The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับชั้นปฐมวัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rachapoom Somsamai, 2021-04-05 10:09:10

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับชั้นปฐมวัย

แนวทางการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน ระดับชั้นปฐมวัย

การคนควาความจริง
อยางเปนระบบและเชื่อถอื ได

คำนำ

แน วท างก ารเขียน รายงาน การวิจัยใน ชั้นเรียน ดังกล่าวน้ี ข้าพ เจ้าเขียน ข้ึน
จากประสบการณ์ตรงจากตัวข้าพเจ้าเอง อาทิเช่น จากการเล่าเรียนในระดับมหาบัณฑิต
จากการอ่านหนังสือที่เก่ียวข้องกับการทำวิจัยทางการศึกษา จากการอ่านผลงานทางวชิ าการ
และจากการสนทนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างตัวข้าพเจ้าและผู้รู้ท่ีข้าพเจ้าเคารพนับถือ
ตลอดจนการซักถามข้อสงสัยต่าง ๆ ในกระบวนการทำวิจัยในช้ันเรยี นจากคณะครูท่ีต้องการ
เรียนรู้หลาย ๆ ท่าน ซ่ึงประสบการณ์ตรงเหล่าน้ีทำให้ข้าพเจ้าเกิดแนวคิดที่จะนำเสนอ
แนวทางการเขียนรายงานการวิจยั ในชัน้ เรียน ฉบับครผู ู้สอนปฐมวัย โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ที่สำคัญ
ประการหนึ่งคือเพือ่ ให้เพ่ือนครูระดับช้ันปฐมวัยท่ีกำลังทำรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมีเข็มทิศ
ท่ีคอยกำหนดว่า การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนท่ีถูกต้องนั้นควรมีรูปแบบการเขียนที่
เหมาะสมอย่างไรบ้าง แต่ข้าพเจ้าขอเน้นย้ำวัตถุประสงค์ในการเขียนแนวทางเล่มน้ีว่า
เห ม า ะ กั บ ก า ร ศึ ก ษ า เพื่ อ เป็ น แ น ว ท า ง ห รื อ ตั ว อ ย่ า ง ใ น ก า ร เขี ย น ร า ย ง า น ก า รวิ จั ย
ในชั้นเรยี นเท่านั้น ความถูกตอ้ งประการใดคณุ ครตู อ้ งปรึกษาจากผ้รู เู้ ท่านั้น

แนวทางเล่มน้ีข้าพเจ้าจะไม่ลงลึกในรายละเอียดของขั้นตอนหรือกระบวนการทำวิจัย
ในช้ันเรียน เพราะข้าพเจ้ามีความเชื่อว่าคณะครูสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลในเรื่องนี้ได้อย่าง
กวา้ งขวาง ทั้งในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์ การเข้ารบั การอบรมจากหน่วยงานต้นสังกัด การสอบถาม
จากผรู้ ู้ หรือจากแหลง่ คน้ คว้าออนไลน์ทพ่ี บเห็นได้โดยทวั่ ไป

ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร คณะศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารและคณะครูทุกโรงเรียน
ท่ีได้จุดประกายความคิดของข้าพเจ้าในการนำผลึกความรู้ที่ได้สะสมมานาน ให้สามารถ
นำมาใช้เพ่ือพัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาโรงเรียน ท้ายสุดขอกราบขอบพระคุณ
ค ณ า จ า ร ย์ จ า ก ภ า ค วิ ช า ป ร ะ เมิ น ผ ล แ ล ะ วิ จั ย ก า ร ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ทุกท่านทไ่ี ดป้ ระสิทธป์ิ ระสาทวิชาความร้ใู นด้านของการวัดผลการศึกษา
และการวิจัยการศึกษาให้แก่ข้าพเจ้า ประโยชน์ที่เกิดจากการเขียนแนวทางเล่มนี้ ข้าพเจ้า
ขอมอบให้กบั บพุ การขี องขา้ พเจ้า และผ้ทู ี่มีพระคุณในชีวิตของข้าพเจา้ ทุกทา่ น

หากเอกสารเล่มน้ีของข้าพเจ้ามีส่วนผิดพลาดประการใดทั้งจากความตั้งใจหรือ
จากความไม่ตงั้ ใจใด ๆ กต็ าม ข้าพเจ้ายนิ ดีนอ้ มรบั คำตชิ ม เพื่อนำไปพัฒนางานให้สมบูรณ์มาก
ย่งิ ขึ้น

ขอเคารพด้วยจติ คารวะในความเพยี ร
นายรัชภูมิ สมสมยั

สารบัญ หน้า

คำนำ
สารบัญ ข
ตัวอยา่ งการเขยี นปกรายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี น 1
ตัวอยา่ งการเขยี นกติ ตกิ รรมประกาศ 2
ตัวอยา่ งการเขยี นบทคดั ยอ่ 3
ตัวอยา่ งการเขยี นสารบญั
ตัวอยา่ งการเขยี นสารบัญตาราง 6
ตัวอยา่ งการเขียนสารบญั รปู ภาพ (ถา้ มี) 9
ตัวอยา่ งการเขียนสารบัญแผนภูมิ (ถา้ มี) 10
ตัวอยา่ งการเขยี นบทที่ 1 บทนำ 10
ตวั อยา่ งการเขียนบทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
ตวั อยา่ งการเขยี นบทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การศึกษา 11
ตวั อยา่ งการเขียนบทท่ี 4 ผลการศึกษา 15
ตัวอยา่ งการเขยี นบทที่ 5 สรปุ อภิปราย และข้อเสนอแนะ 17
ตัวอยา่ งการเขยี นบรรณานุกรม 30
ตัวอยา่ งการเขียนภาคผนวก
แบบประเมินรายงานการวิจัยในช้ันเรยี น (ฉบับประเมนิ ตนเอง) 37
41
43

46

1

(ตวั อยา่ ง)

การพฒั นาความสามารถทางภาษาด้านการฟงั และการพูด
โดยใชน้ ทิ านประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา
สำหรับนักเรียนชน้ั อนุบาลปที ่ี 2

โดย
.............................................

โรงเรยี น..............................
ตำบล .................. อำเภอ .................. จงั หวดั ..................

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา.................. เขต ..........
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

2

กติ ตกิ รรมประกาศ

(ตวั อย่าง)

งานศึกษาค้นควา้ เล่มน้ีสำเรจ็ ได้ด้วยความกรุณาจากคณาจารย์ผเู้ ชี่ยวชาญหลายท่าน
ดังรายนามที่อยู่ในภาคผนวก ท่ีได้ให้แนวคิด ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ จนงาน
ศกึ ษาค้นคว้าเล่มนเี้ สรจ็ สมบรู ณ์ ผู้ศึกษาจงึ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสงู

ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญดังรายนามในภาคผนวก ก ท่ีได้ตรวจสอบและให้
คำแนะนำในการสร้างเคร่ืองมือ และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ีได้ให้ความ
ช่วยเหลอื จนงานศึกษาค้นควา้ น้ีสำเรจ็ ลงดว้ ยดี

ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูและนักเรียนโรงเรียน....................ทุกคน ที่ได้ให้ความ
อนุเคราะห์ความรู้ ช่วยเหลือ แนะนำ และให้กำลังใจ ตลอดจนการเก็บข้อมูลเพ่ือการศึกษา
ค้นคว้าในครง้ั นี้

ท้ายสุดขอขอบคุณ ครอบครัว....................ท่ีได้ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุน
และให้กำลังใจดว้ ยดีตลอดมา

..........ชอ่ื ผจู้ ัดทำ.........

3

ชอ่ื เรือ่ ง การพฒั นาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู

โดยใชน้ ิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา
สำหรับนักเรยี นชัน้ อนุบาลปีท่ี 2

ผู้ศกึ ษา .......................................

ปีท่ีทำการศึกษา ....................

บทคัดย่อ

(ตวั อย่าง)

การศกึ ษาครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ีพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็ก

อนุบาลปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/80 , เพ่ือศึกษาความสามารถทางภาษาด้าน

การฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ภายหลังเรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก

ทักษะทางภาษา และเพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ท่ีมีต่อการเรียนการสอน

ด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา กลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ช้ในการศกึ ษาครงั้ นี้ ไดแ้ ก่

นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

.................... เขต .......... ปีการศึกษา .................. จำนวน .................... คน โดยวิธีสุ่ม

....................เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศกึ ษาครั้งนี้นทิ านประกอบภาพ จำนวน 10 เรื่อง และเกม
ฝึกทักษะทางภาษา จำนวน 25 เกม , แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทาน

ประกอบภาพ และเกมฝกึ ทักษะทางภาษาเพ่ือพัฒนาความสามารถทางภาษาดา้ นการฟังและ

การพูด จำนวน 10 หน่วย รวมทั้งหมด 50 แผน , แบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษา

ด้านการฟัง และการพูดของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 โดยการประเมินเด็กหลังจากที่เด็กผ่านการจัด

ประสบการณ์ทางภาษาโดยใช้นิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา , แบบประเมิน

ความพร้อมด้านการฟังและการพูดโดยการสังเกตพฤติกรรมทางภาษา ขณะเด็กร่วมกิจกรรม

ตามแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยใช้นิทานประกอบภาพ และ เกมฝึกทักษะทาง

ภาษาจำนวน 10 หน่วย ๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 คร้ัง และแบบประเมินความพึงพอใจของ

4

นักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา
สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู คือ หาความเทีย่ งตรงเชงิ เนื้อหาโดยใช้ดัชนีความสอดคล้องของ
ความเห็นของผู้เช่ยี วชาญ หาประสิทธิภาพของนทิ านประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา
ด้วยวธิ ี E1/E2 เปรยี บเทียบคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรียนโดยการทดสอบที (t-test) และศกึ ษา
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อนิทานประกอบภาพ และ เกมฝึกทักษะทางภาษาโดยใช้
คา่ เฉล่ีย ( X ) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD) ผลการศึกษาสรปุ ไดด้ ังน้ี

สรุปผลการศกึ ษา
ผลการศึกษาสรุปไดด้ งั น้ี
1. ผลการหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ี

พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด ของเดก็ อนบุ าลปที ่ี 2 ตามเกณฑ์ 80/80
พบวา่

1.1 ความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเรื่องราวในการฟังประสิทธิภาพ
ของกระบวนการ E1/E2 มีค่าเท่ากับ 80.10/82.40 ความสามารถทางภาษาการพูดเล่าเร่ือง
สัมพนั ธ์กบั ภาพของกระบวนการ E1/E2 มีคา่ เท่ากับ 82.90/91.40

1.2 ความสามารถทางภาษาด้านความเขา้ ใจคำส่ังและปฏิบัติตามประสิทธภิ าพ
ของกระบวนการ E1/E2 มคี ่าเท่ากบั 90.04/88.00

2.ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาดา้ นการฟังและการพูดของเด็กอนบุ าลปที ี่ 2
ภายหลังเรยี นด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา พบวา่

