การพลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ย
เพื่อปอ้ งกนั แผลกดทบั
นางสาวจิติพร พนั ธุก์ า่
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชัน้ ปีที 2 รุ่นที 36
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรุ าษฎรธ์ านี
ผู้ป่ วยตดิ เตยี ง
คือ ผปู้ ่ วยท่ีร่างกายเสื่อมโทรมจนตอ้ งนอนอยบู่ นเตียงตลอดเวลา โดยสาเหตุของการเป็นผปู้ ่ วยติดเตียงน้นั
อาจเกิดไดจ้ ากการประสบอุบตั ิเหตุ การผา่ ตดั ใหญ่ ไปจนถึงโรคประจาตวั ไดเ้ ช่นกนั ซ่ึงผปู้ ่ วยอาจขยบั ตวั ไดบ้ า้ งแต่กไ็ ม่
สามารถช่วยเหลือตวั เองในเรื่องอื่น ๆ ได้ และการที่ผปู้ ่ วยนอนติดเตียงไม่สามารถช่วยเหลือตนเองไดห้ รือช่วยเหลือตนเอง
ไดน้ อ้ ย ไม่สามารถขยบั ร่างกายไดต้ อ้ งนอนอยบู่ นเตียงเป็นเวลานาน อาจเกิดอาการภาวะแทรกซอ้ นท่ีตามมา ซ่ึงอาการที่
พบไดบ้ ่อยกค็ ือ เกิดแผลกดทบั มีการติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดินปัสสาวะ เป็นตน้ เนื่องจากผปู้ ่ วยติด
เตียงน้นั ไม่สามารถช่วยเหลือตวั เองในการฟ้ื นฟูร่างกายได้ จึงจาเป็นตอ้ งมีผดู้ ูแลอยา่ งใกลช้ ิดอยเู่ สมอ เพ่ือดูแลป้องกนั
ภาวะแทรกซอ้ นท่ีจะเกิดข้ึนในผปู้ ่ วยติดเตียง
แผลกดทบั (bedsore)
แผลกดทบั คือ แผลกดทบั เป็นแผลที่เกิดจากการกดทบั ลงไปเป็นเวลานาน ทาใหผ้ ิวหนงั หรือเน้ือเยอื่ ใต้
ผวิ หนงั ถกู ทาลายแบบเฉพาะที่ เกิดเน้ือตายและแผลข้ึนมา อาจมีอาการเจบ็ ปวดร่วมดว้ ย แผลกดทบั สามารถ
ระบุระยะที่เป็นไดจ้ ากระดบั ของเน้ือเยอ่ื ท่ีถกู ทาลาย
ระยะที่ 1 ผวิ หนงั มีรอยแดง ๆ ใชม้ ือกดแลว้ ระยะที่ 2 ผวิ หนงั เสียหายบางส่วน แผลต้ืน
รอยแดงไม่จางหายไป ผวิ ไม่ฉีกขาด ไม่พอง ไม่เป็นตุ่มน้าใส
ระยะท่ี 3 แผลลึกถึงช้นั ถึงไขมนั ระยะที่ 4 แผลลึกมองเห็นถึงกระดูก เอน็ กลา้ มเน้ือ
สูญเสียผวิ หนงั ท้งั หมด สูญเสียผวิ หนงั ท้งั หมด
ตำแหน่งทเ่ี กดิ แผลกดทบั
กำรป้องกนั กำรเกดิ แผลกดทบั ของผู้ป่ วยตดิ เตยี ง
แผลกดทบั มกั พบในผปู้ ่ วยที่มีขอ้ จากดั การเคลื่อนไหว ผปู้ ่ วยติดเตียง แผลกดทบั เกิดข้ึนจากการ
ไดร้ ับบาดเจบ็ บริเวณผวิ หนงั หรือเน้ือเยอื่ ท่ีโดนแรงกดจากการนอนติดเตียง เป็นเวลานาน การ
ดูแลผปู้ ่ วยติดเตียงมีความสาคญั ท่ีสุดเพื่อป้องกนั การเกิดแผลกดทบั หรือการเกิดแผลกดทบั ท่ี
เร้ือรัง หากผปู้ ่ วยติดเตียงถูกจดั อยใู่ นท่าท่ีไม่ถูกตอ้ ง หรือการถูกจดั ท่านอนใหอ้ ยใู่ นท่าเดิมเป็น
