The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการเรียนรู้เด็กไทยในช่วง covid 19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2022-05-19 18:58:54

ผลการเรียนรู้เด็กไทยในช่วง covid 19

ผลการเรียนรู้เด็กไทยในช่วง covid 19

สารบญั หนา้
1
เปิดการประชมุ สัมมนา เร่อื ง ผลการเรียนรู้ของเดก็ ไทย 4
ในสถานการณโ์ ควดิ -19: ขอ้ ค้นพบ และขอ้ เสนอเพือ่ การพัฒนา 5
 คณุ หญิงกัลยา โสภณพนิช 20

รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ 23

 ดร.อรรถพล สังขวาสี 26
เลขาธิการสภาการศกึ ษา 29
35
การศกึ ษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานในสถานการณโ์ ควิด-19
 รองศาสตราจารย์ ดร.อิทธิพทั ธ์ สวุ ทันพรกลู มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

ตัวอย่างรูปแบบการช่วยเหลือผู้เรียนและการฟื้นฟูการเรียนรู้ถดถอย
จากวิกฤติโควดิ -19: สมทุ รสาครโมเดล
 นายอาคม ศาณศิลปนิ

ศึกษาธกิ ารจงั หวดั สมุทรสาคร

ตวั อยา่ งรูปแบบการบรหิ ารการศกึ ษาในสถานการณโ์ ควิด
: วกิ ฤติและโอกาสบนพน้ื ท่ีสูง
 นายปลิ ัทธ์ อดุ มวงษ์

ผ้อู านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2

ตวั อย่างแนวทางการพฒั นาผเู้ รียนเพ่อื ลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
 ดร.ปิน่ ทอง ใจสุทธิ

ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทย

ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะจากผเู้ ข้ารว่ มประชมุ สมั มนา
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของเด็กไทยในสถานการณ์โควิด-19
หรือหลังโควิด-19 ควรมีการพัฒนาอย่างไรบ้าง เพื่อลดภาวะถดถอย
ทางการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
คณะผ้จู ัดทา

1

คุณหญิงกลั ยา โสภณพนชิ ท่ านเลขาธิ การสภาการศึ กษา ท่ านผู้ บริ หาร
ท่านวทิ ยากร คณุ ครู คณะผู้วิจยั และผรู้ ว่ มประชุมสัมมนาทุกท่าน
รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ วั น น้ี เ ป็ น อี ก วั น ห นึ่ ง ที่ ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า มี โ อ ก า ส ไ ด้ พู ด คุ ย กั บ
ทุกท่านเก่ียวกับเรื่องการศึกษาในยุคโควิด-19 ดิฉันมีความยินดี
เป็นอย่างยิ่งท่ีหน่วยงานระดับนโยบาย เช่น สภาการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการเห็นความสาคัญ และตระหนักถึง
สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ท้ังคุณครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง ก็ต้อง
ปรบั ตวั เข้าสูส่ ภาวะท่เี ราเรยี กว่า New normal โควดิ -19 เร่งให้
เราจะต้องปรับทุกวิถีทางที่จะทาให้เด็กได้เรียนรู้ทุกช่วงวัย
และทุกสถานการณ์ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

ขอบคุณที่ในวันน้ีสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ได้จัดสัมมนาเรื่อง ผลการเรียนรู้ของเด็กไทยในสถานการณ์
โควิด-19: ข้อค้นพบและข้อเสนอเพ่ือการพัฒนา ซึ่งเป็นประเด็น
ที่รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ให้ความสาคัญ และให้ความ
สนใจอย่างยิ่ง เมื่อวันท่ี 17 มกราคม 2565 ท่ีผ่านมา
ท่านนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้เป็น
ประธานในพิธีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการส่งเสริม
โ อ ก า ส ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
“พ า น้ อ ง ก ลั บ ม า เ รี ย น ” ร ะ ห ว่ า ง อ ง ค์ ก ร ห ลั ก ข อ ง
กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
เ พ่ื อ ช่ ว ย เ ห ลื อ เ ด็ ก ผู้ เ รี ย น ท่ี ห ลุ ด อ อ ก จ า ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า
โดยจานวนท่ีสารวจได้มีจานวน 117,555 คน เราค้นพบและ
ไดพ้ ากลบั เขา้ สู่การศึกษาในรปู แบบที่เหมาะสมต่อไป

วกิ ฤตขิ องโรคระบาดโควดิ -19

วิกฤติของโรคระบาดโควิด-19 เป็นปัจจัยหน่ึง มีคุณภาพมากข้ึน และเม่ือผ่านพ้นวิกฤติโควิด-19
ที่ซ้าเติม ปัญหาการด้อยโอกาสทางการศึกษาให้รุนแรง ไปแล้ว เราจะมีความก้าวหน้ามากกว่าน้ัน เป็นที่
ยิ่งขึ้น รวมท้ังการเกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ท่ีเกิด ทราบกันโดยรวมแล้วว่า ผู้เรียนระดับการศึกษา
จากการเรียนรู้ด้วยตนเองที่บ้าน ขณะที่โรงเรียนต้องปิด ขั้นพื้นฐาน มีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ในระดับ
เป็นเวลานานเพื่อป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ในระยะ ปานกลาง น่ีเป็นการวิจัยที่ศึกษามา โดยผู้เรียน
ท่ีผ่านมา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ ระดับประถมศึกษาส่วนใหญ่มีการถดถอยในวิชา
ศึกษาวิจัย เร่ือง ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ภาษาต่างประเทศมากกว่าวิชาอ่ืน ๆ ขณะท่ีผู้เรียน
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในสถานการณ์โควิด-19 ระดับมัธยมศึกษาส่วนใหญ่มีการถดถอยในวิชา
ในกลุ่มตัวอย่างผู้เรียน จานวน 2,528 คน ในพื้นที่ 14 คณติ ศาสตร์มากกวา่ วชิ าอืน่ ๆ
จังหวัด ซ่ึงเรื่องน้ีเราจะได้มาพูดคุยและแลกเปลี่ยน
ความคดิ เห็นกันว่า เราจะทาอยา่ งไรให้การศกึ ษาของเราดีขึน้

2

ซ่ึงจะต้องขอให้พวกเราทุกคนในท่ีร่วม ดังนั้น เม่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น
สัมมนาน้ีระดมความเห็น เพื่อท่ีจะร่วมบูรณาการ กันแล้ว มีการวิเคราะห์ถอดบทเรียน เราก็จะมี
ความร่วมมือเพ่ือแก้ปัญหาและช่วยเหลือผู้เรียน คลังข้อมูล เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาการศึกษา
ในด้านต่าง ๆ ท้ังมาตรการการฟื้นฟูการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพ ท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ใน
ถดถอยจากวิกฤติโควิด-19 แนวทางการพัฒนา บริบทท่ีหลากหลาย ดิฉันหวังว่าจากข้อมูลการ
ผู้เรียน แนวทางการพัฒนาครู และการพัฒนา วิจัย ข้อมูลจากที่ประชุม และข้อมูลจากหลาย ๆ
รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ใ น คน กส็ ามารถทาใหก้ ระทรวงศกึ ษาธิการได้ข้อมูล
สถานการณ์โควิด-19 แลกเปล่ียนกันให้มากท่ีสุด และข้อเสนอแนะที่ชัดเจนมากยิ่งข้ึน เพื่อฟื้นฟู
การประชุมสัมมนาในวันน้ี นอกจากจะมีการ คุณภาพการศกึ ษาหลงั โควิด-19 ใหแ้ ก่เดก็ ผ้เู รยี น
นาเสนอผลการวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อรับฟังความ ทุกระดับช้ันทุกช่วงวัย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
คิดเห็นอย่างรอบคอบและรอบด้านแล้ว ทราบว่า การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ตอบโจทย์
ผู้จัดงานได้รวบรวมข้อมูล เพ่ือจะนาเสนอตัวอย่าง การเปล่ียนแปลงในมิติตา่ ง ๆ และเกิดการปฏิรูป
ท่ีดีของการจัดการศึกษาในสถานการณ์โควิด-19 การศกึ ษาไดอ้ ย่างแท้จริง
ซึ่งวิกฤติน้ีได้นามาซึ่งโอกาสในการค้นพบ และ
พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาให้เกิดข้ึนได้ เรียนออนไลนจ์ ะต้องมีปัจจัย
แม้ว่าจะเป็นพ้ืนที่ที่มีโรคระบาดรุนแรง เช่น จังหวัด
สมุทรสาคร/ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก/ จังหวัด สาคัญ 4 ประการ คือ
สมุทรปราการ เป็นต้น และต่อไปดิฉันคาดหวังว่า
จะสามารถสร้างนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่เป็น ทง้ั ครู ผ้เู รยี น ผ้ปู กครอง ควรจะตระหนักว่า
รูปแบบในอีกในหลาย ๆ พ้นื ท่ี หลากหลายรูปแบบ ลูกของเราเรียนทันสมัยมาก เรียนออนไลน์จะต้องมี
เช่น โรงเรียนการศึกษาพิเศษที่ดิฉันได้ไปพบมา ปัจจัยสาคญั 4 ประการ คือ
ตั้งแต่ครั้งแรกท่ีมีการระบาดของโควิด-19 โรงเรียน
สามารถจัดการเรียน on-site ได้อย่างครบถ้วน 1) Digital Devices หรือ Smart Devices
เพราะเป็นโรงเรียนประจา มีผู้เรียนทั้งหมด อุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย
400 คน มีการแบ่งให้มาคร้ังละ 200 คน มีมาตรการ อินเทอร์เน็ตได้ เช่น Smartphone หรือ Tablet
คัดกรองทาทุกอยา่ งให้เรียบร้อย ไม่จาเป็นจะต้องเป็นมือถือเพียงอย่างเดียวเพราะ
มือถืออาจไม่เหมาะกับการเรียน เราจาเป็นจะต้อง
ท้ังผู้เรียนและครู เม่ือเข้ามาอยู่ใน มี Electronic Devices ผู้เรียนในแต่ละช้ันต้องมี
โรงเรยี นแล้วจะไม่ได้ออกไปภายนอก เพราะฉะน้ัน เคร่ืองมือท่ีสามารถรับสัญญาณ รับการเรียน
โรงเรียนจึงสามารถดาเนินการเรียนการสอนแบบ การสอนจากครไู ด้
on-site ได้ และผู้เรียนอีก 200 คน ก็จะคัดกรอง
เชน่ เดยี วกนั เรยี กว่า Bubble and Seal คอื Seal
ท้ังโรงเรียน เพราะฉะนั้นโรงเรียนเหล่าน้ีจะไม่ได้
รับผลกระทบเลย จะไม่มีใครถดถอย จะไม่ท้ิงใคร
ไว้ข้างหลัง ทุกคนแม้กระทั่งคนพิการ 9 ประเภท
หรือด้อยโอกาสก็สามารถท่ีจะไปโรงเรียนเรียน
อยา่ งปกติได้

3

2) เทคโนโลยีท่ีสามารถเข้าถึงได้ เช่น อันนี้เป็นโครงการที่ผู้ใหญ่ในสังคมที่ใจดี จะเป็น
Wifi เทคโนโลยี 4G หรือ 5G หรือ IoT (Internet ใ ค ร ก็ ไ ด้ เ ป็ น ค า ส่ั ง ข อ ง น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ถึ ง
of Things) การจะใช้เครื่องมือ Smart Devices กระทรวงศึกษาธิการ ให้ทุก ๆ โรงเรียนไปจัดการ
ได้ต้องมีเงินท่ีจะไปซ้ือเทคโนโลยีเหล่าน้ี เพ่ือ งบประมาณสนับสนุนเพ่ือซื้อเครื่อง Smart
รองรับการส่ือสารให้มีประสทิ ธิภาพ Devices ให้ ผู้เรียน ทุกคนในโรงเรียนยืมใช้
จนกระทั่งเรียนจบ ซึ่งเรื่องน้ีเป็นเร่ืองที่อยากจะ
3) Content หรือเน้ือหา ทาอย่างไร เล่าสู่พวกเราฟัง ที่มารวมกันวันน้ี ดีใจมากที่ได้
การเรียนออนไลน์จึงจะสนุกและมีประสิทธิภาพ พบกันวันนี้อย่างพร้อมหน้าพร้อมตา เพื่อจะให้นา
เมื่อก่อนใช้ตารา 120 เล่มที่เป็นกระดาษ แต่เมื่อ ความคิดเหลา่ น้ีไปดาเนนิ การต่อไป
มาเรียนออนไลน์ จาเป็นต้องเปลี่ยนตัวหนังสือ
จากกระดาษมาเป็น Digital Forms บัดน้ี ได้เวลาอันสมควรแล้ว ดิฉันขอเปิด
การประชุมสัมมนา และขอให้การดาเนินกิจกรรม
4) ศักยภาพของตัวผู้สอน หรือครู บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ท่ีตง้ั ไว้ทุกประการ
ถ้ า ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ 3 ตั ว นี้ แ ล ะ และขอให้ทุก ๆ คนท่ีอยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ
ความสามารถของตวั เองมาจดั การเรยี นการสอนให้ ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา มีความสุข ปรับตัว
สนุก ไม่น่าเบื่อ ให้น่าสนใจ ต่อยอดได้ ก็จะไม่มี ปรับเปลี่ยน ผสมผสานให้เกิดการเรียนรู้ ขอให้
ความสุข เพราะฉะนั้นจึงต้องครบท้ัง 4 ปัจจัย ทุกคนประสบความสาเรจ็ ในชีวติ ยิ่ง ๆ ขนึ้ ไป
เราจาเป็นจะต้องเขา้ ใจตรงน้ี

ขณะน้ี ทางกระทรวงศึกษาธิก าร
โดยคาสั่งของนายกรัฐมนตรี ก็ให้ทาโครงการให้
แต่ละโรงเรียนไปขอรับการสนับสนุนจากสังคม
บริจาคเงินให้โรงเรียนเพ่ือให้โรงเรียนซื้อเคร่ือง
Smart Devices ที่เหมาะสม ให้เด็กยืมใช้ให้ครบทุกคน

