุด

ข อ ใ ห ท า น ต อ บ แ บ บ ป ร ะ เมิ น นี้ ต า ม ค ว า ม เป น จ ริ ง แ ล ะ ใ ห ต อ บ แ บ บ ป ร ะ เมิ น ทุ ก ข อ
ผลการประเมินจะเปนแนวทางในการปรับแก/ปรับปรุงงานวิจยั ในช้ันเรยี นของทานใหสมบูรณย ่ิงขึ้น

ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู อบแบบประเมนิ 37

โปรดทำเครือ่ งหมาย / ลงใน [ ] หนาขอความทเี่ ปนจรงิ

1. เพศ [ ] ชาย

[ ] หญิง

2. อายุของทา น [ ] ตำ่ กวา 30 ป

[ ] 30-40 ป

[ ] 41-50 ป

[ ] 51-60 ป

3. ทา นเปนครูผูสอนมา [ ] 1-5 ป

[ ] 6-10 ป

[ ] 11-15 ป

[ ] 16 ปข้ึนไป

4. วุฒทิ างการศึกษาสูงสุด [ ] ปรญิ ญาตรี

[ ] สูงกวาปรญิ ญาตรี

5. กลมุ สาระการเรียนรทู ี่ทา นทำวจิ ัยในชน้ั เรียน

[ ] ภาษาไทย [ ] คณติ ศาสตร

[ ] วิทยาศาสตร [ ] ภาษาตางประเทศ

[ ] การงานอาชีพและเทคโนโลยี [ ] ศลิ ปะ

[ ] สงั คมศกึ ษา ฯลฯ [ ] สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

[ ] กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน [ ] อื่นๆ ระบุ ......................

6. นวตั กรรมท่ีทานใชใ นการวิจยั ในช้ันเรียนครงั้ น้ี

[ ] แบบฝก [ ] ชดุ การสอน

[ ] บทเรียนคอมพวิ เตอรชวยสอน [ ] เอกสารประกอบการสอน

[ ] เทคนคิ /รปู แบบการสอน [ ] ศนู ยก ารเรยี น

[ ] บทเรียนสำเรจ็ รูป [ ] วดี ทิ ศั น

[ ] อ่ืนๆ ระบุ ..............................................................................

ตอนท่ี 2 ระดับคุณภาพของรายงานการวิจยั ในช้ันเรียน 38

โปรดทำเครือ่ งหมาย / ในชอ งระดับคุณภาพ ตามความคิดเหน็ ของทาน ระดบั คณุ ภาพ
12345
ขอ ประเด็นการประเมิน
ท่ี

ดา นท่ี 1 การประเมนิ ภาพรวมของรายงานการวจิ ัย

1 งานวิจยั มคี วามโดดเดน มคี วามแปลกใหมจ ากงานวจิ ัยคนอื่น

2 งานวิจยั มคี วามสอดคลอ งกับหนาทีก่ ารปฏิบตั ิงานปกตขิ องผูวจิ ยั

3 งานวิจัยสนองตอบตอ นโยบายของสถานศึกษา

4 งานวจิ ัยมีรปู แบบการพมิ พ เชน ขนาดตัวอกั ษร รูปแบบตวั อักษร ทเี่ ปน ระบบและ

รปู แบบเดียวกันท้งั เลมรายงานการวจิ ยั

5 งานวิจัยมกี ารพสิ ูจนตัวอักษรมาเปน อยา งดี โดยเฉพาะคำศัพทใหม เชน ผเู รียน-

นกั เรียน กลมุ สาระการเรยี นร-ู วชิ า หองเรยี น-ชั้นเรียนแผนการจัดการเรยี นรู -

แผนการสอน เปนตน

ดานที่ 2 การประเมนิ สวนนำของรายงานการวจิ ยั

ประเด็นการประเมนิ “ช่ือเรือ่ งรายงานการวจิ ัย”

