The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

130026_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-1-สงวนลิขสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pratheerapong2519, 2021-03-22 22:10:52

130026_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-1-สงวนลิขสิทธิ์

130026_เพจ-เตรียมสอบ-กกต.64-ชุดที่-1-สงวนลิขสิทธิ์

Keywords: ect

เตรยี มสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดท่ี 1 119988

34. อำยุกำรเก็บหนังสอื ให้เกบ็ ไว้ไมน่ ้อยกว่ำก่ีปี ?
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 12 ปี
ง. 15 ปี

35. หนงั สือท่ีมีคณุ คำ่ ทำงประวัติศำสตรข์ องทุกสำขำวิชำ ให้เกบ็ ไวไ้ ม่น้อยกวำ่ กปี่ ี ?
ก. 60 ปี
ข. 75 ปี
ค. 100 ปี
ง. เก็บไวต้ ลอดไป

36. หนังสือที่ไดป้ ฏบิ ัตงิ ำนเสรจ็ แลว้ และเป็นคสู่ ำเนำทม่ี ีตน้ เรือ่ งที่จะค้นได้ ให้เกบ็ ไวไ้ มน่ อ้ ยกว่ำกีป่ ี ?
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 12 ปี
ง. 20 ปี

37. หนังสือหรือเอกสำรท่ีเก่ียวกับกำรเงิน เมื่อสำนักงำนตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบแล้วไม่มี
ปัญหำใหเ้ กบ็ ไวไ้ มน่ ้อยกว่ำกี่ปี ?
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 12 ปี
ง. 20 ปี

38. ทุกปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดส่งหนังสือท่ีมีอำยุครบกี่ปี ให้สำนักหอจดหมำยเหตุ
แหง่ ชำติ ?
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 20 ปี
ง. 25 ปี

เตรยี มสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนกั งาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 1 119999

39. หนังสือติดต่อรำชกำรที่เป็นแบบพิธีโดยใช้ตรำครุฑเป็นหนังสือติดต่อระหว่ำงส่วนรำชกำร
หรอื ส่วนรำชกำรมีถงึ หนว่ ยงำนอืน่ ใดซงึ่ มใิ ช่ส่วนรำชกำร เรยี กว่ำ ?
ก. หนังสือภายใน
ข. หนงั สอื ภายนอก
ค. หนงั สือส่ังการ
ง. หนังสอื ประทบั ตรา

40. หนังสอื ทใ่ี ช้ประทับตรำ ใช้ประทับตรำแทนกำรลงชือ่ ของหัวหนำ้ ส่วนรำชกำรระดับใดขึ้นไป ?
ก. กรม
ข. กอง
ค. แผนก
ง. สานกั

41. รำยงำนกำรประชมุ ใหท้ ำกำรบันทกึ ควำมคดิ เห็นไว้เป็นหลักฐำน ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. ผู้มาประชุม
ข. ผู้ไม่มาประชมุ
ค. ผเู้ ข้ารว่ มประชุม
ง. มตขิ องทปี่ ระชุม

42. ขอ้ ใดเรยี งลำดบั กำรระบชุ น้ั ควำมเรว็ นอ้ ยไปหำมำก ขอ้ ใดถกู ต้อง ?
ก. ด่วนมาก ด่วน ดว่ นที่สดุ
ข. ดว่ น ด่วนมาก ด่วนท่สี ุด
ค. ด่วนทส่ี ดุ ดว่ นมาก ด่วน
ง. ดว่ นท่ีสุด ดว่ น ดว่ นมาก

43. ระหวำ่ งหนงั สอื “ดว่ นที่สดุ ” และ “ดว่ นภำยใน” ใหด้ ำเนินกำรใดก่อน ?
ก. ด่วนทสี่ ุด
ข. ดาเนินการพรอ้ มกัน
ค. ดว่ นภายใน
ง. ดาเนินการใดกอ่ นกไ็ ด้

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 1 220000

44. หนังสอื เวยี น หมำยถงึ ?
ก. หนังสือที่มีถึงผู้รับจานวนน้อย มีใจความอย่างเดียวกัน มีรหัสตัวพยัญชนะ“ว” หน้า
เลขทะเบียนหนังสอื สง่
ข. หนังสือที่มีถึงผู้รับจานวนน้อย แต่มีใจความต่างกัน มีรหัสตัวพยัญชนะ “ว” หน้าเลข
ทะเบียนหนังสือส่ง
ค. หนังสือท่ีมีถึงผู้รับจานวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน มีรหัสตัวพยัญชนะ“ว” หน้า
เลขทะเบยี นหนังสือส่ง
ง. หนังสือที่มีถึงผู้รับจานวนมาก แต่มีใจความต่างกัน มีรหัสตัวพยัญชนะ“ว” หน้าเลข
ทะเบยี นหนงั สือส่ง

45. ข้อใดกลำ่ วถกู ต้องเกย่ี วกบั สำเนำ ?
ก. ให้มีสาเนาคูฉ่ บับเกบ็ ไวท้ ต่ี ้นเรือ่ ง 1 ฉบบั
ข. ให้มีสาเนาทหี่ นว่ ยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบบั
ค. ให้มีสาเนาคู่ฉบับเก็บไว้ท่ีต้นเรื่อง 1 ฉบับ และสาเนาท่ีหน่วยงานสารบรรณกลาง 1
ฉบบั
ง. ให้มีสาเนาคู่ฉบับเก็บไว้ท่ีต้นเร่ือง 2 ฉบับ และสาเนาท่ีหน่วยงานสารบรรณกลาง 1
ฉบบั

46. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หนงั สือรำชกำร ?
ก. หนังสือทม่ี ีไปมาระหวา่ งส่วนราชการ
ข. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใด ซ่ึงมิใช่ส่วนราชการ หรือท่ีมีไปถึง
บคุ คลภายนอก
ค. ขอ้ มูลขา่ วสารหรือหนงั สือท่ีได้รบั จากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์
ง. หนงั สอื ภายนอกท่ีจดั ทาตามคาสัง่ หรอื ระเบยี บงานสารบรรณ

47. คำข้ึนต้นหนงั สอื รำชกำรถึงสมเดจ็ พระสังฆรำช ตำมระเบียบกำหนดใหใ้ ชว้ ่ำอยำ่ งไร ?
ก. นมัสการ
ข. กราบทูล
ค. ขอกราบทูลนมัสการ
ง. ขอประทานกราบทลู

48. คำขึ้นตน้ หนังสือรำชกำรถงึ ประธำนองคมนตรี ตำมระเบียบกำหนดใหใ้ ช้วำ่ อยำ่ งไร ?
ก. กราบทูล
ข. ขอประทานกราบทลู
ค. กราบเรียน
ง. เรยี น

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรียมสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 1 220011

49. คำลงท้ำยหนังสือรำชกำรถึงสมเดจ็ พระสังฆรำช ตำมระเบียบกำหนดให้ใช้ว่ำอยำ่ งไร ?
ก. ควรมิควรแล้วแตจ่ ะโปรด
ข. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม
ค. ขอนมัสการด้วยความเคารพอยา่ งยงิ่
ง. ขอกราบทูลนมัสการดว้ ยความเคารพอยา่ งยิง่

50. คำลงทำ้ ยในหนงั สอื รำชกำรถึงประธำนถึงองคมนตรี ตำมระเบยี บระบใุ หใ้ ชว้ ำ่ อย่ำงไร ?
ก. ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
ข. ขอแสดงความนับถืออย่างสงู
ค. ขอแสดงความนับถือ
ง. ขอแสดงความเคารพอย่างสงู

51. คำขึน้ ต้นรำชกำรถงึ ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร ตำมระเบยี บกำหนดให้ใช้อยำ่ งไร ?
ก. กราบเรยี น
ข. ขอประทานกราบเรยี น
ค. เรยี น
ง. ขอกราบเรียน

52. ระเบยี บฯงำนสำรบรรณ ใชบ้ งั คบั แกส่ ว่ นรำชกำรดงั ต่อไปน้ี ?
ก. ใชบ้ งั คบั แกส่ ่วนราชการท้ังหมดภายในประเทศ ยกเวน้ หนว่ ยงานของรฐั ในต่างประเทศ
ตอ้ งปรับปรงุ ให้สอดคล้องกับประเทศนัน้ ๆ
ข. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทุกส่วนท้ังส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคทุกจังหวัด ยกเว้น
ท้องถ่นิ ซ่งึ มอี สิ ระท่ีจะกาหนดรปู แบบของตนเอง
ค. ใชบ้ ังคบั แกส่ ่วนราชการทกุ ส่วนท้ังสว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาคและทอ้ งถ่นิ ภายในประเทศ
ง. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม สานักงานหรือหน่วยงานอื่นใดของ
รฐั ทง้ั ในส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค และทอ้ งถิน่ หรอื ในตา่ งประเทศ

53. ผ้มู อี ำนำจตีควำมและวนิ ิจฉยั ปัญหำเกย่ี วกับกำรปฏบิ ัตติ ำมระเบียบฯ งำนสำรบรรณ ไดแ้ ก่ ?
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. นายกรฐั มนตรแี ละปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธกิ ารสานกั นายกรฐั มนตรี
ง. ปลัดสานักนายกรฐั มนตรี

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนกั งาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 1 220022

54. ข้อใดไมใ่ ชช่ นิดของหนังสอื ตำมระเบียบฯ งำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ?
ก. หนังสอื ประทับตรา
ข. หนังสือประชาสมั พันธ์
ค. หนังสือทเ่ี จา้ หนา้ ทที่ าขนึ้ หรอื รบั ไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ
ง. หนังสอื ลบั

55. หนงั สือสงั่ กำรตำมระเบยี บฯงำนสำรบรรณมี กช่ี นิด ?
ก. 3 ชนดิ
ข. 4 ชนดิ
ค. 5 ชนิด
ง. 6 ชนดิ

56. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ นงั สอื สง่ั กำรหรอื หนงั สอื ประชำสมั พนั ธ์ ?
ก. ระเบยี บ
ข. ข้อบงั คบั
ค. ขา่ ว
ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก

57. ขอ้ ใดถูกตอ้ งตำมระเบยี บฯงำนสำรบรรณ ?
ก. ระเบยี บเปน็ หนงั สือส่ังการ
ข. ขอ้ บงั คับเป็นหนังสอื ราชการ
ค. ถกู ท้ังข้อ ก. และ ข้อ ข.
ง. แถลงการณไ์ ม่ต้องใช้กระดาษครุฑ

58. คำวำ่ หนังสอื ในระเบยี บฯงำนสำรบรรณ หมำยถึง ?
ก. ฟิล์มท่ีเกดิ ขึ้นเน่อื งจากการปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ที่เพ่อื เปน็ หลักฐานทางราชการ
ข. หนังสอื ของบคุ คลภายนอกท่ียนื่ ต่อเจา้ หน้าท่แี ละลงรบั ไว้แลว้
ค. โฉนดที่ดิน
ง. ถกู ทกุ ข้อ

59. หนงั สือประทบั ตรำ ต้องประทบั ตรำสว่ นรำชกำรด้วยอะไร ?
ก. หมึกแดง
ข. หมกึ สีแดงหรือสีมว่ งกไ็ ด้
ค. ระเบียบมิได้ระบไุ ว้
ง. สอี ะไรกไ็ ด้แตด่ ใู ห้เหมาะสม

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 1 220033

60. แจ้งควำมเปน็ หนงั สือรำชกำรประเภทใด ?
ก. หนังสือภายนอก
ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือส่ังการ
ง. หนงั สอื ที่เจา้ หน้าท่ที าข้นึ หรือรับไว้เป็นหลักฐาน

61. ประกำศ แถลงกำรณ์ และข่ำว จดั อยู่ในหนงั สอื ประเภทใด ?
ก. หนงั สอื ประทบั ตรา
ข. หนงั สือประชาสมั พันธ์
ค. หนังสอื ภายใน
ง. หนังสือสง่ั การ

62. ขอ้ ใดเปน็ หนังสือประชำสัมพนั ธ์ ตำมระเบยี บงำนสำรบรรณ ?
ก. ประกาศ
ข. ระเบียบ
ค. คาส่ัง
ง. ข้องบังคบั

63. แถบบนั ทกึ เสยี ง กำรประชุมของสว่ นรำชกำร ถือเปน็ หนังสอื รำชกำร ชนิดใด ?
ก. ถอื เป็นหนังสือภายใน
ข. ถือเปน็ หนังสอื ประชาสัมพันธ์
ค. ถอื เป็นวัสดปุ ระชาสมั พนั ธ์
ง. หนังสือหรอื เจ้าหนา้ ทที่ าขึน้ หรอื รับไวเ้ ป็นหลักฐาน

64. หนังสือที่เจ้ำหนำ้ ท่ีทำขนึ้ หรอื รับไว้เปน็ หลักฐำนในรำชกำรมีหลำยชนิด ข้อใดไมใ่ ช่ชนดิ ของ
หนงั สือประเภทน้ี ?
ก. รายงานการประชุม
ข. หนังสือรบั รอง
ค. บนั ทกึ
ง. ข้อบังคบั

65. ขอ้ บญั ญัติตำบล จดั เป็นหนงั สอื รำชกำรประเภทใด ?
ก. หนังสอื ประทบั ตรา
ข. หนังสอื สง่ั การ
ค. หนงั สือบังคับการ
ง. หนังสอื ประชาสัมพันธ์

เตรยี มสอบ กกต 2563

เตรียมสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 1 220044

66. กำรออกหนังสอื รับรอง ตอ้ งติดรูปถ่ำยหรือไม่ ?
ก. ต้องตดิ ทุกครั้งตามระเบยี บ
ข. ไมจ่ าเป็น
ค. ในกรณีเป็นเรอื่ งสาคญั ทอ่ี อกใหแ้ ก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย
ง. ใหอ้ ยู่ในดลุ พินิจของเจา้ หน้าที่

67. หนังสือทีต่ อ้ งปฏิบัติใหเ้ ร็วกวำ่ ปกติ มกี ปี่ ระเภทและใหร้ ะบุช้นั ควำมเร็วดว้ ยสีใด ?
ก. 3 ประเภท สีแดง
ข. 3 ประเภท น้าเงนิ
ค. 4 ประเภท สีแดง
ง. 4 ประเภท นา้ เงิน

68. กำรระบุชนั้ ควำมเรว็ ให้ใชต้ วั อักษรสี ?
ก. เขียว
ข. ดา
ค. นา้ เงิน
ง. แดง

69. หนังสอื ทเ่ี จำ้ หน้ำที่ตอ้ งปฏิบัติทนั ทีท่ีไดร้ ับ ?
ก. ด่วนทส่ี ดุ
ข. ด่วนมาก
ค. ด่วน
ง. ดว่ นภายใน

70. ช้ันควำมลับของหนังสือใหร้ ะบไุ วท้ ี่ ?
ก. ส่วนบนของหนังสอื
ข. สว่ นล่างของหนงั สือ
ค. สว่ นบนและส่วนล่างของหนังสอื
ง. ไม่มีข้อใดถูก

71. ข้อใดถูกตอ้ ง ?
ก. ทะเบียนตามระเบียบงานสารบรรณมีทะเบยี นหนังสอื รับ ทะเบียนหนังสอื สง่ ทะเบียนหนังสือเกบ็
ข. ประกาศ คือ หนังสอื ส่ังการ
ค. การเก็บหนงั สือเม่ือปฏบิ ัตเิ สรจ็ แล้ว ให้ประทบั ตรากาหนด เก็บหนงั สอื ไว้ที่มุมด้านซา้ ย
ของแผ่นกระดาษแผน่ แรก
ง. หนังสือดว่ นมาก หมายถงึ ใหเ้ จา้ หน้าท่ปี ฏิบัตเิ รว็ กวา่ ปกติ

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรียมสอบพนกั งาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชุดที่ 1 220055

72. ตำมระเบยี บงำนสำรบรรณฯ หนังสอื ทจ่ี ัดทำข้นึ ปกติใหม้ ีสำเนำคฉู่ บบั ก่ฉี บับ ?
ก. ฉบับเดยี ว
ข. ต้นเรื่อง สารบรรณกอง และสาบรรณกรม รวม 3 ฉบับ
ค. ต้นเรื่อง และสารบรรณกลาง รวม 2 ฉบับ
ง. ปกติ 2 ฉบับ แตค่ วรมสี ารองไว้อกี 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ

73. ในสำเนำคูฉ่ บับ ใหล้ งลำยมอื ชอ่ื ของผู้ใดบ้ำง ?
ก. ผรู้ ่าง และผพู้ มิ พ์
ข. ผู้ร่าง ผู้พมิ พ์ และผู้ตรวจ
ค. ผูพ้ ิมพ์ และผูต้ รวจ
ง. ผพู้ ิมพ์ ผู้ตรวจ และหัวหนา้ สว่ นราชการ

74. ตำมระเบยี บงำนสำรบรรณผทู้ จ่ี ะลงนำมคำรบั รองสำเนำหนังสอื ใหใ้ ช้คำว่ำ ?
ก. รบั รองสาเนา
ข. รบั รองถกู ตอ้ ง
ค. สาเนาถกู ต้อง
ง. สาเนาถูกต้องตามต้นฉบบั

75. คำข้นึ ตน้ หนงั สือรำชกำรถงึ พระรำชำคณะ ตำมระเบยี บกำหนดให้ใช้วำ่ อย่ำงไร ?
ก. นมัสการพระคณุ เจ้า
ข. กราบนมสั การ
ค. ขอประทานนมสั การ
ง. นมสั การ

76. คำลงท้ำย หนังสือรำชกำรถงึ พระรำชำคณะ ตำมระเบยี บกำหนดใหใ้ ชว้ ่ำอยำ่ งไร ?
ก. นมัสการด้วยความเคารพ
ข. นมสั การ
ค. ขอนมัสการดว้ ยความเคารพอย่างสูง
ง. ขอนมัสการด้วยความนบั ถืออย่างสงู

77. ข้อใดถกู ต้องในกำรเขียนวันทีต่ ำมระเบยี บวำ่ ดว้ ยสำรบรรณ ?
ก. 14 กรกฎาคม 2539
ข. วันท่ี 14 กรกฎาคม 2539
ค. 14 ก.ค. 2539
ง. 14 กรกาคม พ.ศ. 2539

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 1 220066

78. กำรพมิ พ์ชือ่ เตม็ ของเจ้ำของลำยมือชื่อ ขอ้ ใดถูกทสี่ ุด ?
ก. นายองค์การ รกั ท้องถนิ่
ข. น.ส. สดุ สวย รักบ้าน
ค. (องคก์ าร รกั ท้องถน่ิ )
ง. (นางสาวสุดสวย รักบ้าน)

79. หนังสอื เวยี น หมำยถึง ?
ก. หนังสือทมี่ ีขอ้ ความซา้ ๆ กัน ส่งถึงผู้รบั คนเดยี วกนั
ข. หนงั สอื ที่มีข้อความอยา่ งเดยี วกนั สง่ ถึงผูร้ ับจานวนมาก
ค. หนังสอื ทมี่ ขี ้อความเปน็ แบบมาตรฐาน สง่ ถึงผ้รู บั จานวนมาก
ง. หนงั สอื ทที่ าข้นึ เพ่ือสง่ ขอ้ ความประชาสัมพันธ์

80. ในหนังสือเชญิ ประชุม ควรมีสำระท่ีสำคัญ คอื ?
ก. กาหนด วนั เดือน ปี ทป่ี ระชมุ
ข. กาหนดสถานทีป่ ระชมุ
ค. แจ้งเรอื่ งทจี่ ะประชุม
ง. ถูกทุกขอ้

81. ครฑุ สำหรบั แบบพมิ พม์ ีกี่ขนำด ?
ก. 1 ขนาด
ข. 2 ขนาด
ค. 3 ขนาด
ง. 4 ขนาด

82. ขนำดควำมสูงของตวั ครฑุ มีขนำดอะไรบำ้ ง ?
ก. ขนาดสงู 3 ซม. และ 1.5 ซม.
ข. ขนาดสงู 3.2 ซม. และ 1.5 ซม.
ค. ขนาดสูง 3.5 ซม. และ 2.5 ซม.
ง. ขนาดสูง 2.5 ซม. และ 1.5 ซม.