ดร.อรรถพล สงั ขวาสี 4
เลขาธกิ ารสภาการศึกษา
กราบเรียนท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการ ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ท่านวิทยากร
ผู้เข้าร่วมการสัมมนา และผู้มีเกียรติทุกท่าน วันน้ีต้อง
ขอบคุณท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่ให้
เกียรติเป็นประธานเปิดการประชุมสัมมนา เรื่อง ผลการ
เรียนรู้ของเด็กไทยในสถานการณ์โควิด-19: ข้อค้นพบและ
ข้อเสนอเพ่ือการพัฒนา ซึ่งการประชุมสัมมนาในวันนี้ได้รับ
การสนบั สนุนและอนเุ คราะหจ์ ากคณะนักวิจัยมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ที่จะนาเสนอข้อค้นพบจากการวิจัยและ
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้

ในสว่ นของสำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศกึ ษำ

ได้เห็นความสาคัญและดาเนินกิจกรรมเหล่านี้มาอย่าง ท้ังน้ี สานักงานเลขาธิการสภ าการศึกษา
ต่อเน่ือง โดยเฉพาะการดาเนินการวิจัย หลอมรวมองค์ ข อ ข อ บ คุ ณ รั ฐ ม น ต รี ช่ ว ย ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร
ความรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เข้าร่วมสัมมนา ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ท่ีท่านกรุณาให้เกียรติมาเป็น
ท้ังนี้ มุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาวันน้ีได้ร่วมแบ่งปัน ประธานในวันน้ี ขอบคุณทีมวิจัยของมหาวิทยาลัย
ประสบการณ์ นาแนวทางประสบการณ์จริงท่ีเกิดจากการ ศรีนครินทรวิโ รฒ หวัง เป็นอย่างย่ิงว่า สานักง า น
เรียนรู้ในชั้นเรียน และวิธีการสอนออนไลน์ที่เกิดข้ึนนั้นมา เลขาธิการสภาการศึกษาคงได้รับข้อคิดเห็น ประสบการณ์
ประกอบกับผลการวิจัย โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนระดับ และแนว คิดจากผู้เข้ าร่ว มสัมมนา มา เติมเต็มและ
การศึกษาข้ันพื้นฐานได้มีพัฒนาการในการเรียนรู้ที่ดีข้ึน พัฒนาเด็กไทยให้ไปสู่เป้าหมาย เป็นเด็กไทยที่มีคุณภาพ
และมีวิธีการแก้ไขเพื่อลดภาวะถดถอยของผู้เรียนจาก มีศักยภาพในการแข่งขัน เราไม่ท้อถอย และผมเชื่อมั่นใน
สถานการณโ์ ควิด-19 ผเู้ ข้าร่วมสมั มนาทกุ ๆ ทา่ นครับ

5

รองศาสตราจารย์ ดร.อทิ ธิพัทธ์ สวุ ทนั พรกลู

อาจารยป์ ระจาภาควชิ าการวดั ผลและวิจยั การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

การวิจัยการศึกษาภาวะถดถอยของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในสถานการณ์โควิด -19:
สภาพการณ์ บทเรียน และแนวทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาภาวะถดถอย
ทางการเรียนรู้ และวิเคราะห์สาเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 รวมทั้งเสนอแนวทางการลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
สู่การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน จะดาเนินการอย่างไรต่อ ทั้งในระดับนโยบายถึงระดับปฏิบัติ
ว่ามีอะไรบ้าง ซึ่งช่วงเวลาการเก็บข้อมูลของทีมวิจัยเริ่มในเดือนกันยายน 2564 ถึงมกราคม 2565 ข้อมูลที่
นาเสนอจึงเป็นปัจจุบันมาก ในตอนแรกผู้วิจัยคิดว่า เมื่องานวิจัยนี้เสร็จแล้วโควิด-19 น่าจะดีข้ึน แต่ปรากฏวา่
โอมคิ รอนกเ็ ขา้ มา ดงั นั้น เรากจ็ ะไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากงานวจิ ยั นี้อย่างแนน่ อน

ต า ม ที่ ท่ า น รั ฐ ม น ต รี ช่ ว ย ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง
ศึกษาธิการ ได้กล่าวไว้ก่อนนี้ว่า ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจาก
ผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน 2,528 คน
แบ่งเป็นกลุ่มระดับประถมศึกษาตอนต้น ประถมศึกษา
ตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
เ พ ร า ะ ผู้ วิ จั ย มี ค ว า ม เ ช่ื อ ว่ า ใ น แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ ช้ั น
ทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จะมีความแตกต่างกัน
ในเรื่องของวุฒิภาวะ วัย การดูแลช่วยเหลือ ท้ังของ
ผู้ปกครอง ครูผู้สอน โดยตัวอย่างวิจัยนี้เก็บในเขตพื้นท่ีการแพร่ระบาดความรุนแรงระดับ 4 ระดับสีแดง
ในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก
ภาคใต้ ครบทุกภูมิภาค และจัดคละตามสังกัด สพฐ. อปท. เทศบาลต่าง ๆ และจาแนกตามขนาดสถานศึกษา
เล็ก กลาง ใหญ่ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลระดับประถมศึกษาตอนต้น แบบสอบถามที่ใช้เก็บข้อมูลข้อมูล
เชิงปริมาณใช้มาตรประมาณค่า 3 ระดับ เพราะเด็กมีข้อจากัด แต่ระดับประถมศึกษาตอนปลายกับระดับ
มัธยมศึกษา จะใชม้ าตรประมาณคา่ 5 ระดับ

เรอื่ งทีน่ า่ สนใจจากขอ้ คน้ พบในงานวจิ ยั

ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ข้อมูลผู้เรียนระดับประถมศึกษาไปในทิศทางเดียวกัน ผู้เรียน
มีการรับรู้ภาวะถดถอยเชิงผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในการเรียนอย่างไรบ้าง เมื่อพิจารณาแล้ว
ในระดับประถมศึกษาจะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ และ
วทิ ยาศาสตร์ และจากการเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพโดยการสนทนากล่มุ เพิม่ เติม พบวา่ ในบางวชิ าพอ่ แมส่ อน
แทนได้ คนที่บ้านช่วยกันสอนได้ ในระดับประถมศึกษา ผู้ปกครองจะแปลงสภาพมาเป็นครูกันหมดเลย
แต่ในบางกลุ่มสาระไม่สามารถสอนได้ เช่น ภาษาต่างประเทศท่ีต้องฝึกปฏิบัติ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ท่ีต้องใช้
ความเข้าใจ และอาจมีผลรวมของมโนทัศน์ท่ีคลาดเคล่ือนรวมอยู่ด้วย ในระดับมัธยมศึกษา หลัก ๆ จะเป็น

6

คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ วิทยาศาสตร์ เรียงตามลาดับ ซึ่งก็วนอยู่ใน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้น้ี ไม่ว่าจะ
เป็นระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษา ซ่ึงถ้าเช่ือมโยงกับคะแนนในระดับชาติที่บันทึกไว้ในแต่ละปีที่ผ่านมา
เช่น คะแนน O-NET ก็จะพบว่า จริง ๆ แล้ว 3 กลุ่มสาระนี้ ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติโควิด-19 ก็ได้ผลสัมฤทธ์ิที่ไม่
เป็นไปตามเปา้ หมาย พอถงึ ชว่ งโควดิ -19 ก็เรียงตามลาดับ เชน่ ที่นาเสนอการรับรภู้ าวะถดถอยของผู้เรียนเชิง
ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ

7

หากพิจารณาเชิงคุณลักษณะ อันดับ 1 เริ่มมีการใช้เทคโนโลยี ซึ่งต้องยอมรับวา่
ของทั้ง 4 กลุ่ม ผู้เรียนเกิดความเครียด ความกังวล ทุกท่ีไม่พร้อม โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขยาย
เก่ียวกับเร่ืองของการเรียน เนื่องจากต้องปรับเปล่ียน โอกาส หรือโรงเรียนท่ีอยู่ชายขอบพ้ืนท่ี ในกลุ่ม
วิธีการเรียนการสอน ในระดับประถมศึกษาตอนต้น เหล่าน้ีแทบไม่พร้อมในเร่ืองเทคโนโลยีเลย จึงเป็น
และตอนปลาย จะเหมอื นกนั ใน 2 อนั ดับแรก คือ โจทย์ท้าทายของครู ที่ตอนนี้ยังไม่ต้องพูดถึง
1) รู้สึกเครียด กังวล 2) ความพยายามท่ีมีในตัว Application ใด ๆ เลย ขอให้เข้ามาเรียน ไม่ต้อง
ลดลง และ 3) ในประถมศึกษาตอนต้น คือ เรื่อง พูดถึงการเปิดกล้องเปิดไมค์ การมีปฏิสัมพันธ์กับ
การปรับตัวไม่ได้ จากเดิมท่ีได้ไปโรงเรียน เจอเพ่ือน ครู ตอนนี้แค่ให้มาเรียนก่อน ในบางโรงเรียนบาง
มีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม แต่ตอนน้ีต้องอยู่บ้าน พื้นที่ ครูกล่าวว่า แค่นี้ก็เป็นสวรรค์สาหรับครู
เจอแต่คนในบ้าน ซึ่งอาจจะขัดกับธรรมชาติของ สาหรับ ผอ. แล้ว เพราะฉะนั้นการเข้าถึงจึงจะโยง
เด็ก และในระดับประถมศึกษาตอนปลาย คือ ไม่มี ไปถงึ ขอ้ เสนอด้วย
แรงจูงใจ เจอบรรยากาศซ้า ๆ อยู่แต่บ้าน ได้เรียน
เต็มที่บ้าง ไม่เต็มท่ีบ้าง ในระดับมัธยมศึกษา มีการปรับเปล่ียนการวัดและประเมินผล
อันดับ 1 และ 2 คือ ความเครียดความกังวล ซ่ึงแต่เดิมต้องมาสอบกันในห้อง บางคนสอบ
แ ล ะ ไ ม่ มี แ ร ง จู ง ใ จ ซึ่ ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ชั ด ว่ า ออนไลน์ก็ทาไม่ได้เพราะไม่มีเครื่องมือ อุปกรณ์
ทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษานอกจาก ก็ใช้การส่งใบงานแทน หรือใช้วิธีการปฏิบัติแล้วมี
learning loss แล้ว สขุ ภาพกายสขุ ภาพใจก็เปน็ เรื่อง ร่องรอยหลักฐานอะไร ตอนนี้เก็บได้หมดเพ่ือ
สาคัญ บางคนไม่มีปัญหาเรื่องการเรียน แต่มี นาไปสกู่ ารวัดและประเมินผลต่อไป
ปัญหาเรื่องของใจ เร่ืองของสุขภาพ อารมณ์
ความรู้สึกนึกคิด และในระดับมัธยมศึกษาเมื่อพบ
กบั ภาวะน้ันนาน ๆ ทงั้ ปีการศกึ ษาก็ยังไม่จบ ทาให้
แรงจูงใจหายไปหมด ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความตั้งใจ
ท่ีจะเรียนหายไป ความพยายามลดลง และมีความ
ไม่พร้อม

ส ภ า พ ก า ร ณ์ จ า ก ก า ร จั ด ส น ท น า ก ลุ่ ม
เวทีเล็ก ๆ กับครู คณะวิจัยพบว่า ครูทุกคนไม่ได้
หยุดน่ิงเลย ทั้งผู้บริหาร ครู รวมถึงหน่วยท่ีส่ังการ
เช่น เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์
ก็มีการปรับตัว มีการจัดการเรียนการสอนหลาย
รูปแบบ โรงเรียนบางโรงท่ีครอบครัวผู้เรียนมี
ลูกหลายคน แต่โทรศัพท์มีเพียงเครื่องเดียว ให้เรียน
พร้อมกันก็คงไม่ได้ บางโรงก็จะเปล่ียนเป็นหลาย ๆ on
ที่ทราบกันดีอยู่แล้ว เช่น on hand ครูข่ีมอเตอร์ไซด์
ส่งใบงานถงึ บ้าน บางครง้ั กเ็ ป็นการใหม้ าแลกกันใน
วันท่ีต้องมารับนมโรงเรียนหรือวันท่ีมารับเงิน
ค่าอาหารกลางวัน เป็นวิธีกระตุ้นและดึงให้ผู้เรียน
ยงั อยใู่ นระบบไมท่ ง้ิ โรงเรยี นไปไหน

8

สาหรบั ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ

ระดับประถมศึกษาเกิดภาวะถดถอยด้านความรู้ ทักษะการอ่านและคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นทักษะ
พื้นฐาน เด็กปกติจะช่างซักถาม กล้าแสดงออก ช่างพูด เม่ือเจอแบบนี้ก็จะเริ่มเปลี่ยน เร่ิมไม่กล้าตอบ
ความมีส่วนร่วมค่อย ๆ ลดลง ปฏิสัมพันธ์น้อยลง ทักษะชีวิตขาดไป ซึ่งอยู่ท่ีว่า หากผู้ปกครอง
มีความสามารถเติมเต็มได้ เด็กก็จะยังทรงตัว พอมีต้นทุนอยู่ แต่หากผู้ปกครองเริ่มมีภาระงานท่ีต้องทา
ไม่สามารถสอนบุตรหลานได้ คุณภาพของผู้เรียนก็จะเริ่มลดลงซึ่งน่ีเป็นสภาพปัญหา และสาเหตุท่ีพบ คือ
แรงจงู ใจ ความสนใจของผูเ้ รยี นลดลง และสัมพนั ธภาพระหวา่ งครูกบั ผู้เรียนลดลงจากเดมิ ผู้เรียนระดบั ประถมศึกษา
จะติดครู อยู่กับครู เกาะติดครูทั้งวัน แต่ตอนนี้ไม่มีครู อยู่กับพ่อแม่ ซึ่งพ่อแม่จะเป็นทุกอย่าง และเมื่อ
ความสัมพันธ์ลดลงก็จะส่งผลต่อการเรยี นการสอนในห้องเรียน เพราะผู้เรียนไม่ได้เจอตัวครูจริง ๆ บรรยากาศ
ไมเ่ ทยี บเท่าก็จะเร่ิมลดลง สิง่ ท่ีครูพดู สิ่งท่คี รูสอนกอ็ าจจะทาให้เด็กรู้สกึ ได้รับไมเ่ หมอื นการไปเรยี นท่โี รงเรยี น