2.1 เมื่อใช้นิทานประกอบภาพพัฒนาความสามารถทางภาษาของเด็กอนุบาล
ปีท่ี 2 ด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง การทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 4.12
คะแนน และ เม่ือเปรียบเทียบระหว่างเกณฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนพบว่า
คะแนนสอบหลังเรยี นสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วนด้านการพูดเลา่
เร่ืองสัมพันธ์กับภาพการทดสอบหลังเรียนของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 มีคะแนนเฉล่ีย 4.57 คะแนน
และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างเกณ ฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนพบว่า
คะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวา่ เกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05

5

2.2 เมื่อใช้เกมฝึกทักษะทางภาษาพัฒ นาความสามารถทางภาษาของ
เด็กอนุบาลปีที่ 2 ด้านความเข้าใจคำส่ังและปฏิบัติตามการทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากับ 4.40 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบระหวา่ งเกณฑ์กับการทดสอบหลังเรยี นของนักเรียน
พบว่า คะแนนทดสอบหลงั เรยี นสูงกวา่ เกณฑอ์ ย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05

3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของเด็กอนบุ าลปที ่ี 2 ทม่ี ีต่อการเรียนการสอนด้วย
นิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา

3.1 โดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอน
ด้วยนิทานประกอบภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ
พบว่านักเรยี นมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกรายการ

3.2 โดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยเกม
ฝกึ ทักษะทางภาษาอยใู่ นระดับมาก โดยมคี ่าเฉลยี่ เท่ากบั 2.79 เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อพบว่า
นกั เรยี นมีความคิดเหน็ อยู่ในระดับมากทกุ รายการ

หมายเหตุ
บทคัดยอ่ จะมลี กั ษณะทเี่ หมือนกับส่วนแรกของบทท่ี 5

6

สารบญั

(ตัวอย่าง)

กิตติกรรมประกาศ หน้า
พยญั ชนะไทย
บทคดั ย่อ พยัญชนะไทย
สารบัญตาราง พยัญชนะไทย
สารบญั รปู ภาพ (ถ้าม)ี พยัญชนะไทย
สารบญั แผนภูมิ (ถ้ามี) พยัญชนะไทย
บทที่ 1 บทนำ
ตวั เลข
ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา ตวั เลข
วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา ตัวเลข
ขอบเขตของการศึกษา ตวั เลข
ตัวเลข
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ตัวเลข
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการศึกษา ตัวเลข
ตัวเลข
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง ตัวเลข
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2560 ตวั เลข
ลกั ษณะสำคญั ความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู
ลกั ษณะสำคัญและการหาประสทิ ธิภาพของนทิ านประกอบภาพ และเกม ตัวเลข
ฝึกทักษะ ตวั เลข
การประเมนิ ความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู ตัวเลข
ตวั เลข
การศกึ ษาความพงึ พอใจ ตัวเลข
งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตวั เลข
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา ตวั เลข
ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง ตวั เลข
เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา
การสรา้ งและหาประสิทธขิ องเครอ่ื งมอื

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

7

สารบญั (ตอ่ )

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา (ตอ่ ) หน้า
การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถติ ทิ ่ีใช้
ตวั เลข
เกณฑ์การแปลผลความพึงพอใจของนกั เรยี น ตัวเลข
ตวั เลข
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
ตัวเลข
ตอนท่ี 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทาง
ภาษาที่พฒั นาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู ของเดก็ อนบุ าล ตัวเลข
ปที ี่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80
ตวั เลข
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู ของเด็ก ตวั เลข
อนุบาลปีที่ 2 ภายหลงั เรยี นด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทาง ตัวเลข
ภาษา ตัวเลข
ตวั เลข
ตอนท่ี 3 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของเดก็ อนบุ าลปีท่ี 2 ที่มีตอ่ การเรียน ตวั เลข
การสอนด้วยนทิ านประกอบภาพและเกมฝกึ ทักษะทางภาษา ตวั เลข
ตวั เลข
บทท่ี 5 สรปุ อภิปราย และข้อเสนแนะ ตัวเลข
สรปุ ผลการศกึ ษา ตัวเลข

อภปิ รายผล ตัวเลข
ตัวเลข
ข้อเสนอแนะ ตวั เลข

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก (ปรับไดต้ ามความเหมาะสม)

ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชย่ี วชาญ

ภาคผนวก ข ผลการพิจารณาแผนการจัดการเรยี นร้ขู องผเู้ ชี่ยวชาญ

ภาคผนวก ค ผลการหาประสิทธิภาพ (คะแนนดิบ) ของนวัตกรรม

ภาคผนวก ง ผลการพิจารณาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผเู้ ชี่ยวชาญ

ภาคผนวก จ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นฉบับสมบูรณ์

ภาคผนวก ฉ ผลการพจิ ารณาแบบวัดความพึงพอใจของผ้เู ชีย่ วชาญ

8

สารบัญ (ตอ่ )

ภาคผนวก (ตอ่ ) แบบวดั ความพงึ พอใจฉบบั สมบูรณ์ หน้า
ภาคผนวก ช หนงั สอื ราชการขอความอนเุ คราะหใ์ นการทำวจิ ยั ตวั เลข
ภาคผนวก ซ หนงั สือราชการประกอบการเผยแพร่ และตอบรบั ตวั เลข
ภาคผนวก ฌ บรรยากาศขณะดำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ตัวเลข
ภาคผนวก ญ ตวั เลข
ตวั เลข
ประวตั ผิ ู้เขียน

9

สารบญั ตาราง

(ตัวอย่าง)

ตาราง หน้า
ตัวเลข
1 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของกระบวนการ (E1) และประสทิ ธิภาพของ
ผลลพั ธ์ (E2) จากการจดั ประสบการณโ์ ดยใช้นทิ านประกอบภาพเพื่อพัฒนา ตัวเลข
ความสามารถทางภาษา ของเดก็ อนุบาลปีท่ี 2 ด้านความเขา้ ใจเรื่องราวใน
การฟัง และด้านการพูดเล่าเรอ่ื งสัมพนั ธ์กับภาพ จำนวน 30 คน ตวั เลข

2 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธภิ าพของ ตวั เลข
ผลลัพธ์ (E2) จากการจดั ประสบการณ์โดยใช้เกมฝึกทกั ษะทางภาษาเพื่อ
พัฒนาความสามารถทางภาษาของเด็กอนบุ าลปีท่ี 2 ด้านการฟังคำสั่งและ ตัวเลข
ปฏิบัตติ าม จำนวน 30 คน ตัวเลข

3 แสดงค่าเฉล่ียค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าสถิตทิ ดสอบที และระดับ
นัยสำคญั ทางสถิติของการทดสอบเปรยี บเทยี บกับเกณฑร์ ้อยละ 80 กบั
คะแนนสอบหลงั เรยี นของนักเรียนดา้ นความเข้าใจเรือ่ งราวในการฟังและการ
พูดเล่าเรอื่ งสัมพันธ์กบั ภาพ

4 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที และระดบั
นยั สำคัญทางสถิติของการทดสอบเปรียบเทียบกบั เกณฑ์รอ้ ยละ 80 กบั
คะแนนสอบหลงั เรยี นของนักเรียน ด้านความเขา้ ใจคำสั่งและปฏบิ ัติตาม

5 แสดงค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ตี อ่
การเรยี นการสอนดว้ ยนทิ านประกอบภาพ

6 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนกั เรียน
ทีม่ ีต่อการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา

สารบญั รูปภาพ (ถา้ ม)ี 10

รปู ภาพที่ หน้า
1 รายละเอียดรูปภาพ ตวั เลข
2 รายละเอียดรปู ภาพ ตัวเลข
3 รายละเอยี ดรปู ภาพ ตัวเลข
4 รายละเอยี ดรูปภาพ ตัวเลข
5 รายละเอยี ดรปู ภาพ ตวั เลข

สารบญั แผนภมู ิ (ถา้ มี) หน้า
ตัวเลข
แผนภูมิที่
1 รายละเอยี ดแผนภมู ิ ตัวเลข
2 รายละเอียดแผนภมู ิ ตัวเลข
3 รายละเอียดแผนภมู ิ ตัวเลข
4 รายละเอียดแผนภมู ิ ตัวเลข
5 รายละเอียดแผนภมู ิ

หมายเหตุ

ให้ใสต่ าราง เพือ่ ให้งา่ ยตอ่ การปรับชดิ ซา้ ย ชิดขวา
และเมอ่ื แบบฟอรม์ ถกู ต้องแลว้ ก่อนพมิ พใ์ หป้ รบั ตารางเปน็ โปร่งใส

11

บทท่ี 1
บทนำ

(ตัวอย่าง)

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา (ควรเขยี นจากกวา้ งไปสูแ่ คบ และมอี า้ งองิ เสมอ)
(ตวั อยา่ ง)
ย่อหนา้ แรกควรกลา่ วถึงความสำคญั ของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2560
ย่อหน้าสองควรกล่าวถึงความสำคัญของความสามารถหรือประสบการณ์ท่ีครูได้

ทำการศึกษา (ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปญั ญา)
ย่อหน้าสามควรกล่าวถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มประสบการณ์ท่ี

ครไู ดท้ ำการศกึ ษา
ยอ่ หน้าสี่ควรกล่าวถงึ สภาพปัญหาที่เกดิ ขน้ึ จรงิ ในช้ันเรียนของครู
ย่อหน้าห้าควรกล่าวถึงความสำคัญ /ประโยชน์ของนวัตกรรมที่ครูเลือกใช้

เพ่ือสนับสนนุ การแก้ปญั หาที่เกิดจากยอ่ หน้าสี่
ย่อหนา้ สดุ ท้ายสรปุ ใหช้ ัดเจนถึงความจำเป็นที่ต้องทำวิจัยเรอื่ งนี้

วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทักษะทางภาษา

ที่พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ให้มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80

2. เพ่ือศึกษาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2
ภายหลงั เรียนดว้ ยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ที่มีต่อการเรียนการสอนด้วย
นทิ านประกอบภาพและเกมฝึกทกั ษะทางภาษา

12

สมมตฐิ านการศกึ ษา
1. นิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ีสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่า

เกณฑ์ 80/80
2. ความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2 สูงข้ึน

ภายหลงั เรียนดว้ ยนทิ านประกอบภาพ และเกมฝกึ ทักษะทางภาษา
3. เด็กอนบุ าลปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทาง

ภาษาอยูใ่ นระดับดี

ขอบเขตการศึกษา
ขอบเขตดา้ นประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนช้ันอนุบาลปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา

.................... โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา.................... เขต ..........
จำนวน .................... คน

ขอบเขตด้านเนื้อหา
ประสบการณ์ท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ประสบการณ์ที่ส่งเสริมพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา ชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และ
หลักสูตรสถานศึกษา ในเร่ืองเร่ืองความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด (ให้เขียน
เฉพาะเนอื้ หาที่เราต้องการพัฒนานักเรียน ไมใ่ ช่ใส่ช่ือนวัตกรรม)
ขอบเขตด้านตวั แปร
ตวั แปรอิสระ คือ 1. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยนิทานประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษา
ตัวแปรตาม คือ 1. ความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู

2. ความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ีต่อนิทานประกอบภาพ และ
เกมฝึกทักษะทางภาษา

ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
ระบุถึงช่วงเวลา เดือน ปี พ.ศ. ท่ีทำการวิจัยครั้งนี้ (แนะนำควรระบุเป็นปี
การศกึ ษา)

13

นิยามศัพท์เฉพาะ
นิทานประกอบภาพ หมายถึง นิทานหรือเร่ืองราวที่มีภาพประกอบซึ่งผู้ศึกษา

จัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบการเล่านิทานมีลักษณะเป็นแผน่ ภาพขนาด 29 ซม.  21 ซม.จำนวน
6-7 แผ่น ตอ่ นิทานหนึ่งเร่อื ง นิทานมีลักษณะเรอ่ื งราวที่ให้ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกับสิ่งที่เด็กควร
รู้สอดคล้องกับเนื้อหาในหน่วยประสบการณ์ที่กำหนด ท้ังหมด 10 เร่ือง มีข้ันตอนในการใช้
นิทานประกอบภาพดงั นี้

1.1 ครูเล่านิทานประกอบภาพให้เด็กฟัง
1.2 เดก็ และครูร่วมสนทนา ตอบคำถาม และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั
เรอื่ งราวในนิทานท่ฟี ัง
1.3 เด็กเลา่ เร่ืองซ้ำเป็นกลุม่ และเป็นรายบคุ คล
1.4 เด็กแสดงบทบาทสมมุติ
เกมฝึกทักษะทางภาษา หมายถึง กิจกรรมที่ช่วยฝึกทักษะทางภาษาทาง
ด้านการฟังโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้เด็กคุ้นเคยกับการฟังคำส่ัง และสามารถปฏิบัติตามได้
ถูกต้องด้วยตนเอง ลักษณะของเกมมีเนื้อหาสัมพันธ์กับหน่วยการจัดประสบการณ์
ของแต่ละหนว่ ยท่ีกำหนดไว้
ประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา หมายถึง
เกณฑ์มาตรฐานท่ใี ช้ในการประเมนิ ประสิทธภิ าพของนทิ านประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทาง
ภาษาซึ่งกำหนดเกณฑ์ไว้ 80/80 โดย
80 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉล่ียร้อยละ 80 ของคะแนนท่ีเด็กได้รับการ
พัฒนาขณะรว่ มกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยนทิ านประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา
โดยการสังเกตพฤตกิ รรมทางภาษา
80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนที่ได้รับการพัฒนา
หลังจากผ่านการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะ
ทางภาษา จำนวน 10 หน่วย จำนวน 50 แผน โดยการทดสอบวัดความสามารถทางภาษา
ดา้ นการฟังและการพูดทผ่ี ศู้ กึ ษาสรา้ งขน้ึ
ความสามารถด้านการฟัง หมายถึง ความสามารถเข้าใจคำส่ังและปฏิบัติตามได้
ถูกตอ้ ง และสามารถเข้าใจเรอื่ งราวในการฟงั ดงั นี้
เข้าใจคำสั่งปฏิบัติตาม หมายถึง ความสามารถเข้าใจสิ่งที่ครูพูดและ
ปฏิบัติตามได้ถูกต้อง โดยประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมทางภาษาขณะท่ีเด็กเล่นเกมฝึก

14

ทักษะทางภาษาในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ถูกต้อง
จากการทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบที่ผูศ้ กึ ษาสรา้ งขนึ้

เข้าใจเร่ืองราวในการฟัง หมายถึง ความสามารถในการร่วมสนทนา
โต้ตอบ ตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องราวนิทานท่ีฟังโดยประเมินจากการ
สังเกตพฤติกรรมทางภาษาขณะร่วมกิจกรรม ใช้นิทานประกอบภาพในกิจกรรมเสริม
ประสบการณ์และสามารถตอบคำถามได้ถูกต้องจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบท่ีผู้ศึกษา
สรา้ งขึ้น

ความสามารถด้านการพูด หมายถึง ความสามารถเล่านิทานประกอบภาพ
เป็นเรื่องราวท่ีต่อเนื่อง สัมพันธ์กับภาพ โดยประเมินการเล่านิทานประกอบภาพทีละคน
คนละ 10 เรอื่ ง หลังจากเรยี นจบในแต่ละหน่วยประสบการณ์ และสามารถเล่าเรอื่ งสนั้ ๆ เป็น
เร่ืองราวท่ีต่อเน่ือง และสัมพันธ์กับภาพได้ โดยใช้แบบประเมินโดยการสังเกตโดยใช้ผู้ร่วม
ประเมิน เปน็ ผู้ชว่ ยผศู้ กึ ษาได้คัดเลือก มาชว่ ยในการศึกษาในคร้ังน้ี

เด็กอนุบาลปีที่ 2 หมายถึง เด็กปฐมวัยชาย และหญิงมีอายุระหว่าง 5 - 6 ปี
ท่ีกำลงั ศกึ ษาอยใู่ นภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2557

ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีต่อการเรียนการสอน
ด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา วัดความพึงพอใจโดยการประเมิน
ประกอบการสมั ภาษณ์

ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการศกึ ษา
1. เด็กอนุบาลปีท่ี 2 ได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟัง และ

การพูดท่ีสงู ขน้ึ
2. เป็นแนวทางศึกษาวิธีการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบ

ภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา เพื่อพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด
ของเดก็ อนบุ าลปีท่ี 2

3. เปน็ แนวทางให้ครู และผู้ทเี่ ก่ียวข้องเห็นความสำคัญของการพัฒนาความสามารถ
ทางภาษาด้านการฟงั และการพดู ของเด็กปฐมวัย

15

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง

(ตัวอย่าง)

การศกึ ษาคร้ังนี้มวี ัตถุประสงค์เพอื่ สร้างและหาประสิทธิภาพของนทิ านประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ีพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็ก
อนุบาลปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 , เพื่อศึกษาความสามารถทางภาษาดา้ น
การฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ภายหลังเรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก
ทักษะทางภาษา และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ท่ีมีต่อการเรยี นการสอน
ดว้ ยนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา โดยผ้ศู ึกษาไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่
เก่ยี วขอ้ ง ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

1. หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ.2560
2. ลกั ษณะสำคัญความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู
3. ลักษณะสำคัญและการหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก
ทกั ษะ
4. การประเมนิ ความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด
5. การศึกษาความพึงพอใจ
6. งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560
เนอ้ื หา...(อยา่ ลืมการอ้างอิง ช่ือผู้แต่ง , พ.ศ.ทพ่ี มิ พ์ , หน้าท่ี)

ลักษณะสำคัญความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู
เนื้อหา...(อยา่ ลมื การอา้ งอิง ชื่อผู้แต่ง , พ.ศ.ที่พมิ พ์ , หนา้ ที)่

ลักษณะสำคญั และการหาประสิทธภิ าพของนิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะ
เนอ้ื หา...(อยา่ ลมื การอา้ งอิง ชื่อผแู้ ต่ง , พ.ศ.ท่พี ิมพ์ , หน้าที่)

การประเมินความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพดู
เน้ือหา...(อย่าลืมการอา้ งองิ ชื่อผแู้ ต่ง , พ.ศ.ทพ่ี มิ พ์ , หน้าท่ี)

16

การศกึ ษาความพึงพอใจ
เนื้อหา...(อยา่ ลมื การอา้ งองิ ชื่อผแู้ ต่ง , พ.ศ.ทีพ่ ิมพ์ , หน้าท่)ี

งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วข้อง
เน้อื หา…(เรยี งลำดับตามปีท่ีพมิ พ์ และอยา่ ลมื การอ้างอิง)

(ทง้ั 6 หวั ขอ้ น้เี ป็นหวั ขอ้ ตวั อย่างขั้นต่ำทต่ี อ้ งปรากฏอยู่ในบทท่ี 2
และหากมเี วลาครูสามารถเพม่ิ เติมหวั ขอ้ อืน่ ๆ ไดต้ ามความเหมาะสม)

17

บทท่ี 3
วิธดี ำเนินการศึกษา

(ตัวอยา่ ง)

การศึกษาครั้งน้ีมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างและหาประสิทธภิ าพของนิทานประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษาที่พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็ก
อนุบาลปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 , เพื่อศกึ ษาความสามารถทางภาษาด้าน
การฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ภายหลังเรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก
ทกั ษะทางภาษา และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ที่มีต่อการเรียนการสอน
ด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา โดยผู้ศึกษาได้ดำเนนิ การตามรายละเอียด
ดงั ต่อไปนี้

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการศึกษา
3. การสรา้ งและหาประสิทธิของเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ใ่ี ช้
6. เกณฑ์การประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีต่อนิทานประกอบภาพและเกมฝกึ

ทักษะทางภาษา

ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นนักเรียนช้ันอนุบาลปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา

.................... โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา.................... เขต ..........
จำนวน .................... คน (ถา้ เป็นประชากรอยา่ งเดยี ว ก็ไม่ต้องมีกลุ่มตัวอยา่ ง)

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีคือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 (นักเรียนในชั้น
จ ริ ง ๆ ข อ ง ค รู ) โ ร ง เ รี ย น ....................ส ำ นั ก ง า น เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
...............................................เขต ......... ปีการศึกษา ....................จำนวน .................... คน
ซึ่งได้มาจากวิธีสุม่ อยา่ งง่าย (Simple Random Sampling)

18

เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา
เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาครงั้ นี้ ประกอบด้วย
1. นิทานประกอบภาพ จำนวน 10 เร่ือง และเกมฝึกทักษะทางภาษา จำนวน 25

เกม
2. แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพ และเกมฝึก

ทักษะทางภาษา เพ่ือพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด จำนวน 10
หนว่ ย รวมทั้งหมด 50 แผน

3. แบบทดสอบวดั ความสามารถทางภาษาด้านการฟัง และการพูดของเด็กอนุบาลปี
ท่ี 2โดยการประเมินเด็กหลังจากที่เดก็ ผ่านการจัดประสบการณ์ทางภาษาโดยใชน้ ิทานประกอบ
ภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา

4. แบบประเมินความพร้อมด้านการฟังและการพูดโดยการสังเกตพฤติกรรมทาง
ภาษา ขณะเด็กร่วมกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยใช้นิทาน
ประกอบภาพ และ เกมฝึกทกั ษะทางภาษาจำนวน 10 หนว่ ย ๆ ละ 1 ครัง้ รวม 10 คร้งั

5. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มีต่อการจดั การเรียนการสอนดว้ ยนิทาน
ประกอบภาพ และเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา

วิธสี รา้ งเครือ่ งมอื ในการศึกษา
ผศู้ ึกษาขอกล่าวถึงขั้นตอนการสรา้ งเครื่องมอื ตามลำดับดงั น้ี
1. การดำเนินการสร้างและหาคุณภาพแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์