6 ชอ่ื เรื่องมีความสอดคลองกบั ปญหาการวจิ ัย

7 ช่อื เรอ่ื งส้นั กะทดั รัด ส่ือความหมายไดชดั เจน

8 ชื่อเรอื่ งมีความสอดคลอ งกับวัตถุประสงคก ารวจิ ยั

9 ชอื่ เรอ่ื งงานวจิ ยั มีความแปลกใหม นาสนใจ

10 ช่ือเรื่องระบตุ วั แปรสำคญั ท่ีศกึ ษาครบถวน

ประเด็นการประเมนิ “บทคดั ยอรายงานการวจิ ัย”

11 บทคดั ยอเขยี นเปนความเรียง เปนลำดบั ขน้ั ตอน มองเห็นการวจิ ยั โดยภาพรวม

12 บทคดั ยอมีองคป ระกอบครบถวน ไดแก ชอ่ื เรอ่ื งงานวิจยั ชอื่ ผวู จิ ยั วัตถปุ ระสงค

ประชากรหรอื กลมุ ตัวอยางทใี่ ชในการวิจยั เทคนคิ การสุมกลุมตวั อยาง จำนวนกลมุ

ตวั อยา ง เครื่องมอื ท่ใี ชใ นการวจิ ัย สถิติทใ่ี ชในการวจิ ัย และผลการวิจัย

13 ผลการวิจยั แสดงผลแบบสรปุ และสอดคลอ งกับวัตถุประสงคง านวิจยั

ประเด็นการประเมิน “สารบัญ”

14 มที ัง้ สารบัญเนอ้ื หา สารบญั ภาพ (ถาม)ี และสารบัญตาราง

15 ตวั เลขกำกบั หนาตรงกบั เนื้อหาภายในเลม รายงานการวิจัย

16 สารบัญเน้ือหา สารบญั รูปภาพ (ถามี) และสารบัญตารางมรี ูปแบบการเขยี นเปน แบบ

เดียวกันท้งั หมด

ดานท่ี 3 การประเมินสวนเนอ้ื ความของรายงานการวิจยั

บทท่ี 1 บทนำ

ความเปนมาและความสำคญั ของปญ หา

17 ความเปนมามีการกลา วถึงสาเหตุของปญหาท่ีพบอยางชัดเจน

18 ปญหาทพ่ี บสอดคลองกับภาระงานของผูวจิ ัย

19 เขยี นความเปน มาจากกวา งไปหาแคบ

20 ความเปนมาเขยี นเปนความเรียง มีความสอดคลอ งตอเน่ืองกัน และเปน เหตเุ ปนผล

ขอ ประเด็นการประเมิน 39
ที่ ระดบั คณุ ภาพ
12345

21 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีนำมาอางถึง มีความนาเชือ่ ถือ