83. ตรำชื่อส่วนรำชกำรมีลักษณะเป็นวงกลมเส้นผ่ำนศูนย์กลำงวงนอกก่ีเซนติเมตร และเส้น
ผำ่ นศนู ย์กลำงวงในกีเ่ ซนติเมตร ?
ก. 5 ซม. และ 3 ซม.
ข. 4.5 ซม. และ 3.5 ซม.
ค. 4.5 ซม. และ 2.5 ซม.
ง. 3.5 ซม. และ 2.5 ซม.

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ที่ 1 220077

84. มำตรฐำนกระดำษโดยปกตแิ บ่งได้กีข่ นำด ?
ก. 2 ขนาด
ข. 3 ขนาด
ค. 4 ขนาด
ง. 5 ขนาด

85. กระดำษขนำด 210 x 297 มม. เป็นกระดำษชนดิ ใด ?
ก. เอ 3
ข. เอ 4
ค. เอ 5
ง. เอ 8

86. หนงั สอื รบั รองให้ออกเพื่อรับรองแก่ใคร ?
ก. บคุ คล
ข. นิตบิ ุคคล
ค. หน่วยงาน
ง. ถูกทกุ ข้อ

87. หนังสือรับรองทอ่ี อกให้แกบ่ ุคคลใหต้ ิดรูปถำ่ ยขนำดเทำ่ ใด ?
ก. 4 x 6 เซนตเิ มตร
ข. 4 x 8 เซนตเิ มตร
ค. 1 x 2 เซนตเิ มตร
ง. 3 x 5 เซนติเมตร

88. หนงั สือรบั รองท่ีออกให้แกบ่ ุคคล ใหส้ ว่ นรำชกำรประทบั ตรำส่วนใดของรปู ถำ่ ย ?
ก. ขอบล่างดา้ นซา้ ย
ข. ขอบล่างดา้ นขวา
ค. ขอบล่าง
ง. บน

89. รำยงำนกำรประชุมให้บันทกึ สงิ่ ใดไวเ้ ปน็ หลักฐำน ?
ก. บนั ทึกความคิดเห็นของผู้มาประชมุ
ข. บนั ทึกความคดิ เห็นของผู้เขา้ รว่ มประชมุ
ค. บนั ทกึ มตใิ นที่ประชมุ
ง. ถูกทุกข้อ

เตรยี มสอบ กกต 2563

เตรียมสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 1 220088

90. ระเบียบสำนักนำยกรฐั มนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณซ่ึงมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่มกี ำรแก้ไข
ล่ำสดุ เป็นฉบับทีเ่ ท่ำไร ?
ก. ฉบับที่ 2
ข. ฉบบั ท่ี 3
ค. ฉบับที่ 4
ง. ฉบับที่ 5

91. ระเบียบสำนกั นำยกรฐั มนตรวี ่ำดว้ ยงำนสำรบรรณ(ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2560 ประกำศ ณ วนั ที่ ?
ก. 10 ธันวาคม 2560
ข. 15 ธันวาคม 2560
ค. 18 ธันวาคม 2560
ง. 20 ธนั วาคม 2560

92. ระเบยี บสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 มีผลบังคบั ใช้เมือ่ ไร ?
ก. 11 ธันวาคม 2560
ข. 16 ธนั วาคม 2560
ค. 19 ธันวาคม 2560
ง. 30 ธนั วาคม 2560

93. เหตุผลขอ้ ใดถกู ตอ้ งในกำรประกำศใช้ระเบียบสำนักนำยกรฐั มนตรวี ำ่ ด้วยงำนสำรบรรณ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 ?
ก. เพื่อระบุตาแหน่ง ประเภทตาแหน่ง และระดับตาแหน่งของข้าราชการพลเรือน และ
พนักงานส่วนท้องถิ่นให้สอดคล้องกับตาแหน่ง ประเภทตาแหน่ง และระดับตาแหน่ง
ของขา้ ราชการพลเรือนหรือพนักงานสว่ นท้องถิ่นนน้ั รวมทง้ั กาหนดใหพ้ นักงานราชการ
และเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั อนื่ มหี นา้ ทที่ าสาเนาหนงั สือและรับรองสาเนาหนงั สือนั้นได้ด้วย
ข. เพ่ือให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันท่ีมีการปฏิบัติงานสารบรรณด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์และเป็นการรสอดคลองกับการบริหารราชการแนวทางใหม่ที่
มงุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ ความคมุ้ ค่า และการลดขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน
ค. เพอ่ื ปรับปรงุ ให้ทนั สมยั
ง. ถกู ทุกข้อ

94. ใครเป็นผู้ลงลำยมือช่ือรบั รองสำเนำถูกตอ้ งในหนังสอื รำชกำร ?
ก. ข้าราชการพลเรือนหรอื พนกั งานสว่ นท้องถิน่ ประเภทวชิ าการ ระดบั ปฏิบตั ิการ ข้นึ ไป
ข. ขา้ ราชการพลเรือนหรือพนักงานสว่ นท้องถิ่น ประเภททว่ั ไป ระดบั ชานาญงาน ขน้ึ ไป
ค. พนกั งานราชการ ซึ่งเปน็ เจา้ ของเร่ืองทท่ี าสาเนาหนงั สอื นัน้
ง. ถกู ทกุ ข้อ

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรียมสอบพนักงาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดท่ี 1 220099

95. กำรลงลำยมอื ชื่อรบั รอง ต้องดำเนนิ กำรอยำ่ งไร ?
ก. ใชล้ ายพมิ พ์ แกงได
ข. ลงชือ่ ตัวบรรจง
ค. ลงชอ่ื ตวั บรรจง ตาแหนง่
ง. ลงช่อื ตัวบรรจง ตาแหนง่ และวนั เดือน ปีทรี่ ับรอง

96. ใครเปน็ ผแู้ ต่งตง้ั คณะกรรมกำรทำลำยหนงั สือ ?
ก. หัวหน้าส่วนราชการระดบั สว่ น
ข. หวั หนา้ ส่วนราชการระดบั กอง
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรม
ง. ปลัดกระทรวง

97. คณะกรรมกำรทำลำยหนังสอื ประกอบดว้ ยอยำ่ งน้อยกีค่ น ?
ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. 7 คน
ง. 9 คน

98. คณะกรรมกำรทำลำยหนงั สอื โดยปกตแิ ต่งตัง้ จำกบคุ คลใด ?
ก. ข้าราชการพลเรอื นหรอื พนกั งานสว่ นท้องถิ่น ประเภทวชิ าการ ระดับปฏิบตั กิ าร ขน้ึ ไป
ข. ข้าราชการพลเรอื นหรือพนักงานส่วนทอ้ งถิ่น ประเภททัว่ ไป ระดับชานาญงาน ข้นึ ไป
ค. เจา้ หนา้ ท่รี ัฐอ่ืนซง่ึ เทยี บเทา่ ก หรือ ข
ง. ถกู ทกุ ขอ้

99. กำรยืมหนงั สือภำยในส่วนรำชกำรใหห้ วั หนำ้ สว่ นรำชกำรระดบั ใดขนึ้ ไปเปน็ ผูอ้ นญุ ำต ?
ก. หัวหนา้ ส่วนราชการระดับกองขน้ึ ไป
ข. หัวหนา้ ส่วนราชการระดบั กรมข้นึ ไป
ค. เจา้ หนา้ ท่ีผูใ้ ห้ยมื
ง. หวั หนา้ ส่วนราชการระดับแผนกขึน้ ไป

100. กำรให้บคุ คลภำยนอกยมื หนังสือจะกระทำไดใ้ นกรณใี ดบำ้ ง ?
ก.ดูหรือคัดลอก
ข.ถา่ ยเอกสาร
ค.ทาสาเนา
ง.ถกู ทกุ ข้อ

เตรยี มสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนกั งาน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 1 221100

เฉลยแนวขอ้ สอบ ระเบียบสำนักนำยกรฐั มนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ.2526

และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ถงึ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2560

ข้อ เฉลย ขอ้ ข้อ เฉลย ขอ้ ขอ้ เฉลย ขอ้

1ก - 35 ก 57 69 ก 28

2ง 2 36 ค 57 70 ค -

3ก 4 37 ก 57 71 ก 19 28 55

4ข 5 38 ข 58 72 ค 30

5ค 6 39 ค 11 73 ข 30

6ก 6 40 ง 13 74 ค 31

7ก 6 41 ค 25 75 ง ภาคผนวก 2

8ง 8 42 ก 28 76 ค 11

9ง 9 43 ง 28 77 ก 11

10 ง - 44 ง 32 78 ง -

11 ค 10 45 ง 30 79 ข 32

12 ค 10 46 ง 9 80 ง -

13 ก 11 47 ง ภาคผนวก 2 81 ข 71

14 ง 11 48 ก ภาคผนวก 2 82 ก 72

15 ง 13 49 ง ภาคผนวก 2 83 ข 74

16 ง 12 50 ค ภาคผนวก 2 84 ข 74

17 ค 19 51 ภาคผนวก 2 85 ข 74

18 ข 18 52 4 86 ง 24

19 ก 21 53 8 87 ก 24

20 ค 28 54 10 88 ข 24

21 ง 28 55 15 89 ง 25

22 ข 25 56 15 19 90 ข -

23 ข 28 57 15 21 91 ข -

24 ข ส่วนท่ี 2 58 9 92 ข -

25 ง 13 30 59 14 93 ก -

26 ง ภาคผนวก 2 60 23 94 ง -

27 ง 58 61 19 95 ง 31

28 ค 62 62 19 96 ค 67

29 ง 32 63 9 97 ก 67

30 ก 34 64 23 98 ง 67

31 ข 35 65 15 99 ง 62

32 ก 36 66 24 100 ก 65

33 ค 52 67 28

34 ข 57 68 28

เตรียมสอบ กกต 2563

เตรยี มสอบพนักงานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชดุ ท่ี 1 211

แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี
ว่ำดว้ ยกำรรักษำควำมปลอดภยั แห่งชำติ พ.ศ. 2552

1. ระเบยี บสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ดว้ ยกำรรักษำควำมปลอดภัยแหง่ ชำติ พ.ศ. 2552
มจี ำนวนก่ขี ้อ และกี่หมวด ?
ก. 60 ขอ้ 4 หมวด
ข. 53 ข้อ 4 หมวด
ค. 55 ขอ้ 7 หมวด
ง. 60 ข้อ 7 หมวด

2. ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ด้วยกำรรกั ษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2552 ประกำศ
ณ วันท่ี เท่ำไหร่ ?
ก. 8 มกราคม 2552
ข. 3 กุมภาพันธ์ 2552
ค. 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2552
ง. 5 มีนาคม 2552

3. ระเบียบสำนกั นำยกรัฐมนตรี ว่ำดว้ ยกำรรักษำควำมปลอดภัยแหง่ ชำติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2554 ประกำศ ณ วนั ที่ เท่ำไหร่ ?
ก. 30 พฤษภาคม 2554
ข. 31 พฤษภาคม 2554
ค. 23 พฤษภาคม 2554
ง. 26 มิถุนายน 2554

4. ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ดว้ ยกำรรกั ษำควำมปลอดภยั แหง่ ชำติ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.
2560 ประกำศ ณ วันท่ี เทำ่ ไหร่ ?
ก. 15 มกราคม 2560
ข. 31 มกราคม 2560
ค. 15 ตุลาคม 2560
ง. 31 ตุลาคม 2560

5. ใครเปน็ ผ้รู กั ษำกำรตำมระเบยี บสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัย
แหง่ ชำติ พ.ศ. 2552 ?
ก. รัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย
ง. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 1 212

6. ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี วำ่ ด้วยกำรรกั ษำควำมปลอดภยั แห่งชำติ พ.ศ. 2552 ออก
ตำมกฎหมำยใด ?
ก. พระราชบญั ญัติข้อมลู ส่วนบคุ คล พ.ศ. 2540
ข. พระราชบญั ญัติข้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540
ค. พระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ง. พระราชบัญญัติวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

7. องค์กำรรักษำควำมปลอดภยั หมำยควำมว่ำ หน่วยงำนดังต่อไปน้ี ยกเวน้ ข้อใด
ก. สานกั ข่าวกรองแหง่ ชาติ สานกั นายกรฐั มนตรีหรือศนู ยร์ ักษาความปลอดภัย
ข. กองบญั ชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
ค. กรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยตุ ธิ รรม
ง. กองบญั ชาการตารวจสันตบิ าล สานกั งานตารวจแห่งชาติ

8. ใครมหี นำ้ ท่ีรักษำควำมปลอดภยั ในหนว่ ยงำนของรัฐ ?
ก. บคุ คลผ้ไู ดร้ บั แต่งต้ังให้รับผิดชอบด้านความปลอดภัย
ข. หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั
ค. บุคคลทหี่ วั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั มอบหมาย
ง. บคุ คลที่หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐแต่งตง้ั

9. ใครเปน็ ผแู้ ตง่ ตงั้ เจ้ำหนำ้ ทค่ี วบคมุ กำรรักษำควำมปลอดภยั ?
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. องค์การรกั ษาความปลอดภยั
ค. หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั
ง. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ

10. นำยกรฐั มนตรีตอ้ งจดั ให้มกี ำรทบทวนกำรปฏบิ ัตติ ำมระเบยี บ และพจิ ำรณำแกไ้ ขเพมิ่ เติมให้
เหมำะสมเมื่อใด ?
ก. ในกรณีทเ่ี ห็นเป็นการสมควรหรอื อยา่ งน้อยทกุ 3 ปี
ข. ในกรณที ่เี ห็นเป็นการสมควรหรืออย่างน้อยทุก 5 ปี
ค. ในกรณที เ่ี หน็ เป็นการสมควรหรืออยา่ งน้อยทกุ 7 ปี
ง. ในกรณที ่ีเห็นเป็นการสมควรหรอื อย่างน้อยทุก 10 ปี

11. บุคคลใดทจ่ี ะเข้ำถงึ ข้อมลู ข่ำวสำรลบั ในชัน้ ควำมลบั ได้ ?
ก. บุคคลทกุ คนทเี่ กี่ยวข้อง
ข. ผมู้ ีหน้าทส่ี ่งต่อขอ้ มูล
ค. ผไู้ ด้รับการแตง่ ตง้ั ใหม้ ีหน้าท่ีดงั กล่าวประจา
ง. บุคคลทีผ่ บู้ งั คบั บญั ชามอบหมายความไว้วางใจ

12. ข้อใดไมใ่ ชช่ น้ั ควำมลบั ของข้อมูลขำ่ วสำรลบั ?
ก. ลบั
ข. ลบั มาก
ค. ลบั ท่ีสุด
ง. ลบั มากท่สี ุด

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 1 213

13. ช้ันควำมลับของขอ้ มูลขำ่ วสำรลบั แบ่งออกเปน็ กีช่ นั้ ?
ก. 2 ชน้ั
ข. 3 ช้ัน
ค. 4 ช้นั
ง. 5 ชน้ั

14. ลับทีส่ ดุ หมำยควำมวำ่ อย่ำงไร ?
ก. ความลับท่ีมีความสาคัญที่สุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าที่
ได้ทราบ จะทาใหเ้ กดิ ความเสียหายแกป่ ระชาชนและสาธารณะอยา่ งรา้ ยแรงที่สุด
ข. ความลับที่มีความสาคัญที่สุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าที่
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ความมน่ั คงและผลประโยชนแ์ หง่ รัฐอยา่ งร้ายแรงท่ีสดุ
ค. ความลับที่มีความสาคัญท่ีสุดเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าที่
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กิดความเสยี หายแก่สาธารณะประโยชนส์ ว่ นรวมอย่างร้ายแรงท่สี ดุ
ง. ความลับที่มีความสาคัญท่ีสุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าท่ี
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กิดความเสยี หายแก่ประเทศชาตแิ ละประชาชนอย่างร้ายแรงทีส่ ุด