โดยใชน้ ิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทักษะทางภาษามีขัน้ ตอน ดงั นี้
1.1 การสรา้ งนิทานประกอบภาพ มีขัน้ ตอน ดังนี้
1.1.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั นิทานประกอบภาพ
1.1.2 สร้างนทิ าน กำหนดให้เนอื้ เร่อื งของนิทานเป็นเร่ืองสั้น ๆ ใช้ภาษาง่าย ๆ

เรื่องราวสอดคลอ้ งกับเนื้อหาในหน่วยการจัดประสบการณ์ของแตล่ ะหนว่ ยที่กำหนดไว้เป็นเร่ือง
ทีเ่ ด็กในวัย 5 - 6 ปี สนใจ ใกล้ตัวเด็ก เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย สอดคล้องกับการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน มีคติสอนใจ และสามารถนำแบบอย่างท่ีดีของตัวละครมาใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้

1.1.3 นำเน้ือเร่อื งของนิทานท่ีได้ในแต่ละเร่ืองไปวาดภาพเป็นภาพลายเส้นง่าย
ๆ เน้นสัดส่วนภาพ ขนาดของภาพ 29 ซม.  21 ซม. จำนวน 6 - 7 ภาพ มีรายละเอียดของ
ภาพไม่ซับซ้อนเหมาะสมกับวัยเด็ก ลักษณะของภาพสอดคล้องกับเนื้อเรื่องแสดงอารมณ์

19

ความรู้สึกและการเคล่ือนไหว สีของภาพเน้นสีที่สดใส โดยยึดหลักการจัดทำหนังสือภาพ
สำหรบั เดก็ ปฐมวยั ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช (2540 : 489-518)

1.2 การสรา้ งเกมฝกึ ทักษะทางภาษา
1.2.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับเกมฝึกทักษะทางภาษา
1.2.2 รวบรวมเกมจากเอกสารต่าง ๆ มาปรับวิธีการเล่น กติกา เน้ือหา

ให้สอดคล้องกับเน้ือหา ของหน่วยการจัดประสบการณ์ และเหมาะสมกับวัยเด็ก
ปรบั กิจกรรมการเล่นโดยมีจดุ มุ่งหมายเพ่ือฝึกทักษะการฟังคำส่ังให้เข้าใจ และสามารถปฏิบัติ
ตามได้ถูกต้องด้วยตนเอง ให้เด็กฝึกคิด ตามจินตนาการของตนเอง แล้วถ่ายทอดออกมาเป็น
คำพูด ส่งเสริมสื่อความหมายให้ผู้อ่ืนได้เข้าใจ ลักษณะของเกมเน้นทักษะทางภาษาดา้ นการ
ฟังและการพูด ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้ครบท้ัง 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านร่างกาย
อารมณ์-จิตใจ สงั คมและสติปัญญา

1.3 การสร้างแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทักษะทาง
ภาษา

1.3.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 คู่มือหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย 2560 หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียน............. และเอกสาร อื่น ๆ
ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

1.3.2 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียน..........................
ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ ของเด็ก
ปฐมวัยอายุ 5- 6 ปี เพอื่ นำไปพจิ ารณาสาระการเรียนรู้

1.3.3 วิเคราะห์สาระการเรียนรู้โดยศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาในส่วนที่เป็น
สาระการเรียนรซู้ ึ่งกำหนดไว้ 2 ส่วน คือ สว่ นทีเ่ ป็นประสบการณ์สำคัญ และสว่ นท่ีเปน็ สาระที่
ควรเรียนรู้ทำการวเิ คราะห์ และเลอื กหัวเรื่องเพ่อื นำมากำหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ทต่ี รง
กับความสนใจ ความเหมาะสมกับวัย และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถนิ่ และการดำเนินชีวติ
ประจำวันของเด็ก

1.3.4 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีพัฒนาการทางภาษาด้าน
การฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี วธิ ีการจดั กจิ กรรมส่งเสริม ความสามารถทาง
ภาษาด้านการฟัง และการพูด แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ และการจดั กิจกรรม
เสรมิ ประสบการณ์ของกระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 62-63) เพ่ือเป็นแนวทางในการเขียน
แผนการจัดประสบการณ์

20

1.3.5 กำหนดเนื้อหาหน่วยการจัดประสบการณ์ เพ่ือจัดทำแผนการจัด
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่เด็กสนใจ เรื่องใกล้ตัวเด็ก และสอดคล้องกับสาระท่ีควรรู้ของ
หลักสูตรปฐมวัยพุทธศักราช 2560 จำนวน 10 หน่วยประสบการณ์ ดังน้ี 1) หน่วยตัวฉัน
2) หน่วยร่างกายของเรา 3) หน่วยสะอาดกายสบายชีวา 4) หน่วยอาหารดีมีประโยชน์
5 ) ห น่ วย ห นู น้ อ ย น่ ารัก 6 ) ห น่ วย งาม อ ย่ า งไท ย 7) ห น่ ว ย ค รอ บ ค รัว อ บ อุ่ น
8) หนว่ ยโรงเรียนของเรา 9) หนว่ ยดอกไม้สีสวย 10) หน่วยสตั ว์โลกผู้น่ารัก

1.4 การสร้างแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพ และ
เกมฝกึ ทกั ษะทางภาษาโดยมีกรอบรายละเอยี ด ดังนี้

1. ชื่อหนว่ ย ชื่อแผน วัน เดอื น ปี ระยะเวลา
2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3. ส าระการเรีย น รู้แบ่งเป็น 2 ส่ วน คือ ส าระท่ีค วรรู้แล ะ
ประสบการณ์สำคัญ.
4. วธิ ดี ำเนินการสอน
5. สือ่ การเรยี นการสอน และแหลง่ การเรียนรู้
6. การวดั ผลประเมินผล
1.5 นำแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพ และ
เกมฝึกทักษะทางภาษาของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร ด้านแผนการจัด
ประสบการณ์พิจารณาความสอดคล้อง และความเหมาะสมของ แผนการจัดกิจกรรม
เสริมประสบการณ์ นิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา เพ่ือหาค่าดัชนีความ
สอดคลอ้ ง (IOC) ประกอบด้วยผู้เชีย่ วชาญจำนวน 5 ท่าน รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ก
1.6 นำคะแนนจากระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญท้ัง 5 ท่าน หาค่าดัชนี
ความสอดคล้อง ( IOC) เท่ากับ 0.50 ถือว่าใช้ได้ ซ่ึงในการศึกษาคร้ังนี้ได้ค่าดัชนีความ
สอดคล้อง ( IOC )เทา่ กบั 1.00 ซงึ่ ถือว่ามคี วามเหมาะสม (รายละเอียดภาคผนวก.....หนา้ ....)
1.7 ปรบั ปรงุ แผนการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์โดยใชน้ ทิ านประกอบภาพและเกม
ฝึกทกั ษะทางภาษาของเดก็ อนุบาลปที ่ี 2 ตามคำแนะนำของผเู้ ชยี่ วชาญ
1.8 นำนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษาเพื่อพัฒนาการฟังและการพูด
ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 ไปทดลองใช้กับเด็กอนุบาลปีที่ 2 จำนวน 3 คน ท่ีมีระดับ
ความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ 1 คน โรงเรียน.....................ในภาคเรียนท่ี
.............. ปีการศึกษา............ จำนวน 3 คน พบข้อทคี่ วรปรับปรงุ แก้ไข ดงั หัวข้อตอ่ ไปนี้

21

1.8.1 ปรับเน้ือเร่ืองของนทิ านให้สน้ั และลดจำนวนภาพนิทานลงใหเ้ หมาะสม
กับวยั เดก็

1.8.2 ปรับข้ันตอนการเล่นเกมให้กระชับเน้นให้เด็กได้รับความสนุกสนาน
และมีส่วนร่วมทุกคน หาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ พัฒนาความสามารถด้านการ
เข้าใจเรื่องราวในการฟัง ไดค้ ่า E1 เท่ากับ 80.80 และค่า E2 เท่ากับ 83.40 ด้านการพูด
เล่ าเรื่อ งสั ม พั น ธ์ กั บ ภ าพ ได้ ค่ า E1 เท่ า กั บ 83.33 แ ล ะค่ า E2 เท่ ากั บ 80.00
ด้านความสามารถการฟังเข้าใจคำสั่งปฏิบัติตาม โดยใช้เกมฝึกทักษะทางภาษา ได้ค่า E1
เท่ากับ 84.43 และค่า E2 เท่ากับ 80.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (แสดงคะแนน
ภาคผนวก.......หนา้ ........)

1.9 นำนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา เพื่อพัฒนาการฟังและการพูด
ของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ไปทดลองใช้กับเด็กอนุบาลปีท่ี 2 จำนวน 9 คน ที่มีระดับ
ความสามารถ เก่ง ปานกลาง และอ่อน อย่างละ 3 คน โรงเรียน.....................ในภาคเรียนท่ี
.............. ปีการศึกษา............ พบข้อแก้ไขด้านนิทานประกอบภาพควรให้เด็กได้ฝึกพูดเป็น
รายบุคคลและเป็นกลุ่ม ด้านเกมฝึกทักษะทางภาษาควรปรับปรุงคำส่ังหรือเง่ือนไขการ
เล่นโดยใช้ประโยคสั้น ๆ ง่าย ๆ ชัดเจน ไม่เน้นการแข่งขันให้เด็กได้มีส่วนร่วม เพ่ือหา
ประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ พัฒนาความสามารถด้านการเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง
ไดค้ ่า E1 เทา่ กบั 81.77 และค่า E2 เท่ากับ 83.40 ด้านการพูดเล่าเรื่องสัมพันธ์กับภาพ ได้ค่า
E1 เท่ากับ 80.33 และค่า E2 เท่ากับ 80.00 ด้านความสามารถการฟังเข้าใจคำสั่งปฏิบัติตาม
โดยใช้เกมฝึกทักษะทางภาษา ได้ค่า E1 เท่ากับ 83.00 และค่า E2 เท่ากับ 80.00 ซึ่งสูงกว่า
เกณฑ์ที่กำหนด (แสดงคะแนนภาคผนวก.......หน้า........)

1.10 นำนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาเพ่ือพัฒนาการฟังและการพูด
ของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ไปทดลองใช้กับเด็กอนุบาลปีท่ี 3 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน
โรงเรียน.....................ในภาคเรียนท่ี.............. ปีการศึกษา............ เพ่ือหาประสิทธิภาพของ
นิทานประกอบภาพ พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง ได้ค่า
E1 เท่ากับ 80.10 และค่า E2 เท่ากับ 82.40 ด้านการพูดเล่าเรื่องสัมพันธก์ ับภาพ ได้ค่า E1
เท่ากับ 82.90 และค่า E2 เท่ากับ 91.40 ด้านความสามารถการฟังเข้าใจคำสั่งและปฏิบัติ
ตาม โดยใช้เกมฝึกทักษะทางภาษา ได้ค่า E1 เท่ากับ 90.04 และค่า E2 เท่ากับ 88.00 ซึ่ง
สงู กว่าเกณฑ์ทกี่ ำหนด (แสดงคะแนนภาคผนวก.......หนา้ ........)

