The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gamolwan_joy, 2021-12-17 02:55:16

ม3หน่วย4

ม3หน่วย4

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4

แอปพลิเคชัน

เวลา 14 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั

ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชวี ิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม
ว 4.2 ม.3/1 พฒั นาแอปพลเิ คชนั ที่มกี ารบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง
1) ชนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชัน
2) Internet of Things (IoT)
3) ซอฟต์แวรท์ ใ่ี ชใ้ นการพฒั นาแอปพลิเคชนั เช่น Scratch, python, java, c, AppInventor
4) ตัวอย่างแอปพลิเคชนั เชน่ โปรแกรมแปลงสกลุ เงนิ โปรแกรมผนั เสยี งวรรณยุกต์ โปรแกรมจาลอง
การแบ่งเซลล์ ระบบรดนา้ อัตโนมัติ

2.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)

3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

การทาให้อุปกรณ์หลายตวั สามารถส่ือสาร แลกเปล่ียนข้อมูล และทางานรว่ มกนั ไดน้ ้นั เรียกวา่
เทคโนโลยี IoT ตอ้ งอาศยั ความสามารถของ Smart Device ซง่ึ อปุ กรณ์ทม่ี ีหน่วยประมวลผล หรอื
เซนเซอร์ภายในตัว เพ่ือส่งข้อมูลผ่าน Cloud Computing หรอื Wireless Network เปน็ ตวั กลางในการ
รับสง่ ขอ้ มลู ภายในเครอื ข่ายเพ่ือประมวลผล และอาศยั Dashboard สาหรับแสดงผลและใช้ควบคุมการ
ทางานจากผู้ใช้

แอปพลิเคชัน เป็นโปรแกรมที่ถูกพฒั นาขนึ้ มาเพื่ออานวยในดา้ นตา่ ง ๆ มกี ารออกแบบมาเพ่ือ
ใชง้ านในหลายรูปแบบ โดยแอปพลิเคชันแบง่ ออกได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ แอปพลิเคชันระบบ แอปพลเิ คชัน
ทีต่ อบสนองตอ้ งการของกลมุ่ ผใู้ ช้

การพฒั นาแอปพลิเคชนั มี 7 ข้ันตอน ดังนี้ 1) กาหนดปญั หา 2) ศึกษาความเป็นไปได้ 3)
วิเคราะห์ความต้องการแอปพลเิ คชนั 4) ออกแบบแอปพลิเคชัน 5) ทดสอบ 7) จัดทาเอกสาร

ซ่งึ การพฒั นาโปรแกรมในปัจจุบันนิยมใช้โปรแกรมภาษาไพทอน (Python) เพราะ
เป็นภาษาที่อ่านแลว้ เข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน ตัวอยา่ งการเขียนโปรแกรมการพฒั นาแอปพลเิ คชันดว้ ย
โปรแกรมภาษาไพทอน เชน่ โปรแกรมคานวณหาอตั ราแลกเปลยี่ นเงนิ บาทไทย (THB) เป็นเงินดอลลาร์
(USD) เป็นต้น

ภาษาไพทอนเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีเหมาะสาหรับผ้เู ร่ิมต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึง
การประยุกตใ์ ชง้ านในระดบั สูง เน่อื งจากโครงสร้างภาษาที่ลดความยงุ่ ยากเร่ืองไวยากรณใ์ นการเขยี น
โปรแกรมลง อา่ นแล้วเขา้ ใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน

4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวนิ ยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มุ่งมั่นในการทางาน

4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. มีจติ สาธารณะ

5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง -

6. การวดั และการประเมินผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
6.1 การประเมนิ ก่อนเรียน - แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 ก่อนเรยี น

เร่อื ง แอปพลเิ คชนั

6.2 การประเมนิ ระหว่างการจดั

กจิ กรรม

1) แนวคิดและ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์
องค์ประกอบของ IoT เรอ่ื ง เทคโนโลยี IoT เรอ่ื ง เทคโนโลยี IoT

(ขอ้ 1-3) - แบบประเมิน
แบบฝึกหัด
- ตรวจการออกแบบ
- แบบประเมิน
แนวคดิ ในการพัฒนา การนาเสนอ