89

เรื่องความไม่พร้อมของส่ือ อุปกรณ์ ซึ่งทุกท่านก็ทราบดีอยู่แล้ว ถ้าเป็นเด็กในระดับมัธยมศึกษาจะมี
ข้อเหมือนและต่างจากระดับประถมศึกษา โดยระดับมัธยมศึกษาเด็กสามารถหาความรู้อ่านเองได้จากส่ือต่าง ๆ
โดยครูไม่ต้องสอน เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self learning) แต่ส่ิงที่หายไป คือ การเช่ือมโยงองค์ความรู้
นั่นคือ ทักษะการคิด ตรงน้ีเป็นบทบาทของครู ซึ่งถ้าเด็กอยู่ในโรงเรียนครูจะพาคิด พาทา พาเช่ือมโยง แต่เมื่อ
เด็กเรียนด้วยตนเอง การเอาตัวรอด คือ สามารถสอบได้ แต่การเชื่อมโยงจะหายไป ทักษะด้านวิทยาศาสตร์
การปฏิบัติหายไปเพราะไม่มี Lab ให้ทดลอง บางครั้งครูก็ให้ผู้เรียนนาวัสดุรอบตัว เช่น เด็ดใบไม้ เด็ดพืชมาใช้
เทียบเคียงให้ได้มากที่สุด แต่อย่างท่ีบอกว่าอุปกรณ์ทดลองต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้มีทุกบ้าน จึงต้องนาอุปกรณ์
ในบ้านมาประยุกต์ใช้ ซึ่งก็เป็นความท้าทายของครูด้วย อีกทั้ง เด็กระดับมัธยมศึกษากาลังก้าวเข้าสู่วัยรุ่น
ถ้าเช่ือมโยงแนวคิดจิตวิทยาวัยรุ่น จากเด็กเริ่มโตเป็นวัยรุ่นและก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การเปล่ียนแปลงภายในจะ
ค่อนข้างมาก เด็กจะมีคาถามกับตัวเองตลอดเวลา เด็กจะมีสิ่งท่ีอยากรู้ สงสัย แต่จะถูกตัดทอนไปหมดเลย
เรื่องของสภาพอารมณ์ วุฒิภาวะ สัมพันธภาพ สุขภาพจิตก็จะลดลงไปด้วย อันน้ี คือ สภาพปัญหาที่พบในผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษา โดยมสี าเหตุของภาวะถดถอยทางการเรียนรู้มาจาก

1) สาเหตุจากผู้เรียน เพราะการต้องอยู่แบบเดิม หน้าจอเดิม ๆ ต้ังแต่วันจันทร์-ศุกร์ วนไปแบบน้ี
ตอนเย็นก็ตอ้ งทาการบ้าน เพราะทุกวชิ าลว้ นมกี ารบา้ น

2) สาเหตุจากครผู ู้สอน ครูบางคนเขา้ ใจ กถ็ ือวา่ เปน็ โชคดีของเดก็ ทคี่ รสู ามารถปรับตัว ไม่ได้เข้มงวด
มีความยืดหยุ่น ผ่อนปรน แต่ครูบางคนอาจจะสอน online แต่ใช้วิธีเหมือน on-site ทุกอย่าง ซ่ึงก็จะไม่มี
ความยืดหยุ่น ต้องคนละคร่ึงทาง และ 3) สาเหตุจากผู้ปกครอง พ่อแม่บางคร้ังเห็นว่าเด็กอยูบ่ ้านก็ให้เดก็ เรียน
นิดหน่ึงแล้วมาช่วยงานพ่อแม่ก่อน 4) สาเหตุจากโรงเรียนท่ีต้องคอยเกาะติดสถานการณ์ เช่น สัปดาห์นี้
ประกาศแบบนี้ อีกสัปดาห์ประกาศอีกแบบ เพราะสถานการณ์พลิกผันตลอดเวลา โรงเรียนก็ต้องตัดสินใจกัน
วันต่อวันว่าจะทาอย่างไร จะจัดการเรียนแบบใด ครูก็ต้องรอการส่ังการและก็ทาในสิ่งที่ทาได้จริง ๆ และ
5) สาเหตุจากส่อื และอุปกรณก์ ารเรยี นรู้

10

ปัจจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งกับภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้

1) ทักษะดา้ นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี
2) การกากับตนเองในการเรยี นรู้
3) ทักษะของครู
4) การมสี ว่ นร่วมของพ่อแม่ในการสง่ เสริมการเรียนรทู้ บ่ี ้าน
5) การจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรู้

11

การรับรปู้ จั จัยที่เก่ียวขอ้ งกบั ภาวะถดถอยทางการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นในระดบั ประถมศึกษา

การรับรู้ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดับประถมศึกษาน้ัน
ในเด็กระดับประถมศึกษาจะรับรู้ตัวเองในด้านเหล่าน้ีมากน้อยเพียงใด ก็เป็นที่น่าแปลกใจท่ีผู้เรียนระดับ
ประถมศึกษาตอนต้นและตอนปลายจานวนพนั กว่าคน ตอบอนั ดบั 1, 2 และ 3 เหมอื นกนั คอื

อนั ดับ 1 เด็กรับรู้ในทกั ษะของครทู ค่ี รพู ยายามในการประคบั ประคอง ดแู ล ปรับเปลย่ี น เอาใจใส่
อันดับ 2 การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้ที่บ้าน เพราะเด็กระดับประถมศึกษา

ตอ้ งมพี อ่ แม่ ผู้ปกครองดูแล
อนั ดบั 3 การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้

แต่ที่น่าฉุกคิด คือ เด็กรับรู้ว่าครูช่วยเหลือ พ่อแม่ช่วยเหลือ มีสภาพแวดล้อมช่วยเหลือ แต่เด็ก
รับรู้เก่ียวกับตัวเองค่อนข้างน้อยว่า ฉันมีความสามารถในการกากับตัวเอง ฉันมีความสามารถด้าน
สารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ซึ่งสองอันดับน้ีถ้าเทียบในเชิงค่าเฉลี่ยเป็นค่าที่น้อยท่ีสุด กลายเป็นว่า เด็กเห็นใน
สิ่งที่คนอ่ืนทา แต่ไม่ได้เห็นในสิ่งท่ีตัวเองมีอยู่ ซึ่งจริง ๆ แล้วอันดับ 1 และ 2 นี้สาคัญมาก เด็กจะต้องกากับ
ตนเองในการเรยี นร้ไู ด้ เดก็ จะตอ้ งมที ักษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยี

12

การรบั รปู้ ัจจยั ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผเู้ รยี นในระดับมัธยมศึกษา

ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะคล้าย ๆ กับระดับประถมศึกษาคือ อันดับ 1, 2 และ 3 จะเป็นการที่
เด็กรู้ว่า 1) ครูมีทักษะและปฏิบัติอย่างไร 2) พ่อแม่ได้มีการส่งเสริมและช่วยเหลืออย่างไร และ
3) สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรูม้ ีอะไรบา้ ง แต่ในเร่อื งของตัวเองจะลดลง

ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จะแตกต่างออกไป แต่ส่ิงที่ยืนหนึ่งสาหรบั ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือ
อนั ดบั 1 ทักษะครู เพราะเดก็ รับรู้ทักษะของครู สะทอ้ นว่า เดก็ รับรู้ว่าครมู ีบทบาทมาก ครูพยายามมาก ๆ
อันดับ 2 การกากับตนเอง เพราะเด็กระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นวัยรุ่นตอนปลาย จะโตเป็น

ผใู้ หญแ่ ล้ว มีความสามารถในการกากับตนเองได้แล้ว
อันดับ 3 ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี เริ่มมีทักษะสารสนเทศ ส่ือ เด็ก Gen Z เรียนรู้

เรอ่ื งเทคโนโลยี วทิ ยาการต่าง ๆ ไดร้ วดเร็ว
อนั ดบั 4 การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้
อันดบั 5 รับร้วู ่าพอ่ แม่ชว่ ยเหลือน้อยท่ีสุด เพราะโตแลว้ พ่อแม่จึงไม่ต้องคอยดูแลช่วยเหลืออะไรมากนัก
ขอ้ ค้นพบนี้สอดคล้องกับวุฒิภาวะของเด็กทีโ่ ตแลว้

13

ปัจจัยเชิงสาเหตุท่ีส่งผลต่อการรับรู้ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลในเชิง
สถติ ิอทิ ธิพลทางตรง และอทิ ธิพลทางอ้อม ถา้ เราตอ้ งการใหเ้ ด็กมภี าวะถดถอยท่ลี ดลง

ระดับประถมศึกษาตอนตน้
อิทธพิ ลทางตรง - เร่ืองการกากับตนเองเป็นสิ่งสาคัญมาก ถ้าเราสามารถสอนเด็กให้มี
ความสามารถในการกากับตนเอง ช่วยเหลือตนเองให้ดีได้แล้วจะทาให้มุ่งไปสู่
การเรียนรูท้ ีถ่ ดถอยนอ้ ยลง
อิทธพิ ลทางออ้ ม - พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีส่วนที่จะทาให้เด็กฝึกฝนการกากับตนเอง และถ้าทาได้
จะทาใหผ้ เู้ รยี นมีภาวะถดถอยน้อยลง

ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย
อิทธพิ ลทางตรง - การกากับตนเองยังเป็นประเด็นยืนหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นระดับประถมศึกษาหรือ
ระดับมัธยมศึกษา ถ้าเดก็ กากับตนเองได้ การเรยี นรู้ของเด็กจะเกดิ ภาวะถดถอย
น้อยลง แตใ่ นระดับประถมศึกษาตอนปลายจะมีเพ่ิมในเรื่องทักษะครู เพราะครู
มีบทบาททาให้ผู้เรียนกากับตนเองได้ ทาให้เกิดภาวะถดถอยน้อยลง และ
ทักษะครูท่ีจะนาพาผู้เรียนเข้าถึงสื่อ เทคโนโลยี จะนาพาให้เด็กมีภาวะถดถอย
ทนี่ อ้ ยลง

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย จะคล้ายกนั โดยหลัก ๆ คอื เรอ่ื งการจัดสภาพแวดล้อมทาใหเ้ อ้ือต่อ
การให้เด็กมีทักษะสื่อ เทคโนโลยี จะทาให้เกิดภาวะถดถอยลง รวมถึงทักษะครูท่ีจะทาให้เด็กกากับตนเองได้
ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นข้อค้นพบของระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย ประถมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
ส่ิงแรกมองว่า การทาให้ผู้เรียนสามารถกากับตนเองได้ จะทาให้การเรียนรู้ของผู้เรียนทรงตัว และจะไม่ลด
ไปมากกว่านี้ เพิ่มเติมเฉพาะเด็กระดับประถมศึกษาตอนต้น ปัจจัยด้านพ่อแม่สาคัญมาก จากการวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงสถิติ พบว่า การดูแลของครอบครัวมีนัยยะสาคัญสาหรับกล่มุ เด็กระดับประถมศึกษามาก แต่กลุ่มอื่น
ท่ไี มพ่ บ แสดงวา่ ไมไ่ ดเ้ ป็นตัวท่มี นี ยั สาคญั

14

แนวทางการลดภาวะถดถอยทางการเรยี นรูส้ กู่ ารพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรูข้ องผ้เู รยี น

แนวทางการลดภาวะถดถอยทางการ ต้นทุนครูมีอยู่แล้ว ผู้บริหารอาจจะมีส่วนร่วมใน
เรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพการเรียนรขู้ องผู้เรยี น การพัฒนาครู หรือเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเข้ามามี
ซ่ึ ง ม า จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย ท่ี ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล จ า ก ส่วนร่วมได้ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อานวยการโรงเรียน คาว่าบูรณาการนี้ควรจะกลับมา ซ่ึงในบางพ้ืนท่ีก็ทา
ศึกษานิเทศก์ ครู บุคคลจากหลายภาคส่วน เป็นปกติอยู่แล้ว เม่ือค้นพบว่า การสอนเป็นวิชา ๆ
แนวทางท่ีนาเสนอเป็นแนวทางแบบกลาง ๆ เพราะ ไม่ตอบโจทย์ สอนได้ไม่ครบ ก็ใช้การบูรณาการ
ทุกท่ีมีบริบท มีเรื่องราวเป็นของตนเอง ดังนั้น เชื่อมโยงประสบการณ์ของผู้เรียน วิถีชีวิตของ
แนวทางน้ีจะสามารถนาไปแปรรูปเพื่อปรับให้ ผู้เรียน ว่าอยู่ในบริบทใด ก็นาบริบทนั้นเข้ามาเป็น
เหมาะกับตัวของผู้เรียน บริบทของโรงเรียน สาระ เป็นบริบทในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนทาในส่ิงท่ี
โดยแบ่งเป็นแนวทางสาหรับระดับประถมศึกษา “อยูบ่ ้านทาอะไร ก็ทาไปแบบนน้ั เลย” ครมู หี นา้ ที่
และมัธยมศกึ ษา ออกแบบการสอนให้เข้ากับวิถีชีวิตของผู้เรียน
ในช่วงโควิดแบบนี้เป็นความท้าทายของครู แต่ต้อง
สาหรับระดับประถมศึกษาในเชิงนโยบาย อยู่ในเงื่อนไข ลดภาระงานท่ีได้รับมอบหมายของ
และการบริหารจัดการ จะมองว่า ครูเป็นบุคคล ผู้เรียน เพราะทาให้เด็กเครียด ผู้ปกครอง
ท่ีสาคัญมาก ถ้าครูสามารถออกแบบการจัดการ ก็เครียดตามไปด้วย เม่ือลดภาระงานแล้ว การวัด
เรียนรู้ รวมถึงการจัดการชั้นเรียน ท้ัง on-site, และประเมินผลก็ต้องทาแบบบูรณาการเช่นกัน
online, on hand แบบใด ๆ ก็ตามจะนับเป็น เ พ ร า ะ ถ้ า ส อ น แ บ บ บู ร ณ า ก า ร แ ต่ ไ ม่ วั ด แ ล ะ
ช้ันเรียนท้ังหมด ให้ตอบโจทย์ technology หรือ ประเมินผลแบบบูรณาการ ก็เหมือนกับย้อนแย้งกัน
non-technology ก็ได้ เพราะฉะนั้น ครูในยุค ให้ทางานหน่ึงชิ้นแต่วัดได้หลาย ๆ รายวิชา วัดได้
โควิด-19 ต้องมี การพัฒนาเทคนิคการออกแบบ หลายมิติ เป็นความคุ้มค่ามาก เพราะหากทางาน
การจัดการเรียนการสอนและการจัดการชั้นเรยี น นอ้ ยชิ้น ผเู้ รยี นจะต้ังใจทาเพราะงานไมม่ าก ผู้เรียน
ของครู ครูต้องมีความสามารถในการออกแบบ จะตั้งใจทาเต็มท่ี หน้าท่ีของครูผู้สอนก็จะประเมิน
การจัดการเรียนรู้ ครูจะมีความสามารถได้อย่างไร