เวลานาน อาจก่อใหเ้ กิดแผลกดทบั ได้ ผทู้ ี่มีความเสี่ยงสูงในเกิดการแผลกดทบั วิธีการป้องกนั
การเกิดแผลกดทบั มีดงั น้ี
-หมน่ั ขยบั แขน-ขาของผปู้ ่ วย
-หมนั่ พลิกตะแคงตวั ผปู้ ่ วยทุก 2 ชวั่ โมง
-หมน่ั เปล่ียนท่านอนใหม่ใหก้ บั ผปู้ ่ วย หลีกเลี่ยงการนอนท่าเดิมบนเตียงเป็นเวลานาน
เพ่อื ป้องกนั การเกิดแผลกดทบั
วธิ ีกำรพลกิ ตวั ผู้ป่ วย
-ก่อนจะเริ่มพลิกตะแคงตวั ผปู้ ่ วย ตาแหน่งของผปู้ ่ วยจะตอ้ งไม่อยหู่ ่าง
ผดู้ ูแลจนเกินไป ใหส้ ามารถเอ้ือมแขนถึงไดอ้ ยา่ งถนดั
-ในการจดั ท่าพลิกตวั ผปู้ ่ วยจาเป็นจะตอ้ งใชห้ มอนอยา่ งนอ้ ย 2-3 ใบ
-ก่อนทาการพลิกตวั ผปู้ ่ วย ผดู้ ูแลควรบอกใหผ้ ปู้ ่ วยทราบก่อนทุกคร้ัง
เพอ่ื ป้องกนั การเกร็งของผปู้ ่ วย
-การพลิกตวั ผปู้ ่ วย คือการพลิกตะแคงเท่าน้นั หา้ มใหผ้ ปู้ ่ วยนอนคว่า
หรือคว่าหนา้ เพราะอาจทาใหผ้ ปู้ ่ วยหายใจไม่ออกได้
ท่ำพลกิ ตะแคงตวั ทที ้งั หมด 3 ท่ำ
ท่ำท่ี 1 พลกิ ตวั ตะแคงตวั ผ้ปู ่ วย
โดยหนั ตวั ผปู้ ่ วยเขา้ หาผดู้ ูแล หรือในกรณีท่ีเป็นอมั พฤกษด์ า้ นใดดา้ นหน่ึง ท่าน้ีจะเป็นการพลิกตวั ผปู้ ่ วยใหต้ ะแคงมาทบั ฝั่งท่ีมีแรง
1.จดั แขนผปู้ ่ วยดา้ นท่ีอยดู่ า้ นเดียวกบั ผดู้ ูแลใหก้ างออกและงอเลก็ นอ้ ย เพื่อไม่ใหผ้ ปู้ ่ วยพลิกตวั มานอนทบั
2.จบั เขา่ ผปู้ ่ วยดา้ นตรงขา้ มผดู้ ูแลใหต้ ้งั ข้ึน (ดา้ นอ่อนแรง) โดยลอ็ กเขา่ ดว้ ยมือขา้ งหน่ึงเอาไว้ จากน้นั ใชม้ ืออีกขา้ งจบั ท่ีหวั ไหล่ผปู้ ่ วย
ซ่ึงเป็นดา้ นตรงขา้ มผดู้ ูแล แลว้ ออกแรงพลิกตวั ผปู้ ่ วยเขา้ หาผดู้ ูแลอยา่ งชา้ ๆ และระมดั ระวงั เม่ือพลิกตะแคงตวั ผปู้ ่ วยไดแ้ ลว้ อยา่ เพิ่ง
ปล่อยมือออกจากลาตวั ผปู้ ่ วย เพราะตวั ผปู้ ่ วยอาจไหลได้
ท่ำพลกิ ตะแคงตวั ทที ้งั หมด 3 ท่ำ
ท่ำท่ี 2 ท่ำนอนหงำย
1.หากผปู้ ่ วยนอนพลิกตะแคงตวั อยู่ ใหผ้ ดู้ ูแลพลิกตวั ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนหงาย โดยจบั เข่าและหวั ไหล่ของผปู้ ่ วยใหพ้ ลิกหงายอยา่ งระมดั ระวงั
หรือบอกผปู้ ่ วยใหช้ ่วยออกแรงถา้ สามารถทาได้
2.เมื่อผปู้ ่ วยอยใู่ นท่านอนหงายแลว้ ใหจ้ ดั ศีรษะผปู้ ่ วยใหส้ ูงประมาณ 30 องศา โดยใชห้ มอนหนุนระวงั อยา่ ใหส้ ูงจนคอผปู้ ่ วยพบั หรือ
หากใชเ้ ตียงผปู้ ่ วยไฟฟ้า กป็ รับใหร้ ะดบั หวั เตียงสูง 30 องศาไดเ้ ลย