22 มกี ารอางอิงจากทฤษฎี หรือขอเท็จจริง ครบทกุ ข้ันตอนทก่ี ลา วอาง

23 การอา งอิงมีรปู แบบการเขียนท่ีเหมอื นกนั

24 มีจำนวนหนา ไมม ากและไมนอยเกนิ ไป ประมาณ 3- 5 หนา

25 ระบเุ หตุผลทีต่ องทำวจิ ยั อยางสมเหตสุ มผลและตรงประเด็น

วัตถปุ ระสงคง านวจิ ัย

26 วัตถปุ ระสงคส อดคลอ ง/ครอบคลุมกับชื่อเรื่อง

27 วตั ถปุ ระสงคส อดคลอง/ครอบคลุมกบั ปญ หาการวิจยั

28 วัตถปุ ระสงคเ ขยี นเปน ประโยคบอกเลา

29 วตั ถุประสงคอานแลวเขา ใจ ชดั เจน

30 วตั ถุประสงคส ามารถดำเนินการไดจ รงิ และเห็นผลไดในเวลาที่เหมาะสม

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตของประชากร

31 ขอบเขตของประชากร เขียนแสดงลกั ษณะ คือ ประชากรคอื ใคร ประชากรอยูที่ใด/ป

การศกึ ษาใด และประชากรมีจำนวนเทา ใด

ขอบเขตของเนื้อหา

32 ขอบเขตเนอื้ หาถกู ตอง มีความครอบคลุมกับวตั ถุประสงค

33 กำหนดตวั แปรตน และตัวแปรตามไดถูกตอง

34 ตวั แปรตน และตวั แปรตามที่กำหนดสอดคลองกบั ปญ หาการวจิ ัย

35 ขอบเขตเน้อื หามคี วามเหมาะสมกับระยะเวลาในการวิจัย

ขอตกลงเบอ้ื งตน (ถา ม)ี

36 กำหนด/ตัง้ ขอตกลงเบื้องตนไดส อดคลอ งกบั งานวจิ ยั

37 ขอ ตกลงเบ้ืองตน น้ันเปนสงิ่ ท่ียอมรับได

สมมติฐานการวจิ ัย (ถามี)

38 กำหนด/ต้งั สมมตฐิ านไดส อดคลองกับวัตถปุ ระสงค

39 กำหนด/ตั้งสมมตฐิ านมีครอบคลุมตามวัตถุประสงค

40 สมมติฐานมเี หตุผลทางวชิ าการท่เี ช่ือถือได

41 สมมติฐานสามารถทดสอบได

42 สมมติฐานเขียนในรปู การอธบิ าย ชดั เจน เขาใจงา ย

นิยามศัพทเ ฉพาะ

43 มีการนิยามศัพทใ นการวิจยั สอดคลอ งกบั ช่ือเร่ืองการวจิ ยั

44 มีการนิยามศพั ทใ นการวจิ ยั ครอบคลมุ วตั ถุประสงค

45 มีการนิยามศัพททถ่ี ูกตอง ชดั เจน เขา ใจงาย

46 มีการนิยามศพั ทโดยใชก ารสงั เคราะหจากเอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วของ (บทท่ี 2)

47 มีการนยิ ามศพั ทใ นรปู แบบนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ ารสามารถวัดและประเมินผลได

48 มกี ารนยิ ามศพั ทท ีส่ อดคลองกบั เครือ่ งมือที่ใชในการวิจัย

ขอ ประเด็นการประเมิน 40
ท่ี ระดับคณุ ภาพ
12345

ประโยชนท ไ่ี ดร บั จากการวิจัย

49 ระบุประโยชนใ นเชงิ วชิ าการสอดคลองกับวัตถุประสงคงานวิจยั

50 ระบุประโยชนใ นเชงิ การนำไปใชมคี วามเปนไปได

51 มีการเรยี งลำดับประโยชนที่ไดร ับเร่มิ จากประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย และประโยชน

โดยท่ัวไป

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ ง

52 แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ งมคี วามครอบคลมุ กับวัตถุประสงค

53 มกี ารจัดเรียงลำดับเน้ือหาไดอ ยางเหมาะสม ถกู ตอ งตามหลักตรรกะ

54 เนื้อหาในแตล ะหัวขอ ยอยมีความเชอ่ื มโยง สอดรับกนั

55 รปู ภาพท่ปี รากฏในบทท่ี 2 มีการอางอิงถึงแหลงท่ีมาอยางครบถวน

56 มกี ารสงั เคราะห/สรปุ เนอ้ื หาที่เช่ือมโยงกบั ประเดน็ เน้ือหานัน้ ๆ กอนขึ้นประเดน็ ใหม

57 มกี ารอางอิงแหลง ทม่ี าอยา งครบถวน ถกู ตอง ทง้ั จากสื่อสง่ิ พิมพ และจากอินเตอรเนต็

58 มีแหลง อางองิ ปฐมภมู ิมากกวาทตุ ิยภูมิ

59 การเขยี นอางอิงถูกตอง เปน รูปแบบเดียวกนั ท้งั หมด

60 เอกสารที่ใชอ า งองิ มีความทนั สมัย

61 งานวิจัยทเี่ ก่ยี วของมีการเรยี งลำดบั ป พ.ศ.จากเกาไปหาใหม

62 งานวิจยั ทเี่ กยี่ วของมคี วามสอดคลอ งกับปญหาการวจิ ยั

63 มีการสังเคราะห/สรปุ งานวิจัยที่เกีย่ วของในตอนทา ยหัวขอ งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของ

64 งานวจิ ยั ที่เกยี่ วของมีจำนวนเลม ทเี่ พียงพอกับรายงานการวิจัยเลมนี้

65 มกี ารสังเคราะหกรอบแนวคดิ สำหรับการทำวิจยั ในคร้ังนี้

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั

ประชากรและกลุมตวั อยา ง

66 ประชากรมีความสอดคลองกับงานวิจัย

67 กลุม ตวั อยาง เขยี นแสดงลักษณะ คือ กลมุ ตัวอยางคือใคร กลุมตวั อยางอยทู ่ใี ด/ป

การศึกษาใด และกลุมตวั อยา งมีจำนวนเทา ใด

68 กลมุ ตัวอยางท่ใี ชเปน ตัวแทนทด่ี ีของประชากร

69 ใชเทคนคิ การสุมกลมุ ตวั อยางทถ่ี ูกตอง/เหมาะสม

70 กลมุ ตัวอยางสามารถใหขอ มลู ที่ตรงกับวตั ถุประสงคงานวิจยั

เครอื่ งมอื ท่ีใชในการวิจยั

71 เครอ่ื งมอื ที่ใชครอบคลุมวัตถุประสงคง านวิจยั

72 เครอ่ื งมอื ที่ใชเ หมาะสมกบั วัตถุประสงคงานวิจัย (ทำการวดั ผลไดต รงจดุ )

73 ระบรุ ายละเอยี ดของเครอ่ื งมอื อยา งชัดเจน เชน จำนวนขอ เปนแบบเลือกตอบ 4

ตัวเลอื ก หรอื แบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ เปนตน

74 เคร่อื งมอื แตล ะชนดิ มีการหาคุณภาพท่ีถูกตอง เชน คา ความเช่ือม่ัน คา ความยากงาย

75 เคร่อื งมือแตล ะชนิดมีหลกั การสรา งที่ถูกตองตามทฤษฎจี ากบทท่ี 2

76 ใชเ ครอ่ื งมอื ไดเหมาะสมกับประชากรหรือกลุม ตัวอยาง

41

ขอ ประเด็นการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ที่ 12345

77 ผเู ชย่ี วชาญมคี วามเชยี่ วชาญ/ความเหมาะสมในการพิจารณาเครอื่ งมอื แตละชนดิ จรงิ

การเกบ็ รวบรวมขอมลู

78 สามารถเก็บรวบรวมขอมลู ไดครบตามวัตถุประสงค

79 มีข้นั ตอนการเก็บรวบรวมขอ มูลท่ีเหมาะสม

80 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู มคี วามนา เช่อื ถือ มีความเปน ไปได

การวิเคราะหข อมลู และสถติ ิท่ใี ช

81 ใชส ถติ ิในการหาคณุ ภาพเคร่ืองมอื ไดครอบคลุมกับเคร่ืองมือทใี่ ชใ นการวจิ ยั ทั้งหมด

82 ใชส ถติ ใิ นการหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื ทุกชนิดไดถูกตอง

83 ใชส ถติ วิ ิเคราะหขอมลู ไดค รอบคลุมวัตถปุ ระสงคทต่ี ้ังไว

84 มีการคำนวณคา สถติ ิตางๆไดถ ูกตอง

85 มีการนำเสนอสตู รสถติ ทิ ีใ่ ชในการวิจยั อยางถูกตอ งพรอ มการอา งอิงทีม่ าของสูตร