15

ตามตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระต่าง ๆ ถ้าแต่ละกลุ่มสาระมาคุยกันก็จะดีมาก เป็นการทางานน้อยช้ินแต่ได้
ครอบคลมุ หลายมิติ และการจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ รวมถึงการเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์
การพัฒนาสื่อหรือชุดการเรียนรู้ เพราะบางครั้งครูต้องไปเย่ียมบ้านพบปะผู้ปกครอง ครูไปพบเด็กบ่อยมาก
แต่ครูก็มีครอบครัว ครูก็สวมหมวกความเป็นพ่อแม่ด้วย กลางวันเป็นครู ตอนเย็นก็ต้องไปเป็นพ่อแม่ ครูจึงมี
หลายบทบาทมาก ฉะน้ันถ้ามีส่ือกลาง เช่น ศูนย์นวัตกรรม หรืออะไรท่ีสามารถยืมหรือใช้ร่วมกันได้ในบริบท
เนื้อหาเร่ืองเดียวกัน ก็น่าจะเป็นการอานวยความสะดวกให้กับครู เพราะครูทุกคนก็ไม่สามารถท่ีจะแบกรับบทเป็น
นายแบก คอื แบกทุกอยา่ งไวพ้ ร้อม ๆ กันในโอกาสเดยี วกันได้

16

ระดับประถมศึกษาในเร่ืองการส่งเสริม 3) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและ
การเรียนร้แู ละคุณภาพผู้เรยี น ส่ิงแรกที่อยากให้ทา สัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน ผู้ปกครอง ครู
มาก ๆ จากผลการวจิ ัยพบวา่ รวมถึงชุมชนด้วย เร่ืองของการสื่อสารระหว่าง
โรงเรียน ระหว่างชุมชน ระหว่างผู้ปกครอง ซ่ึงเปน็
1) ต้องมีการสร้างแรงจูงใจ การต้ัง ส่งิ สาคัญ เพราะที่มีปัญหากันมากก็เพราะเร่ืองของ
เป้าหมาย และการกากับตนเองของผู้เรียน การส่ือสาร ถ้ามีการส่ือสารท่ีชัดเจนก็จะเป็น
แรงจูงใจต้องเกิด แล้วการเรียนรู้จะตามมา การที่ อีกช่องทางหนึ่งท่ีทาให้ผู้ปกครองเข้าใจบทบาท
กล่าวถึงการจัดการศึกษา head heart hand ของตนเอง ผู้ปกครองเข้าใจว่าจะต้องทาอะไรบ้าง
ต้องมาท้ัง 3 ส่วน มุ่งหวังแต่ head อย่างเดียว บางทีที่ผู้ปกครองทาไม่ได้เพราะเขาไม่รู้ว่าจะต้อง
heart ก็ต้องมา เพราะถ้าคนเปิดใจ head ก็พร้อม ทาอยา่ งไรจึงตอ้ งมตี ัวชว่ ย เช่น โรงเรียนจัดทาคู่มือ
จะเรียนรู้ แล้ว hand กจ็ ะทาได้ เป็นการสอดคล้อง ใหก้ บั ผูป้ กครอง
บูรณาการไปด้วยกัน ฉะนั้นการสร้างแรงจูงใจ
ตั้งเป้าหมายให้ผู้เรียนสามารถกากับตนเองได้ 4) การส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้เรียน
เ พ ร า ะ ถ้ า เ ด็ ก ส า ม า ร ถ ดู แ ล ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น ร ะ ดั บ สุขภาพกาย สุขภาพจิต ผู้เรียนเรียนแล้วเครียด
ประถมศกึ ษา เราก็จะไว้วางใจได้ ต้ อ ง ห า กิ จ ก ร ร ม ผ่ อ น ค ล า ย ก า ร นั่ ง ห น้ า
คอมพิวเตอร์นาน ๆ ก็จะมีอาการปวดหลัง
2) การส่งเสริมการรู้เท่าทันส่ือให้แก่ ครูไม่ควรคิดว่าเด็กแข็งแรง เพราะเด็กจะไม่
ผู้เรียน บางโรงเรียนที่พร้อม เด็กเข้าถึงเทคโนโลยี แข็งแรงในช่วงโควิด-19 น้ี เพราะฉะน้ันถ้าเด็กได้
ได้ก็จะเป็นดาบสองคม เทคโนโลยีเหล่านี้ ออกกาลังกาย ยืด เหยียด แม้จะเป็นเรื่องเล็ก ๆ
ถ้าผู้ปกครองควบคุมดูแลไม่ท่ัวถึง เราจะไม่รู้เลยวา่ น้อย ๆ แต่กจ็ ะไปกระทบถงึ การเรียนรูข้ องเด็กดว้ ย
เด็กไปเข้าแหล่งส่ืออะไรอย่างไรบ้าง ก็ต้องคอยให้
คาแนะนา เพราะในยุคน้ีบางคร้ังเราห้ามไม่ได้
การควบคุมลาบาก แต่เราต้องสอนให้เด็กรู้จัก
เท่าทัน บางเรื่องก็หมดยุคที่จะปิดกั้นแล้ว
เพราะสดุ ท้ายกไ็ มส่ ามารถปดิ กน้ั ได้

17

ในระดบั มัธยมศกึ ษา จากผลการวิจยั พบวา่ แบบบ้านของเขา ซ่ึงครูจะต้องดูแลเด็กเพิ่มเติม
รวมถึงการเปน็ เด็กมัธยม เด็กโตแลว้ ก็จรงิ แต่ครูยัง
1) การจัดสรรงบประมาณ การ ต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้ “Active Learning”
ช่วยเหลือเยียวยาด้านสัญญาณอินเทอร์เน็ต ซ่งึ ในรปู แบบออนไลนค์ รกู ็สามารถทาได้ เพราะ AL
อุปกรณ์ สื่อและเทคโนโลยี เมื่อตอนท่ีไป ไม่ใช่การขยับด้านกายภาพอย่างเดียว การสอน
สมั ภาษณเ์ กบ็ ขอ้ มูล มคี รูทา่ นหนึง่ บอกว่า “เดก็ มา โดยเปิดหน้ากลอ้ งพดู คุยกันกเ็ ป็น AL ได้
โรงเรียนด้วยเงิน 15 บาท แต่ต้องตัดสินใจว่า
เงิน 15 บาทนี้จะกินข้าวหรือจะเติมเน็ต” นี่เป็น 3) การปรับเน้ือหา ลดภาระงาน และ
เรื่องท่ีเกิดข้ึนจริง เด็กมีตัวเลือกไม่มาก บางคน งานท่ีได้รบั มอบหมายของผู้เรียน ซึง่ เปน็ หลักการ
ผู้ปกครองก็มีรายได้หมุนเวียนรายวัน เป็นรายได้ เดียวกับระดับประถมศกึ ษา
วันต่อวัน โรงเรียนก็ช่วยเตม็ ที่ โดยถ้าไม่มีสัญญาณ
อินเทอร์เน็ตก็จัดแบบ on hand ไปท้ังหมด 4) การใช้แหล่งสื่อทรัพยากรและสื่อ
โดยครตู ้องไมด่ ันทุรัง ไมใ่ ช่ครพู ร้อมแตเ่ ดก็ ไม่พร้อม การเรยี นร้รู ่วมกัน
แต่ต้องพร้อมด้วยกันทุกฝ่าย ถ้าเด็กคร่ึงหนึ่งไม่
พร้อมก็ไม่ควรเลือกการ online ควรเลือกแบบท่ี 5) การพัฒนาเทคนคิ การจัดการเรียนรู้
เดก็ ทกุ คนจะไดเ้ รยี นรูอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ ของครู

2) การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม 6) การสื่อสารและช้ีแจงเพ่ือทาความ
ต่อการเรียนรู้ท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้ปกครอง
เพราะเด็กระดับมัธยมศึกษามีความเป็นวัยรุ่น แ ล ะ ผู้ เ รี ย น แ น ว ท า ง บ า ง อ ย่ า ง ใ น ร ะ ดั บ
มคี วามหนุ หัน มีอารมณ์ทีร่ ุนแรงขนึ้ และยิง่ การอยู่ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใช้ร่วมกันได้
ในสภาวะที่บ้าน ซ่ึงไม่รู้เลยว่าแต่ละบ้านเป็น แต่บางอย่างก็มีความแตกต่างด้วยลักษณะกลุ่ม
ครอบครัวอย่างไร บางบ้านเป็นครอบครัวท่ีอบอุ่น ของผเู้ รียนตามชว่ งวยั
แต่บางบ้านเป็นครอบครัวที่อาจจะมีสภาพปัญหาใน

18

ในระดับมัธยมศึกษา การสร้างการเรียนรู้ เด็กระดับมัธยมศึกษาสามารถกากับ
และคุณภาพผู้เรียน จะต้องมีการส่งเสริมการทา ดูแลตัวเองได้ในระดับหน่ึง แต่ก็ต้องพาเด็กคิด
กิจกรรมและการออกกาลังกายเพื่อสุขภาวะที่ดี พาเด็กทาในส่ิงท่ีถูกต้องเหมาะสมและสมควร
ของผู้เรียน ใจต้องมา จิตต้องดี พร้อมที่จะเรียนรู้ เพราะความสนใจของเด็กระดับมัธยมศึกษา หรือ
บางคร้ังการท่ีเราหวังดี แต่เราไปยัดใส่ทุกสิ่งทุกอย่าง อ า ร ม ณ์ จ ะ แ ป ร ป ร ว น ไ ด้ ค่ อ น ข้ า ง ร ว ด เ ร็ ว ก ว่ า
เปรยี บเหมอื นมภี าชนะแต่ไม่ไดด้ ูความเปน็ จริงของ เด็กระดับประถมศึกษา เด็กระดับประถมศึกษา
ภาชนะเลยว่าจะรองรับได้แค่ไหน หากล้นมา จะน้อมตามครูตามผู้ปกครอง แต่เด็กระดับ
ก็กลายเป็นว่า สิ่งที่ครูให้ สิ่งท่ีพ่อแม่ให้ก็เสียเปล่า มัธยมศึกษาจะมีความคิดความอ่านเป็นของตนเอง
เพราะฉะนนั้ สิ่งสาคญั คอื “การวเิ คราะหต์ ัวผเู้ รียน” จะเน้นการสอนการคิดกับการสอนให้เด็กสามารถ
ปกปอ้ งดูแลตวั เองได้ ซง่ึ เปน็ เรื่องสาคญั มาก
เรื่องการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ผู้ปกครอง และครู มีความเชื่อว่า ถ้าลดภาวะถดถอยแล้ว
อย่างท่ีกล่าวไว้ว่า โควิดทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ จะมีการเรียนรู้ท่ีดีข้ึนดังเดิม หรือดีข้ึนในแบบ
เพราะผู้ปกครองคุยกับครูมากข้ึน ผู้ปกครองคุยกบั ท่ีควรจะเป็น ภายใต้เง่ือนไขข้อจากัดต่าง ๆ แต่ถ้า
ผอ.มากข้ึน ผู้ปกครองคุยกับเด็กมากข้ึน จะเห็นว่า มองว่า บางเร่ืองท่ีมีข้อจากัดก็สามารถพลิกวิกฤติ
ผู้ปกครองมีบทบาทมาก แต่เม่ือไปสอบถาม ใหเ้ ป็นโอกาสได้ เช่น ครบู างคนในโรงเรยี นที่พร้อม
ผู้ปกครอง ผู้ปกครองหลายคนจะไม่ค่อยชอบ สอนให้เด็กอัดคลิป เด็กก็ชอบเล่น TikTok Youtube
โดยคิดว่าเป็นภาระ เพราะผู้ปกครองต้องทางาน เด็กทา Blog ครูก็ให้นาเสนองานในรูปแบบนี้ เพราะ
บางคร้ังก็ต้องยอมปล่อยลูกไว้ให้อยู่บ้านคนเดียว ตัวช้ีวัดบอกว่า สามารถอธิบายเรื่องได้ ซึ่งการอธิบาย
โดยไม่รู้เลยว่าจะมีอันตรายใดบ้างเกิดขึ้นกับลูก ไมจ่ าเป็นต้องเขยี นตอบ
เพราะมีเง่ือนไขไม่เหมือนกัน ผู้ปกครองบางคน
ไม่สามารถพาลูกไปทางานด้วยได้ แต่ผู้ปกครอง
บางคนก็สามารถพาลกู ไปทางานด้วยได้