15. ลบั มำก หมำยควำมว่ำอยำ่ งไร ?
ก. ความลับที่มีความสาคัญมากเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าที่
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ความม่ันคงและผลประโยชนแ์ หง่ รัฐอย่างรา้ ยแรง
ข. ความลับท่ีมีความสาคัญท่ีสุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าที่
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ประชาชนและสาธารณะอยา่ งรา้ ยแรง
ค. ความลับท่ีมีความสาคัญท่ีสุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าท่ี
ได้ทราบ จะทาให้เกิดความเสียหายแกส่ าธารณะประโยชนส์ ่วนรวมอยา่ งรา้ ยแรง
ง. ความลับทมี่ คี วามสาคญั ทสี่ ุดเกี่ยวกับบุคคลข้อมลู ขา่ วสาร วตั ถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีคา่
ของแผน่ ดนิ ซ่ึงหากความลับดังกลา่ วทงั้ หมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไมม่ ีหน้าที่
ได้ทราบ จะทาใหเ้ กิดความเสียหายแกป่ ระเทศชาติและประชาชนอยา่ งรา้ ยแรง

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 1 214

16. ลบั หมำยควำมวำ่ อยำ่ งไร ?
ก. ความลับทมี่ คี วามสาคญั ที่สดุ เกยี่ วกับบคุ คลขอ้ มลู ข่าวสาร วตั ถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมคี า่
ของแผน่ ดนิ ซึ่งหากความลบั ดงั กล่าวทงั้ หมดหรือเพยี งบางสว่ นร่วั ไหลไปถึงบคุ คลผู้ไม่มหี น้าที่
ได้ทราบ จะทาใหเ้ กดิ ความเสียหายแกป่ ระเทศชาตแิ ละประชาชน
ข. ความลับทีม่ คี วามสาคญั ท่ีสุดเกยี่ วกบั บุคคลขอ้ มูลขา่ วสาร วตั ถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดนิ ซ่ึงหากความลบั ดังกลา่ วทัง้ หมดหรือเพยี งบางสว่ นรว่ั ไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหนา้ ท่ี
ไดท้ ราบ จะทาใหเ้ กิดความเสียหายแกส่ าธารณะประโยชน์ส่วนรวม
ค. ความลับท่มี คี วามสาคัญที่สุดเก่ยี วกับบคุ คลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพยส์ ินมีค่า
ของแผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกลา่ วทง้ั หมดหรือเพียงบางสว่ นรว่ั ไหลไปถงึ บุคคลผู้ไมม่ ีหน้าท่ี
ได้ทราบ จะทาใหเ้ กิดความเสียหายแก่ประชาชนและสาธารณะ
ง. ความลับท่ีมีความสาคัญเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของ
แผ่นดิน ซ่ึงหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไม่มีหน้าท่ีได้
ทราบ จะทาใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ความมัน่ คงและผลประโยชน์แหง่ รฐั

17. คณะกรรมกำรนโยบำยรักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ เรยี กโดยยอ่ ว่ำอะไร ?
ก. กนช.
ข. กรช.
ค. คนช.
ง. ครช.

18. คณะกรรมกำรนโยบำยรักษำควำมปลอดภยั แหง่ ชำติ มีใครเปน็ ประธำนกรรมกำร ?
ก. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. รฐั มนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ค. นายกรฐั มนตรี
ง. รฐั มนตรที ่นี ายกรฐั มนตรมี อบหมาย

19. คณะกรรมกำรนโยบำยรกั ษำควำมปลอดภยั แหง่ ชำติ มีอำนำจหนำ้ ทดี่ ังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ?
ก. กาหนดนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ข. กาหนดแนวทางปฏิบัตแิ ละอานวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัย
แหง่ ชาติ
ค. กากบั ดูแลและบังคับบญั ชาองค์การรักษาความปลอดภัย
ง. เชิญเจ้าหน้าท่ีของรัฐหรอื บุคคลทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การดาเนนิ งานเก่ยี วกับนโยบายและมาตรการ
การรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาตมิ าชแ้ี จง หรือเรยี กเอกสารจากหน่วยงานของรฐั หรอื บคุ คลท่ี
เก่ียวข้องเพื่อประกอบการพจิ ารณาไดต้ ามความจาเปน็

20. กำรประชมุ คณะกรรมกำรนโยบำยรกั ษำควำมปลอดภัยแหง่ ชำติ ต้องมีกรรมกำรมำประชมุ
จำนวนเท่ำใดจงึ จะเปน็ องค์ประชมุ ?
ก. 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการท้งั หมด
ข. ไมน่ อ้ ยกวา่ กงึ่ หนงึ่ ของจานวนกรรมการทง้ั หมด
ค. 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการท้งั หมด
ง. 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการทงั้ หมด

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชุดท่ี 1 215

21. หน่วยงำนใดทำหนำ้ ทเ่ี ป็นสำนกั งำนเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรนโยบำยรกั ษำควำม
ปลอดภยั แห่งชำติ ?
ก. สานกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม
ข. สานกั งานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. สานกั งานข่าวกรองแหง่ ชาติ
ง. สานักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ สานักนายกรฐั มนตรี

22. กำรรกั ษำควำมปลอดภยั เกีย่ วกับบุคคลหน่วยงำนของรัฐต้องปฏบิ ตั ิอยำ่ งไร ?
ก. ตรวจสอบประวัตแิ ละพฤติการณบ์ คุ คล
ข. รบั รองความไว้วางใจบคุ คลเพอ่ื ใหเ้ ข้าถึงส่ิงทีเ่ ปน็ ความลับของทางราชการ
ค. จัดใหม้ บี คุ คลหรือทรพั ย์สินในการรบั ประกันการปฏิบตั ิงาน
ง. ถกู ทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.

23. กำรตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ำรณ์บคุ คล ใหใ้ ช้กับบุคคลดงั ต่อไปน้ี ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. ผู้ทอ่ี ย่รู ะหวา่ งรอวา่ จ้าง บรรจุ หรอื แต่งตัง้ เปน็ เจา้ หนา้ ที่ของรฐั
ข. ผทู้ เ่ี ป็นลูกจ้างทดลองปฏิบัติงาน หรือฝกึ งานกอ่ นบรรจุเข้าปฏิบตั ิงาน
ค. ผทู้ ีเ่ ข้าทาสัญญารบั จา้ งทาการงานใหแ้ ก่หนว่ ยงานของรัฐ
ง. ผู้ไดร้ ับทุนการศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศของหน่วยงานของรฐั เม่ือสาเรจ็ การศึกษา
แล้วมีขอ้ ผูกพันให้เขา้ ปฏิบตั ิงานให้แกห่ น่วยงานของรัฐ

24. หำกผลกำรตรวจสอบประวัติและพฤติกำรณ์บุคคลปรำกฏวำ่ เจ้ำหน้ำทขี่ องรฐั ผ้ใู ดมพี ฤตกิ ำรณท์ ่ีน่ำ
สงสยั หรือมกี ำรกระทำอันก่อให้เกิดควำมไม่น่ำไวว้ ำงใจซึ่งอำจเป็นภยั ต่อควำมมน่ั คงและผลประโยชน์
แหง่ รฐั ต้องดำเนินกำรอยำ่ งไร ?
ก. ใหย้ ้ายผ้นู ั้นออกจากตาแหน่งหน้าทนี่ ั้นโดยเร็วและพิจารณาดาเนินการต่อไป โดยให้รายงาน
องค์การรกั ษาความปลอดภยั ทราบด้วย
ข. ใหแ้ จ้งผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤติการณบ์ ุคคลนน้ั ใหอ้ งค์การรกั ษาความปลอดภยั
ดาเนินการ
ค. ให้แจ้งผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤติการณบ์ ุคคลนัน้ ตอ่ คณะกรรมการนโยบายรักษา
ความปลอดภยั แห่งชาติ
ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

25. ใครมีหน้ำทีร่ ับรองควำมไว้วำงใจบุคคลเพอื่ ให้เขำ้ ถึงส่งิ ที่เปน็ ควำมลับของทำงรำชกำรตำม
ช้ันควำมลับทจ่ี ะไดม้ อบหมำยให้ปฏิบตั ิ ?
ก. สานกั งานขา่ วกรองแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ค. องค์การรักษาความปลอดภัย
ง. หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 1 216

26. บคุ คลใดจะได้รบั กำรรับรองควำมไวว้ ำงใจ จะต้องมีกำรดำเนนิ กำรอย่ำงไร ?
ก. จะตอ้ งผา่ นการตรวจสอบประวตั แิ ละความประพฤติโดยละเอยี ดแล้ว
ข. จะต้องมีบุคคลอ่ืนให้ความรบั รองในประวัตแิ ละความประพฤติเสียก่อน
ค. จะต้องผ่านการอบรมหรือช้ีแจงในเรื่องการรักษาความปลอดภัยตามระเบียบเสียก่อน
และลงนามในบันทึกรับรองการรักษาความลับเม่ือเข้ารับการปฏิบัติหน้าท่ีในภารกิจหรือ
ตาแหนง่ หน้าที่
ง. จะต้องมีการจัดทาสัญญาการเข้าทางานและข้อตกลงการปฏิบตั ิงานเรยี บร้อยแล้ว

27. เมอ่ื มีกำรเปล่ียนแปลงเก่ียวกับบุคคลหรือมพี ฤตกิ ำรณท์ สี่ งสัยว่ำบุคคลน้ันจะไมเ่ หมำะสมกบั ควำม
ไว้วำงใจทไี่ ดร้ บั อยู่ จะต้องดำเนินกำรอยำ่ งไร ?
ก. จะตอ้ งโยกย้ายบคุ คลนนั้ ออกจากตาแหนง่ เพ่ือรอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐสั่งการ
ข. จะตอ้ งตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณ์บคุ คลใหมแ่ ละแก้ไขทะเบียนความไวว้ างใจทันที
ค. จะตอ้ งใหบ้ คุ คลนน้ั ออกจากตาแหน่งที่ดารงอยทู่ ันทแี ละให้มีการสอบสวน
ง. จะต้องมีการต้งั คณะกรรมการสอบสวนข้อเทจ็ จรงิ

28. ในกรณีท่ีหน่วยงำนของรัฐจะมอบหมำยให้บุคคลใดปฏิบัติหน้ำท่ีเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นควำมลับ
ของทำงรำชกำร บุคคลน้ันต้องผ่ำนกำรตรวจสอบประวัติและพฤติกำรณ์บุคคล และ
หน่วยงำนของรัฐต้องดำเนินกำรอยำ่ งไร ?
ก. ให้มีบคุ คลรบั รองความไวว้ างใจไวเ้ ป็นหลักฐานก่อนปฏบิ ัตหิ นา้ ทเ่ี ก่ียวกับส่งิ ทเ่ี ปน็ ความลบั
ของทางราชการ
ข. มีคาสง่ั เปน็ ลายลักษณอ์ ักษรแต่งตั้งบุคคลซงึ่ ไดร้ ับความไวว้ างใจใหป้ ฏิบัติหนา้ ท่เี ก่ยี วกับสิง่ ท่ี
เปน็ ความลบั ของทางราชการ โดยบนั ทึกชื่อบุคคลดังกลา่ วลงในทะเบียนความไว้วางใจ
ค. มหี นังสือหรอื ใบรบั รองความไว้วางใจใหเ้ ป็นหลักฐาน เม่ือตอ้ งส่งบุคคลไปประชมุ หรือเข้า
ร่วมในกจิ การอน่ื ใดท่เี กย่ี วกบั ส่ิงทีเ่ ป็นความลบั ของทางราชการชนั้ ลับท่ีสุด หรือลบั มากนอก
หนว่ ยงานต้นสงั กดั
ง. ถกู ท้งั ข้อ ข. และ ขอ้ ค.

29. ในกรณีทบ่ี คุ คลใดจะพ้นจำกภำรกจิ หรือตำแหนง่ หน้ำทที่ เ่ี กีย่ วกับส่ิงทเ่ี ป็นควำมลับของทำง
รำชกำรใหด้ ำเนินกำรอยำ่ งไร ?
ก. ให้หน่วยงานของรัฐคดั ชื่อออกจากทะเบียนความไว้วางใจ
ข. ให้บุคคลนัน้ คนื ข้อมลู ข่าวสารกบั หลักฐานตา่ ง ๆ ให้กับหัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั หรอื ผู้ที่ไดร้ บั
มอบหมาย หรือเจา้ หน้าที่ควบคมุ การรักษาความปลอดภยั
ค. ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ หรอื ผูท้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย หรือเจา้ หน้าที่ควบคุมการรกั ษาความปลอดภยั
ช้ีแจงใหบ้ ุคคลน้นั ไดท้ ราบถงึ ความเสียหายต่อความมนั่ คงและผลประโยชน์แหง่ รัฐในการเปดิ เผย
ความลบั ของทางราชการ และให้บคุ คลนน้ั ลงชื่อในบนั ทึกรับรองการรักษาความลบั เม่ือพ้นจากภารกจิ
หรอื ตาแหน่งหนา้ ทไ่ี ว้เปน็ หลักฐาน
ง. ถูกทุกขอ้

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง ชดุ ที่ 1 217

30. บคุ คลทพี่ ้นจำกภำรกจิ หรอื ตำแหน่งหนำ้ ท่ีไปแลว้ เม่ือกลับเขำ้ ทำงำนในภำรกจิ หรือ
ตำแหน่งหน้ำทท่ี ีเ่ ก่ียวกับส่ิงท่เี ปน็ ควำมลบั ของทำงรำชกำร ต้องดำเนนิ กำรอยำ่ งไร ?
ก. ตอ้ งตรวจสอบประวัตแิ ละพฤติการณ์บุคคลใหม่ตามระเบยี บ
ข. ไมต่ อ้ งตรวจสอบประวัตแิ ละพฤตกิ ารณบ์ คุ คลใหมต่ ามระเบยี บ
ค. ใหท้ าคาขอใช้ผลการตรวจสอบประวตั แิ ละพฤติการณ์บุคคลทม่ี ีอยเู่ ดมิ
ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

31. ในกำรพิจำรณำเกย่ี วกบั กำรรักษำควำมปลอดภัยเกี่ยวกับสถำนทใี่ ห้หน่วยงำนของรัฐ
คำนึงถงึ ภยนั ตรำยใดบ้ำง ?
ก. ภยนั ตรายท่ีเกดิ จากปรากฏการณธ์ รรมชาติ อุปทั วเหตุ และปฏิกริ ยิ าเคมี
ข. ภยนั ตรายที่เกดิ จากการกระทาของมนุษย์
ค. ภยนั ตรายท่ีเกดิ จากเหตสุ ดุ วิสยั อื่นใด
ง. ถูกทง้ั ข้อ ก. และ ข้อ ข.

32. กำรรักษำควำมปลอดภัยเกีย่ วกบั สถำนท่ีต้องปฏิบตั ิ ดังต่อไปน้ี ยกเวน้ ข้อใด ?
ก. จดั ทาแผนการรกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกับสถานที่
ข. กาหนดนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารรักษาความปลอดภยั เกี่ยวกับสถานที่
ค. กาหนดมาตรการการรักษาความปลอดภยั เก่ียวกับสถานที่
ง. ดาเนนิ การสารวจและตรวจสอบการรกั ษาความปลอดภัยเก่ียวกับสถานที่

33. หนว่ ยงำนของรฐั ต้องจัดให้มีกำรทบทวนและซกั ซ้อมแผนกำรรกั ษำควำมปลอดภัยเก่ียวกบั
สถำนทอี่ ย่ำงน้อยปีละกีค่ ร้งั ?
ก. 1 ครง้ั
ข. 2 ครงั้
ค. 3 ครง้ั
ง. 4 ครัง้

34. มำตรกำรกำรรักษำควำมปลอดภยั เกี่ยวกบั สถำนที่ ใหห้ น่วยงำนของรัฐพิจำรณำดำเนินกำรจัดให้มี
เจ้ำหน้ำทรี่ กั ษำควำมปลอดภัยสถำนที่ ประกอบด้วยบคุ คลใดบ้ำง ?
ก. เจา้ หน้าท่ีเวรรกั ษาความปลอดภยั ประจาวัน
ข. นายตรวจเวรรักษาความปลอดภยั ประจาวัน
ค. ยามรกั ษาการณแ์ ละเจ้าหน้าท่อี นื่ ๆ
ง. ถกู ทกุ ข้อ

35. หน่วยงำนของรัฐต้องจดั ให้มีกำรสำรวจและกำรตรวจสอบกำรรกั ษำควำมปลอดภัยเกี่ยวกับ
สถำนท่ีตำมควำมเหมำะสม โดยตอ้ งขอคำแนะนำจำกใคร ?
ก. เลขาธิการสภาความม่นั คงแหง่ ชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ค. หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐ
ง. องค์การรักษาความปลอดภัย

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั ชุดที่ 1 218

36. “กำรประชุมลบั ” หมำยควำมว่ำอย่ำงไร ?
ก. การร่วมปรึกษาหารือเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการ และให้
หมายความรวมถึงการหาขอ้ ยุติ ข้อพจิ ารณา ความเห็น การอภิปราย การบรรยาย การบรรยาย
สรปุ และเหตุการณ์ท่ปี รากฏในการประชมุ ลับนัน้ ดว้ ย
ข. การร่วมปรึกษาหารือท่ีห้ามไม่ให้บุคคลท่ีเก่ียวข้องเข้าร่วมการประชุม และให้หมายความ
รวมถึงการหาข้อยุติ ข้อพิจารณา ความเห็น การอภิปราย การบรรยาย การบรรยายสรุป และ
เหตุการณท์ ่ีปรากฏในการประชมุ ลบั นน้ั ดว้ ย
ค. การร่วมปรึกษาหารือเรื่องที่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐกาหนดว่าเป็นความลับ และให้
หมายความรวมถึงการหาข้อยุติ ข้อพิจารณา ความเห็น การอภปิ ราย การบรรยาย การบรรยาย
สรุป และเหตุการณท์ ี่ปรากฏในการประชุมลบั นัน้ ดว้ ย
ง. การร่วมปรึกษาหารือเรื่องท่ีองค์การรักษาความปลอดภัยกาหนดเป็นช้ันความลับ และให้
หมายความรวมถึงการหาขอ้ ยตุ ิ ข้อพิจารณา ความเห็น การอภิปราย การบรรยาย การบรรยาย
สรปุ และเหตุการณ์ท่ีปรากฏในการประชุมลบั นั้นดว้ ย