3.จากน้นั นาหมอนมารองใตห้ วั เข่า และใชผ้ า้ ขนหนูรองบริเวณตาตุ่ม เพือ่ ไม่ใหป้ ่ ุมกระดูกกดทบั 4.ใหแ้ ขนท้งั 2 ขา้ งวางไวข้ า้ งลาตวั
โดยแขนขา้ งท่ีอ่อนแรงบริเวณใตข้ อ้ ศอก ควรรองดว้ ยหมอน เพอ่ื ป้องกนั การเกิดแรงกดทบั จากขอ้ ศอก
ท่ำพลกิ ตะแคงตัวทที ้งั หมด 3 ท่ำ
ท่ำท่ี 3 พลกิ ตวั ตะแคงตวั ผู้ป่ วย
โดยหนั ตวั ผปู้ ่ วยออกจากผดู้ ูแล หรือในกรณีท่ีเป็นอมั พฤกษด์ า้ นใดดา้ นหน่ึง ท่าน้ีจะเป็นการพลิกตวั ผปู้ ่ วยใหต้ ะแคงมาทบั ฝ่ังท่ีอ่อนแรง
1.ผดู้ ูแลยนื อยฝู่ ่ังที่ผปู้ ่ วยอ่อนแรง จากน้นั กางแขนผปู้ ่ วยขา้ งที่อยตู่ รงขา้ มกบั ผดู้ ูแลออกชา้ ๆ ในลกั ษณะที่งอเลก็ นอ้ ย ในท่าน้ีตอ้ งระวงั เรื่อง
ไหล่ของผปู้ ่ วยอาจหลุดได้ ดงั น้นั ตอ้ งทาอยา่ งชา้ ๆ และระมดั ระวงั มากท่ีสุด
2.จบั เข่าผปู้ ่ วยดา้ นตรงขา้ มผดู้ ูแลใหต้ ้งั ข้ึน โดยขา้ งน้นั จะเป็นขา้ งท่ีผปู้ ่ วยพอมีแรง ผดู้ ูแลควรบอกใหผ้ ปู้ ่ วยช่วยขยบั เข่าต้งั ข้ึนคา้ งไว้จากน้นั
ผดู้ ูแลจบั ท่ีบริเวณหวั ไหล่และเข่า แลว้ พลิกตวั ผปู้ ่ วยเขา้ หาผดู้ ูแลอยา่ งชา้ ๆ
3.ในท่าน้ีลาตวั ของผปู้ ่ วยจะมาทบั ไหล่ขา้ งที่อ่อนแรง ผดู้ ูแลควรดนั ผปู้ ่ วยกลบั ไปเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ใหท้ บั นอ้ ยลง โดยใชห้ มอนมารองที่หลงั ของ
ผปู้ ่ วย เพือ่ ป้องกนั ผปู้ ่ วยพลิกกลบั
4.จดั ขาขา้ งที่พลิกมาใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะก่ึงงอ ส่วนขาอีกขา้ งใหเ้ หยยี ดออก แลว้ นาหมอนมารองขา (เหมือนนอนก่ายหมอน) จากน้นั เอาหมอน
อีกใบมารองใตแ้ ขน (เหมือนนอกอดหมอน)
การพลิกตวั ผปู้ ่ วยติดเตียง แนะนาใหผ้ ดู้ ูแลพลิกตวั ผปู้ ่ วยทุก ๆ 2 ชวั่ โมง สลบั หมุนเวยี น
กนั ไปท้งั 3 ท่าขา้ งตน้ เพือ่ ลดโอกาสการเกิดแผลกดทบั ตามจุดต่าง ๆ ซ่ึงจะไดผ้ ลดีกบั
ผปู้ ่ วย
ช่วงเวลำในกำรพลกิ ตะแคงตวั
06.00 น. : พลิกตะแคงซา้ ย
08.00 น. : จดั ท่านอนหงาย
10.00 น. : พลิกตะแคงขวา
12.00 น. : พลิกตะแคงซา้ ย
14.00 น. : จดั ท่านอนหงาย
16.00 น. : พลิกตะแคงขวา
18.00 น. : พลิกตะแคงซา้ ย
กำรป้องกนั กำรเกดิ แผลกดทบั ของผู้ป่ วยตดิ เตยี ง
แผลกดทบั มกั พบในผปู้ ่ วยที่มีขอ้ จากดั การเคลื่อนไหว ผปู้ ่ วยติดเตียง แผลกดทบั เกิดข้ึนจากการ
ไดร้ ับบาดเจบ็ บริเวณผวิ หนงั หรือเน้ือเยอื่ ท่ีโดนแรงกดจากการนอนติดเตียง เป็นเวลานาน การ
ดูแลผปู้ ่ วยติดเตียงมีความสาคญั ท่ีสุดเพื่อป้องกนั การเกิดแผลกดทบั หรือการเกิดแผลกดทบั ท่ี