19

ปัจจุบันน้ีเด็กเข้าถึงเทคโนโลยี ซ่ึงกว่าเด็กจะมีคลิปส่งครูได้ จะต้องถ่ายไปเป็น 10 เทค ซึ่ง 10 เทคน้ัน
คือ การทาซ้า การได้ปฏิบัติ การได้เรียนรู้ ทาซ้าไปซ้ามา แล้วเด็กต้องมาเลือกอีกว่าจะเอาอันไหนส่งครูดี
เด็กจะเกิดทักษะความสามารถในการประเมินช้ินงานว่า ช้ินงานใดดีที่สุด เกิดทักษะประเมินช้ินงาน แต่เดิมที่
จัดการเรียนแบบ on-site นาเสนองานหน้าห้องครั้งเดียวจบ ได้คะแนนเท่าไรก็เท่าน้ัน ไม่มีโอกาสได้แก้ตัว
แต่ในรูปแบบใหม่เป็นแบบ online เด็กทุกคนได้ฝึกบุคลิกภาพ เปิดกล้องได้พูดคุย และเข้ากับวิถีชีวิตจริง ๆ
การเรียน online ก็เป็นจุดของการเปลี่ยนแปลง เพราะเด็กระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเติบโตมากับ
เทคโนโลยี ถา้ เดก็ เรยี นดว้ ยเทคโนโลยีก็จะเปน็ ไปตาม Generation ของเขาอยู่แล้ว

นายอาคม ศาณศิลปิน 20

ศึกษาธกิ ารจังหวัดสมทุ รสาคร ส า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ
การศึกษาตามอัธยาศัย คณะกรรมการอาชีวศึกษา
จังหวัดสมุทรสาคร เป็นหนึ่งในพื้นที่ท่ี คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษา
ได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤติโควิด-19 ทาให้ เอกชน โดยมี สถาบันเพ่ือการประเมินและ
โรงเรียนในพ้ืนท่ีปิดเรียนตั้งแต่ เดือนธันวาคม ออกแบบนโยบาย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
พ.ศ. 2562 ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ทาการวิจัยในรูปแบบ R&D เพื่อให้เห็นภาพรวม
จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงเรียนใน ของการดาเนินการ รวมถึง จุดแก้ไข หรือ
จังหวัดสมุทรสาครได้รับผลกระทบ เด็กต้องเรียน จุดบกพร่อง ควบคู่ไปด้วย
ออนไลน์ ทาให้เกิดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา
สภาวะทางครอบครัวไม่เอ้ือต่อการเรียนรู้ อุปกรณ์
การเรียนไม่เพียงพอ ขาดแคลนทุนทรัพย์ ด้วยเหตุน้ี
จงึ เปน็ ท่ีมาของ “สมุทรสาครโมเดล”

โดยได้รับความร่วมมือจาก กองทุนเพื่อ
ความเสมอภาคทางการศึกษา องค์การยูนิเซฟ
ประเทศไทย มูลนิธิโรงเรียนสตาร์ฟิชคันทรีโฮม
โดยมีคณะกรรมการบูรณาการความร่วมมือจาก
กระทรวงศึกษาธิการ ศึกษาธิการจังหวัด องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น นายกองค์การบริหารส่วน
จังหวัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธ ยมศึกษา

21

สมทุ รสำครโมเดล ที่เป็นปัจจัยพื้นฐานของแต่ละโรงเรียน ครูและเด็ก
แต่ละคน หาวิธี กระบวนการ รวมถึงการให้
สมุทรสาครโมเดล มเี ปา้ หมายให้ คาแนะนาต่าง ๆ กับครู เพ่ือให้คณะทางานและครู
นามาออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อนาไปสู่
1) เด็กและเยาวชนวัยเรียนทุกคน การลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของผู้เรียน เมือ่ ได้
ได้เรียนหนังสือที่โรงเรียน สอดคล้องกับความ กรอบน้ีแล้วจะนาไปศึกษาหาความสาเร็จ เพ่ือขยายผล
ต้องการทางการเรียนรู้ การมีสุขภาพกายและ ความสาเรจ็ ไปสูท่ ุกพืน้ ท่ขี องจงั หวดั สมุทรสาคร
สขุ ภาพใจที่ดี
สมุทรสาครโมเดลมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
2) เด็กได้รับความช่วยเหลือชดเชย 1) พัฒนาโปรแกรมฟื้นฟูความรู้ถดถอยให้แก่
การเรียนรู้ท่ีสูญเสียไปช่วงปิดโรงเรียน เน้นพัฒนา ผู้เรียน 2) สนับสนุนปัจจัยพ้ืนฐานรวมถึงเคร่ืองมือ
ทักษะคณิตศาสตร์ ผ่านกล่องการเรียนรู้ learning ที่จาเป็นสาหรับกลุ่มทดลอง 30 โ รงเรียน
box รวมถึง การพัฒนาสุขภาวะกายและจิตใจ 3) ส่งเสริมขีดความสามารถของครูและโรงเรียน
ผ่านการเรียนการสอนรายบุคคล 4) พัฒนาต้นแบบหรือโมเดลระดับจังหวัดเพ่ือ
ขยายผลใหค้ รอบคลุมท้งั จงั หวดั
3) ครูทุกคนได้รับการเตรียมความ
พร้อม สามารถนาเทค โ น โ ลยีดิจิทัลแ ละ องค์ประกอบในการวางมาตรการฟื้นฟู
นวัตกรรมต่าง ๆ มาผสมผสานในการสอน การเรียนรู้ท่ีถดถอย คือ 1) การประเมิ น
โรงเรียนนาร่องแห่งแรกท่ีนาสมุทรสาครโมเดลไป สภาพแวดล้อมทั้งระบบ (Landscape Assessment)
ใช้คือ “โรงเรียนวัดบ้านไร่ (ประชานุกูล)” จากผล ประเมินการเรียนรู้ที่ถดถอย ประเมินข้อมูล
การทดสอบระบบ Starfish ท่ีมีรูปแบบช่วยเหลือ ครอบครัว ประเมินความต้องการพ้ืนฐาน ประเมิน
ผู้เรียน และเคร่ืองมือในการพัฒนา ผู้เรียน เทคโนโลยี ประเมินการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ผลปรากฏว่า แม้จะต้องปิดเรียนช่วงล็อกดาวน์ 2) การวางแผนของโรงเรียนทั้งระบบ (Whole
ยาวนานแต่เดก็ ผู้เรยี นมผี ลการเรียนทด่ี ีขึน้ School Planning) ในการขับเคลื่อนโครงการ
โรงเรียนจะต้องมีคณะทางานของโรงเรียน ผู้มีส่วน
ในช่วงแรกของการทดลองสมุทรสาคร ได้ส่วนเสีย เข้ามาอยู่ในการดาเนินการของโครงการ
โมเดล ได้แบ่งโรงเรียนออกเป็น 2 ประเภท คือ รวมถึงการกาหนดระยะเวลา ความปลอดภัย
(1) โรงเรียนกลุ่มควบคุม 30 โรงเรียน ใช้วิธีสมัครใจ ทรัพยากร และงบประมาณ 3) การสนับสนุนการ
ในการเข้าร่วมโครงการ จะไม่ได้รับกระบวนการ พัฒนาวิชาชีพครู (Professional Development
ฟนื้ ฟู Starfish แต่เปดิ โอกาสใหใ้ ช้ Micro learning Support for Teacher) ปรับช่องว่างระหว่าง
ของ Starfish หรือบทเรียน ส่ือ การเรียนการสอน การเรียนรู้ หลักสูตร เครื่องมือครู การเรียน
(2) โรงเรียนกลุ่มทดลอง 30 โรงเรียน จะได้รับ ทางไกล 4) การช่วยเหลือผู้เรียน (Intervention
กระบวนการฟ้ืนฟู Starfish ใช้ระยะเวลาเวลา and Support for Students) ผู้เรียนแต่ละคนมี
ดาเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2565 ถึง ภาวะถดถอยทางการเรียนรทู้ ่ีแตกต่างกัน วิเคราะห์
เดอื นเมษายน พ.ศ. 2565 โดยมีแนวทางในการพฒั นา การเรียนส่วนบุคคล การฝึกฝน จัดหาอุปกรณ์
คือ มูลนิธิโรงเรียนสตาร์ฟิชคันทรีโฮม ออกแบบ การเรียน การสนับสนุนด้านสุขภาวะ รวมถึง
เคร่ืองมือ รูปแบบ โมเดล จากน้ันจังหวัดสมุทรสาคร การช่วยเหลอื ทางครอบครวั
ต้ังคณะทางานภายในจังหวัด โดยคณะทางาน
เบื้องต้น ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ ตัวแทนผู้อานวยการ
โรงเรยี น โคช้ จากมูลนธิ ิโรงเรยี นสตาร์ฟิชคันทรโี ฮม
เพ่ือเข้ามาช่วยในการดาเนินการให้ได้รับข้อมูล

22

5) การตดิ ตามปรับปรงุ และผลสะท้อนกลบั (Monitoring and Invention Redesign) พัฒนาผลตอบรับ และ
ประเมินผลเป็นระยะควบคู่กันไป กรอบแนวคิดการวิจัยการดาเนินงาน ครูกลุ่มเป้าหมายต้องดาเนินการ
ในเรื่องใดบ้าง ได้กาหนดสัดส่วนครูต่อผู้เรียนในกลุ่มทดลองไว้ 1 ต่อ 30 ใช้วิธีการเติมบทเรียนออนไลน์
การเติมการอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้คาปรึกษาจากมูลนิธิโรงเรียนสตาร์ฟิชคันทรีโฮม เติมเนื้อหา
ศาสตร์การสอนและเทคโนโลยีเข้าไป หลังจากน้ัน ครูจะส่งผลต่อผู้เรียนในกลุ่มควบคุม ได้รับการช่วยเหลือ
พิเศษจะถูกส่งไปยังกระบวนการเรียนการสอนท่ีเราเรียกว่า Micro learning สาหรับครู สาหรับผู้เรียน
ผปู้ กครองควบคูก่ นั ไป และ Micro learning สาหรับครูอาสา ผปู้ กครองควบคกู่ ัน

ขอ้ เสนอแนะกำรจัดกำรเรียนกำรสอนยุคหลังโควดิ -19

ในชว่ งการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ทาให้โรงเรยี นเกิดการต่นื ตวั มากขน้ึ และได้รว่ มมือกัน
ระหว่างชุมชน รัฐ และเอกชน นอกจากน้ีทางโรงเรียนยังต้องมีการเตรียมพร้อมแนวทางการจัดการเรียนรู้ใน
สภาวะวิกฤติต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการเรียนของผู้เรียนที่ไม่ใช่เพียงสถานการณ์โควิด-19 เท่าน้ัน ในการ
เตรียมความพร้อมสาหรับการเรียนการสอน on-side น้ัน วิทยากรได้เสนอให้ทุกสัปดาห์มีการตรวจเชื้อไวรัส
โควิด-19 ด้วยเคร่ืองตรวจ ATK โดยจะต้องมีการสลับแบบสุ่มตรวจหรือตรวจทุกคนในโรงเรียน และมีการยืม
ใช้อปุ กรณเ์ ทคโนโลยกี ับโรงเรยี นอนื่ ในสภาวะทข่ี าดแคลนครูภายในโรงเรียนจะตอ้ งมีการออกแบบการจัดการ
เรียนการสอนเพื่อลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ให้ถ่ายทอดไปถึงผู้เรียนได้ ในการเรียนแบบ on-side
เน่ืองจากในสถานการณ์ช่วงโควิด-19 ท่ีมีการปิดสถานศึกษาที่ผ่านมา มีการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบ
on-side , on air , online , on demand และ others เป็นเหตุให้ผู้เรียนเกิดความสับสนหรือปรับตัวไม่ได้
และเกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้

ทงั้ บุคลากรและครผู สู้ อนภายในโรงเรียนจะต้องพฒั นาคุณธรรมทางสังคมให้กับผเู้ รียนทุกคนภายใน
โรงเรียน โดยในตอนแรกของการเรียนการสอนยุคหลังโควิด-19 หรือ ภายในยุคโควิด-19 จะต้องนาผู้เรียน
ทุกคนกลับเข้ามาสู่ระบบการศึกษา โดยจะต้องมีการสร้างขวัญกาลังใจให้กับทั้งครูและผู้เรียน
ให้การจัดการเรียนรู้นั้นมีความสุขและไม่เครียดกับทั้งสองฝ่าย นอกจากน้ี ท้ังบุคลากรและครูผู้สอนภายใน
โรงเรียนจะมวี ธิ กี ารอย่างไรท่ีจะให้ผูเ้ รียนไม่กลบั ไปติดเช้ือโควิด-19 ไดอ้ กี