22

2. การสร้างแบบทดสอบความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดมี
ขนั้ ตอนดงั นี้

2.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดความพร้อมทางการเรียนของ วรรณวดี
ม้าลำพอง (2527 : 238-250) การสร้างแบบทดสอบความสามารถทางภาษาสำหรับเด็ก
ปฐมวัย ของ รุ่งนภา วุฒิ (2543 : 114-128) และการสร้างแบบทดสอบทางภาษาของเนื้อน้อง
สนับบุญ (2542 : 116-117)

2.2 ศึกษาคู่มือการประเมินพัฒนาการของนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ปี 2560 ในส่วนพัฒนาการด้านสติปัญญา (ใช้ภาษาสื่อสารเหมาะสมกับวัย) ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาพัฒนาการความสามารถ
ด้านการฟั งและการพูดของเด็กปฐมวัยช่วงอายุระหว่าง 5-6 ปี เพ่ือเป็ นแนวทาง
ในการสรา้ งแบบทดสอบให้เหมาะสมกับวยั

2.3 นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัย มาสร้างแบบทดสอบ
วัดความสามารถด้านการฟงั และการพูด แบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการฟัง
แบบทดสอบ 1.1 เขา้ ใจคำสงั่ และปฏิบัติตาม จำนวน 10 ขอ้
แบบทดสอบ 1.2 เขา้ ใจเรือ่ งราวในการฟงั จำนวน 20 ขอ้

เกณฑ์ในการให้คะแนน
แบบทดสอบท่ี 1.1 เข้าใจคำส่ังและปฏบิ ตั ิตาม ข้อละ 1 คะแนน โดย

ให้นักเรยี นฟงั ข้อความท่คี รูอา่ นแล้วปฏิบตั ติ ามคำส่งั ดังนี้
ฟงั แลว้ ปฏบิ ตั ติ ามคำสงั่ ได้ถกู ต้องทุกขนั้ ตอนได้ 1 คะแนน
ฟังแลว้ ไมส่ ามารถปฏิบตั ติ ามคำสัง่ ไดท้ กุ ข้นั ตอนได้ 0 คะแนน
แบบทดสอบที่ 1.2 เขา้ ใจเร่ืองราวในการฟงั ขอ้ ละ 1 คะแนน โดย

ให้นักเรียนขีดกากบาท (  ) ทับรูปภาพที่ถูกต้องเพียงขอ้ เดียว กากบาทถูกต้องได้ 1 คะแนน
และ กากบาทไมถ่ ูกตอ้ งได้ 0 คะแนน

ตอนท่ี 2 แบบทดสอบวดั ความสามารถดา้ นการพูด
แบบทดสอบที่ 2.1 ความสามารถเล่าเร่ืองส้ัน ๆ ได้สัมพันธ์กับภาพ

จำนวน 10 ขอ้ เกณฑ์ในการให้คะแนน มดี งั น้ี
เล่าเรือ่ งเปน็ เร่อื งราวตอ่ เนอ่ื งสัมพันธ์กับภาพ ใหค้ ะแนน 1 คะแนน
ไม่สามารถเล่าเรอื่ งเป็นเร่ืองราว ไม่สัมพันธ์กับภาพ หรอื เล่าสัมพันธ์

กับภาพแต่ เปน็ คำ หรือข้อความไม่ต่อเนื่องให้คะแนน 0 คะแนน

23

2.4 นำแบบทดสอบไปให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา
ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ ความเหมาะสมในการใช้ภาษา ความยากงา่ ย ประกอบดว้ ย
ผู้เชย่ี วชาญจำนวน 5 คน (รายละเอยี ดภาคผนวก.....หน้า....)

2.5 นำคะแนนจากระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 คน มาหาค่าดัชนี
ความสอดคล้อง ( IOC) ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเนื้อหากับจดุ ประสงค์
แตล่ ะข้ออยู่ระหวา่ ง 0.80 -1.00 (แสดงคะแนนภาคผนวก.......หน้า........)

ผลการพิจารณาของผู้เช่ียวชาญ 3 ใน 5 ท่านมีความเห็นตรงกันคือ ให้แก้ไขรูปภาพ
คำตอบข้อท่ี 10 จากรูป คนที่มีขนาดความสูงเท่ากันทุกรูป ให้มีความสูงตามจริงตามท่ี
ข้อความระบุไว้ และให้ปรับปรุงการใช้ภาษาคำสั่งให้สั้น และชัดเจน ปรับปรุงแบบทดสอบ
ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญทีม่ ีความเห็นสอดคลอ้ งกัน

2.6 นำแบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาด้านการฟัง และการพูด ไปทดลอง
ใช้กับเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี ท่ีกำลังเรียนอยู่อนุบาลปีที่ 2 โรงเรียน.....................
ในภาคเรียนที่.............. ปีการศกึ ษา............ ทีไ่ มใ่ ชก่ ลุ่มตวั อย่าง 30 คน

2.7 นำแบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาด้านการฟัง และการพูดท่ีผ่าน
การทดลองมาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์แล้ววิเคราะห์ข้อสอบรายข้อเพ่ือหาความยากง่าย (p)
และหาค่าอำนาจจำแนก (r) แล้วคัดเลือกข้อสอบเพื่อหาค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20-
0.80 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ผู้ศึกษาคัดข้อสอบตอนที่ 1 เหลือ 15 ข้อ
ตอนที่ 2 เหลือ 5 ข้อ รวม 2 ตอนมี 20 ข้อ จากข้อสอบทั้งหมด 40 ข้อ ต้องการใช้
จำนวน 20 ข้อ (แสดงคะแนนภาคผนวก.......หนา้ ........)

2.8 นำแบบทดสอบไปหาค่าความเชอื่ มนั่ ใชว้ ธิ ี KR-20 ของสิน พนั ธ์ุพินิจ (2551:189)
ซึ่งได้ค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาท้ังฉบับเป็น 0.86
(แสดงคะแนนภาคผนวก.......หน้า........)

3. การสร้างแบบประเมินความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด
ผู้ศึกษาสรา้ งแบบสังเกตพฤติกรรมทางภาษาโดยมลี ำดับขั้นตอน ดังนี้

3.1 ศึกษาคู่มือประเมนิ พัฒนาการของนกั เรยี นที่จบหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยปี 2560
พัฒนาการด้านสติปัญญา (ใช้ภาษาสื่อสารเหมาะสมกับวัย) ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร (2549:28) และศกึ ษาพัฒนาการความสามารถดา้ น
การฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยช่วงอายุระหว่าง 5-6 ปี เป็นแนวทาง และปรับให้
เหมาะสมในการสรา้ งแบบประเมิน

24

3.2 ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้นิทานประกอบภาพและเกม
ฝกึ ทักษะทางภาษาของเด็กอนบุ าลปีที่ 2 เพ่อื สร้างแบบประเมินใหส้ อดคล้องกับกิจกรรม

3.3 นำข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาจากเอกสารมาสร้าง แบบประเมิน ความสามารถ
ทางการฟังและการพูดโดยใช้วิธีสังเกตพฤติกรรมทางภาษาของเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับ
แผนการจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณ์

3.4 นำแบบประเมินความสามารถทางภาษาดา้ นการฟัง และการพูดไปให้ผู้เช่ียวชาญ
5 ท่าน ตรวจสอบหาความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา และความเหมาะสมของแบบประเมินซ่ึงใน
การศึกษาคร้ังนี้ ไดค้ ่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 (แสดงคะแนนภาคผนวก.......
หน้า........) ผู้เชี่ยวชาญเสนอแนะให้แก้ไขเกณฑ์การประเมินให้มีความชัดเจน ผู้ศึกษาปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินตามคำแนะนำของผูเ้ ชยี่ วชาญ

3.5 นำแบบประเมิน ความสามารถทางภาษาด้านการฟัง และการพูดไปทดลอง
ใช้คู่กับแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยใช้นิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะ
ทางภาษากับเด็กปฐมวัย 5-6 ปี อนุบาลปีท่ี 2 ที่ไม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง โรงเรียน.....................
ในภาคเรียนที่.............. ปีการศึกษา............ โดยวธิ ีการประเมนิ ดงั น้ี

3.5.1 ความสามารถด้านการฟัง ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมทางภาษา
ขณะที่เด็กร่วมกิจกรรมฟังนิทานประกอบภาพแล้วร่วมสนทนา ตอบคำถาม แสดงความ
คิดเห็นเก่ียวกับนิทาน ทฟี่ ัง และเล่นเกมฝึกทักษะทางภาษา ตามแผนการจัดกิจกรรมเสริม
ประสบการณ์โดยมผี ชู้ ่วยสังเกต 2 คน

3.5.2 ความสามารถด้านการพูด ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมทางภาษา
โดยให้เดก็ เล่าเรื่องประกอบภาพนิทานของทกุ ๆ เรื่องในแตล่ ะหน่วย ด้วยการให้เดก็ เลา่ ทีละคน
หลงั จากเดก็ เรยี นจบแลว้ ในหนึ่งหนว่ ยจนครบทุกคน

3.6 ปรับปรุงแก้ไขเกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมนิ ให้ชดั เจนขน้ึ
3.7 นำแบบประเมินความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดมาปรับปรุงแก้ไข
และใหผ้ ู้เชีย่ วชาญตรวจสอบอีกครงั้ ก่อนจัดพิมพ์เพอื่ นำไปใช้จริงกบั เด็กกลมุ่ ตัวอยา่ ง

25

4. การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ท่ีมีต่อการเรียน
การสอนดว้ ยนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา มขี ัน้ ตอนในการสร้าง ดงั น้ี

4.1 ศึกษาทฤษฎี แนวคิด และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวกบั การสร้างแบบประเมินความพึงพอใจ
ของเดก็ ปฐมวยั และแบบสัมภาษณ์สำหรับเด็กปฐมวยั

4.2 สร้างแบบประเมินความพึงพอใจทีม่ ีต่อการเรยี นการสอนด้วยนทิ านประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษา เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบบรูปภาพ
แบง่ เปน็ 3 สเกล

 หมายถึง เห็นดว้ ยมาก คะแนนเทา่ กบั 3
 หมายถึง เหน็ ดว้ ยปานกลาง คะแนนเท่ากับ 2
 หมายถึง เหน็ ดว้ ยน้อย คะแนนเท่ากับ 1
4.3 นำแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนให้ผู้เชี่ยวชาญ ท้ัง 5 ท่านตรวจ
(รายละเอียดภาคผนวก.....หนา้ ....) เพ่ือตรวจสอบความเท่ยี งตรงของเน้ือหา (Content Validity)
ภาษาท่ีใช้ และการประเมินที่ถูกต้องและนำมาหาค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือ IOC
(Index of Item Objectives Congruence) (แสดงคะแนนภาคผนวก.......หนา้ ........)
4.4 ไดแ้ บบประเมนิ ความพงึ พอใจสำหรับนักเรียนฉบบั สมบูรณ์

การดำเนนิ การศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การเตรียมสถานทแ่ี ละเคร่ืองมอื
1. ติดต่อฝ่ายบรหิ ารและฝา่ ยวิชาการของโรงเรียน.................... ซ่ึงเป็นโรงเรยี นที่