37. ใครเปน็ ผู้รับผิดชอบจัดประชมุ และรักษำควำมปลอดภยั เกี่ยวกับกำรประชุม?
ก. องค์การรกั ษาความปลอดภัย
ข. เจ้าหน้าทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมายใหม้ กี ารจัดประชุม
ค. ประธานในทีป่ ระชมุ
ง. หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั เจ้าของเร่ืองทีจ่ ะมีการประชมุ ลับ

38. ในกรณีที่ผูเ้ ข้ำประชมุ แต่ละฝำ่ ยจำเป็นตอ้ งวำงมำตรกำรกำรรักษำควำมปลอดภัยเฉพำะใน
ฝำ่ ยตนต้องดำเนนิ กำรอยำ่ งไร ?
ก. การวางมาตรการดงั กล่าวต้องสอดคลอ้ งกบั มาตรการการรักษาความปลอดภัยในการประชุม
ลับตามระเบียบ และให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของฝ่ายนั้นขึ้นเพ่ือทาหน้าท่ี
ประสานงานในเรื่องการรักษาความปลอดภัยกับเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัยใน
การประชมุ ลับ
ข. การวางมาตรการขึ้นอยู่กับความจาเป็นและเหมาะสม แตใ่ ห้แต่งตงั้ เจ้าหน้าที่รักษาความ
ปลอดภยั ของฝา่ ยน้นั ข้นึ เพ่ือทาหน้าทปี่ ระสานงานในเรื่องการรักษาความปลอดภยั กับ
เจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ การรักษาความปลอดภัยในการประชมุ ลับ
ค. การวางมาตรการให้มีการตกลงรว่ มกนั และใหแ้ ต่งตั้งเจ้าหนา้ ท่ีรกั ษาความปลอดภัยของฝา่ ย
นน้ั ข้นึ เพ่ือทาหนา้ ทปี่ ระสานงานในเรื่องการรักษาความปลอดภัยกับเจ้าหนา้ ท่คี วบคมุ การรักษา
ความปลอดภยั ในการประชมุ ลับ
ง. ไม่มขี ้อใดถกู

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ท่ี 1 219

39. บุคคลที่เก่ียวขอ้ งกบั กำรประชุมลับ ตอ้ งผ่ำนกำรตรวจสอบประวัตแิ ละพฤติกำรณ์บคุ คล
หรอื ไม่ ?
ก. ไม่ตอ้ งตรวจสอบประวตั ิและพฤตกิ ารณ์บคุ คล แต่ตอ้ งได้รบั ความไว้วางใจใหเ้ ขา้ ถึงความลับ
ในการประชุม
ข. ไม่ต้องตรวจสอบประวตั แิ ละพฤตกิ ารณบ์ คุ คล และไม่ตอ้ งได้รับความไว้วางใจให้เขา้ ถงึ
ความลับในการประชมุ
ค. ตอ้ งผา่ นการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล พร้อมทงั้ ได้รบั ความไวว้ างใจใหเ้ ข้าถึง
ความลับในการประชุมนั้น
ง. ต้องผ่านการตรวจสอบประวัติและพฤติการณ์บุคคล แต่ไม่ต้องได้รับความไว้วางใจใหเ้ ข้าถึง
ความลับในการประชุมนนั้

40. กำรรักษำควำมปลอดภยั ในกำรประชุมลับ ให้หน่วยงำนของรัฐพจิ ำรณำดำเนินกำร
ดังต่อไปนี้ ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. กาหนดพน้ื ท่ีทม่ี ีการรกั ษาความปลอดภยั และ ดาเนนิ การรกั ษาความปลอดภยั
ข. ประสานงานการรักษาความปลอดภยั และ กาหนดวิธปี ฏิบัตติ ่อผู้มาตดิ ต่อ
ค. แถลงขา่ วตอ่ ส่ือมวลชน และ บรรยายหรือบรรยายสรปุ เร่ืองทเี่ ปน็ ความลับ
ง. แจกเอกสารขา่ วเผยแพร่ และ แผน่ ประชาสมั พันธ์

41. กำรกำหนดพน้ื ที่ทม่ี กี ำรรกั ษำควำมปลอดภยั ในกำรประชุมลบั ประกอบดว้ ยสิ่งดังตอ่ ไปนี้ ยกเว้นขอ้ ใด?
ก. กาหนดอาณาเขตท่ีใช้ในการประชุมลับ ทีท่ าการของผู้เข้าประชุมลบั และสถานทท่ี ี่ใชเ้ กบ็
รักษาส่งิ ที่เป็นความลับของทางราชการ
ข. จดั ใหม้ แี นวกันพ้ืนทใ่ี นการประชมุ ลบั
ค. จัดให้มมี าตรการการรักษาความปลอดภยั ตามความจาเปน็ และเหมาะสมไว้ลว่ งหน้าก่อนเปิด
การประชุมลบั
ง. กาหนดใหม้ ีบัตรผา่ นหรอื ป้ายแสดงตนสาหรบั ใช้ควบคมุ บคุ คล

42. เจำ้ หนำ้ ที่ควบคุมกำรรักษำควำมปลอดภัยในกำรประชุมลับตอ้ งดำเนนิ กำรอย่ำงไรบ้ำง ?
ก. ตรวจตราและตรวจสอบทางเทคนิคตลอดในพน้ื ท่ีท่ีกาหนดให้มกี ารรักษาความปลอดภยั
ท้ังหมดอยา่ งละเอยี ดก่อนวนั เปดิ ประชมุ ลับและระหวา่ งการประชุมลับ
ข. ในกรณีที่การประชุมลับนั้นมีความสาคัญมาก หน่วยงานของรัฐอาจขอความช่วยเหลือจาก
องค์การรักษาความปลอดภัยได้ หลังจากที่องค์การรักษาความปลอดภัยตรวจสอบแล้ว ให้ส่ง
มอบความรับผิดชอบในพื้นท่ีนั้นเป็นลายลักษณ์อักษรแก่เจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความ
ปลอดภยั ในการประชุมลับหรอื ผู้แทนหน่วยงานน้นั
ค. การปฏิบตั ติ อ่ ส่งิ ทีเ่ ปน็ ความลบั ของทางราชการ การควบคุมดูแลการประชุมลับ การทาลาย
ขอ้ มลู ข่าวสารลบั ที่ไม่ใช้แล้ว ใหอ้ ยใู่ นความดูแลของเจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมการรักษาความ
ปลอดภยั ในการประชมุ ลับและนายทะเบียนข้อมลู ข่าวสารลบั
ง. ถกู ทกุ ข้อ

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ที่ 1 220

43. กรณจี ำเปน็ ต้องมีกำรแถลงข่ำวเก่ียวกับกำรประชุมลับตอ้ งจดั สถำนท่ที ีใ่ ชแ้ ถลงข่ำวอย่ำงไร ?
ก. จัดสถานที่ทีใ่ ชแ้ ถลงข่าวขึ้นโดยเฉพาะ และควรอยูน่ อกพื้นทีท่ ่ีมีการรักษาความปลอดภัยใน
การประชมุ ลับ
ข. จัดสถานท่ที ่ีใชแ้ ถลงขา่ วขึ้นตามความเหมาะสม และควรอยู่ในพืน้ ท่ที ม่ี ีการรกั ษาความ
ปลอดภัยในการประชมุ ลบั
ค. จดั สถานท่ีท่ีใชแ้ ถลงขา่ วขึ้นตามความเหมาะสม และควรอยู่นอกพน้ื ทีท่ ม่ี ีการรักษาความ
ปลอดภัยในการประชุมลับ
ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

44. กรณที ่ีเปน็ กำรบรรยำยหรือกำรบรรยำยสรปุ เรื่องทีเ่ ป็นควำมลบั นอกจำกจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตำม
มำตรกำรในกำรรักษำควำมปลอดภยั ในกำรประชุมลับแลว้ ให้ดำเนนิ กำรอยำ่ งไร ?
ก. กาหนดชัน้ ความลบั ของการบรรยายหรอื การบรรยายสรุป โดยถือตามช้ันความลับทีส่ งู สุดใน
ข้อมูลขา่ วสาร หรือส่ิงทใี่ ช้ประกอบการบรรยายหรือการบรรยายสรุปนัน้
ข. กาหนดใหผ้ ู้เข้ารบั ฟังทุกคนตอ้ งไดร้ บั ความไวว้ างใจใหเ้ ขา้ ถึงชนั้ ความลับของการบรรยาย
หรอื การบรรยายสรปุ นัน้
ค. เมื่อเร่ิมและสนิ้ สดุ การบรรยายหรอื การบรรยายสรุป ผู้บรรยายตอ้ งแจง้ ให้ผเู้ ขา้ รบั ฟัง
รับทราบชั้นความลบั ของการบรรยาย และเนน้ ย้าให้ดาเนินการรักษาความปลอดภยั ต่อสิ่งที่
ได้รบั ฟังจากการบรรยายหรอื การบรรยายสรุป
ง. ถูกทกุ ขอ้

45. ใครมีหน้ำท่ีกำหนดมำตรกำรเพอ่ื ปอ้ งกันกำรละเมิด ฝ่ำฝืน หรอื ละเลยไมป่ ฏิบัติตำม
มำตรกำรกำรรักษำควำมปลอดภยั ทีก่ ำหนดไว้?
ก. เลขาธิการสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ
ข. องค์การรักษาความปลอดภยั
ค. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภยั แห่งชาติ
ง. หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั

46. เจำ้ หนำ้ ท่ีของรัฐผพู้ บเหน็ หรือทรำบ หรือสงสัยวำ่ จะมีหรือมกี ำรละเมดิ มำตรกำรกำรรักษำ
ควำมปลอดภยั ต้องดำเนนิ กำรอย่ำงไร ?
ก. รายงานผบู้ ังคบั บัญชาใหท้ ราบโดยเร็ว
ข. แจง้ เจ้าหนา้ ทค่ี วบคุมการรักษาความปลอดภัย หรอื เจ้าหนา้ ทีผ่ ูร้ ับผิดชอบ หรอื แจง้ เจ้าของ
เรอื่ งเดิมทราบโดยเรว็
ค. รีบดาเนินการเบื้องต้นเพ่ือลดความเสียหายให้เหลือน้อยท่ีสุดและรายงานผู้บังคับบัญชา
หรือเจ้าหน้าท่ีควบคุมการรักษาความปลอดภัย หรือเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ หรือแจ้งเจ้าของ
เรื่องเดมิ ทราบโดยเรว็ ท่สี ดุ
ง. รบี ดาเนนิ การเบอื้ งต้นเพ่ือลดความเสยี หายใหเ้ หลือน้อยทส่ี ุดและแจง้ เจ้าหน้าทีค่ วบคุมการ
รกั ษาความปลอดภยั หรือเจ้าหนา้ ท่ีผูร้ ับผดิ ชอบ หรือแจ้งเจ้าของเร่ืองเดิมทราบโดยเร็วที่สุด

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ท่ี 1 221

47. เจำ้ หนำ้ ท่คี วบคุมกำรรักษำควำมปลอดภยั หรือเจ้ำหน้ำที่ผ้รู ับผิดชอบมีหนำ้ ท่ตี ้องดำเนนิ กำรอย่ำงไรบ้ำง ?
ก. สารวจและตรวจสอบความเสียหายอนั เกิดจากการละเมิดมาตรการการรักษาความ
ปลอดภยั
ข. ดาเนินการเพื่อปอ้ งกันหรือลดความเสียหายให้เหลือน้อยทสี่ ุด
ค. สารวจตรวจสอบและค้นหาสาเหตแุ หง่ การละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัย
ตลอดจนจุดอ่อนและข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ
ง. ถูกทกุ ข้อ

48. ถ้ำเจ้ำหน้ำท่ีควบคุมกำรรักษำควำมปลอดภัยหรือเจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบพบว่ำปรำกฏหลักฐำนหรือข้อ
สงสัยว่ำเกิดกำรจำรกรรม กำรก่อวินำศกรรม หรือกำรรั่วไหลซ่ึงส่ิงที่เป็นควำมลับของทำงรำชกำรต้อง
ดำเนินกำรอย่ำงไร ?
ก. ใหแ้ จง้ เร่อื งใหเ้ จ้าหน้าทผี่ ู้มีอานาจหน้าทีใ่ นด้านการสบื สวนดาเนินการต่อไป
ข. ให้รายงานผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น เพื่อแจ้งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งเจ้าหน้าท่ีผู้มี
อานาจหน้าทีใ่ นด้านการสืบสวนดาเนนิ การต่อไป
ค. ให้รายงานและขออนุมัติผู้บังคับบัญชาตามลาดับชน้ั เพ่ือแจ้งเร่ืองให้เจา้ หน้าทผ่ี ูม้ อี านาจ
หน้าทใ่ี นดา้ นการสบื สวนดาเนนิ การต่อไป
ง. ใหร้ ายงานและขออนุมตั ิผู้บังคับบญั ชาตามลาดับช้นั เพ่ือแจง้ ความต่อเจา้ หน้าท่ีตารวจ

49. หนว่ ยงำนของรัฐซ่ึงเป็นเจำ้ ของเร่ืองเดมิ หรอื ผู้ทเี่ กย่ี วขอ้ งตอ้ งดำเนนิ กำรเกี่ยวกับกำรละเมิดกำรรกั ษำ
ควำมปลอดภยั อยำ่ งไรบ้ำง ?
ก. พิจารณาว่าสมควรลดหรอื ยกเลิกชัน้ ความลับของสิ่งทเี่ ป็นความลบั ของทางราชการนั้น
หรือไม่
ข. ขจัดความเสยี หายอนั เกดิ จากการละเมิดมาตรการการรักษาความปลอดภัยท่ีจะมตี ่อความ
มัน่ คงและผลประโยชน์แห่งรัฐ
ค. การขจดั ความเสียหายอาจตอ้ งเปลีย่ นนโยบายและแผนพรอ้ มทงั้ ปัจจยั ต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
ตามท่ีเหน็ สมควร
ง. ถกู ทุกข้อ

50. ข้อใดไม่ใช่หน่วยงำนของรฐั ตำมระเบยี บสำนกั นำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยกำรรักษำควำม
ปลอดภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2552 ?
ก. รฐั วิสาหกิจ
ข. องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด
ค. กรุงเทพมหานคร
ง. ถกู ทั้งข้อ ข และ ข้อ ค

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชดุ ท่ี 1 222

เฉลยแนวข้อสอบ ระเบยี บสำนกั นำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยกำรรกั ษำควำมปลอดภยั แหง่ ชำติ พ.ศ. 2552

ข้อ เฉลย ระเบยี บฯข้อ ขอ้ เฉลย ระเบยี บฯขอ้

1ค 34 ง 37

2ข 35 ง 38

3ค 36 ก 39

4ง 37 ง 41

5ข 38 ก 42

6ค 39 ค 43

7ค 4 40 ง 44

8ข 8 41 ข 45

9ค 12 42 ง 46

10 ข 13 43 ก 48

11 ง 9 44 ง 49

12 ง 15 45 ง 50

13 ข 15 46 ค 51

14 ข 16 47 ง 52

15 ก 17 48 ค 52

16 ง 18 49 ง 54

17 ข 19 50 ง 4

18 ง 19

19 ค 20

20 ข 22

21 ง 23

22 ง 25

23 ค 26

24 ก 26

25 ง 28

26 ค 28

27 ข 29

28 ง 30

29 ง 31

30 ก 32

31 ง 34

32 ข 35

33 ก 36

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 1 223

แนวข้อสอบ ระเบียบว่าดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการพ.ศ. 2544

1. ระเบยี บวา่ ดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 มจี านวนก่ีขอ้ และกีห่ มวด ?
ก. 60 ข้อ 4 หมวด
ข. 53 ข้อ 4 หมวด
ค. 53 ขอ้ 5 หมวด
ง. 60 ข้อ 5 หมวด

2. ระเบียบวา่ ดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 ให้ไว้ ณ วนั ที่ เทา่ ไหร่ ?
ก. 8 กนั ยายน 2544
ข. 13 กันยายน 2544
ค. 14 กุมภาพันธ์ 2544
ง. 5 กุมภาพันธ์ 2544

3. ระเบยี บว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 ประกาศ ณ
วนั ท่ี เทา่ ไหร่ ?
ก. 30 พฤษภาคม 2561
ข. 31 พฤษภาคม 2561
ค. 25 มิถุนายน 2561
ง. 26 มถิ ุนายน 2561

4. ใครเป็นผรู้ ักษาการตามระเบยี บวา่ ด้วยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 ?
ก. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม
ข. รัฐมนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี
ค. นายกรฐั มนตรี
ง. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

5. ถา้ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรฐั มนตรี และคาส่ังอ่ืนใด ในสว่ นทก่ี าหนดไวแ้ ล้วใน
ระเบียบวา่ ดว้ ยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 หรือซ่ึงขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบวา่ ดว้ ยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 ให้ดาเนนิ การอยา่ งไร?
ก. ใช้บังคบั ไม่ได้
ข. ใหใ้ ช้ระเบียบวา่ ด้วยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 แทน
ค. ไมม่ ีผลใชบ้ งั คบั
ง. เป็นอันส้นิ ผลไป

6. ระเบยี บว่าด้วยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544 ออกตามกฎหมายใด ?
ก. พระราชบัญญตั ิขอ้ มูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2540
ข. พระราชบัญญตั ิขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ค. พระราชบัญญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ง. พระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 1 224