23

นายปิลทั ธ์ อดุ มวงษ์ ส อ บ บ ร ร จุ ใ ห ม่ ใ น เ ดื อ น กุ ม ภ า พั น ธ์ แ ล ะ มี น า ค ม
ท่ีจะถึงนี้ แต่ในขณะเดียวกันจานวนผู้เรียนในแต่ละ
ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียนกลับเพ่ิมขึ้นในแต่ละปี โดยมีผู้เรียนใน
ประถมศึกษาตาก เขต 2 สังกัดประมาณ 50,000 คน และไม่มีโรงเรียน
ขนาดเล็กในสังกัด จึงไม่สามารถยุบโรงเรียนขนาด
จังหวัดตากประกอบด้วย อาเภอท่าสองยาง เล็ก ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการได้
อาเภอแม่สอด อาเภอแม่ระมาด อาเภอพบพระ เนื่องจากความห่างไกลของแต่ละโรงเรียน และ
และอาเภออุ้มผาง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแนวหุบเขา ถ้ามีการยุบโรงเรียน บุคลากรและผู้เรียนจะต้องใช้
ติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ประชาชน เวลาในการเดินทางมาเรียนทีย่ าวนานขน้ึ
ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มีฐานะยากจนและไม่ได้มีที่อยู่
อาศัยเป็นหลักแหล่ง โรงเรียนในสังกัดของ สพป. ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ตาก 2 มีผู้เรียนที่เป็นชนเผ่าประกอบด้วย 6 ชนเผ่า โควิด-19 ที่ผ่านมา พ้ืนท่ีควบคุมของสานักงานเขต
ได้แก่ เมียนมาร์ กระเหร่ียง ม้ง มอญ ลาฮู และลีซู พ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 กลายเป็น
แ ล ะ ผู้ เ รี ย น จ า ก ส ห ภ า พ เ มี ย น ม า ร์ ท่ี ติ ด ต า ม พ้ืนที่การควบคุมการแพร่ระบาดสูงสุด โรงเรียน
ผู้ปกครองเข้ามาคา้ ขายในประเทศไทย ในสังกัดท้ังหมดจาเป็นต้องปิดช่ัวคราวตามมาตรการ
ของรัฐบาล ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอน
ในด้านการจัดการเรียนการสอนน้ัน เกิดปัญหา ด้วยมีบางพื้นท่ปี ิดไม่ใหบ้ ุคคลภายนอกเข้า
ด้วยผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าและประชาชนจาก สัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ไม่เสถียร โรงเรียนบางแห่ง
สหภาพเมยี นมาร์ ทาใหพ้ นื้ ที่แห่งนีใ้ ช้ภาษาถิ่นของ กลายเป็นโรงพยาบาลสนาม ไม่สามารถจัดการ
แต่ละชนเผ่าในการส่ือสาร นอกจากน้ี โรงเรียนใน เรียนการสอนได้อย่างปกติ ประกอบกับในช่วง
สังกัดก็ต้ังอยู่ห่างไกล บนภูเขาสูง และทุรกันดาร การแพร่ระบาดของโรคนี้ ผู้ปกครองจานวนมาก
ส่งผลให้สัญญาณอินเทอร์เน็ตสาหรับใช้ในการ ขาดรายได้ จึงจาเป็นต้องหารายได้เสริมไม่มีเวลาดู
จัดการเรียนการสอนไม่เสถียร ซึ่งทางสานักงาน ผู้เรียนเท่าที่ควร และผู้เรียนจากสหภาพเมียนมาร์
เขตฯ ได้แกไ้ ขปัญหาด้วยการให้บางสถานศึกษามีที่ ก็จาเป็นต้องข้ามฝ่ังกลับบ้าน ไม่สามารถกลับเข้ามา
พักรับรองเพ่ือไม่ให้ผู้เรียนต้องเสียเวลานานในการ ศึกษาต่อได้ หรือผู้เรียนท่ีพักอยู่ภายในโรงเรียน
เดินทาง แต่ปัญหาสาคัญท่ีทางสานักงานเขตฯ ก็ต้องกลับไปเรียนท่ีบ้านของตนเอง ส่งผลให้ขาด
กาลังประสบ คือ การขาดอัตรากาลังครูในการ โอกาสท่ีจะไดร้ ับความรอู้ ย่างเต็มที่
จัดการเรียนการสอน เนื่องจากครูเป็นคนจาก
พนื้ ทตี่ า่ งถนิ่ โดยปกี ารศึกษา 2564 ขาดอตั รากาลัง
ครูประมาณ 600 อตั รา และบางโรงเรยี น ครผู ู้สอน
ย้ายทั้งโรงเรียน ซึ่งทางสานักงานเขตฯ ได้แก้ปัญหา
โดยใชค้ รอู ตั ราจ้างไปสารองไว้ก่อน ซึง่ จะมกี ารเปิด

อปุ สรรค 24

ในเบอ้ื งตน้ นัน้ ทางสานกั งานเขตฯ ได้ใช้ ระดับช้ันใดก็ตาม และการแก้ปัญหาการขาดโอกาส
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนจากสานักงาน ในการเรียนของผู้เรียนในพ้ืนท่ีท่ีห่างไกลและพื้นท่ี
คณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2 รูปแบบ และ ปิดด้วยการจัดตั้งห้องเรียนเคลื่อนที่ โดยในจังหวัด
คานึงถึงส่ิงแวดล้อมและบริบทสภาพแวดล้อมของ ตากได้จัดต้ังห้องเรียนเคล่ือนท่ีทั้งหมด 59 แห่ง และ
ผู้เรียน เป็นการจัดการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก ได้มีการร่วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐ เช่น
ซึ่งไดพ้ บอุปสรรค ดังนี้ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย
ในการคัดกรองผู้เรียนในเบ้ืองต้น ในการอานวย
1. On hand เน่ืองด้วยบางพื้นท่ีปิด ความสะดวกในการข้ามฝั่งมาเรียนของผู้เรียนเมียนมาร์
ทาให้ครูไม่สามารถส่งงานให้แก่ ผู้เรียนได้ และทางสานักงานเขตฯ ได้มีการให้กาลังใจกับ
จาเป็นต้องอาศัยผู้ปกครองในการสอน ส่งผลให้ ครูผสู้ อนในการประเมนิ ระดับชาติ ว่าอยา่ ได้วิตก
ผู้เรียนในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีจะเข้าเรียนใน กังวล การสอบในครั้งน้ีถือว่าเป็นการทาวิจัยว่า
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 อ่านหนังสือไม่ออกและ การจัดแนวทางการศึกษาในช่วงโควิด-19 น้ัน
เขียนหนังสือไม่ได้ เนื่องจากผู้ปกครองขาดความ มีข้อดีท่ีจะต้องทาต่อไปและข้อเสียใดท่ีจะต้อง
ชานาญในการสอนและไม่มีเวลาที่จะสอนเพราะ ปรับปรุงให้ดีขึ้น โดยการสอบระดับชาติคร้ังนี้ จะ
ต้องออกไปทางาน ซึ่งปัจจัยนี้เองส่งผลให้ผู้เรียน เป็นจุดสาคัญที่จะทาให้สานักงานเขตฯ กลับไปคิด
เกิดการมั่วสุม และผู้เรียนในช้ันประถมศึกษา ทบทวนการจัดการเรียนการสอนในยุคโควิด-19
ปีท่ี 1 ท่ีเมื่อสถานศึกษาเปิดเรียนแล้ว ด้วยความท่ี ท่ีผ่านมา โดยในวันที่ 14 มกราคม 2565 ที่ผ่านได้
ตอนเรียนในระดับชั้นอนุบาลผู้เรียนไม่ได้เรียน มกี ารจดั การเรียนการสอนแบบ on-side สานกั งานเขตฯ
ทาใหผ้ ้ปู กครองต้องมาโรงเรียนเพ่ือมาเฝ้าผเู้ รียนด้วย ได้มีมาตรการให้เฉพาะผู้เรียนท่ีฉีดวัคซีนแล้วมา
เรียนได้ โดยการสลับชั้นเรียนมา ส่วนผู้เรียนที่ยัง
2. Online อุปกรณ์ ส่ือ เทคโนโลยีของ ไมไ่ ด้รบั การฉดี วัคซีนให้เรียนอยู่ทีบ่ า้ นตามทสี่ ถานศึกษา
ผู้เรียนไม่พร้อม อินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และถึงแม้ กาหนด เนื่องจากยังมีความเสี่ยงท่ีสูงกว่าผู้ที่ฉีด
ผู้เรียนจะมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตท่ีเสถียร แต่ด้วย วัคซีนแล้ว โดยสานักงานเขตฯ ได้มีการเน้นย้าว่า
ความที่ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมการเรียนของ ถึงแม้จะฉีดวัคซีนแลว้ แตก่ ย็ งั สามารถติดเช้ือได้อยู่
ผู้เรียนได้ ทาให้ผู้เรียนหลายคนใช้เทคโนโลยีไป เพียงแต่อาการอาจจะไม่รุนแรงเท่าผู้ท่ียังไม่ได้รับ
ในทางที่ไม่ส่งเสริมในด้านการเรียน เช่น เล่นเกม วัคซีน ส่วนสาเหตุที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนนั้น
จนไม่ยอมสนใจการเรียน พฤติกรรมนี้ส่วนใหญ่ เน่ืองมาจากความเช่ือส่วนบุคคลและความเชอื่ ของ
เป็นของเดก็ ทโี่ ตแลว้ ชนเผ่า ถึงแม้ว่าสานักงานเขตฯ ได้มีการรณรงค์
เร่ืองการฉีดวัคซีนแล้ว ซึ่งถือว่าความเชื่อส่วนบุคคล
ในการนี้ทางสานักงานเขตฯ จึงได้ และชนเผ่าก็เป็นหน่ึงสาเหตุของการจัดการเรียน
แ ก้ ปั ญ ห า อั ต ร า ก า ลั ง ค รู ที่ ไ ม่ พ อ ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น การสอนในยุคโควิด-19 ของสานักงานเขตฯ ดว้ ย
ในช่วงโควิด-19 ด้วยการให้สถานศึกษาเครือข่าย
ใกล้เคียงกันมีการจัดประชุมและจัดตารางสอน
ร่วมกัน แล้วให้ผู้เรียนเรียนร่วมกัน โดยใช้ครู
แต่ละโรงเรียนหมุนเวียนการสอน เป็นครู 1 คน
ต้องสอนมากกว่า 1 โรงเรียน ท้ัง on hand และ
online ซ่ึงถือว่าเป็นการใช้ทรัพยากรบุคคลให้
คุ้มค่าสูงสุด โดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนต้องอ่าน
หนังสือออกและเขียนภาษาไทยได้ ไม่ว่าจะเป็น

25

ขอ้ เสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนยุคหลงั การแพรร่ ะบาดของโควิด-19

สานักงานเขตฯ ไดเ้ สนอการนาผลการทดสอบระดบั ชาติมาวเิ คราะห์หาแนวทางการจัดการเรยี นการ
สอนในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 และให้กระทรวงศึกษาธิการได้คิดทบทวนแนวทางการปฏิรูป
การศึกษาในอนาคต ซึ่งในระยะแรกนั้น เสนอใหค้ รูผู้สอนจัดการเรยี นการสอนให้ผู้เรยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และ
นาเฉพาะเนื้อหาที่สาคัญ จากสมัยก่อนท่ีครูเป็นผู้เล่าเรื่องโดยขึ้นต้นด้วยกาลคร้ังหน่ึงไปถึงตอนจบ
ของเร่ือง กลายมาเป็นครูข้ึนต้นด้วยกาลครั้งหนึ่ง ส่วนเน้ือเรื่องไปจนถึงตอนจบ ผู้เรียนเป็นผู้เล่าเอง
ซ่ึงหน้าท่ีของครูต่อไป คือ การกระตุ้นผู้เรียนให้อยากที่จะเรียนรู้ ตามส่ือที่หลากหลายที่ให้ผู้เรียนได้เข้าถึง
ซ่ึงเมื่อมีการเปิดเรียน on-side ในเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ระดับช้ันที่ผู้บริหารและ
ครูผู้สอนจาเป็นท่ีจะต้องให้ความสาคัญกับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 มากกว่าระดับชั้นอื่น เพราะสอง
ระดับช้ันนี้ผู้เรียนต้องอ่านหนังสือให้ออกและเขียนตัวหนังสือให้ได้ เพื่อนาไปใช้ในการเรียน
ในระดับชั้นอื่นต่อไป ส่วนระดับชั้นที่สูงขึ้นและอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีห่างไกลน้ันให้ใช้ระบบพ่ีสอนน้องและจัดตั้ง
ห้องเรียนเคลื่อนที่ เนื้อหาท่ีจะใช้จะต้องเป็นการอ่านและเขียนภาษาไทยให้ได้ก่อน ในด้านการประเมิน
ให้ประเมินด้วยชิ้นงานและพฤติกรรมมากกว่าการใช้แบบทดสอบ เนื่องจากผู้เรียนยังไม่ได้อยู่ในสภาวะ
ที่จะทาแบบทดสอบได้ การประเมินด้วยชิ้นงานและพฤติกรรมจะทาให้ครูได้ทราบความสุ่มเส่ียงและ
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผูเ้ รียนได้อย่างแท้จริง จัดต้ังห้องเรียนเคลื่อนท่ีที่มีส่ือเทคโนโลยีสาหรบั ผเู้ รียน
ท่ีอยู่ห่างไกล นอกจากน้ี ยังต้องสนับสนุนเทคโนโลยีให้แก่โรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
หลังจากน้ี ซึ่งจะช่วยให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน นอกจากน้ี ยังให้หน่วยงานภาครัฐอ่ืน
ท่ีไมใ่ ช่เฉพาะกระทรวงศกึ ษาธิการเข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั การเรียนการสอนดว้ ย

26

ดร.ป่ ินทอง ใจสทุ ธิ โควิด-19 กระชับเหลือ 5 วิชาหลัก) กิจกรรมการ
สอนและการวดั และประเมินผล
ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านขุนสมทุ รไทย
4) การนาหลักสูตรไปสู่การจัดการเรียน
โรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทยมีระยะทาง การสอน มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กดารงชีพ
ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ แต่การจัดการศึกษามีความ ได้อย่างเหมาะสม (วิชาการเอาตัวรอดในสถานการณ์
เหลื่อมล้าสูงเนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นผู้เรียน โควิด-19)
ชายขอบ บางครอบครัวไม่มีน้าประปา ไฟฟ้า ไม่มี
สัญญาณอินเทอร์เน็ต จึงเกิดการต้ังคาถามว่า 5) หลักสูตร ครู ผู้ปกครอง เน้นการ
“ทาอย่างไรไม่ให้ผู้เรียนเกิดภาวะถดถอยทางการ เรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาทักษะชีวิต และการประกอบ
เรียนรู้” ดร.ปน่ิ ทอง ใจสุทธิ ผอู้ านวยการโรงเรียน อาชพี
จึงใช้วิธีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “กระชับ
หลักสตู ร” 6) เน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นความ
ร่วมมือของครอบครัวและชุมชน ส่งเสริมให้
กระชับหลกั สตู ร ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน เป็นผู้มีส่วนร่วมใน
กระบวนการจดั การเรยี นร้ใู ห้กบั ผเู้ รียน
เน้นการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบัน ความต้องการ 7) การวัดและประเมินผลผู้เรียน เป็น
และความสุขของผู้เรียน ซ่ึงเกิดขึ้นจากความ กระบวนการพิจารณาผู้เรียนว่า เป็นไปตาม
ร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder) วัตถุประสงค์หรือไม่ โดยใช้เคร่ืองมือวัดผู้เรียนเป็น
โดยมีกระบวนการกระชับหลักสตู ร คอื รายบุคคล ใช้การประเมินผลตามสภาพจริง
ผ่านผลงานผู้เรียน แฟ้มผลงาน การสังเกต
1) ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร ขอบเขต การสัมภาษณ์ ผลจากพฤติกรรมผเู้ รยี น
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ร่ ว ม กั บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
ส ถานศึกษาขั้ น พ้ืนฐ าน แล ะ คณ ะ ครู ในโ รง เ รี ย น
ท้งั หมด