ใช้ในการทดลอง เพื่อขออนุญาตทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างทเี่ ป็นนักเรียนอนุบาลปีที่ 2 ปี
การศึกษา .................... จำนวน ....................คน

2. ดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่ได้กำหนดไว้ (อธิบายเป็นข้อๆว่าครูมี
วิธดี ำเนินการศกึ ษาในขนั้ ตอนนี้อย่างไรบ้าง)

26

การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิท่ใี ช้ (ตอ้ งอ้างองิ แหล่งท่ีมาของสูตรดว้ ย)
ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยมีสถิติที่ใช้ใน

การศึกษาครัง้ นค้ี ือ (สตู รทกุ สตู รอย่าลืมอ้างองิ แหลง่ ท่มี าของสตู ร (ชือ่ ผแู้ ต่ง , ปที ่พี ิมพ์ , หน้า))

1. หาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ โดยใช้ดัชนี

ความสอดคล้องของความเห็นของผ้เู ช่ียวชาญ (IOC)

IOC  R
N

IOC คอื ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ กระทงกบั
จุดประสงค์

R คือ ผลรวมคะแนนความคดิ เห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ
N คือ จำนวนผเู้ ชี่ยวชาญ

(ชอ่ื ผู้แต่ง , ปที ี่พิมพ์ , หน้า)

2. หาประสทิ ธิภาพของ..........-ช่ือนวตั กรรม-............ โดยใช้ E1/E2 โดยใช้สตู ร ดังน้ี

E1 =  
เมื่อ E1     100

E2 = 

คือ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ
X คอื คะแนนรวมของนวัตกรรม
A คือ คะแนนเต็มของนวัตกรรมรวมกัน
N คอื จำนวนนักเรยี น

F 
   100



เมื่อ E2 คือ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ

F คอื คะแนนรวมของแบบทดสอบหลงั เรียน
B คือ คะแนนเตม็ ของการทดสอบหลงั เรียน
N คือ จำนวนนกั เรียน

(ช่อื ผูแ้ ต่ง , ปที ี่พมิ พ์ , หนา้ )

27

3. หาค่าความเช่ือมั่นของแบบวัดความพึงพอใจ ดว้ ยวิธีการหาความคงท่ีภายในจาก

สูตรสัมประสทิ ธแ์ิ อลฟ่าของครอนบาค และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใช้ KR-
20 โดยใช้สูตร ดงั นี้

 n 2 
Alpha 1 i 
n s 
 
  i 1

n 1  s 2
t



เมื่อ Alpha คอื คา่ ความเชอ่ื ม่ันของแบบวัด
n คือ จำนวนข้อ
S2i คือ ความแปรปรวนของคะแนนข้อสอบข้อท่ี i

S2t คือ ความแปรปรวนของคะแนนขอ้ สอบทัง้ หมด

rxx = n (1-  pq )
n 1
s 2
x

เมือ่ rxx คือ ค่าสมั ประสทิ ธิแ์ หง่ ความเทีย่ ง

n คือ จำนวนข้อสอบในแบบทดสอบ
สดั สว่ นของคนทีต่ อบข้อสอบไดถ้ ูก
p คอื สดั ส่วนของคนท่ตี อบข้อสอบได้ผดิ
ผลรวมความแปรปรวนของแต่ละข้อ
q คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมท้ังฉบับ

 pq คือ

S2 คือ
x

4. หาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนกของของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นโดยใช้เทคนิคกลุ่มสงู กลุม่ ต่ำ (เทคนคิ 25%)

P Rm  Rn
Nm 2 Nn

28

เม่ือ P คือ ค่าความยากของขอ้ กระทง

Rm คือ จำนวนคนทตี่ อบถูกของกลมุ่ รอบรู้
Rn คอื จำนวนคนทตี่ อบถกู ของกลุ่มไมร่ อบรู้
Nm คอื จำนวนทัง้ หมดของกลมุ่ รอบรู้
Nn คอื จำนวนทั้งหมดของกล่มุ ไม่รอบรู้

5. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ..........-ชื่อนวัตกรรม-............ โดยใช้
คา่ เฉล่ยี ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยใช้สูตร ดังนี้

= 


เม่อื  คือ คะแนนเฉลย่ี
  คือ ผลรวมของคะแนนเฉล่ยี ท้งั หมด

N คือ จำนวนข้อมูล

SD = n  fx 2   fx2
nn 1

เมือ่ SD คือ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน
x คอื คะแนนแต่ละคนในกลมุ่ ตัวอย่าง
f คอื ความถี่

n คอื จำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง
(ช่ือผู้แต่ง , ปีที่พมิ พ์ , หน้า)

29

6. การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพอ่ื หาความก้าวหนา้ การเรยี นของนักเรยี นก่อนและหลังเรยี น
ด้วย..........-ชือ่ นวัตกรรม-............ โดยใช้ค่า t-test

t = D
  D 2   D 2

 1

เม่ือ D คือ ค่าความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่
N คือ เป็นจำนวนคู่ของคะแนน
(ชอ่ื ผแู้ ต่ง , ปที ี่พิมพ์ , หนา้ )

เกณฑก์ ารแปลผลความพึงพอใจของนกั เรียนทีม่ ตี อ่ ..........-ชือ่ นวตั กรรม-............
(บญุ ส่ง นลิ แก้ว, 2541 , หน้า 147)

ค่าเฉลี่ย ตง้ั แต่ 1.00 ถึง 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับทไ่ี มด่ อี ยา่ งมาก
ตั้งแต่ 1.50 ถึง 2.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับท่ีไม่ดี
ตง้ั แต่ 2.50 ถงึ 3.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั ท่ปี านกลาง
ตง้ั แต่ 3.50 ถงึ 4.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับที่ดี
ตัง้ แต่ 4.50 ถึง 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับท่ดี มี าก

หรอื

ค่าเฉลยี่ ตัง้ แต่ 1.00 ถึง 1.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดับทไี่ ม่ดอี ย่างมาก
ตั้งแต่ 1.51 ถึง 2.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับทีไ่ ม่ดี
ตั้งแต่ 2.51 ถงึ 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ทีป่ านกลาง
ต้ังแต่ 3.51 ถงึ 4.50 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับท่ีดี
ตง้ั แต่ 4.51 ถงึ 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับที่ดมี าก

30

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

(ตวั อย่าง)

การศกึ ษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพอื่ สร้างและหาประสิทธิภาพของนทิ านประกอบภาพ
และเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ีพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็ก
อนุบาลปีท่ี 2 ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 , เพื่อศึกษาความสามารถทางภาษาด้าน
การฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ภายหลังเรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก
ทักษะทางภาษา และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปที ่ี 2 ที่มีต่อการเรียนการสอน
ด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา โดยผู้ศกึ ษาได้เสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
เพอ่ื ตอบวตั ถุประสงค์ของการศึกษาตามลำดบั ดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลการหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา
ท่ีพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด ของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ตามเกณฑ์
80/80

ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็ก
อนบุ าลปีที่ 2 ภายหลงั เรยี นดว้ ยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา

ตอนท่ี 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ที่มีต่อการเรียน
การสอนดว้ ยนิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทักษะทางภาษา

31

ตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาที่
พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด ของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ตามเกณฑ์

80/80
1.1 หาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพเพื่อพัฒนาความสามารถ

ทางการฟังด้านความเขา้ ใจเรือ่ งราวในการฟังและความสามารถทางการพูดด้านการเล่า

เรอื่ งสัมพนั ธ์กับภาพ

ตารางท่ี....แสดงผลการหาประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ (E1) และประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์

(E2) จากการจัดประสบการณโ์ ดยใชน้ ทิ านประกอบภาพเพ่อื พัฒนาความสามารถ
ทางภาษา ของเดก็ อนบุ าลปีที่ 2 ด้านความเข้าใจเรื่องราวในการฟัง และ
ดา้ นการพดู เล่าเร่ืองสมั พันธก์ ับภาพ จำนวน 30 คน

ความสามารถ คะแนนเฉลย่ี ประสทิ ธภิ าพ
E1/ E2
ด้านการฟงั ประสิทธภิ าพของ ประสิทธิภาพของ
- ความเขา้ ใจเรือ่ งราวในการฟัง 80.10/82.40
ด้านการพดู กระบวนการ (E1) ผลลัพธ์ (E2) 82.90/91.40
- เล่าเรอ่ื งสมั พันธก์ ับภาพ
X SD ร้อยละ X SD รอ้ ยละ

2.40 0.55 80.10 4.12 0.87 82.40

2.48 0.44 82.90 4.57 0.56 91.40

จากตารางท่ี....พบว่า ความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเรอ่ื งราวในการฟัง

ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) มีค่าเท่ากับ 80.10 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีค่า
เท่ากับ 82.40 ความสามารถทางภาษาการพูดเล่าเรื่องสัมพันธก์ ับภาพของกระบวนการ (E1)
มคี ่าเท่ากบั 82.90 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีค่าเทา่ กบั 91.40 ซึง่ สงู กวา่ เกณฑท์ ่ตี ัง้ ไว้

32

1.2 หาประสิทธิภาพของเกมฝึกทักษะทางภาษาเพ่ือพัฒนาความสามารถ
ทางการฟังดา้ นความเข้าใจคำส่ังและปฏบิ ตั ติ าม

ตารางท่ี... แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
(E2) จากการจัดประสบการณ์ โดยใช้เกมฝึกทักษะทางภาษ าเพื่ อพั ฒ นา
ความสามารถทางภาษาของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ด้านการฟังคำสั่งและปฏิบัติตาม

จำนวน 30 คน

ความสามารถ คะแนนเฉลยี่

ดา้ นการฟงั ประสทิ ธภิ าพของ ประสิทธิภาพของ ประสิทธิภาพ
- ความเขา้ ใจคำสั่งและ กระบวนการ (E1) ผลลพั ธ์ (E2) E1/ E2
ปฏิบตั ติ าม
X SD รอ้ ยละ X SD รอ้ ยละ 90.04/88.00

0.56 0.43 90.04 4.40 0.61 88.00

จากตารางที่....พบว่า ความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจคำสงั่ และปฏิบัติตาม

ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) มีค่าเท่ากับ 90.04 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีค่า
ทา่ กับ88.00 ซึ่งสูงกวา่ เกณฑท์ ่ตี ัง้ ไว้

33

ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปี
ที่ 2 ภายหลงั เรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา

2.1 ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง
และความสามารถทางภาษาดา้ นการพูดเล่าเรื่องสัมพันธ์กบั ภาพ โดยใช้นิทานประกอบ
ภาพ เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ร้อยละ 80

ตารางที่... แสดงค่าเฉลี่ยค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ค่าสถติ ทิ ดสอบที และระดับนยั สำคัญ

ทางสถิติของการทดสอบเปรียบเทยี บกับเกณฑ์รอ้ ยละ 80 กับคะแนนสอบหลังเรยี น
ของนกั เรียนด้านความเข้าใจเร่อื งราวในการฟงั และการพดู เล่าเรอ่ื งสัมพันธก์ บั ภาพ