7. ข้อใดไมใ่ ช่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐตามระเบียบว่าดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ
พ.ศ. 2544 ?
ก. ประธานศาลฎกี า
ข. อยั การสูงสดุ
ค. ผู้ว่าราชการจงั หวัด
ง. นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั

8. “การปรับชน้ั ความลบั ” หมายความว่าอยา่ งไร ?
ก. การกาหนดระดบั ชน้ั ความลบั ของข้อมลู ขา่ วสาร
ข. การจัดลาดับความสาคัญของข้อมูลข่าวสาร
ค. การลดหรือเพิ่มช้ันความลับของขอ้ มลู ข่าวสารลบั และให้หมายความรวมถึงการยกเลิกชนั้
ความลับของข้อมูลขา่ วสารลับนนั้ ด้วย
ง. การกาหนดประเภทชน้ั ความลับของข้อมลู ขา่ วสารลับและใหห้ มายความรวมถึงยกเลกิ ช้นั
ความลบั ของข้อมูลขา่ วสารลับ

9. ทุกกป่ี เี ปน็ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งจดั ให้มกี ารทบทวนการปฏิบัติการตามระเบยี บว่าด้วยการรกั ษา
ความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 และพจิ ารณาแกไ้ ขเพิม่ เติมระเบียบใหเ้ หมาะสม ?
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี

10. ใครมหี น้าที่รักษาข้อมูลขา่ วสารลบั ในหนว่ ยงาน ?
ก. เจา้ หนา้ ท่ธี รุ การ
ข. หวั หน้าสว่ นงานเก่ียวกับเอกสาร
ค. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ง. เจา้ หนา้ ทีท่ ีไ่ ด้รับมอบหมาย

11. บุคคลใดที่จะเขา้ ถงึ ข้อมลู ข่าวสารลับในช้นั ความลบั ได้ ?
ก. บุคคลทุกคนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ข. ผมู้ ีหน้าทีส่ ง่ ตอ่ ขอ้ มลู
ค. ผู้ได้รบั การแต่งตง้ั ให้มีหน้าท่ดี งั กล่าวประจา
ง. บุคคลทผี่ ้บู ังคับบญั ชามอบหมายความไว้วางใจ

12. ขอ้ ใดไม่ใช่องคก์ ารรกั ษาความปลอดภัยตามระเบยี บ ?
ก. สานกั ขา่ วกรองแห่งชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมการดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ค. ศนู ยร์ กั ษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
ง. กองบญั ชาการตารวจสนั ตบิ าล สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดที่ 1 225

13. ช้นั ความลับของขอ้ มูลข่าวสารลบั แบ่งออกเป็นกี่ช้นั ?
ก. 2 ชนั้
ข. 3 ช้นั
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชน้ั

14. ข้อใดไม่ใช่ชั้นความลบั ของข้อมูลข่าวสารลบั ?
ก. ลบั
ข. ลบั มาก
ค. ลับทส่ี ดุ
ง. ลบั มากที่สุด

15. ลบั ท่สี ุด หมายความว่าอยา่ งไร ?
ก. ข้อมูลข่าวสารลับซง่ึ หากเปิดเผยทงั้ หมดหรือเพียงบางสว่ นจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายแก่
ประโยชน์แหง่ รัฐอย่างร้ายแรงท่ีสดุ
ข. ข้อมูลข่าวสารลับซึ่งหากเปิดเผยแมเ้ พียงบางสว่ นจะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ประชาชน
และสาธารณะอย่างร้ายแรงที่สดุ
ค. ขอ้ มูลข่าวสารลับซ่ึงหากเปิดเผยทง้ั หมดหรือเพียงบางส่วนจะก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อ
ความม่นั คงอยา่ งร้ายแรงที่สดุ
ง. ขอ้ มูลข่าวสารลับซึง่ หากเปิดเผยทง้ั หมดหรือเพียงบางสว่ นจะก่อให้เกิดความเสยี หายแก่
สาธารณะประโยชนส์ ว่ นรวมอย่างรา้ ยแรงที่สดุ

16. ลบั มาก หมายความวา่ อยา่ งไร ?
ก. ข้อมลู ข่าวสารลบั ซึ่งหากเปิดเผยแมเ้ พยี งบางสว่ นจะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ประชาชน
และสาธารณะอยา่ งรา้ ยแรงที่สุด
ข. ข้อมลู ข่าวสารลับซึ่งหากเปิดเผยท้ังหมดหรอื เพยี งบางส่วนจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อ
ความมน่ั คงอย่างร้ายแรงทส่ี ุด
ค. ข้อมูลข่าวสารลับซงึ่ หากเปิดเผยทง้ั หมดหรือเพียงบางสว่ นจะก่อให้เกิดความเสยี หายแก่
ประโยชน์แห่งรัฐอย่างร้ายแรง
ง. ขอ้ มูลข่าวสารลบั ซง่ึ หากเปิดเผยทง้ั หมดหรอื เพียงบางสว่ นจะก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่
ประโยชนแ์ หง่ รฐั อย่างร้ายแรงทสี่ ุด

17. ลบั หมายความวา่ อยา่ งไร ?
ก. ขอ้ มูลข่าวสารลับซงึ่ หากเปิดเผยทั้งหมดหรอื เพียงบางส่วนจะก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่
สาธารณะประโยชน์ส่วนรวม
ข. ขอ้ มูลข่าวสารลับซง่ึ หากเปิดเผยแมเ้ พยี งบางสว่ นจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน
และสาธารณะ
ค. ขอ้ มูลข่าวสารลับซ่ึงหากเปิดเผยทงั้ หมดหรือเพยี งบางส่วนจะก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อ
ความมนั่ คง
ง. ขอ้ มูลข่าวสารลับซ่ึงหากเปิดเผยทง้ั หมดหรือเพียงบางสว่ นจะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายแก่
ประโยชน์แหง่ รฐั

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ที่ 1 226

18. การกาหนดชนั้ ความลับของหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐจอ้ งใหเ้ หตผุ ลในการกาหนดช้นั
ความลบั หรือไม่ อยา่ งไร ?
ก. ไม่ต้องใหเ้ หตผุ ลประกอบเพราะเป็นอานาจเด็ดขาด
ข. ไมต่ ้องให้เหตุผลประกอบเพราะเป็นเร่ืองความลบั ทางราชการ
ค. ต้องให้เหตผุ ลประกอบการกาหนดชั้นความลบั ของข้อมลู ขา่ วสารลับน้ันด้วยว่าเปน็ ขอ้ มูล
ข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด
ง. ต้องใหเ้ หตุผลประกอบการกาหนดชน้ั ความลับของข้อมูลข่าวสารลับนั้นดว้ ยวา่ ถ้าไม่กาหนด
ช้นั ความลบั จะส่งผลเสียหายอยา่ งไร

19. เจา้ หนา้ ท่ที ่ีเกีย่ วข้องมีอานาจกาหนดชัน้ ความลบั เป็นการช่ัวคราวได้เม่อื ใด ?
ก. ในกรณีที่มีความจาเปน็ เร่งด่วน
ข. ในกรณีท่เี ห็นวา่ มีเหตุผลความจาเป็น
ค. ในกรณที ี่เห็นว่าเป็นขอ้ มลู ขา่ วสารลับอันไม่อาจโต้แยง้ ได้
ง. ในกรณที ี่เหน็ วา่ เปน็ ข้อมลู ข่าวสารลบั มากทส่ี ุด

20. เมอ่ื เจา้ หนา้ ท่ีที่เกี่ยวข้องมีอานาจกาหนดชั้นความลบั เปน็ การชวั่ คราวแล้วต้องดาเนนิ การ
อยา่ งไรต่อไป ?
ก. ให้จัดทารายงานเปน็ หนังสือเสนอตามลาดบั ชัน้ เพื่อส่งั การ
ข. ให้จดั ทารายงานเปน็ หนงั สือเสนอตามลาดบั ชน้ั เพื่อทราบ
ค. ใหร้ ีบเสนอต่อผู้มีอานาจกาหนดช้นั ความลบั เพื่อสั่งการเกี่ยวกับการกาหนดชนั้ ความลับ
ต่อไปทนั ที
ง. ใหร้ ีบเสนอต่อผมู้ ีอานาจกาหนดช้นั ความลบั เพ่ือทราบเก่ียวกับการกาหนดชนั้ ความลับตอ่ ไป
ทนั ที

21. การกาหนดชนั้ ความลับของข้อมูลขา่ วสารลบั ที่มชี ั้นความลบั หลายชนั้ ในเรอ่ื งเดยี วกันให้
กาหนดช้นั ความลบั อยา่ งไร ?
ก. ให้เป็นดลุ ยพนิ ิจของหัวหน้าหน่วยงานของรฐั ในการกาหนดชนั้ ความลบั
ข. ใหก้ าหนดช้นั ความลับเทา่ กับช้นั ความลบั สงู สุดทมี่ ีอยู่ในข้อมูลข่าวสารลับนน้ั
ค. ใหก้ าหนดช้ันความลับตามความเหมาะสมของพฤติการณแ์ ตล่ ะเรื่อง
ง. ให้กาหนดช้ันความลับจาแนกจามแต่ละชั้นในเรื่องเดยี วกัน

22. ในกรณีท่ีกาหนดใหข้ อ้ มูลขา่ วสารลบั ท่ีมชี น้ั ความลบั ต่า แตจ่ าเปน็ ตอ้ งอา้ งองิ ข้อความจาก
ข้อมูลขา่ วสารท่ีมีช้นั ความลับสงู กว่า ตอ้ งพจิ ารณาอยา่ งไร ?
ก. ต้องพิจารณาถึงเนอื้ หาทอ่ี ้างถงึ น้นั ว่ากระทบต่อประโยชน์แหง่ รัฐหรือไม่
ข. ตอ้ งพจิ ารณาถึงเนอื้ หาทอ่ี ้างถึงน้นั ว่ามคี วามสาคญั ระดับใด
ค. ต้องพจิ ารณาถึงเนือ้ หาทอี่ ้างถึงนัน้ วา่ จะไม่ทาให้ข้อมลู ข่าวสารทชี่ น้ั ความลบั สูงกว่ารั่วไหล
ง. ผิดทุกขอ้

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชดุ ท่ี 1 227

23. นายทะเบยี นต้องจดแจ้งเหตุผลประกอบการกาหนดช้ันความลับของข้อมลู ข่าวสารลับไว้ใน
ทีใ่ ด?
ก. ในรายงานเก่ยี วกบั ข้อมูลข่าวสารลับ
ข. ในบันทึกข้อความปดิ หนา้ ข้อมูลข่าวสารลบั
ค. ในเอกสารท่ีมีข้อมลู ข่าวสารลบั
ง. ทะเบียนควบคุมข้อมูลขา่ วสารลับ

24. การกาหนดให้ข้อมูลข่าวสารอยใู่ นชน้ั ความลับใด ให้พจิ ารณาถึงองค์ประกอบอยา่ งน้อยดังตอ่ ไปน้ี
ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. ความสาคญั ของเนื้อหา แหลง่ ทีม่ าของข้อมลู ขา่ วสาร
ข. วธิ กี ารนาไปใช้ประโยชน์ จานวนบคุ คลที่ควรรับทราบ
ค. จานวนและปริมาณของข้อมูลขา่ วสารลบั
ง. ผลกระทบหากมีการเปดิ เผย หนว่ ยงานของรัฐทร่ี ับผิดชอบในฐานะเจา้ ของเร่ืองหรือผู้อนุมัติ

25. ถ้าหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐเห็นว่าการปฏิบตั ิตามระเบียบน้ใี นเร่ืองใดจะก่อใหเ้ กดิ ความ
ยงุ่ ยากโดยไม่เหมาะสม จะต้องดาเนนิ การอยา่ งไร ?
ก. หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั ต้องขอความเห็นชอบนายกรฐั มนตรีงดใชร้ ะเบียบ
ข. หัวหนา้ หน่วยงานของรัฐตอ้ งงดใช้ระเบียบเองบางขอ้ และรายงานใหน้ ายกรฐั มนตรีทราบ
ค. หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐจะกาหนดวธิ ีการรักษาความลบั ในเรอ่ื งน้นั ดว้ ยวิธีการอน่ื ท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพเท่ากันหรือดีกว่าแทนได้
ง. หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งรายงานนายกรฐั มนตรีเพอื่ สัง่ การตอ่ ไป

26. เครื่องหมายแสดงชั้นความลับใหใ้ ชต้ วั อักษรสใี ด ?
ก. สแี ดงเท่านัน้
ข. สดี าเทา่ น้ัน
ค. สีแดงหรอื สีอืน่ ท่ีสามารถมองเหน็ ได้เด่นและชดั เจน
ง. สีดาหรือสอี ื่นทสี่ ามารถมองเหน็ ได้เด่นและชัดเจน

27. การแสดงชน้ั ความลบั ขอ้ มลู ขา่ วสารที่มีสภาพเป็นเอกสารให้แสดงช้ันความลับอย่างไร ?
ก. ให้แสดงชน้ั ความลบั ที่หัวกระดาษมุมซา้ ยมือและด้านล่างของทุกหน้าเอกสารนั้น ถา้ เอกสารเขา้ ปกให้
แสดงไว้ที่ดา้ นนอกของปกหน้า ปกหลังดว้ ย
ข. ใหแ้ สดงช้ันความลบั ที่กลางหน้ากระดาษทง้ั ดา้ นบนและด้านล่างของทุกหน้าเอกสารน้ัน ถ้า
เอกสารเข้าปกให้แสดงไวท้ ่ดี ้านนอกของปกหนา้ ปกหลงั ด้วย
ค. ให้แสดงชัน้ ความลับท่ีปกด้านหน้าและด้านหลงั ของเอกสาร
ง. ให้แสดงชน้ั ความลับท่ีดา้ นบนเอกสารของทกุ หนา้ เอกสาร

28. ขอ้ มูลขา่ วสารทม่ี ีสภาพเป็นภาพเขยี น ภาพถา่ ย แผนที่ แผนภมู ิ แผนผงั และสาเนาส่ิงของ
ดงั กล่าว ถา้ เอกสารน้นั ม้วนหรอื พับได้ให้แสดงชัน้ ความลบั อย่างไร ?
ก. ให้แสดงชัน้ ความลับไว้ใหป้ รากฏเห็นได้ขณะทเี่ อกสารนั้นม้วนหรือพับอยดู่ ว้ ย
ข. ให้แสดงช้ันความลับไวใ้ ห้ปรากฏเห็นชัดเจนบริเวณใดก็ได้
ค. ใหแ้ สดงช้นั ความลบั ไวใ้ ห้ปรากฏเหน็ บนแถบกระดาษ
ง. ใหแ้ สดงชัน้ ความลบั ไวใ้ ห้ปรากฏเหน็ ได้ง่ายเมือ่ แกะมว้ นหรอื พบั ออก

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 1 228

29. ขอ้ มูลข่าวสารทม่ี ีสภาพเปน็ จานบันทกึ แถบบนั ทกึ ฟิลม์ บันทกึ ภาพทกุ ประเภทหรอื สิ่งบันทึก
ที่สามารถแสดงผลหรือส่ือความหมายโดยกรรมวธิ ีใด ๆ ใหแ้ สดงช้ันความลับอยา่ งไร ?
ก. ใหแ้ สดงชัน้ ความลับไว้ที่ต้นและปลายมว้ นฟิล์มหรือตน้ และปลายของข้อมูลข่าวสารหรือบนวัสดุ
หรอื บนภาชนะท่ีบรรจุ ถ้าไม่สามารถแสดงชั้นความลบั ไว้ในที่ดังกลา่ วได้ ใหเ้ ก็บในกล่องหรือหบี หอ่
ซ่ึงมเี คร่ืองหมายแสดงชั้นความลบั นัน้
ข. ให้แสดงช้นั ความลับไวใ้ นกล่องหรอื หีบห่อเทา่ นัน้
ค. ใหแ้ สดงชนั้ ความลับไวต้ น้ และปลายม้วนฟลิ ม์ หรือต้นและปลายของข้อมูลข่าวสารหรือบนวัสดหุ รือบน
ภาชนะท่บี รรจุ ถา้ ไม่สามารถแสดงชั้นความลบั ไวใ้ นทีด่ ังกล่าวได้ใหร้ ายงานผู้บังคบั บัญชาเพื่อสั่งการ
ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

30. ในกรณที ี่หนว่ ยงานเจา้ ของเร่อื งเห็นควรให้ทาการปรบั ช้ันความลับของขอ้ มลู ขา่ วสารลบั
ต้องดาเนนิ การอย่างไร ?
ก. ให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องทาการปรบั ช้นั ความลับและประกาศเปน็ การทว่ั ไปเพอื่ ให้มีการ
แก้ไขช้ันความลบั โดยทว่ั กันด้วย
ข. ใหห้ น่วยงานเจา้ ของเรื่องเสนอเพ่ือขอปรับช้นั ความลับตามลาดบั ชนั้ และแจ้งใหห้ น่วยงาน
ของรัฐอ่ืนทีไ่ ดร้ บั การแจกจ่ายทราบเพ่ือให้มีการแกไ้ ขช้ันความลับโดยทัว่ กันด้วย
ค. ให้หนว่ ยงานเจา้ ของเร่ืองทาการปรับชั้นความลบั และแจ้งใหห้ นว่ ยงานของรฐั อื่นท่ีไดร้ ับการ
แจกจา่ ยทราบเพ่ือใหม้ ีการแก้ไขชั้นความลับโดยท่วั กนั ด้วย
ง. ให้หนว่ ยงานเจ้าของเร่ืองทาการปรบั ชัน้ ความลับและโดยไมต่ ้องแจ้งใหห้ นว่ ยงานของรัฐอืน่ ท่ี
ได้รบั การแจกจ่ายทราบ