2) ศกึ ษาปญั หาของชุมชนท่ผี เู้ รยี นอาศัย
อยู่ เก็บรวบรวมข้อมูลแบบปฐมภูมิ ใช้การสังเกต
สอบถาม สมั ภาษณ์ สารวจ ลงพ้นื ทเี่ ยีย่ มครอบครัว

3) ศึกษา วิเคราะห์ศักยภาพของ
โรงเรียน จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดประสงค์
รายวิชา เน้ือหาสาระวิชา (ในช่วงสถานการณ์

จดั หลกั สตู รทวิภาคี 27

โรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทยจัดหลักสูตร โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ขุ น ส มุ ท ร ไ ท ย มี แ น ว คิ ด
ทวิภาคี โดยผู้ปกครองแปลงสถานภาพเป็นครู ความรักมาก่อนความรู้ ผู้เรียนต้องเรียนรู้อย่างมี
ครูเปล่ียนหน้าท่ีจากการสอนผู้เรียนเป็นสอน ความสุข ถ้าผู้ปกครองใช้ความรุนแรงกับบุตร
ผู้ปกครอง และให้ผู้ปกครองนาความรู้ที่ได้จาก โรงเรียนจะไม่ให้ผ่านการทดสอบ โดยโรงเรียนจะ
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ไ ป ส อ น บุ ต ร ข อ ง ต น เ อ ง ใช้วิธีอบรมผู้ปกครองผ่านกระบวนการที่เรียกว่า
การแจกเอกสาร on hand ของผู้เรียนระดับ Active Learning ด้วยกิจกรรมศิลปะบาบัด
ปฐมวัย เน้นทาอย่างไรให้ผู้เรียนมีพัฒนาการครบ รูปแบบ on hand โรงเรียนมีกิจกรรมกระตุ้น
ในทุก ๆ ด้าน เช่น การพัฒนามัดกล้ามเน้ือ การ ความสนใจให้กับผู้เรียน ผู้เรียนคนใดขยันทางาน
ร้องเพลง การวาดรูป ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนและ ส่ง โรงเรียนจะมีทุนการศึกษาและแจกถุงยังชีพ
ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ท่ีดีข้ึน หลังจากจัดการ โรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทยจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้รูปแบบน้ี ผลลัพธ์ที่ได้คือผู้เรียนมาสมัครที่ แบบ Unplugged coding ใช้ส่ืองานกระดาษ
โรงเรียนเพ่ิมมากขึ้น จากเดิมมีผู้เรียน 170 คน ใช้กระดาษแผ่นเดียวในการสอนให้ทาส่ือ Small
ปัจจุบันมีผู้เรียน 208 คน สิ่งที่โรงเรียนเน้น คือ book ให้ผู้เรียนมีแนวคิดสั้น ๆ เขียนส่ิงท่ีอยาก
ใช้วิธีการสอนแบบง่าย ๆ เช่น ท่องสูตรคูณ การ เป็นผ่านสมุด Small book ถ้าผู้เรียนคนใดทา
เขยี นภาษาไทย การผสมสระ เป็นต้น ไม่ได้ จะใช้กิจกรรมศิลปะบาบัดแทน โรงเรียนได้
เน้นย้าครูว่า อย่าปล่อยให้นวัตกรรมทาง
โรงเรยี นบา้ นขุนสมุทรไทยใช้ วิธีกระชับ การศึกษามาแทนท่ีความเอาใจใส่ของครู อย่าให้
หลักสูตรสาหรับผู้ปกครอง กรณีการจัดการเรียน ผูเ้ รียนรสู้ กึ วา่ ไม่อยากมาโรงเรียน สอนใหผ้ ้เู รียน
การสอนแบบ on hand และจัดทาคู่มือสาหรับ รักโรงเรียน อย่าให้เบื่อโรงเรียน อย่าให้
ผู้ปกครองในสถานการณโ์ ควิด-19 ในการจัดการ เทคโนโลยีมีอิทธิพล และพลิกวิกฤติให้เป็น
เรียนรู้แบบ on hand จัดหลักสูตรบูรณาการ โอกาส
ภายใต้กิจกรรมศลิ ปะบาบดั เนอื่ งจากผเู้ รยี นส่วนใหญ่
ของโรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทยมีฐานะยากจน โรงเรียนมีรปู แบบการวดั และประเมินผล
อาศัยอยู่ตามชายขอบ มีผู้เรียนนานาชาติ เช่น แบบรูบริคส์ (Scoring Rubrics) ประเมินตามสภาพ
เมียนมาร์ ลาว เขมร มอญ ปากีสถาน อินเดีย จริงของผู้เรียน ใช้ Personal development tasks
การสื่อสารกันค่อนข้างยากลาบาก ครูจึงใช้วิธีสอน เก่งอะไรทาอย่างน้ัน ทุกคนเก่งตามแนวทาง
ผ่านโปรแกรมแปลภาษา เมื่อมีสถานการณ์โควิด-19 ของตนเอง สอน Coding โดยใช้การกระชับหลักสูตร
จึงปรับเปลี่ยน รูปแบบการเรียนรู้ Change 5 กระบวนการ 1) คิดวิเคราะห์เป็น 2) อ่านออก
Classroom การเรียนรู้รูปแบบใหม่ผ่านมือถือ 3) เขยี นได้ 4) ลายมือสวย 5) ท่องสูตรคูณได้
ของผู้ปกครอง แปลงเอกสารเป็น on hand
ทาการวิเคราะห์ผ้เู รียนเป็นรายบุคคล แบ่งผู้เรยี น
เป็น 3 ประเภท เก่ง กลาง อ่อน ผู้เรียนแต่ละคน
ได้รับเอกสารการเรียนแตกต่างกันไปตามระดับ
การแจกเอกสาร ใช้รูปแบบ HOME SCHOOL
10 สาย 10 เส้นทาง

28

รูปแบบการสอนสุดทา้ ย คือ กระบวนการทักษะชวี ิตผ่านกระบวนการคดิ อย่างสร้างสรรค์ จนกระท่ัง
โรงเรียนบ้านขุนสมุทรได้รับรางวัลการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมศิลปะบาบัดระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1

โรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทยใช้วงจรเดมม่ิง (The Deming Cycle) ในการฟ้ืนฟูภาวะถดถอยของการ
เรียนรู้ โรงเรียนเน้นการเรียนรู้แบบนอกกรอบ ให้ผู้เรียนมีความสุข การกระชับหลักสูตรจะช่วยประเมิน
สภาพแวดล้อมของครอบครัวผู้เรียน ความพร้อมของผู้เรียน ความพร้อมของครู การเข้าถึงเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต กรณีครอบครัวไม่มีอินเทอร์เน็ต ครูจะเข้าไปในพ้ืนที่โดยใช้รูปแบบ HOME SCHOOL 10 สาย
10 เส้นทาง จัดประชุมกระชับหลักสูตร ให้ความรู้กับผู้ปกครอง เป็น หลักสูตรผู้ปกครอง ต้ังชื่อหน่วยการ
เรียนรู้ สอนส่ิงท่ีใกล้ตัว เน้น 3 เรื่อง คือ เรื่องใหม่ เรื่องใหญ่ เรื่องใกล้ตัว เน้นทักษะชีวิต เน้นระบบดูแล
ช่วยเหลอื รายบุคคล ด้านการประเมินผล ใช้การสงั เกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทกึ คะแนน บนั ทึกกจิ กรรม
และประเมินตามสภาพจรงิ ไมเ่ น้นรปู แบบวิชาการ เนน้ การมีความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ครสู ามารถตอ่ ยยอด
เป็นงานวิจัยในรูปแบบ Action Research ซึ่งเผยแพร่อยู่ในเว็บไซต์ของโรงเรียนบ้านขุนสมุทรไทย
(http://bkst.thai.ac)

ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจำกผู้เข้ำร่วมประชมุ สมั มนำ
เกย่ี วกับกำรพัฒนำคุณภำพกำรเรียนรู้ของเดก็ ไทย
ในสถำนกำรณ์โควิด-19 หรอื หลงั โควิด-19
ควรมีกำรพัฒนำอย่ำงไรบำ้ ง เพ่ือลดภำวะถดถอย
ทำงกำรเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน

30

ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผูร้ ่วมประชุม จากช่องทาง Facebook Live, YouTube ของ OEC News
สภาการศกึ ษา และ OEC Talks สรุปได้ดงั นี้

1. ด้านสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยีเพ่ือกาขรองเรเดยี ก็ นที่เรทู้ ่าแเทลยี ะมทกรันัพนยอากกจารกเนพี้ ่ือควกราสรง่ เสรรยี ิมนใหร้ ู้

 รัฐควรวางระบบการศึกษาให้เกิดความเสมอภาค เครดติ https://pixabay.com
ส นั บ ส นุ น เ ค รื อ ข่ า ย สั ญ ญ า ณ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ฟ รี
ที่มีความเสถียรให้กับผู้เรียน ครู และโรงเรียน หน่วยงานอื่น ๆ และแหล่งเรียนรู้ในพื้นท่ี เช่น
เพื่อใช้ในการเรียนการสอน พร้อมทั้งสนับสนุน พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุดชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมใน
งบประมาณและจัดหาสื่ออุปกรณ์สาหรับการเรียน การสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน มีชุดการ
ออนไลน์ท่ีมีประสิทธิภาพให้กับผู้เรียนท่ีขาดแคลน เรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนทุกคนทั้งท่ีสามารถเข้าถึงและ
เพ่ือลดภาระค่าใช้จ่ายและลดความเหลื่อมล้า ไม่สามารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์สามารถใช้
ในการเข้าถึงการเรียนรู้ของผู้เรียน และควรขอ เรยี นรู้ได้
ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบล็อก
เว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมสาหรับเยาวชน และควร  สถานศึกษาควรสารวจความพร้อมและความ
ส อ น ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ต้องการของผู้เรียน เพ่ือเตรียมความพร้อมด้าน
ส่งเสริมในเร่ืองการรู้เท่าทันสื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ อุปกรณ์และเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเหมาะสมกับยุค
รวมทัง้ การป้องกนั ตัวเองจากภยั ทางไซเบอร์ New Normal ใช้เทคโนโลยีการส่ือสารท่ีตอบ
โจทย์การศึกษา และดูแลไม่ให้ผู้เรียนหลุดออก
 รัฐควรพัฒนาคลังข้อมูล สื่อนวัตกรรมกลาง จากระบบการศกึ ษา
ที่ทันสมัย แฟลตฟอร์ม แอพพลิเคช่ันเสริมหรือ
บทเรียนสาเร็จรูปในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ  สถานศึกษาพัฒนารูปแบบห้องเรียนเคลื่อนที่
การเรียนการสอน เน้นการเรียนรู้แบบยั่งยืน เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่ไม่มีอินเทอร์เน็ต และ
ตลอดชีวิต เพื่อให้ครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง ไม่สามารถเดินทางมาเรียนในสถานศึกษาได้เข้าถึง
สามารถใช้ส่ือการเรียนรู้ร่วมกันได้อย่างอิสระโดย การเรียนรู้ อาจจัดในลักษณะเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ตามบริบท
ไม่เสียค่าใช้จ่าย เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา และสภาพพนื้ ที่

31

2. ดา้ นการปรบั หลักสูตรการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
และการลดภาระงานของผเู้ รยี น

 ควรปรับหลักสูตรให้เท่าทันยุคสมัยและ กิจกรรมด้วยตนเอง บูรณาการความรู้ไปใช้
เหมาะสมกับสถานการณ์ ลดเนื้อหาที่ไม่จาเป็น ในชีวิตประจาวันได้ เช่น ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต
บรู ณาการตวั ช้ีวดั มีความยืดหยุน่ มีการพัฒนาสื่อ การเอาตัวรอดในสังคม สร้างประสบการณ์ให้
ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียน โดยผู้เรียนทุกกลมุ่ ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความสุขในการเรียนและ
จะสามารถเข้าถึงได้ ท้ังการเรียนแบบ on-site รักในการเรียนรู้ โดยเป็นกระบวนการวิจัย พัฒนา
และ online โดยควรพัฒนาเทคนคิ การออกเเบบ กระบวนการคิดวิเคราะห์เช่ือมโยงหลากหลาย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน สาระการเรียนรู้ มีการสื่อสารที่ง่ายและรวดเร็ว
ส่งเสริมผู้เรียนให้ร่วมออกแบบการเรียนรู้ มีการ มากข้ึน นาเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการสอน
ใช้เทคโนโลยีการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการ และการส่งงานของผู้เรียน รวมท้ังมีการส่งเสริม
เรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ส่งเสริมการ การเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านวินัย คุณธรรม
เรียนรู้แบบบูรณาการ มีการออกเเบบและพัฒนา จริยธรรม และการรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
สื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ของโลกยุคดิจทิ ลั
สามารถใช้งานร่วมกัน เป็นการลดภาระงานและ
การบ้าน ลดความเครียดของผ้เู รียน และสง่ เสริม  ควรมีการพัฒนากระบวนการจัดการศกึ ษาให้
สุขภาวะของผู้เรียน ให้เป็นไปตามช่วงวัยของ มีความเหมาะสมตามบริบทของพน้ื ท่ีสถานศึกษา
ผู้เรียนอย่างเหมาะสม โดยครูสอดแทรกเรื่องวินัย โดยเป็นความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใน
คุณธรรม จริยธรรม และมารยาทให้กับผู้เรียนด้วย พนื้ ท่ี เช่น ครู ผูบ้ รหิ าร ผ้ปู กครอง ผู้เรียน ผ้นู าชมุ ชน
การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน มีการพัฒนา ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ เพ่ือร่วมกันพัฒนาการศึกษา
ในทกุ มิติ โดยเน้นเนอ้ื หาท่ีจาเป็นใหผ้ เู้ รยี นสามารถ ใหม้ ีคุณภาพและเหมาะสมกบั สถานศึกษา
นาความร้ไู ปใช้ในชีวิตประจาวันได้ เสริมทักษะชวี ิต
ทักษะอาชพี ทักษะการเอาตวั รอดในสังคม จัดการ  ควรปรับการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนการสอนแบบ Active Learning ให้ผู้เรียน และใช้รูปแบบการวัดและประเมิน ผลที่มี
มีส่วนร่วมลงมือทา เป็นการสร้างประสบการณ์ ความหลากหลายสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ
ให้ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติ เรียนการสอน ลดภาระการบ้าน/งานของผู้เรียน
เ น้ น ม อ บ ห ม า ย ง า น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ท า