ทดสอบหลังเรยี น

รายการประเมิน n คะแนน X SD ร้อยละ t
เต็ม
82.40 3.18*
ความเข้าใจเรอื่ งราวในการฟัง 30 5 4.12 0.89 91.40 10.28*

การพดู เล่าเรื่องสมั พนั ธ์ 30 5 4.57 0.57

กับภาพ

* มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

จากตารางท่ี….พบว่า เมื่อใช้นิทานประกอบภาพพัฒนาความสามารถทางภาษาของ
เด็กอนุบาลปีท่ี 2 ด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง การทดสอบหลังเรียน มีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากับ 4.12 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.40 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.89 และเม่ือ
เปรียบเทียบระหว่างเกณฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนพบว่า คะแนนสอบหลัง

เรียน สงู กว่าเกณฑอ์ ยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05
ส่วนด้านการพูดเล่าเรื่องสัมพันธ์กับภาพ การทดสอบหลังเรียนของเด็กอนุบาลปีท่ี

2 มีคะแนนเฉลีย่ 4.57 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.40 ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 และเมื่อ
เปรยี บเทยี บระหว่างเกณฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรยี นของนกั เรียนพบวา่ คะแนนทดสอบหลัง

เรยี น สูงกวา่ เกณฑอ์ ยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05

34

2.2 ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจคำสั่งและปฏิบัติ
ตามโดยใช้เกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา เปรียบเทยี บกับเกณฑร์ ้อยละ 80

ตารางท่ี... แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าสถิตทิ ดสอบที และระดับนัยสำคัญทาง
สถิติของการทดสอบเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 กับ คะแนนสอบหลังเรียน

ของนักเรยี น ดา้ นความเขา้ ใจคำสัง่ และปฏิบตั ติ าม

ทดสอบหลังเรียน

รายการประเมิน n คะแนน X SD ร้อย t
เตม็ ละ

ความเขา้ ใจคำสั่ง 30 5 4.40 0.61 88.00 7.93*

และปฏิบตั ติ าม

* มีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05

จากตารางท่ี....พบว่าเมื่อใช้เกมฝึกทักษะทางภาษาพัฒนาความสามารถทางภาษา
ของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ด้านความเข้าใจคำสั่งและปฏิบัติตาม การทดสอบหลังเรียน มีคะแนน

เฉล่ียเท่ากับ 4.40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.00 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.61 และ
เม่ือเปรยี บเทียบระหว่างเกณฑ์กับการทดสอบหลังเรียนของนักเรยี นพบวา่ คะแนนทดสอบ
หลงั เรยี นสูงกวา่ เกณฑอ์ ยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05

35

ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 3 ทมี่ ีต่อการเรียนการสอน
ดว้ ยนทิ านประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา

จากการประเมินโดยกระบวนการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของเด็กที่มีต่อการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้นิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาของเด็กอนุบาลปีที่ 2

โรงเรียน..................................... ปีการศึกษา.......................... รายละเอียดดังปรากฏตาม
ตาราง

ตารางที่....แสดงคา่ เฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ีต่อ
การเรียนการสอนด้วยนทิ านประกอบภาพ

รายการ X SD แปลผล
3.00 0.00 มาก
1. ภาพนิทานสวยงามเหมาะสมกับวยั 2.80 0.41 มาก
2. เนอ้ื เร่อื งสนกุ สนาน 2.87 0.35 มาก
3. สสี ดใส 2.77 0.43 มาก
4. รูปเล่มสวยงาม 2.70 0.47 มาก
5. ขนาดหนังสือพอเหมาะ
2.83 0.18 มาก
รวมเฉล่ยี

จากตารางท่ี.....พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการ
สอนด้วยนิทานประกอบภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.83 เม่ือพิจารณาเป็น

รายข้อพบว่านักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกรายการโดยมีค่าเฉลี่ยในช่วง 2.70 –
3.00

36

ตารางที่... แสดงคา่ เฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรยี นที่มีต่อการ
จดั การเรยี นการสอนดว้ ยเกมฝกึ ทักษะทางภาษา

รายการ X SD แปลผล
2.93 0.25 มาก
1. เกมมคี วามสนกุ สนานในการเล่น 2.77 0.43 มาก
2. วิธีการเลน่ เกมเข้าใจง่าย 2.77 0.43 มาก
3. ทำให้เข้าใจเนอื้ เร่อื ง 2.77 0.43 มาก
4. กติกาในการเลน่ ชัดเจน 2.70 0.47 มาก
5. เวลาในการเล่นเหมาะสม
2.79 0.18 มาก
รวมเฉลยี่

จากตารางท่ี…พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการ
สอนดว้ ยเกมฝึกทักษะทางภาษาอยู่ในระดบั มาก โดยมีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 2.79 เม่ือพจิ ารณาเป็น
รายข้อพบว่านักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกรายการโดยมีค่าเฉลี่ยในช่วง 2.70 –
2.93

37

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

(ตัวอย่าง)

การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบ

ภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ีพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของ

เด็กอนุบาลปีท่ี 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/80 , เพ่ือศึกษาความสามารถทางภาษา

ด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ภายหลังเรียนด้วยนิทานประกอบภาพ และเกม

ฝึกทักษะทางภาษา และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ที่มีต่อการเรียนการ

สอนด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษา กลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการศึกษาครั้งนี้
ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 โรงเรียน.................... สำนักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา.................... เขต .......... ปีการศึกษา .................. จำนวน .................... คน

โดยวธิ สี ุ่ม....................เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษาครั้งนี้นิทานประกอบภาพ จำนวน 10 เรอ่ื ง
และเกมฝกึ ทักษะทางภาษา จำนวน 25 เกม , แผนการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์โดยใช้

นิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษาเพื่อพัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการ

ฟังและการพูด จำนวน 10 หน่วย รวมทั้งหมด 50 แผน , แบบทดสอบวดั ความสามารถทาง

ภาษาด้านการฟัง และการพูดของเด็กอนุบาลปที ่ี 2 โดยการประเมนิ เดก็ หลังจากท่เี ดก็ ผ่านการ

จัดประสบการณ์ ทางภาษาโดยใช้นิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา ,

แบบประเมินความพร้อมด้านการฟังและการพูดโดยการสังเกตพฤติกรรมทางภาษา ขณะเด็ก

รว่ มกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ โดยใช้นิทานประกอบภาพ และ เกม

ฝึกทักษะทางภาษาจำนวน 10 หน่วย ๆ ละ 1 ครั้ง รวม 10 คร้ัง และแบบประเมินความ

พงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนการสอนด้วยนทิ านประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะ

ทางภาษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ หาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาโดยใช้ดัชนีความ
สอดคล้องของความเห็นของผู้เช่ยี วชาญ หาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพ และเกมฝึก

ทักษะทางภาษาด้วยวิธี E1/E2 เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการทดสอบที

(t-test) และศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนที่มตี ่อนทิ านประกอบภาพ และ เกมฝึกทกั ษะทาง

ภาษาโดยใช้ค่าเฉล่ยี ( X ) สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD) ผลการศกึ ษาสรปุ ได้ดังนี้

38

สรปุ ผลการศกึ ษา
ผลการศึกษาสรปุ ไดด้ ังนี้
1. ผลการหาประสิทธิภาพของนิทานประกอบภาพและเกมฝึกทักษะทางภาษาท่ี

พัฒนาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูด ของเด็กอนุบาลปีที่ 2 ตามเกณฑ์
80/80 พบว่า

1.1 ความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟังประสิทธิภาพของ
กระบวนการ E1/E2 มีค่าเทา่ กับ 80.10/82.40 ความสามารถทางภาษาการพูดเล่าเร่อื งสัมพันธ์
กับภาพของกระบวนการ E1/E2 มีค่าเทา่ กับ 82.90/91.40

1.2 ความสามารถทางภาษาด้านความเขา้ ใจคำสั่งและปฏิบัตติ ามประสิทธิภาพของ
กระบวนการ E1/E2 มคี ่าเท่ากับ 90.04/88.00

2.ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาด้านการฟังและการพูดของเด็กอนุบาล
ปที ่ี 2 ภายหลงั เรียนด้วยนทิ านประกอบภาพ และเกมฝึกทกั ษะทางภาษา พบว่า

2.1 เม่ือใช้นิทานประกอบภาพพัฒนาความสามารถทางภาษาของเด็กอนุบาลปีท่ี 2
ด้านความเข้าใจเร่ืองราวในการฟัง การทดสอบหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.12 คะแนน
และ เม่ือเปรียบเทียบระหว่างเกณฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนพบว่า คะแนน
สอบหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ส่วนด้านการพูดเล่าเร่ือง
สัมพันธ์กับภาพ การทดสอบหลังเรียนของเด็กอนุบาลปีที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ย 4.57 คะแนน
และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างเกณฑ์กับคะแนนทดสอบหลังเรียนของนักเรียนพบว่า คะแนน
ทดสอบหลังเรยี นสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05

2.2 เมื่ อใช้เก ม ฝึก ทั ก ษ ะท างภ าษ าพั ฒ น าค วาม ส าม ารถ ท างภ าษ าขอ ง
เด็กอนุบาลปีที่ 2 ด้านความเข้าใจคำส่ังและปฏิบัติตามการทดสอบหลังเรยี น มีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากับ 4.40 คะแนน และเมื่อเปรยี บเทียบระหว่างเกณฑ์กับการทดสอบหลังเรียนของนักเรยี น
พบวา่ คะแนนทดสอบหลังเรยี นสูงกวา่ เกณฑ์อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของเด็กอนุบาลปีท่ี 2 ท่ีมีต่อการเรียนการสอน
ด้วยนิทานประกอบภาพและเกมฝกึ ทกั ษะทางภาษา

3.1 โด ย ภ าพ รวม นั ก เรีย น มีค วาม คิ ดเห็ น ต่ อก ารจั ด ก ารเรีย น ก ารส อ น
ดว้ ยนิทานประกอบภาพอยู่ในระดับมาก โดยมคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.83 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบวา่ นักเรียนมีความคดิ เห็นอยู่ในระดับมากทกุ รายการ

39

3.2 โดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยเกมฝึก
ทักษะทางภาษาอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.79 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
นักเรียนมีความคิดเหน็ อยใู่ นระดบั มากทกุ รายการ

ส่วนแรกของบทที่ 5 จะมลี ักษณะคลา้ ยกบั บทคดั ยอ่

อภปิ รายผล
ผู้ศึกษาขออภิปรายผลตามลำดับของวัตถุประสงค์ดังน้ี (ให้อภิปรายผลโดยเรียง

เน้ือหาตามลำดบั ของวตั ถุประสงค)์

1. ผลการศึกษาพบว่าความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจเรื่องราวในการฟัง
ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1/E2 มีค่าเท่ากับ 80.10/82.40 และความสามารถทางภาษา
การพูดเล่าเรื่องสัมพันธ์กับภาพของกระบวนการ E1/E2 มีค่าเท่ากับ 82.90/91.40 และ
ความสามารถทางภาษาด้านความเข้าใจคำส่ังและปฏิบัติตามประสิทธิภาพของกระบวนการ
E1/E2 มีค่าเท่ากับ 90.04/88.00 ซึ่งสูงกว่าเกณ ฑ์ ท่ีกำหนดไว้ ท้ังน้ีอาจเป็ นเพ ราะ
......................(เพราะเหตุใดนวัตกรรมที่เราสร้างข้ึนถึงมีประสิทธิภาพ ให้อธิบายเป็น
ความเรียง).................... ซ่ึงสอดคล้องกับ ...................(สอดคล้องกับงานวิจัยหรือคำ
กลา่ วของใครบ้าง จากบทท่ี 2)..........................