86 ใชส ัญลักษณท างสถติ ิไดถูกตอง ในการแสดงคา สถติ จิ ากประชากรและกลุม ตัวอยาง

รปู แบบและกระบวนการวจิ ัย

87 กระบวนการวจิ ัยมีความเหมาะสมกับวัตถุประสงค

88 มวี ิธกี ำหนดประชากร/กลุมตัวอยางไดอยา งเหมาะสม

89 มีการกำหนดระยะเวลาท่ีชัดเจนสำหรบั การวิจัยคร้ังน้ี

90 มกี ารควบคุมตวั แปรที่ไมเ กย่ี วของกบั งานวจิ ัยได

เกณฑก ารแปลผลการวิเคราะหข อมลู

91 มกี ารกำหนดเกณฑก ารแปลผลคา สถิติตา งๆทชี่ ัดเจน

92 เกณฑการแปลผลท่ีกำหนดมานั้นมกี ารอางอิงแหลง ท่ีมาที่สอดคลองกบั บทท่ี 2

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมลู

93 ผลการวิเคราะหขอมูลครอบคลมุ วัตถุประสงคทกุ ขอ

94 เรยี งลำดับผลการวเิ คราะหข อ มลู สอดคลอ งกับวตั ถุประสงค

95 มีการนำเสนอผลการวิเคราะหข อมลู อยา งถูกตอง

96 มกี ารนำเสนอผลการวิเคราะหขอ มลู ที่เก่ียวกับการสรางเคร่ืองมือที่ใชในการวจิ ัยในเชงิ

ของการปรับปรงุ /การพัฒนา (ทดลองแบบหนงึ่ ตอหนง่ึ หน่ึงตอสบิ ภาคสนาม)

97 มีการนำเสนอผลการวิเคราะหขอ มูลดวยรูปแบบท่ีเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค

98 มกี ารแปลผลการวิเคราะหขอมลู ทถ่ี กู ตอง ตรงประเด็น ไมน ำความคิดเขาไปเกยี่ วขอ ง

99 มีรูปแบบการแปลผลการวิเคราะหขอมลู ท่ีเปน รูปแบบเดียวกนั

100 มีการแปลความหมายของระดบั นยั สำคญั ทางสถติ ไิ ดอ ยา งถกู ตอ ง

101 มกี ารแปลผลขอมูลประกอบใตต ารางหรอื ใตก ราฟอยา งถูกตอง

102 มกี ารอธบิ ายสัญลักษณห รืออักษรยอ ทีใ่ ชในการวจิ ัย

103 ใชส ัญลักษณใ นการวจิ ัยระหวางประชากรและกลมุ ตัวอยางไดอยา งถกู ตอง

ขอ ประเด็นการประเมิน 42
ท่ี ระดับคณุ ภาพ
12345

บทที่ 5 สรุปและอภปิ รายผลการวิจัย

104 มกี ารเกร่นิ นำการใหร ายละเอียดในประเดน็ ตอไปน้ี วัตถุประสงคก ารวิจยั ประชากร

และกลมุ ตัวอยาง เคร่อื งมือท่ีใชใ นการวจิ ัย วิธีการรวบรวมขอ มูล การวิเคราะหขอมูล

และสถติ ิท่ีใช

สรปุ ผลการวจิ ัย

105 สรปุ ผลการวจิ ัยไดส อดคลองกับวตั ถปุ ระสงค

106 เรยี งลำดบั การสรุปผลการวิจยั ไดสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงค

107 สรปุ ผลการวจิ ัยไดช ัดเจน เขาใจงา ย ไมมีความคดิ ของผวู ิจยั เขาไปเกีย่ วของ

อภิปรายผลการวิจัย

108 อภปิ รายผลไดส อดคลองกบั วตั ถปุ ระสงค

109 เรยี งลำดบั การอภปิ รายผลไดสอดคลองกบั วัตถุประสงค

110 มกี ารอภิปรายผลในขอคน พบท่สี ำคญั จากงานวิจัยทง้ั หมด

111 การอภิปรายผลมีการอา งองิ เอกสารและงานวิจัยจากบทท่ี 2

112 มีรูปแบบการอภปิ รายผลคือ “ผลการวิจัยพบวา ............ ทง้ั น้ีอาจเปนเพราะ

................. ซ่งึ สอดคลองกับ..................”