31. ข้อมูลข่าวสารลบั ทค่ี ณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารมีคาวินจิ ฉยั ใหเ้ ปิดเผย
โดยไม่มขี ้อจากัดหรือเงื่อนไขใด ส่งผลต่อชนั้ ความลบั อย่างไรบ้าง ?
ก. ใหถ้ อื ว่าข้อมลู ข่าวสารน้นั ยังมชี น้ั ความลับอยู่ จนกวา่ จะมีการฟ้องคดีตอ่ ศาลและศาลมีคาสง่ั
หรือคาพิพากษาเป็นอยา่ งอนื่
ข. ให้ถือว่าข้อมูลข่าวสารน้ันยงั มชี ั้นความลับอยู่แตส่ ามารถเปดิ เผยได้ช่ัวคราว เวน้ แต่มีการฟอ้ ง
คดตี ่อศาลและศาลมีคาสั่งหรือคาพพิ ากษาเป็นอย่างอน่ื
ค. ให้ถือวา่ ข้อมูลข่าวสารน้นั ถูกยกเลิกชนั้ ความลับแล้ว เวน้ แตม่ กี ารฟอ้ งคดตี ่อศาลและศาลมี
คาสั่งหรือคาพิพากษาเปน็ อย่างอนื่
ง. ใหถ้ ือวา่ ข้อมลู ข่าวสารนัน้ ถูกยกเลิกช้ันความลบั ชว่ั คราว จนกว่าศาลจะมีคาสั่งหรือคา
พิพากษาเปน็ อย่างอืน่

32. นายทะเบียนข้อมูลขา่ วสารลับมีท่ีมาอย่างไร ?
ก. การสอบคัดเลือกภายในหนว่ ยงานของรัฐ
ข. การสรรหาตามคุณสมบตั ิท่ีหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐประกาศ
ค. การสรรหาจากบุคคลภายนอกท่ีมคี วามเชี่ยวชาญ
ง. หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐแต่งต้งั

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชดุ ท่ี 1 229

33. นายทะเบยี นข้อมูลข่าวสารลบั มหี นา้ ที่ดังนี้ ยกเว้นข้อใด ?
ก. ดาเนินการทางทะเบยี นข้อมูลขา่ วสารลับให้เปน็ ไปตามระเบยี บ
ข. ทาลายเอกสารบรรดาข้อมูลข่าวสารลบั ทีอ่ ยใู่ นความควบคุมดูแล
ค. เก็บรักษาแบบเอกสารตา่ ง ๆ ซง่ึ กรอกข้อความแล้วตามระเบยี บน้ี และบรรดาข้อมูลข่าวสารลับทีอ่ ยู่
ในความควบคุมดแู ลไว้ในที่ปลอดภัย
ง. เกบ็ รกั ษาบญั ชลี ายมือช่อื นายทะเบียนข้อมลู ข่าวสารลับและผูช้ ว่ ยนายทะเบียนข้อมูล
ขา่ วสารลับของหน่วยงานของรฐั อนื่ ๆ ทตี่ ิดตอ่ เก่ยี วข้องกนั เปน็ ประจา

34. ทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับประกอบด้วยทะเบียนดังตอ่ ไปน้ยี กเวน้ ข้อใด ?
ก. ทะเบยี นเก็บรกั ษา
ข. ทะเบยี นรับ
ค. ทะเบยี นสง่
ง. ทะเบยี นควบคุมข้อมลู ข่าวสารลบั

35. ใครมหี น้าที่ทาการตรวจสอบความถูกตอ้ งในการปฏิบตั ติ ามระเบยี บและการมีอยู่ของข้อมลู
ข่าวสารลับท่ีมีอย่ใู นทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับ ?
ก. หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั
ข. ผู้ตรวจสอบภายใน
ค. เจา้ หน้าทีท่ ่หี วั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐมอบหมาย
ง. คณะกรรมการตรวจสอบที่หัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั แตง่ ตัง้

36. การตรวจสอบความถกู ต้องในการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บและการมอี ยู่ของข้อมูลข่าวสารลับทมี่ ี
อยใู่ นทะเบียนข้อมูลขา่ วสารลบั ตอ้ งทาการตรวจสอบอยา่ งน้อยทุกก่เี ดอื น ?
ก. ทุก 3 เดอื น
ข. ทกุ 4 เดอื น
ค. ทกุ 6 เดอื น
ง. ทกุ 8 เดือน

37. แบบรายงานการตรวจสอบข้อมลู ขา่ วสารลับใหเ้ ป็นไปตามที่ใครกาหนด ?
ก. หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั
ข. คณะกรรมการตรวจสอบ
ค. นายทะเบยี นข้อมลู ข่าวสารลับ
ง. นายกรฐั มนตรี

38. หนว่ ยงานของรัฐต้องรายงานผลการปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารลับตามระเบียบภายใน
เดือนใดของทกุ ปี ต่อคณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของราชการ ?
ก. มีนาคม
ข. เมษายน
ค. กนั ยายน
ง. ตุลาคม

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ชุดท่ี 1 230

39. เม่ือคณะกรรมการข้อมลู ขา่ วสารของราชการไดร้ บั รายงานผลการปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับข้อมูล
ขา่ วสารลบั จากหน่วยงานของรฐั แล้วต้องดาเนนิ การอย่างไร ?
ก. เสนอให้รฐั มนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรีตรวจสอบ
ข. เสนอให้นายกรฐั มนตรีตรวจสอบ
ค. ให้ตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงานดังกล่าวและรายงานผลการตรวจสอบต่อรัฐมนตรี
ประจาสานกั นายกรัฐมนตรี
ง. ใหต้ รวจสอบการปฏบิ ตั ิตามรายงานดงั กลา่ วและรายงานผลการตรวจสอบตอ่ นายกรัฐมนตรี

40. การส่งขอ้ มลู ข่าวสารลบั ภายในบรเิ วณหนว่ ยงานเดียวกันทุกช้นั ความลับตอ้ งดาเนินการอยา่ งไร ?
ก. ต้องใสบ่ รรจภุ ณั ฑ์ใด ๆ ทีป่ ิดสนิท
ข. ตอ้ งจัดเก็บใสซ่ องปดิ สนทิ
ค. ต้องใช้ใบปกข้อมูลขา่ วสารลับปิดทับขอ้ มลู ขา่ วสารลบั
ง. ต้องมเี จา้ หน้าท่ีควบคุมการส่ง

41. การส่งข้อมลู ข่าวสารลบั ออกนอกบริเวณหนว่ ยงานทาเคร่ืองหมายแสดงช้ันความลบั หรอื ไม่อย่างไร?
ก. ทาเครือ่ งหมายแสดงช้ันความลบั ท้งั ด้านหนา้ และด้านหลังบนซองหรือภาชนะชน้ั ใน โดยไม่
ตอ้ งทาเคร่อื งหมายแสดงช้นั ความลบั บนซองหรือภาชนะช้ันนอก
ข. ทาเครอ่ื งหมายแสดงชน้ั ความลบั ทงั้ ด้านหน้าและดา้ นหลังบนซองหรือภาชนะชน้ั ในและชน้ั นอก
ค. ไม่ต้องทาเคร่อื งหมายแสดงช้ันความลบั ใด ๆ บนซองหรือภาชนะชน้ั ในและชนั้ นอก
ง. ไม่ตอ้ งทาเครื่องหมายแสดงชั้นความลับบนซองหรือภาชนะชนั้ ใน โดยทาเครื่องหมายแสดง
ชั้นความลับบนซองหรือภาชนะช้ันนอก

42. การส่งข้อมลู ข่าวสารลบั ออกนอกประเทศตอ้ งดาเนินการอย่างไร ?
ก. ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบียบกระทรวงการตา่ งประเทศวา่ ดว้ ยถุงเมลก์ ารทูตโดยอนโุ ลม หรือให้
เจ้าหนา้ ท่ีซ่งึ มฐี านะทางการทูตถอื ไปดว้ ยตนเองก็ได้
ข. ให้ปฏิบตั ติ ามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 อยา่ งเคร่งครัด
ค. ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ
ง. ไม่มขี ้อใดถกู

43. การสง่ ข้อมูลข่าวสารลับทางโทรคมนาคมใหป้ ฏิบตั ติ ามคาแนะนาของใคร ?
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั
ค. องคก์ ารรกั ษาความปลอดภยั
ง. คณะกรรมการข้อมลู ขา่ วสารของราชการ

44. กรณที ่ีเจา้ หนา้ ทส่ี ารบรรณทราบวา่ ข้อมลู ข่าวสารท่รี ับไว้เป็นขอ้ มูลข่าวสารลับตอ้ ง
ดาเนินการอย่างไร ?
ก. ให้รบี สง่ ข้อมูลข่าวสารลับดงั กล่าวให้แก่นายทะเบยี นขอ้ มูลข่าวสารลับ
ข. ใหแ้ จ้งหัวหน้าหน่วยงานของรัฐทราบโดยเร็ว
ค. ให้ลงบนั ทกึ ไวใ้ นสมดุ ทะเบียน
ง. ใหร้ ีบสง่ ขอ้ มูลข่าวสารลับดังกลา่ วใหแ้ ก่หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐท

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชุดที่ 1 231

45. การเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ขา่ วสารลับใหเ้ กบ็ รกั ษาไวใ้ นท่ีปลอดภยั และใหก้ าหนดระเบียบการเก็บ
รักษาข้อมูลขา่ วสารลับไว้เป็นการเฉพาะตามคาแนะนาของใคร ?
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐ
ค. คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ
ง. องคก์ ารรักษาความปลอดภยั

46. การใหย้ ืมข้อมลู ขา่ วสารลบั ใครเป็นผู้มอี านาจพจิ ารณาว่าผยู้ มื มหี น้าท่ดี าเนนิ การในเร่อื งที่
ยืมและสามารถปฏิบตั ิตามระเบยี บไดห้ รือไม่?
ก. นายทะเบียนขอ้ มูลขา่ วสารลับ
ข. หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐเท่าน้นั
ค. หัวหน้าหน่วยงานของรฐั หรือผู้ซึ่งหัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐมอบหมาย
ง. หวั หน้าหน่วยงานของรฐั หรือผู้ซง่ึ หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐแต่งตงั้ ไว้เปน็ การเฉพาะ

47. การใหย้ มื ข้อมูลขา่ วสารลบั ใครมหี น้าที่ทาบันทึกการยืมพร้อมท้งั จดแจง้ การยืมไวใ้ นทะเบยี นควบคุมข้อมูล
ขา่ วสารลบั ?
ก. นายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลบั
ข. หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐเทา่ น้นั
ค. หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั หรอื ผ้ซู ง่ึ หวั หน้าหน่วยงานของรัฐมอบหมาย
ง. หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐหรอื ผู้ซึ่งหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐแตง่ ตัง้ ไว้เป็นการเฉพาะ

48. ในการสง่ั ทาลายข้อมลู ข่าวสารลับหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐต้องดาเนนิ การอย่างไร ?
ก. สามารถสัง่ ทาลายข้อมลู ข่าวสารลบั ไดเ้ อง
ข. ตอ้ งเสนอคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการเพื่อให้ส่ังทาลาย
ค. แตง่ ต้งั คณะกรรมการทาลายข้อมูลขา่ วสารลับ
ง. ไม่มขี ้อใดถูก

49. ในกรณีท่ขี อ้ มูลข่าวสารลับสูญหาย ผู้ทราบข้อเทจ็ จรงิ ต้องดาเนินการอยา่ งไร ?
ก. แจง้ ตอ่ เจา้ หน้าท่ีตารวจเพ่ือบันทึกไว้เป็นหลกั ฐาน
ข. รายงานข้อเท็จจรงิ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งให้หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐท่ตี นสงั กัดทราบเพ่ือดาเนนิ การ
ตอ่ ไป
ค. แจ้งต่อนายทะเบยี นข้อมลู ข่าวสารลบั เพ่ือดาเนนิ การ
ง. จัดทาหนงั สอื ชแ้ี จงตอ่ นายทะเบยี นข้อมลู ข่าวสารลับ

50. กรณที ีข่ อ้ มลู ข่าวสารลับใดไม่มีเคร่อื งหมายแสดงชนั้ ความลบั ไว้ เจา้ หน้าที่ของรฐั สามารถ
เปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสารน้ันได้หรือไม่ ?
ก. เปดิ เผยไมไ่ ดเ้ พราะไม่มีอานาจ
ข. เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐทุกคนสามารถเปดิ เผยข้อมูลขา่ วสารนัน้ ได้
ค. เจ้าหน้าทขี่ องรฐั ท่ีเกี่ยวข้องสามารถเปิดเผยข้อมลู ขา่ วสารนนั้ ได้ เวน้ แตเ่ จา้ หน้าทีน่ ้ันไดร้ ู้
หรอื ควรจะรูข้ ้อเทจ็ จริงวา่ ขอ้ มลู ขา่ วสารนนั้ ได้มีการกาหนดชน้ั ความลบั ไวแ้ ล้ว
ง. เจ้าหน้าทขี่ องรฐั ที่เปน็ นายทะเบียนข้อมลู ข่าวสารลับเท่านนั้ ที่สามารถเปิดเผยข้อมลู ข่าวสาร
นน้ั ได้ เว้นแต่ได้รู้หรือควรจะรู้ขอ้ เทจ็ จรงิ ว่าข้อมลู ขา่ วสารนั้นได้มีการกาหนดชั้นความลบั ไวแ้ ลว้

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 1 232

เฉลยแนวขอ้ สอบ ระเบียบว่าดว้ ยการรักษาความลบั ของทางราชการพ.ศ. 2544

ขอ้ เฉลย ระเบียบฯข้อ ขอ้ เฉลย ระเบยี บฯขอ้

1ข 34 ก 27

2ง 35 ง 29

3ก 36 ค 29

4ค 4 37 ง 29

5ข 3 38 ก 29/1

6ข 39 ง 29/1

7ก 5 40 ค 35

8ค 5 41 ก 36

9ง 6 42 ก 39

10 ค 7 43 ค 40

11 ง 8 44 ก 41

12 ข 11 45 ง 44

13 ข 12 46 ค 45

14 ง 12 47 ก 45

15 ก 13 48 ค 46

16 ค 14 49 ข 48

17 ง 15 50 ค 50

18 ค 16

19 ก 17

20 ค 17

21 ข 17

22 ค 17

23 ง 18

24 ค 19

25 ค 20

26 ค 21

27 ข 22

28 ก 22

29 ก 22

30 ค 23

31 ค 24

32 ง 25

33 ข 26

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 1 233

แนวขอ้ สอบ แนวนโยบายแหง่ รัฐและยุทธศาสตร์ชาติ

1. แนวนโยบายแห่งรฐั มกี ารบัญญตั ไิ ว้ในกฎหมายใด ?
ก. พระราชบัญญตั ิการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560
ข. พระราชบัญญตั ิแผนและข้ันตอนการดาเนินการปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. 2560
ค. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ง. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

2. แนวนโยบายแหง่ รฐั บญั ญัตไิ วใ้ นหมวดใดของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ?
ก. หมวด 4
ข. หมวด 5
ค. หมวด 6
ง. หมวด 7

3. บทบญั ญัติในหมวดแนวนโยบายแหง่ รัฐมีผลตามรฐั ธรรมนูญอย่างไร ?
ก. เป็นบทบงั คับใหร้ ัฐต้องดาเนนิ การตรากฎหมายและกาหนดนโยบายในการบริหารราชการ
แผน่ ดิน
ข. เปน็ แนวทางใหร้ ฐั ดาเนินการตรากฎหมายและกาหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
ค. เป็นบทบงั คบั ใหร้ ฐั บาลกาหนดนโยบาย
ง. เปน็ แนวทางให้ส่วนราชการปฏบิ ตั ิราชการ

4. แนวนโยบายแห่งรฐั ท่บี ญั ญัติไวใ้ นรัฐธรรมนูญมที ้ังหมดกม่ี าตรา ?
ก. 10 มาตรา
ข. 15 มาตรา
ค. 20 มาตรา
ง. 23 มาตรา

5. แนวนโยบายแหง่ รัฐว่าดว้ ยยุทธศาสตร์ชาติอย่ใู นมาตราใดของรัฐธรรมนูญ ?
ก. มาตรา 64
ข. มาตรา 65
ค. มาตรา 66
ง. มาตรา 67

6. ผู้มีสิทธเิ ลือกตงั้ จานวนไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งหมื่นคนเขา้ ชอ่ื เสนอกฎหมายตามหมวดว่าดว้ ย
แนวนโยบายแห่งรฐั ไดห้ รือไม่ ?
ก. ได้ เพราะเป็นสิทธติ ามรฐั ธรรมนญู
ข. ได้ เพราะรัฐธรรมนูญกาหนดไว้
ค. ประชาชนเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายไม่ได้
ง. ไมไ่ ด้ เพราะ ผมู้ สี ทิ ธเิ ลือกตั้งจานวนไมน่ ้อยกว่าหน่ึงหมื่นคนเข้าชือ่ เสนอกฎหมายไดต้ าม
หมวด 3สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหมวด 5 หน้าทีข่ องรฐั เทา่ นนั้

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ท่ี 1 234

7. การจัดทา การกาหนดเปา้ หมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลเุ ป้าหมาย และสาระทีพ่ ึงมีใน
ยุทธศาสตร์ชาตใิ หเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการของกฎหมายใด
ก. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย
ข. พระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534
ค. พระราชบญั ญตั ิการจดั ทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560
ง. พระราชบญั ญตั ิแผนและข้ันตอนการดาเนินการปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. 2560

8. ยุทธศาสตรช์ าติให้ใช้บังคบั ไดเ้ มื่อใด ?
ก. เมอ่ื นายกรฐั มนตรแี ถลงต่อรัฐสภา
ข. เม่ือรัฐสภาใหค้ วามเห็นชอบ
ค. เมอ่ื คณะรัฐมนตรีให้ความเหน็ ชอบ
ง. เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว

9. ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับรฐั พึงดาเนนิ การอย่างไร ?
ก. จัดใหม้ ีการรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและประชาชนเท่านนั้
ข. ดาเนนิ การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเมื่อเห็นวา่ มีความจาเปน็ และนามาประกอบการ
พจิ ารณาการตรากฎหมาย
ค. ดาเนินการใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญศึกษาผลกระทบจากการออกกฎหมายนนั้ ๆ
ง. จัดใหม้ ีการรบั ฟังความคดิ เห็นของผเู้ กยี่ วขอ้ ง วิเคราะห์ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ จากกฎหมาย
อยา่ งรอบดา้ นและเป็นระบบ รวมท้งั เปิดเผยผลการรบั ฟังความคดิ เห็นและการวเิ คราะห์นัน้ ต่อ
ประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกข้ันตอน

10. รัฐจะประกอบกจิ การท่มี ีลกั ษณะเปน็ การแขง่ ขันกับเอกชนได้ในกรณีดังตอ่ ไปนี้ ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. มีความจาเปน็ เพือ่ ประโยชน์ในการรกั ษาความม่ันคงของรฐั
ข. การรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
ค. เพอื่ ความมั่นคงของประเทศ
ง. การจดั ใหม้ สี าธารณปู โภคหรอื การจัดทาบริการสาธารณะ

11. รฐั พึงดาเนนิ การให้มีกฎหมายเกยี่ วกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ให้
เป็นไปตามระบบใด ?
ก. ระบบการแขง่ ขันอยา่ งเสมอภาค
ข. ระบบคณุ ธรรม
ค. ระบบอาวโุ ส
ง. ระบบพัฒนาขีดความสามารถสูงสดุ

12. รฐั พึงจัดให้มีอะไร เพ่ือให้หนว่ ยงานของรัฐใช้เปน็ หลกั ในการกาหนดประมวลจรยิ ธรรม
สาหรบั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ในหนว่ ยงานน้นั ๆ ?
ก. มาตรฐานทางจริยธรรม
ข. แนวนโยบายดา้ นจริยธรรม
ค. ประมวลจรยิ ธรรมกลาง
ง. กฎหมายกลางเกีย่ วกับจรยิ ธรรม

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ชดุ ที่ 1 235

13. คณะรัฐมนตรีต้องจัดให้มีกฎหมายกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทา การกาหนด
เป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระท่ีพึงมีในยุทธศาสตร์ชาติให้แล้วเสร็จ
ภายในกี่วันนบั แตว่ นั ประกาศใช้รัฐธรรมนญู ?
ก. ภายใน 90 วันนบั แต่วนั ประกาศใช้รฐั ธรรมนญู
ข. ภายใน 100 วนั นบั แต่วนั ประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญ
ค. ภายใน 120 วันนบั แตว่ ันประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญ
ง. ภายใน 180 วนั นบั แต่วันประกาศใช้รฐั ธรรมนูญ

14. ต้องมีการดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ชาติให้แล้วเสร็จภายในกี่ปีนับแต่วันที่กฎหมาย
กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทา การกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลุ
เปา้ หมาย และสาระท่ีพึงมใี นยุทธศาสตร์ชาติใชบ้ งั คับ ?
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี

15. องคก์ รใดมีหน้าทีแ่ ละอานาจติดตามการจดั ทาและดาเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติ ?
ก. สภาผแู้ ทนราษฎร
ข. วุฒิสภา
ค. ศาลรฐั ธรรมนญู
ง. ผตู้ รวจการแผน่ ดิน

16. พระราชบัญญัติการจดั ทายทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 ให้ไว้ ณ วันท่ีใด ?
ก. 26 กรกฎาคม 2560
ข. 26 สิงหาคม 2560
ค. 26 กันยายน 2560
ง. 26 ตลุ าคม 2560

17. พระราชบญั ญัตกิ ารจัดทายุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเมื่อวันใด ?
ก. 31 กรกฎาคม 2560
ข. 31 สงิ หาคม 2560
ค. 30 กนั ยายน 2560
ง. 31 ตุลาคม 2560

18. ใครรักษาการตามพระราชบัญญตั ิการจดั ทายุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 ?
ก. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย
ข. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ค. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั
ง. นายกรฐั มนตรี

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชดุ ที่ 1 236

19. ระยะเวลาท่กี าหนดไว้ในยุทธศาสตรช์ าติตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่าก่ีปี ?
ก. 10 ปี
ข. 15 ปี
ค. 20 ปี
ง. 25 ปี

20. การประกาศใช้ยทุ ธศาสตร์ชาติให้ทาเป็นรูปแบบใด ?
ก. ประกาศคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ
ข. ประกาศสานักนายกรฐั มนตรี
ค. ประกาศพระบรมราชโองการ
ง. ประกาศนายกรฐั มนตรี

21. การดาเนินการใดบา้ งที่ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ?
ก. การกาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน
ข. การจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความ
มนั่ คงแหง่ ชาติและแผนอืน่ ใด
ค. การจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
ง. ถกู ทกุ ขอ้

22. ยุทธศาสตร์ชาติอยา่ งน้อยต้องประกอบด้วยดงั ต่อไปน้ี ยกเวน้ ขอ้ ใด ?
ก. วิสยั ทศั น์การพัฒนาประเทศ
ข. เปา้ หมายการพัฒนาประเทศในระยะยาว กาหนดระยะเวลาทต่ี อ้ งดาเนินการเพอื่ ใหบ้ รรลุ
เป้าหมาย และตวั ช้ีวดั การบรรลุเป้าหมาย
ค. งบประมาณในการดาเนนิ การ
ง. ยทุ ธศาสตร์ด้านตา่ ง ๆ

23. คณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติมใี ครเป็นประธาน ?
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร
ค. ประธานวุฒิสภา
ง. รองนายกรฐั มนตรหี รือรัฐมนตรที ่นี ายกรัฐมนตรีมอบหมาย

24. สภาผู้แทนราษฎรพิจารณารา่ งยุทธศาสตร์ชาติทคี่ ณะรัฐมนตรเี สนอและลงมตเิ ห็นชอบ
หรอื ไมเ่ หน็ ชอบให้แล้วเสรจ็ ภายในก่วี ัน ?
ก. 30 วัน นับแต่วนั ทไี่ ด้รับรา่ งยุทธศาสตร์ชาติ
ข. 60 วนั นับแตว่ นั ที่ไดร้ ับรา่ งยุทธศาสตรช์ าติ
ค. 90 วนั นับแตว่ นั ทีไ่ ด้รบั ร่างยุทธศาสตร์ชาติ
ง. 120 วนั นบั แตว่ ันทไ่ี ดร้ ับร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลือกต้งั ชดุ ท่ี 1 237

25. วฒุ ิสภาพจิ ารณาและลงมตเิ ห็นชอบหรอื ไมเ่ ห็นชอบร่างยุทธศาสตร์ชาติใหแ้ ลว้ เสร็จภายในก่วี ัน ?
ก. 30 วัน นับแตว่ ันที่ได้รบั ร่างจากสภาผู้แทนราษฎร
ข. 60 วัน นับแต่วนั ท่ีไดร้ บั ร่างจากสภาผ้แู ทนราษฎร
ค. 90 วนั นบั แตว่ นั ที่ได้รบั ร่างจากสภาผูแ้ ทนราษฎร
ง. 120 วัน นบั แต่วันทีไ่ ด้รับร่างจากสภาผูแ้ ทนราษฎร

26. ถา้ สภาผแู้ ทนราษฎรหรือวุฒิสภาพิจารณาร่างยุทธศาสตรช์ าตไิ ม่แลว้ เสรจ็ ภายในกาหนดเวลา
ที่กฎหมายกาหนดจะมผี ลอย่างไร ?
ก. ใหส้ ง่ ร่างยุทธศาสตร์ชาติคืนคณะรฐั มนตรีเพ่ือดาเนนิ การเสนอใหม่
ข. ให้ถอื วา่ รา่ งยุทธศาสตรช์ าติตกไปทั้งฉบบั
ค. ให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภา แล้วแต่กรณี ได้ให้ความเห็นชอบในร่างยุทธศาสตร์
ชาติทค่ี ณะรฐั มนตรีเสนอ
ง. ให้สภาผแู้ ทนราษฎรหรือวุฒิสภา แลว้ แตก่ รณี พจิ ารณารา่ งยุทธศาสตร์ชาตติ อ่ ไป เพราะถือ
ว่าเป็นเพียงแคร่ ะยะเวลาเรง่ รดั

27. ในกรณที ่ีสภาผู้แทนราษฎรหรอื วุฒิสภาไมใ่ หค้ วามเห็นชอบรา่ งยุทธศาสตรช์ าติมีผลอย่างไร และ
คณะรฐั มนตรีตอ้ งดาเนนิ การอย่างไรต่อไป ?
ก. ให้สง่ รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าตคิ ืนคณะรัฐมนตรีเพ่ือดาเนินการเสนอใหม่
ข. ให้สง่ รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าตคิ ืนคณะรฐั มนตรเี พื่อดาเนินการแกไ้ ข
ค. ให้ร่างยุทธศาสตร์ชาติเป็นอันตกไป และให้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติดาเนินการจัดทา
ร่างยุทธศาสตร์ชาติข้ึนใหมห่ รือแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ก็ได้ ซึ่งต้องกระทาใหแ้ ล้วเสร็จภายใน 180 วันนับ
แต่วนั ที่สภาผแู้ ทนราษฎร หรือวฒุ สิ ภาไมใ่ หค้ วามเห็นชอบ
ง. ให้ร่างยุทธศาสตร์ชาติเป็นอนั ตกไป และให้คณะรัฐมนตรีดาเนินการจดั ทาร่างยุทธศาสตร์
ชาตขิ ึ้นใหม่หรอื แก้ไขเพิม่ เติมกไ็ ด้ ซง่ึ ต้องกระทาให้แล้วเสร็จภายใน 180 วนั นับแต่วันที่สภา
ผู้แทนราษฎร หรอื วฒุ สิ ภาไม่ใหค้ วามเห็นชอบ

28. ร่างยุทธศาสตร์ชาติท่ีได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวายภายในกวี่ นั ?
ก. 20 วัน
ข. 30 วนั
ค. 40 วนั
ง. 50 วนั

29. คณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติตอ้ งจดั ให้มกี ารทบทวนยุทธศาสตร์ชาติทุกก่ปี ี ?
ก. 3 ปี
ข. 4 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตัง้ ชดุ ท่ี 1 238

30. คณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติมหี นา้ ทแ่ี ละอานาจ ดังตอ่ ไปนี้ ยกเว้นข้อใด ?
ก. จดั ทาร่างยทุ ธศาสตร์ชาตเิ พอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรี
ข. กาหนดวิธีการการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติ และการมสี ่วนรว่ มใน
การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และมาตรการ
สง่ เสริมและสนบั สนุนใหป้ ระชาชนทกุ ภาคส่วนดาเนินการให้สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ
ค. จดั ทาและเสนองบประมาณในการดาเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าติ
ง. เสนอความเห็นต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องในเร่ืองเก่ียวกับ
การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และ กากับดูแลการปฏิรูปประเทศให้สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติตามท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูป
ประเทศ

31. หน่วยงานใดทาหนา้ ทสี่ านกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติและ
คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ?
ก. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ข. สานกั งานขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง
ค. สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ง. สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

32. กรณีท่ีความปรากฏต่อคณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ วา่ การดาเนนิ การใดของ
หนว่ ยงานของรัฐไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติหรอื แผนแมบ่ ท คณะกรรมการจัดทา
ยุทธศาสตร์ชาติต้องดาเนนิ การอยา่ งไร ?
ก. รายงานรัฐมนตรที ี่กากบั ดูแลหนว่ ยงานของรัฐนั้นถึงความไมส่ อดคล้องและขอ้ เสนอแนะใน
การแก้ไขปรับปรุง
ข. แจง้ ใหห้ น่วยงานของรัฐน้นั ทราบถงึ ความไม่สอดคล้องและข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ
ค. ส่ังให้ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดาเนินการแก้ไขปรับปรงุ โดยด่วน
ง. รายงานใหค้ ณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติทราบเพื่อแจ้งให้หนว่ ยงานของรฐั น้นั ทราบถึงความ
ไม่สอดคล้องและขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุง

33. ยุทธศาสตรช์ าตฉิ บบั แรกประกาศ ณ วนั ทเ่ี ทา่ ใด ?
ก. 8 ตลุ าคม 2560
ข. 10 ธันวาคม 2560
ค. 8 ตุลาคม 2561
ง. 10 ธนั วาคม 2561

34. ตามบทเฉพาะกาลในวาระเร่ิมแรกยุทธศาสตร์ชาตฉิ บบั แรกองค์กรใดเปน็ ผู้ใหค้ วามเห็นชอบ ?
ก. วฒุ ิสภา
ข. รัฐสภา
ค. สภาปฏิรปู แห่งชาติ
ง. สภานติ บิ ญั ญัตแิ หง่ ชาติ

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 1 239

35. ยทุ ธศาสตร์ชาตฉิ บบั แรกประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเมื่อวันทเ่ี ท่าใด ?
ก. 30 เมษายน 2561
ข. 28 กรกฎาคม 2561
ค. 13 ตลุ าคม 2561
ง. 12 ธนั วาคม 2561

36. ยทุ ธศาสตร์ชาตฉิ บบั ปัจจุบันมีระยะเวลาต้ังแต่ปี พ.ศ. ใด ถงึ พ.ศ. ใด ?
ก. 2561 - 2580
ข. 2562 - 2581
ค. 2563 - 2582
ง. 2564 - 2583

37. วสิ ัยทัศน์ประเทศไทยตามยุทธศาสตร์ชาตฉิ บบั ปัจจบุ ันมีว่าอย่างไร ?
ก. “ประเทศไทยมคี วามม่นั คง มง่ั คงั่ ยง่ั ยืน ปฏริ ูปอยา่ งรอบด้าน ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
ข. “ประเทศไทยมีความม่นั คง มง่ั คั่ง ยั่งยนื นาประเทศก้าวส่คู วามทันสมยั ด้วยนวัตกรรม”
ค. “ประเทศไทยมีความม่นั คง มงั่ คง่ั ยง่ั ยืน เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ง. “ประเทศไทยมีความม่ันคง มงั่ คง่ั ยัง่ ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยเศรษฐกจิ ทีม่ ่ันคง”

38. การพัฒนาประเทศในชว่ งระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติฉบบั ปัจจุบันมีทั้งหมดก่ียุทธศาสตร์ ?
ก. 6 ยุทธศาสตร์
ข. 8 ยทุ ธศาสตร์
ค. 9 ยทุ ธศาสตร์
ง. 12 ยทุ ธศาสตร์

39. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ยุทธศาสตร์ตามยุทธศาสตร์ชาตฉิ บบั ปจั จบุ ัน ?
ก. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นความม่ันคง ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
ข. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นเทคโนโยสารสนเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการคมนาคมขนส่ง
ค. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตร์ชาติ
ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ง. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั

40. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านความม่ันคงมเี ปา้ หมายดังต่อไปนี้ ยกเวน้ ขอ้ ใด ?
ก. ประชาชนอยูด่ ี กนิ ดี และมีความสุข / บา้ นเมืองมีความมั่นคงในทุกมติ แิ ละทุกระดบั
ข. กองทัพ หนว่ ยงานดา้ นความม่ันคง ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน มคี วามพร้อมใน
การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความม่นั คง
ค. กองทัพ หน่วยงานดา้ นความมนั่ คง ภาครฐั มีการพัฒนาขีดความสามารถและมหี ลกั ธรรมาภิบาล
ง. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมนั่ คงเปน็ ทีช่ ่นื ชมและไดร้ ับการยอมรบั โดยประชาคม
ระหว่างประเทศ / การบริหารจดั การความมั่นคงมีผลสาเร็จทีเ่ ป็นรูปธรรมอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ชุดที่ 1 240

41. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั มเี ปา้ หมายดงั ตอ่ ไปน้ี ยกเวน้ ข้อใด ?
ก. ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพฒั นาแล้ว เศรษฐกจิ เติบโตอยา่ งมเี สถียรภาพและย่งั ยืน
ข. ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สูงข้นึ
ค. ประเทศไทยเปน็ ศนู ย์กลางการคา้ อาเซียน
ง. ไม่มีข้อใดถกู

42. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ยม์ เี ป้าหมาย
ดงั ตอ่ ไปนี้ ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพ พร้อมสาหรบั วิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21
ข. สังคมไทยมีสภาพแวดลอ้ มทเี่ อ้ือและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดชว่ งชวี ติ
ค. สงั คมไทยมที รัพยากรมนษุ ย์ทสี่ มบรู ณแ์ ขง็ แรง
ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก

43. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมมีเป้าหมายดังตอ่ ไปนี้
ยกเว้นขอ้ ใด ?
ก. สรา้ งความเปน็ ธรรม และลดความเหล่ือมลา้ ในทุกมิติ
ข. กระจายศนู ย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสงั คม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคสว่ นเขา้ มาเป็น
กาลงั ของการพฒั นาประเทศในทุกระดับ
ค. เพิม่ ขีดความสามารถของชุมชนทอ้ งถ่ินในการพฒั นา การพง่ึ ตนเองและการจดั การตนเอง
เพ่ือสร้างสงั คมคุณภาพ
ง. กระจายอานาจสทู่ อ้ งถิน่ เพ่ือความย่งั ยืน

44. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อมมี
เปา้ หมายดังตอ่ ไปน้ี ยกเว้นข้อใด?
ก. อนรุ ักษ์และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ใหค้ นรุน่ ตอ่ ไปไดใ้ ช้
อยา่ งยั่งยนื มสี มดุล
ข. เป็นศนู ยก์ ลางในการประสานความรว่ มมือในการอนรุ กั ษ์และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ของอาเซียน
ค. ฟ้ืนฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือลดผลกระทบทางลบจาก
การพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ / ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐาน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมใหส้ มดุลภายในขีดความสามารถของระบบนเิ วศ
ง. ยกระดบั กระบวนทศั น์ เพือ่ กาหนดอนาคตประเทศดา้ นทรัพยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ ม
และวฒั นธรรม บนหลักของการมีสว่ นร่วม และธรรมาภบิ าล