เร้ือรัง หากผปู้ ่ วยติดเตียงถูกจดั อยใู่ นท่าท่ีไม่ถูกตอ้ ง หรือการถูกจดั ท่านอนใหอ้ ยใู่ นท่าเดิมเป็น
เวลานาน อาจก่อใหเ้ กิดแผลกดทบั ได้ ผทู้ ี่มีความเสี่ยงสูงในเกิดการแผลกดทบั วิธีการป้องกนั
การเกิดแผลกดทบั มีดงั น้ี
-หมน่ั ขยบั แขน-ขาของผปู้ ่ วย
-หมนั่ พลิกตะแคงตวั ผปู้ ่ วยทุก 2 ชวั่ โมง
-หมน่ั เปล่ียนท่านอนใหม่ใหก้ บั ผปู้ ่ วย หลีกเลี่ยงการนอนท่าเดิมบนเตียงเป็นเวลานาน
เพ่อื ป้องกนั การเกิดแผลกดทบั
กำรดูแลควำมสะอำดผ้ปู ่ วยตดิ เตยี ง
กำรดูแลควำมสะอำดผู้ป่ วยตดิ เตยี ง
ผปู้ ่ วยติดเตียง คือผปู้ ่ วยที่มีสุขภาพร่างกายเสื่อมไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถลุกหรือขยบั ร่างกายได้ หรือ
อาจขยบั ไดเ้ พียงเลก็ นอ้ ยแต่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ตอ้ งนอนติดอยบู่ นเตียงตลอดเวลา ซ่ึงการ
ดูแลความสะอาดผปู้ ่ วยจึงมีความสาคญั ผดู้ ูแลควรรู้วธิ ีการดูแลความสะอาดผปู้ ่ วยติดเตียงเพือ่ ป้องกนั
ความสกปรกและภาวะแผลติดเช้ือ
ทาความสะอาดร่างกายและส่ิงขบั ถ่ายของผปู้ ่ วยเป็นประจา ควรเปล่ียนสายสวนปัสสาวะใหก้ บั ผปู้ ่ วย
ทุก 2-4 สปั ดาห์และทาความสะอาดสายสวนดว้ ยน้าสบู่อ่อน ๆ เพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ ช้ือเขา้ สู่ร่างกาย หาก
พบวา่ ปัสสาวะของผปู้ ่ วยขนุ่ ขน้ หรือปัสสาวะไม่ออกควรนาผปู้ ่ วยส่งโรงพยาบาลที่ใกลท้ ี่สุดทนั ที
- ดูแลสุขภาพช่องปากของผปู้ ่ วยอยา่ งสม่าเสมอเพอ่ื ช่วยลดการสะสมของแบคทีเรียและลดความเสี่ยง
ต่อการเป็นปอดบวมจากการสาลกั ผดู้ ูแลสามารถใชน้ ้ายาบว้ นปากท่ีไม่มีแอลกอฮอลเ์ พือ่ ลดอาการ
ปากแหง้
- จดั สภาพแวดลอ้ มของหอ้ งนอนใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านเสมอ สะดวกในการเคลื่อนยา้ ยผปู้ ่ วยใน
กรณีฉุกเฉินและเอนตวั และระบายอากาศอยเู่ สมอ
วธิ ีกำรป้องกนั และหลกี เลยี่ งไม่ให้เกดิ แผลกดทบั
เม่ือผปู้ ่ วยขยบั ตวั เองไม่ได้ ดงั น้นั หนา้ ที่ของผดู้ ูแลควรพลิกตวั ผปู้ ่ วยทุกๆ 2 ชวั่ โมง
ดว้ ยท่านอนใหม่ เช่น นอนหงายและตะแคง หลีกเลี่ยงรอยยบั ของเส้ือผา้ โดยการ
ประเมินสภาพของผวิ หนงั เพอื่ ทาความสะอาด ควรมีอุปกรณ์เสริมเพอ่ื ลดการกดทบั
เช่นฟองน้า ที่นอนเป่ าลม หมอนผา้ นุ่ม เจลหนุนป่ ุมกระดูก
กำรป้องกนั กำรเกดิ แผลกดทบั ของผ้ปู ่ วยตดิ เตยี ง
พลกิ ตัวอยา่ งดีไม่มีแผลกดทับ
แน่นอนแน่นอนคร๊าบบ!!!