ช้ินงานน้อยช้ิน แต่สามารถประเมินผลได้หลาย 32
กลุ่มสาระ เพ่ือลดความเครียดของผู้เรียนและ
ผู้ปกครอง รวมทั้งลดการทดสอบที่ไม่จาเป็น ในกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเนื่องเต็มศักยภาพ
ยกระดับการประเมินเพื่อการพัฒนา (Formative รวมทั้งสร้างแรงจูงใจและปลูกฝังการรักในการ
assessment) เพื่อไม่ให้เด็กเสียโอกาสพัฒนา เรียนรู้ใหแ้ กผ่ ้เู รียน
ความรู้และทักษะ เม่ือผู้เรียนไปโรงเรียนตามปกติ
ไม่ได้ ครูกับผู้เรียนก็จะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันลดลง  ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและ
ทาใหค้ รไู มส่ ามารถตดิ ตามพฒั นาการของผู้เรียนได้ เช่ือมโยงประสบการณ์ในชีวิตประจาวันของ
เต็มท่ี อาจทาให้ไม่สามารถรู้ปัญหาของผู้เรียนได้ ผู้เรียน โดยบูรณาการเช่ือมโยงเนื้อหาท้ังภายใน
ทันเวลา โดยเฉพาะความรู้ด้านภาษาและ และระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมถึงการ
การคานวณ ซ่ึงอาจจะส่งผลเสียต่อการเรียนรู้ เช่ือมโยงองค์ความรู้เน้ือหาจากบทเรียนร่วมกับ
ระยะยาว การประเมินเพื่อพัฒนาจึงไม่สามารถลด ประสบการณ์ในชวี ิตประจาวนั ของผู้เรียน ดว้ ยการ
หรือละทิ้งไปได้ทั้งการประเมินเพื่อการเรียนรู้ เรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัว และบริบทจริงของผู้เรียน
(Assessment for learning) ของผู้เรียน เพ่ือให้ และการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ เช่น ผู้ปกครอง
ครูทราบถึงกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยจะ และครูจัดกิจกรรมและออกแบบการเรยี นรูร้ ่วมกัน
สามารถให้ข้อเสนอแนะ และปรับแผนการเรียนรู้
ได้ตรงตามสถานการณ์ และการประเมินซึ่งทาให้  พัฒนาทักษะจาเป็น ความรู้ความสามารถ
เ กิดการเรียนรู้ (Assessment as learning) ของ ของผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน คิดเลขเป็น
ผู้เรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนย้อนคิดถึง และพัฒนาทักษะชีวิตในการเรียนรู้ โดยผ่าน
กระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการน้ีจะทา กระบวนการที่ใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างหลากหลาย
ให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบและเป็นเจ้าของการ พร้อมท้ังสร้างแรงจูงใจ ความสนใจในการเรียนรู้
เรียนรู้ของตนเองมากข้ึน อาศัยการทางานร่วมกัน และเตรียมทบทวนบทเรียนความรู้ของผู้เรียนเม่ือ
ระหว่างผู้เรียน ผู้ปกครองและครู เพื่อติดตาม กลับมาเรียน on-site หลังสถานการณ์โควิด-19
การเรียนรู้ สุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้เรียน ควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
โดยให้ผ้ปู กครองเข้ามามสี ว่ นรว่ มด้วย ในกรณขี อง เพ่ือให้เหมาะสมกับการเรียนรู้วิถีใหม่ ท่ีอาจจะ
เด็กโต อาจจะเพ่ิมการประเมินตนเองและการ ไ ม่ เ ป็ น ก า ร เ รี ย น ใ น ห้ อ ง เ รี ย น เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว
ประเมินเพื่อน (Self & peer assessment) ไปด้วย สอดคล้องกับสถานการณ์ บริบทของพ้ืนท่ี และ
ซ่ึงจะมีประโยชน์ในการช่วยฝึกทักษะการสะท้อน สอดคล้องกับชีวิตประจาวันของผู้เรียน โดยเน้น
คดิ ให้ผู้เรยี นได้อีกทางหนึ่ง รวมถึงเมอ่ื ผเู้ รยี นเข้าใจ การพัฒนาทักษะการอ่านออก การเขียนได้
ตนเองก็จะเป็นโอกาสท่ีจะวางแผนการเรียนรู้ของ คิดเลขเป็นของผู้เรยี น และสามารถใช้เทคโนโลยี
ตนเองรว่ มกบั ผ้ปู กครองและครไู ด้ด้วย ค้น หา ค วา มรู้ ไ ด้ ด้ ว ยต น เ อ งไ ด้ อ ย่า งเ ห ม า ะ ส ม
เพ่อื ใหเ้ ป็นผู้เรียนทมี่ คี ณุ ภาพ
 เสริมสร้างการเรียนรู้แบบนาตนเองหรือการ
กากับตนเองให้แก่ผู้เรียน โดยครูควรกระตุ้นให้  ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล โดย
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ และพร้อม วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาแผนพัฒนา
กลับเข้าสู่ระบบการเรียนรู้อย่างเต็มรูปแบบ โดยมี ผู้เรียนรายบุคคล ส่งเสริมกิจกรรมและมอบหมาย
การสร้างแรงจูงใจ การตั้งเป้าหมาย กระตุ้น งานตามความถนัดของผู้เรียน พัฒนาตามสมรรถนะ
เสริมแรง ให้คาแนะนา กากับติดตาม พัฒนาให้ ของผู้เรียน ควรปรับรูปแบบเรียนรู้ให้ผู้เรียน
ผู้เรยี นสามารถกากบั ตนเองในการเรียนและมีสว่ นรว่ ม ได้พัฒนาตามสมรรถนะของผู้เรียนเป็นสาคัญ
ได้เรียนรู้แบบคิดวิเคราะห์ เกิดความคิดรวบยอด
แก้ปัญหาเป็น มีความคิดสร้างสรรค์ ฝึกการมี
ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพ่ือน และผู้ปกครอง โดยมี

33

การพัฒนาผู้เรียนครบท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและปฏิสัมพันธ์ที่มี
อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ส่งเสริมกิจกรรม คุณภาพระหวา่ งผู้เรียนกับครู ผู้เรียนกับผูเ้ รยี น ครู
เพ่ือผ่อนคลาย ได้ออกกาลังกาย เคลื่อนไหว เพื่อให้ กับผู้บริหาร ผู้เรียนกับผู้ปกครอง ผู้บริหารและครู
เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพกบั ผู้เรยี นมากที่สดุ กบั ผู้ปกครอง ผบู้ รหิ ารและครกู ับชุมชน เพอ่ื เตรียม
เสริมและปรับแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดข้ึน
 ส่งเสริมกิจกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ระหวา่ งการจดั การเรยี นการสอน
เรียนรู้อย่างผ่อนคลาย เช่น เกมการศึกษา หรือ
กิจกรรมศิลปะบาบัด เพื่อให้ผู้เรียนได้ปลดปล่อย
ความคดิ ใช้จินตนาการสร้างสรรค์งานศิลปะตา่ ง ๆ
เสรมิ สร้างการพัฒนาตามวัย

 ควรพัฒนาเทคนิคการออกเเบบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ และการจัดการชน้ั เรียนท่ี
เชื่อมโยงกับความสนใจของผู้เรียน เชื่อมโยงกับ
ชุมชนและบริบทท่ีผู้เรียนอาศัยอยู่ เนน้ การเรยี นรู้
เพื่อการส่งเสริมสุขภาวะของผู้เรียนให้เป็นไปตาม
ช่วงวัยของผู้เรียนอย่างเหมาะสม มีการสอนเสริม
ให้กับผู้เรียนผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยประสาน
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง โดยผู้เรียนควรได้รับ
การฝึกซา้ ยา้ ทวน จากการจดั กิจกรรมออนไลน์เพื่อ
ความเข้าใจมากยิ่งข้ึน และควรเปิดโอกาสให้
ผู้เรียนสืบค้นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาให้มากข้ึน
มี เ ว ที ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ แ ล ก เ ป ล่ี ย น เ รี ย น รู้ ม า ก ข้ึ น
ในระบบออนไลน์

34

3. ดา้ นการพัฒนาครูผสู้ อน

 พัฒนาครูให้ปรับบทบาทเป็น Facilitator  พัฒนาครูและผู้ปกครองที่ต้องรับบทบาท
ผู้อานวยความสะดวก กระตุ้น และสร้างแรง เป็นครู ให้ร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนรู้
บันดาลใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ช่วยเหลือ ทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รียน และเรียนรู้เรอ่ื งจติ วทิ ยาเด็ก
ผเู้ รยี นให้เต็มความสามารถ และจิตวิทยาวัยรุ่น โดย จัดทาคู่มือสาหรับ
ผู้ปกครอง เพ่ือสื่อสารและสร้างความเข้าใจ
 พัฒนาเทคนิคการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เก่ียวกับการจัดการเรียนการรู้ให้แก่ผู้ปกครอง
และการจัดการช้ันเรียนของครู ออกแบบการ เข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับแนวปฏิบั ติและ
จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ ชิ ง รุ ก ( Active Learning) การจัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา
มวี ธิ กี ารสอนที่หลากหลายทันสมยั และประยุกต์ใช้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการสอน  ควรลดภาระงานครูที่ไม่เก่ียวข้องกับการ
ให้เชื่อมโยงกับประสบการณ์ชีวิตประจาวันของ จัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะปัจจุบันภาระงาน
ผู้เรียน ให้มีความน่าสนใจ หลากหลาย ตรงกับ ท่ี ค รู รั บ ผิ ด ช อ บ ใ ช้ เ ว ล า ม า ก ก ว่ า เ ว ล า ท่ี ใ ช้ ใ น
ความต้องการและสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลง การสอน เช่น งานธุรการ งานประเมินที่ต้อง
ดึงดูดความสนใจ และความกระตือรือร้นในการ รายงานหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งงานอื่น ๆ ที่ได้
เรยี นร้ขู องผู้เรียน รับมอบหมาย ทาให้ครูเกิดความเครียด จึงควรลด
ภาระงานของครู เพื่อท่ีครูจะได้มีเวลาพัฒนาเด็ก
 พัฒนาครูด้านการใช้ส่ือและเทคโนโลยี และพฒั นาตนเอง
เพื่อช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
ทั้งการเรียนรู้แบบ Online และ On-site และ
ค ว ร มี แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม ท่ี ห ล า ก ห ล า ย เ พื่ อ ใ ห้ ค รู
ไดเ้ ข้าไปเรียนรู้ตามความถนดั และความสนใจ

 พัฒนาครูให้พร้อมกับความเปลี่ยนแปลง
ครูควรปรับตัวและยอมรับการเรียนรู้ในรูปแบบ
ใหม่ ๆ ให้ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้
ทห่ี ลากหลาย มกี ารอบรมและพัฒนาครูอย่างเป็น
ระบบ

คณะผ้จู ัดทา

ท่ีปรึกษา เลขาธกิ ารสภาการศึกษา
รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
ดร.อรรถพล สงั ขวาสี ผ้ชู ว่ ยเลขาธิการสภาการศึกษา
ดร.สวสั ดิ์ ภทู่ อง
ดร.ภมู ิพทั ธ เรืองแหล่

ผจู้ ดั ทา ผู้อานวยการกลมุ่ พฒั นานโยบายดา้ นการเรียนรู้
นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ
นางสาวอุษา คงสาย นกั วิชาการศึกษาชานาญการ
นางสาวณุตตรา แทนขา นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร
นายสมชาย นัยเนตร นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ
นางฐิติวรดา แหว้ เพช็ ร นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร
นางสาวบญุ นภัส ขาหินตั้ง
นางสาวปณฐั ฐา น้อยเนียม

กราฟิก นกั วชิ าการศึกษาปฏิบัติการ

นางฐติ วิ รดา แห้วเพช็ ร

หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบ

กลุ่มพัฒนานโยบายดา้ นการเรยี นรู้ สานกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้
สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
โทร. 0 2668 7123 ต่อ 2516-9 โทรสาร 0 2243 1129 เว็บไซต์ http://onec.go.th

VDO การประชมุ สมั มนาเรือ่ ง
ผลการเรยี นรขู้ องเดก็ ไทยในสถานการณ์โควดิ -19:

ขอ้ คน้ พบ และข้อเสนอเพ่อื การพัฒนา

เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาฯ

กล่มุ พัฒนานโยบายดา้ นการเรียนรู้ สานักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version