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชุดท่ี 1 241

45. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐมีเป้าหมาย
ดงั ต่อไปนี้ ยกเวน้ ขอ้ ใด?
ก. ภาครฐั มีวัฒนธรรมการทางานทมี่ ุง่ ผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชนส์ ่วนรวม ตอบสนองความ
ตอ้ งการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส
ข. ภาครฐั มขี นาดที่เล็กลง พร้อมปรับตวั ใหท้ ันตอ่ การเปลย่ี นแปลง
ค. ภาครฐั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมิชอบ / กระบวนการยุติธรรม เปน็ ไป
เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมของประเทศ
ง. ภาครัฐเพม่ิ จานวนบุคลากรที่มีคณุ ภาพสอดรบั กบั เทคโนโลยี

46. การประเมนิ ผลการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
ก. ความอย่ดู ีมสี ุขของคนไทยและสงั คมไทย / ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพฒั นา
เศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
ข. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ / ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสังคม
ค. ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
/ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเข้าถึงการให้บรกิ ารของภาครัฐ
ง. ถกู ทุกข้อ

47. ในกรณีทหี่ น่วยงานของรัฐไม่ดาเนินการแก้ไขปรับปรงุ หรือไม่แจง้ การดาเนินการเกี่ยวกับการดาเนินการตาม
ยุทธศาสตรช์ าติให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตรช์ าติทราบภายในกาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควรจะส่งผล
อย่างไร?
ก. ให้ถือว่าหัวหน้าหน่วยงานของรัฐน้ันจงใจปฏิบัติหน้าท่ีหรือใช้อานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่ง
กฎหมาย และให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติแจ้งให้คณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาตทิ ราบเพ่อื ดาเนินการตามหน้าที่และอานาจต่อไป
ข. ให้ถอื วา่ หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั น้นั จงใจปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีหรือใช้อานาจขัดต่อบทบัญญัติแหง่
กฎหมาย และให้คณะกรรมการจัดทายทุ ธศาสตรช์ าติแจง้ ให้มกี ารดาเนนิ การทางวินัย
ค. ใหถ้ อื วา่ หวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั น้ันจงใจปฏบิ ัติหนา้ ท่ีหรอื ใช้อานาจขดั ต่อบทบัญญัติแหง่
กฎหมายและให้มผี ลตอ่ การพิจารณาความดีความชอบ
ง. ไม่มขี ้อใดถูก

48. การปฏิบัติหน้าท่ีและการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ และ
คณะอนกุ รรมการใหเ้ ปน็ ไปตามข้อใด ?
ก. ระเบียบที่คณะรฐั มนตรีกาหนด
ข. ระเบยี บทีค่ ณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกาหนด
ค. ข้อกาหนดของคณะรัฐมนตรี
ง. ขอ้ กาหนดของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติกาหนด

49. ใครเปน็ เลขานกุ ารของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ ?
ก. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
ข. เลขาธกิ ารสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ
ค. เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า
ง. เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ชดุ ที่ 1 242
50. กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิในคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติมีวาระการดารงตาแหนง่ คราวละก่ี

ปี ?
ก. 4 ปี
ข. 5 ปี
ค. 6 ปี
ง. 7 ปี

เฉลยแนวข้อสอบ แนวนโยบายแห่งรัฐและยุทธศาสตร์ชาติ
เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 1 243

ขอ้ เฉลย ข้อ เฉลย
1 ง 34 ง
2 ค 35 ค
3 ข 36 ก
4 ข 37 ค
5 ข 38 ก
6 ง 39 ข
7 ค 40 ค
8 ง 41 ค
9 ง 42 ค
10 ค 43 ง
11 ข 44 ข
12 ก 45 ง
13 ค 46 ง
14 ก 47 ก
15 ข 48 ข
16 ก 49 ก
17 ก 50 ข
18 ง
19 ค
20 ค
21 ง
22 ค
23 ก
24 ข
25 ก
26 ค
27 ค
28 ก
29 ค
30 ค
31 ง
32 ข
33 ค

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนกั งานเลือกต้ัง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ชุดท่ี 1 244

ถำมตอบขำ่ วสำร เหตกุ ำรณป์ จั จุบนั และควำมร้ทู ั่วไปเก่ยี วกับคณะกรรมกำรกำร
เลือกตั้งและสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลอื กตงั้ ยทุ ธศำสตร์ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ฯ

1. ต้นไม้ประจำรชั กำลที่ 10 คือตน้ อะไร ?

ตอบ ต้นรวงผงึ้

2. ปัจจุบนั วนั ครบรอบวันสถำปนำเป็นปที ่เี ทำ่ ไหร่ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตง้ั ?

ตอบ 22 ปี

3. วนั พระรำชสมภพพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธบิ ดศี รีสนิ ทรมหำวชริ ำลงกรณ

พระวชิรเกลำ้ เจ้ำอยูห่ ัว คอื วนั ที่เท่ำไหร่?

ตอบ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495

เป็นพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยรชั กาลที่ 10 แห่งราชวงศจ์ กั รีเสด็จขนึ้ ครองราชย์เม่อื วนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559

4. คณะกรรมกำรกำรเลอื กต้ัง นบั ตั้งแต่ชดุ แรกจนถึงปจั จุบันรวมทั้งสิ้นมีกี่ชดุ ?

ตอบ 5 ชดุ ดังนี้

ชดุ ที่ 1 ธีรศกั ดิ์ กรรณสูต เปน็ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2540-2544

ชุดท่ี 2 พลเอกศริ ินทร์ ธปู กล่า เปน็ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2544-2549

ชุดท่ี 3 นายอภชิ าต สขุ คั คานนท์ เปน็ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2549-2556

ชดุ ที่ 4 นายศุภชยั สมเจรญิ เป็นประธานกรรมการการเลือกตัง้ พ.ศ.2556-2561

ชดุ ท่ี 5 นาย อิทธิพร บญุ ประคอง เป็นประธานกรรมการการเลอื กต้ัง พ.ศ.2561-ปจั จบุ นั

5. เลขำธกิ ำรคณะกรรมกำรกำรเลือกต้งั คนปัจจุบนั ช่ืออะไร ?

ตอบ พนั ตารวจเอก จรงุ วทิ ย์ ภมุ มา ดารงตาแหน่ง เมื่อวันท่ี 17 พ.ค. 2561 – ปจั จบุ ัน

6. คณะรัฐมนตรีได้กำหนดให้วันใดเป็น “วันรู้รกั สำมัคคี” ?

ตอบ 4 ธันวาคม โดยไมถ่ ือเป็นวันหยดุ ราชการ

8. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรเลอื กตง้ั นบั ตงั้ แต่ คนจนถงึ ปัจจบุ นั รวมทั้งส้นิ มีก่ีคน?

ตอบ 5 คน ดังนี้

คนที่ 1 รอ้ ยตรี วจิ ิตร อยู่สุภาพ พ.ศ.2541-2546

คนที่ 2 พล.ต.ต.เอกชยั วารุณประภา พ.ศ.2547-2549

คนท่ี 3 นายสทุ ธพิ ล ทวชี ยั การ พ.ศ.2549-2554

คนท่ี 4 นายภุชงค์ นุตราวงศ์ พ.ศ.2555-2558

คนท่ี 5 พ.ต.อ.จรงุ วิทย์ ภุมมา พ.ศ.2561-ปจั จบุ นั

9. ประธำนองคมนตรีคนปัจจบุ นั ช่ืออะไร?

ตอบ พลเอก สรุ ยทุ ธ์ จุลานนท์ ประกาศ ณ วันท่ี 2 มกราคม 2563

10. แผนยุทธศำสตร์สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรเลอื กตงั้ มกี ำหนด กปี่ ี?

ตอบ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

11. แผนยทุ ธศำสตร์ชำติมีกำหนด กี่ปี?

ตอบ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)

เตรียมสอบ กกต 2564

เตรยี มสอบพนักงานเลือกตั้ง สานักงานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ชดุ ท่ี 1 245

12. วิสยั ทัศนป์ ระเทศ ตำมแผนแผนยุทธศำสตรช์ ำติคือ ?

ตอบ ประเทศไทยมีความมน่ั คง มง่ั ค่งั ย่งั ยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแลว้ ด้วยการพฒั นา

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

13. ประมุข 3 ฝ่ำย คอื ?

ตอบ ฝา่ ยบรหิ าร ได้แก่ พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี

ฝา่ ยนิตบิ ญั ญติ ได้แก่ นายชวน หลกี ภยั ประธานรฐั สภา

ฝ่ายตลุ าการ ไดแ้ ก่ นางเมทินี ชโลธร ประธานศาลฎีกา

14. พระปฐมบรมรำชโองกำรรชั กำลท่ี 10 ?

ตอบ เราจะสบื สาน รกั ษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์สุขแห่งอาณา

ราษฎรตลอดไป

15. กระทรวงใหม่ปจั จบุ ัน คือ?

ตอบ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม โดยสุวทิ ย์ เมษินทรยี ์

ดารงตาแหนง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรคนแรก

16. คณะกรรมกำรจดั ทำยทุ ธศำสตร์ชำติ มีจำนวนกีค่ ณะ ?

ตอบ จานวน 6 คณะรวม 70 คน รายละเอยี ดดังนี้

1.คณะกรรมการจดั ทายุทธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง

2. ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

3.ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

4.ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

5.ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

6.ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั

17. แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ ปนั จุบันเปน็ ฉบับทีเ่ ทำ่ ไหร่ ?

ตอบ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ไดก้ าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไว้ทั้งหมด 10

ยทุ ธศาสตร์

1. การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนุษย์

2. ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหลื่อมลา้ ในสงั คม

3. ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแขง่ ขนั ได้อยา่ งยัง่ ยืน

4. ยทุ ธศาสตร์การเตบิ โตทเ่ี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน”

5. ยทุ ธศาสตรก์ ารเสริมสร้างความมน่ั คงแห่งชาตเิ พ่อื การพัฒนาประเทศสู่ความมัง่ คั่งและย่งั ยืน

6. ยทุ ธศาสตร์การบริหารจดั การในภาครัฐ การปอ้ งกันการทจุ ริตประพฤติมชิ อบ และธรรมาภิ

บาลในสังคมไทย

7. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส์

8. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม

9. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค เมือง และพ้ืนท่เี ศรษฐกจิ

10. ยุทธศาสตรค์ วามร่วมมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพฒั นา

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนักงานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชดุ ท่ี 1 246

18. วิสัยทศั น์ระยะปำนกลำง 5 ปี ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตง้ั พ.ศ.2561-2565 คือ ?
ตอบ สนง.คณะกรรมการการเลอื กต้ังเปน็ ที่ยอมรับของประเทศ ในกระบวนการเลือกต้งั อย่าง

มอื อาชพี ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
19. วิสัยทศั นร์ ะยะยำว20 ปี ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตัง้ พ.ศ.2561-2580 คือ ?

ตอบ สนง.คณะกรรมการการเลือกตัง้ เปน็ ท่ยี อมรับระดบั สากล ในกระบวนการเลอื กตั้งอยา่ ง
มอื อาชีพ ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
20.สำยด่วน กกต. คอื ?

ตอบ 1444
21. คำ่ นยิ มหลัก ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง คือ ?

ตอบ OECT
Openness =เปิดกว้าง เปิดเผยโปรง่ ใส เปิดรบั โอกาส
Efficiency=มีประสิทธิภาพ
Communication=ส่อื สารดี
Technology=กา้ วหนา้ ทันเทคโนโลยี
22. ประเด็นยุทธศำสตร์ ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตง้ั คือ ?
ตอบ ประเดน็ ที่ 1 เร่งรดั การบูรณาการ การบริหารการจัดการเลือกต้งั และการบรกิ ารดจิ ทิ ลั

ประเดน็ ที่ 2 เสรมิ สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายประชาธปิ ไตย และสง่ เสริมการ
พฒั นาพรรคการเมือง
23. คณะรัฐมนตรีมีมตเิ ห็นชองพื้นที่สงวนชีวมณฑล แหง่ ใหม่ลำ่ สุด คือ?

ตอบ พน้ื ทดี่ อยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
สาหรับประเทศไทยมพี น้ื ท่สี งวนชวี มณฑล เดิมอยทู่ ี่ 4 แห่งได้แก่
1.พนื้ ที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช จงั หวดั นครราชสีมา
2.พน้ื ท่ีสงวนชีวมณฑลสวนสัก-ห้วยทาก จังหวดั ลาปาง
3.พ้ืนทส่ี งวนชีวมณฑลหว้ ยคอกม้า จังหวัดเชียงใหม่
4.พนื้ ท่สี งวนชวี มณฑลระนอง จงั หวัดระนอง
24. กรมทรพั ยส์ ินทำงปัญญำประกำศขึ้นทะเบียนสิ่งบง่ ช้ีทำงภมู ิศำสตร์ (GI)พืชเศรษฐกจิ ลำ่ สุดเม่ือวันที่
23 มถิ ุนำยน 2563 ไดแ้ ก่?
ตอบ หอมแดง –กระเทยี ม จังหวัดศรสี ะเกษ
25. กระทรวงพำณชิ ย์ เคำะยทุ ธศำสตรข์ ้ำวไทยระยะ 5 ปี โดยเน้นปลูกขำ้ ว 7 ชนดิ ไดแ้ ก?่
ตอบ 1.ข้าวหอมมะลิ

2.ข้าวหอมไทย
3.ขา้ วพืน้ นุม่
4.ข้าวพ้นื แข็ง
5.ข้าวนงึ่
6.ขา้ วเหนียว
7.ข้าวที่มีคุณภาพพเิ ศษทมี่ ีตลาดเฉพาะ

เตรยี มสอบ กกต 2564

เตรียมสอบพนกั งานเลือกตั้ง สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้ง ชุดท่ี 1 247

26. กรธ.แก้รัฐธรรมนญู โหวตที่มำของ ส.ส.ร ก่คี นให้มำจำกกำรเลือกต้งั ?
ตอบ 200 คน

27. ระบบกำรเลือกต้ังสมำชิกสภำผแู้ ทนรำษฎรในปัจจุบันเรยี กว่ำ ?
ตอบ ระบบจัดสรรปันส่วนผสมMixed Member Apportionment System (MMA)

28. คณะกรรมกำรสรรหำสมำชิกวุฒิสภำ ในบทเฉพำะกลำมจี ำนวนกีค่ น ?
ตอบ 10 คน โดยมีนายประวิตร วงษ์สวุ รรณ เปน็ ประธาน

29. ประธำนศำลฎีกำ คนปจั จุบนั เปน็ คนที่เท่ำไหร่?
ตอบ คนท่ี 46 ชื่อ นางเมทินี ชโลธร และถอื เปน็ ผหู้ ญิงคนแรกของศาลยตุ ิธรรมท่ีเขา้ รับตาแหน่งนี้

30. ดำวเทียมดวงแรกของกองทัพอำกำศ ชื่อวำ่ ?
ตอบ นภา-1 เป็นดาวเทียมดวงแรกของกองทัพอากาศท่ียิงขึน้ สูช่ ้นั อวกาศ เปน็ ดาวเทยี มขนาดเลก็

31. ศนู ยร์ ำชกำรกระทรวงมหำดไทยแห่งใหมต่ ้งั ที่บรเิ วณใด?
ตอบ ถนนเจรญิ นคร แขวงบางลาพูลา่ ง เขตคลองสาน

32. โจไบเดน เปน็ ประธำนำธิบดีสหรัฐ คนทเ่ี ท่ำไหร่?
ตอบ 46

33. โจไบเดน อยูพ่ รรคกำรเมืองใด?
ตอบ เดโมเครต

34. วัคซีนไวรัสโคโรน่ำ 2019 ประเทศไทยได้นำเขำ้ บริษทั ใดบำ้ ง?
ตอบ - แอสตร้าเซนกร้า
-ซิโนแวค

35. ในกำรเลอื กต้งั ส.ส.ร ให้ใช้เขตใดเปน็ เขตเลอื กต้งั ?
ตอบ จงั หวัด

36. ยำเสพติด ประเภทใดล่ำสุดที่ได้ประกำศใหพ้ ้นแลว้ ?
ตอบ ใบกระท่อม/กญั ชา/กัญชง

37. ใครเป็นภำพจดั ซัมมติ โลกรอ้ น ในเดือนเมษำยน 2564 นี้ ?
ตอบ โจไบเดน

38. ประเภทใดเปน็ เจำ้ ภำพโอลิมปิกปี 2021 ?
ตอบ กรุงโตเกยี ว ประเทศญี่ปุ่น

39. รัฐบำลไทย รณรงคใ์ หค้ นไทยชว่ ยยับยง้ั โควิท 19 คือ ?
ตอบ อยบู่ ้าน หยุดเช้ือ เพื่อชาติ

40. กำรเลอื กตั้งท้องถน่ิ ลำ่ สุดทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทยคือ ประเภทใด?
ตอบ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด เมอ่ื 20 ธนั วาคม 2563 เทศบาล เม่ือ 28 มีนาคม 2564

41. สนง.กกต. จัดทำข้อควำมสั้นเชิญชวนไปใชส้ ทิ ธิเลือกต้ังท้องถิน่ ?
ตอบ เลือกต้ังท้องถิน่ รว่ มมอื กันไปใช้สิทธอิ ย่างสจุ ริตโปร่งใส

42. คณะรัฐมนตรีมีมติขยำยอำยุรำชกำรเพ่ือแกป้ ัญหำขำดแคบนบคุ ลำกร โดยใหข้ ยำยในสำขำ
ที่ขำดแคลน ดงั นี้?
ตอบ สายวิชาการ ระดับเชย่ี วชาญระดบั 9 และระดบั ทรงคุณวฒุ ิระดบั 10 หรอื ตาแหน่ง

ประเภทท่ัวไป ระดับอาวุโส หรือระดบั ทักษะพิเศษโดยจะต้องดารงตาแหน่งมาแลว้ ไม่น้อยกว่า 1 ปี

เตรยี มสอบ กกต 2564


Click to View FlipBook Version