113 มีการอภิปรายผลอยา งสมเหตุสมผล เขาใจงา ย ไมซ ำ้ ซอน

ขอ เสนอแนะ

114 ขอ เสนอแนะท่ีนำเสนอมีความสมเหตสุ มผล

115 ขอเสนอแนะท่ีนำเสนอมคี วามเปน ไปไดในการปฏิบตั ิ

116 ขอ เสนอแนะทนี่ ำเสนอเปน ผลมาจากการวิจัยคร้ังนี้

การประเมนิ สวนทายของรายงานการวจิ ัย

บรรณานกุ รม

117 มรี ปู แบบการพมิ พเปนรปู แบบเดยี วกัน

118 มีรูปแบบการพิมพท ถี่ ูกตองตามหลักการเขียนบรรณานุกรม

119 มคี วามสอดคลอ งกบั เอกสารที่ใชในการอางองิ ในเลมงานวิจัยนที้ ั้งเลม

ภาคผนวก

120 ภาคผนวก ประกอบดวย รายนามผูเชย่ี วชาญ ตัวอยางเครอ่ื งมือท่ีใชในการวจิ ัย

ตัวอยา งหนงั สอื ราชการ หลักฐานการเผยแพรผลงานทางวชิ าการ และประวัตผิ ูว จิ ัย

121 ภาคผนวกทกุ สวนมีความสอดคลอ งกับเน้ือหาการวิจยั

122 มกี ารจดั เรยี งภาคผนวกเปนหมวดหมู ไมส ับสน

123 ประวตั ิผวู จิ ยั ประกอบดวย ชื่อผูว ิจยั วันเดอื นปเกิด สถานทท่ี ำงาน ประวตั ิการศกึ ษา

ประวตั ิการรับราชการ และผลงานวิจยั ทเี่ คยทำ

43
วธิ คี ำนวณ

1. ใหนับจำนวนความถี่ท่ีตอบของแตละชองวามีความถ่ีเทาใด ดังน้ี ชอง 5 มีจำนวนขอที่
ตอบกี่ขอ ชอง 4 มีจำนวนขอท่ีตอบก่ีขอ ชอ ง 3 มีจำนวนขอท่ีตอบกี่ขอ ชอง 2 มีจำนวนขอที่ตอบ
กข่ี อ และชอ ง 1 มีจำนวนขอทตี่ อบกีข่ อ โดยทผ่ี ลรวมของจำนวนขอที่ตอบตอ งได 123 ขอ

2. เม่ือนับจำนวนขอท่ีตอบเสร็จแลว ใหนำ 5 ไปคูณกับความถ่ีของชอง 5 นำ 4 ไปคูณกับ
ความถ่ีของชอง 4 นำ 3 ไปคูณกับความถ่ีของชอง 3 นำ 2 ไปคูณกับความถ่ีของชอง 2 และ
นำ 1 ไปคณู กับความถข่ี องชอง 1

3. รวมคะแนนผลคณู ท่ีได แลวจึงนำไปเทียบกบั ตารางเทยี บคะแนนผลรวม

ตัวอยา งการคำนวณ

ระดับ ความถท่ี ี่ตอบ (ขอ) ระดบั x ความถี่ท่ตี อบ รวม การแปลผล

5 48 5 x 48 240 งานวจิ ยั มีความ

4 42 4 x 42 168 สมบูรณ/ ถกู ตองอยู
3 20 3 x 20 60 ในระดับ ดี
2 10 2 x 10
13 1x3 20
รวม 123
- 3

491

ตารางเทยี บคะแนนผลรวม

ชว งผลรวมของคะแนน เกณฑก ารแปลผลคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคของผเู รยี น
123 – 183.27 งานวิจัยมคี วามสมบูรณ/ ถูกตอ งอยูในระดับ นอ ยที่สุด
187.5 – 306.27 งานวิจัยมีความสมบรู ณ/ ถูกตองอยูในระดบั นอย
307.5 – 429.27 งานวิจยั มีความสมบรู ณ/ถูกตอ งอยูในระดับ ปานกลาง
430.5 – 552.27 งานวจิ ยั มีความสมบรู ณ/ ถูกตอ งอยูในระดบั ดี
553.5 - 615 งานวิจัยมีความสมบรู ณ/ ถกู ตองอยูในระดับ ดมี าก

***************

การคนควาความจริง
อยางเปนระบบและเชื่อถอื ได


Click to View FlipBook Version