2. ผลการศึกษาความสามารถทางภาษาดา้ นการฟงั และการพดู ของเด็กอนุบาลปีที่
2ภายหลังเรยี นด้วยนิทานประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา มีผลการพัฒนาเมื่อเทียบ
กับเกณฑ์สูงข้ึนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะ ......................
(เพราะเหตุใดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนถึงได้เพิ่มขึ้น ให้อธิบายเป็นความ
เรียง).................... ซึ่งสอดคล้องกับ ...................(สอดคล้องกับงานวจิ ัยหรือคำกลา่ วของ
ใครบา้ ง จากบทท่ี 2)..........................

40

3. ผลการศึกษาพบว่านักเรียนชั้นอนุบาลปีท่ี 2 มีความพึงพอใจต่อนิทานประกอบ
ภาพ และเกมฝึกทักษ ะทางภาษาในภาพรวมอยู่ในระดั บมาก ท้ังนี้อาจเป็นเพ ราะ
......................(เพราะเหตุใดนักเรียนถึงมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมท่ีครูสร้างขึ้น
ให้อธิบายเป็นความเรียง).................... ซ่ึงสอดคล้องกับ ...................(สอดคล้องกับ
งานวิจัยหรือคำกลา่ วของใครบ้าง จากบทที่ 2)..........................

ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การศึกษา (ปญั หาจากท่เี รามองเห็นจากงานของเรา)
1. ครูผู้สอนควรต้องเตรียมเอกสารและสือ่ การสอนในแต่ละกิจกรรมให้พรอ้ ม และ

เพียงพอก่อนทีน่ กั เรยี นจะทำกิจกรรมต้องเนน้ ย้ำใหน้ ักเรียนปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกจิ กรรม
2. ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกรรม ครูผู้สอนควรดูแลอย่างใกล้ชิด ให้คำแนะนำ

ช่วยเหลือนักเรียนเมื่อมีปัญหา คอยกระตุ้นและให้กำลังใจ เพ่ือให้นักเรียนเกิดความสนใจท่ีจะ
เรยี นรสู้ ง่ ผลใหก้ ารเรยี นการสอนมปี ระสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ

3. นักเรียนต้องมีความมุ่งม่ัน และตั้งใจรับผิดชอบงานในหน้าท่ี ทำงานด้วยความ
เพยี รพยายามและอดทน เพ่อื ใหง้ านเสรจ็ ตามเป้าหมาย

4. ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญกับการสร้างส่ือนวัตกรรมประเภทนิทาน
ประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษา สนับสนุนงบประมาณและให้ขวัญกำลังใจ เพ่ือให้ครู
สามารถพฒั นานทิ านประกอบภาพ และเกมฝึกทกั ษะทางภาษาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาในคร้ังต่อไป (ครูท่านอื่นจะเอางานเราไปต่อยอด
ครูท่านน้ันตอ้ งเตรยี มอะไรบา้ ง)

1. ควรพัฒนานิทานประกอบภาพ และเกมฝกึ ทักษะทางภาษาในเน้ือหาอน่ื ๆ และระดับชน้ั อื่น
ๆ โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งด้านวยั และศกั ยภาพของนกั เรียนแตล่ ะบุคคล

2. ควรมกี ลวิธกี ารนำเสนอนทิ านประกอบภาพ และเกมฝึกทักษะทางภาษาใหน้ ่าสนใจมากขึ้น
โดยการนำเสนอในรปู แบบของภาพการต์ ูนหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เป็นตน้

3. ในการจัดสร้างส่ือประเภทใดก็ตาม ขั้นแรกควรมีการสำรวจสภาพปัญหาความ
ต้องการแล้วนำผลมาวิเคราะห์ โดยยึดหลักความสำคัญ ความจำเป็น ความเป็นไปได้ เป็น
แนวทางในการพจิ ารณา แล้วนำมาจัดเรยี งตามลำดบั ความสำคญั เพื่อคัดเลือกสื่อทจี่ ะสรา้ งให้
เหมาะสมกับสภาพปัญหาความตอ้ งการที่เปน็ อยู่

41

บรรณานกุ รม

(ตวั อยา่ ง)

ให้เลือกใช้รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบใดแบบหน่ึงเท่าน้ัน แต่ต้องใช้รูปแบบ
เดียวกันทงั้ หมดเช่น

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2538) . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน
กลุ่มทักษะ (คณิตศาสตร์) ระดับประถมศึกษา . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. (2529). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวินิจฉัย
การศึกษา.เชียงใหม่ . ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณ ะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่

หรือ

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุ่มทักษะ
(คณติ ศาสตร)์ ระดบั ประถมศึกษา . กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว. (2538).

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงใหม่ . ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ (2529).

หรอื

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . (2538) . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน
กลุ่มทักษะ (คณิตศาสตร์) ระดับประถมศึกษา . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพรา้ ว.

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. (2529). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัย
การศึกษา.เชียงใหม่ . ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณ ะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.

42

หรอื

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนกลุ่มทักษะ
(คณิตศาสตร์) ระดบั ประถมศึกษา . กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว. (2538).

กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพ่ือการวินิจฉัยการศึกษา.
เชียงใหม่ . ภาควิชาและประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ (2529).

43

ภาคผนวก

(ภาคผนวกเปน็ ทอี่ ยู่ของคะแนนดบิ ส่วนคะแนนสกุ จะแยกอย่ตู ามบทตา่ งๆ
เพราะฉะน้นั ควรเรียงลำดับตามหัวข้อดงั น้ี)

44

ภาคผนวก ก
รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญ (เป็นการใหเ้ กียรตผิ ู้เชย่ี วชาญ)

ภาคผนวก ข
ผลการพิจารณาแผนการจัดการเรยี นรู้ของผ้เู ช่ียวชาญ

พรอ้ มตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้ 1 แผน
ภาคผนวก ค

ผลการหาประสทิ ธิภาพ (คะแนนดิบ) ของนวตั กรรมท้งั 4 ขัน้ ตอน
(เดี่ยว เลก็ ใหญ่ และภาคสนาม)
ภาคผนวก ง

ผลการพิจารณาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ ชีย่ วชาญ
ตลอดจนแสดงผลการคำนวณแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

ท้ังค่าความยากง่าย อำนาจจำแนก และความเชือ่ มั่นแบบ KR20
ภาคผนวก จ

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นฉบบั สมบูรณ์
ภาคผนวก ฉ

ผลการพิจารณาแบบวดั ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญ
ตลอดจนแสดงผลการคำนวณคา่ ความเชือ่ มั่นของแบบวัดความพงึ พอใจ

โดยใชแ้ อลฟา่ ของครอนบาค
ภาคผนวก ช

แบบวัดความพงึ พอใจฉบบั สมบูรณ์
ภาคผนวก ซ

หนังสอื ราชการขอความอนเุ คราะหใ์ นการทำวจิ ยั เช่น ขอผเู้ ชย่ี วชาญ ขอเกบ็ ขอ้ มูล เป็นตน้
ภาคผนวก ฌ

หนงั สือราชการประกอบการเผยแพร่ และตอบรับนวตั กรรม
ภาคผนวก ญ

บรรยากาศขณะดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม

เพ่ิมเติม/ปรบั ได้ตามทเี่ หน็ สมควรแต่ตอ้ งสอดคลอ้ งกับรายงานวิจัย
และตอ้ งตรงกับสารบญั

45

ประวตั ผิ ้ศู ึกษา / ผวู้ ิจยั / ผ้ปู ระเมนิ

ชือ่ -สกลุ .....................................

วนั เดือน ปเี กดิ .....................................

ที่อยูป่ จั จบุ ัน .....................................

ประวัติการศึกษา .....................................

ประวัติการทำงาน

.....................................

ผลงานวิชาการท่ีเคยทำ (ถา้ ม)ี
.....................................

46

แบบประเมินรายงานการวิจยั ในชั้นเรยี น (ฉบับประเมนิ ตนเอง)

คำชีแ้ จงในการตอบแบบประเมิน

1. แบบประเมนิ มที ง้ั หมด 2 ตอน
ตอนที่ 1 เปน็ การถามสถานภาพทัว่ ไปของผตู้ อบแบบประเมิน
ตอนที่ 2 เป็นการประเมินความถูกต้องของเล่มรายงานการวิจัยในชนั้ เรียนของ
ตัวท่านเอง โดยมีประเดน็ การประเมินทคี่ รอบคลุมทุกสว่ นของรายงาน
การวิจัยในชั้นเรียนท่ีถูกต้องตามมาตรฐานการวิจัยทางการศึกษา
ทั่วไป

แบบประเมินฉบับนี้มีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ประเมินความสมบูรณ/์ ความถูกตอ้ งของรายงาน
การวิจัยในชัน้ เรียนด้วยตวั ของทา่ นเอง โดยมวี ิธีการประเมนิ ดงั น้ี

ถ้าท่านพิจารณาว่า ประเด็นการประเมินท่ีกำหนดให้ มีความถูกตอ้ งกับเน้ือหาในเล่ม
รายงานการวจิ ัยของท่าน ให้ท่านเขียนเครือ่ งหมาย  ลงในช่อง “ระดับความคิดเห็น” ซึง่ มี
เกณฑด์ ังน้ี

1 หมายถงึ มีความถูกตอ้ งในประเด็นการประเมินขอ้ นั้นน้อยที่สุด
2 หมายถงึ มีความถกู ต้องในประเดน็ การประเมินขอ้ น้นั น้อย
3 หมายถงึ มีความถูกต้องในประเด็นการประเมินขอ้ นน้ั ปานกลาง
4 หมายถึง มีความถูกต้องในประเดน็ การประเมินขอ้ น้นั ถกู ตอ้ ง
5 หมายถงึ มีความถูกต้องในประเดน็ การประเมินข้อนัน้ ถูกต้องมากทสี่ ดุ

ข อ ใ ห้ ท่ าน ต อ บ แ บ บ ป ระ เมิ น น้ี ต า ม ค ว า ม เป็ น จ ริ ง แล ะ ใ ห้ ต อ บ แ บ บ ป ร ะเมิ น ทุ ก ข้ อ
ผลการประเมินจะเป็นแนวทางในการปรับแก้/ปรับปรุงงานวิจัยในช้ันเรียนของท่านให้สมบรู ณ์
ยง่ิ ข้ึน


Click to View FlipBook Version