เทคโนโลยี IoT

ในแบบฝกึ หดั

รายการวัด วิธวี ัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน

2) ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ เร่อื ง เทคโนโลยี IoT ระดบั คุณภาพ 2
ในการพฒั นา ผ่านเกณฑ์
แอปพลิเคชัน (ขอ้ 5-7)
ระดับคุณภาพ 2
3) การพัฒนาแอปพลเิ คชัน - ประเมินการนาเสนอ ผ่านเกณฑ์
ด้วยภาษา Python
แนวคิดในการพฒั นา ระดบั คุณภาพ 2
4) คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์
อันพึงประสงค์ เทคโนโลยี IoT

- ตรวจแบบฝึกหดั

เรอื่ ง เทคโนโลยี IoT

(ข้อ 8)

- ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หดั รายวิชา

หน้า 57-58 พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

- ตรวจการออกแบบ เทคโนโลยี (วิทยาการ

แนวคดิ ในแบบฝกึ หัด คานวณ) ม.3

หนา้ 58-59 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4

- ประเมินการนาเสนอ เรื่อง แอปพลเิ คชัน

แนวคดิ การออกแบบ - แบบประเมิน

การพฒั นาแอปพลเิ คชนั แบบฝึกหดั

- ตรวจแบบฝกึ หดั อจท. - แบบประเมนิ

หนา้ 66 ขอ้ 7 การนาเสนอ

- อธิบายการทางานของ - แบบประเมินช้ินงาน

โปรแกรมหรอื - แบบประเมิน

แอปพลิเคชนั ท่ีเขยี น การนาเสนอ

ด้วยภาษา Python

- ตรวจโปรแกรมหรือ

แอปพลเิ คชันทเ่ี ขยี น

ด้วยโปรแกรมภาษา

Python

- บอกประโยชนข์ อง

แอปพลิเคชนั

ทพี่ ัฒนาข้นึ

- สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน

ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่ัน คณุ ลักษณะ

ในการทางาน และ อันพงึ ประสงค์

มีจิตสาธารณะ

รายการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
6.3 การประเมนิ หลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
1) แบบทดสอบหลังเรียน หลังเรียน หลงั เรียน
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4
เรื่อง แอปพลิเคชนั - ตรวจชน้ิ งาน/ - แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์
2) การประเมนิ ชิ้นงาน/
ภาระงาน (รวบยอด)
เรื่อง -

7. กิจกรรมการเรียนรู้

นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง แอปพลิเคชัน

เรอื่ งที่ 1 : แนวคิดและองค์ประกอบของ IoT เวลา 4 ชัว่ โมง

วธิ ีการสอนแบบการใช้คาถาม (Questioning Method)
วิธีการสอนโดยใช้แนวคิดเชงิ คานวณ (Computational Thinking)

ขนั้ นา (10 นาที)

1. ครูถามคาถามกระตุน้ ความสนใจของนักเรยี นวา่ “นักเรยี นรจู้ กั เทคโนโลยี IoT หรือไม่”

ขั้นสอน (30 นาที)

1. ครูใหน้ กั เรยี นเปิดหนงั สือวชิ าวิทยาการคานวณ บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 หนา้ 77
เร่อื ง เทคโนโลยี IoT

2. ครถู ามนักเรยี นวา่ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต หรอื เครอื ข่ายไรส้ ายมีประโยชนก์ ับชีวิตเราอย่างไร
(แนวคาตอบ เช่นสัญญาณ3G 4G ทาให้เข้าถึงอนิ เทอรเ์ นต็ ได้สะดวก)

3. ครถู ามต่อวา่ ถ้าสมมติมือถือ หรอื คอมพิวเตอร์ แลปทอปของเราไมม่ ีความสามารถในการเชอื่ มตอ่ เครอื ข่าย
อินเทอรเ์ นต็ ได้ นักเรียนคดิ ว่าจะมีผลกระทบต่อชีวติ อยา่ งไร
(แนวคาตอบ ค้นหาข้อมูลไดย้ าก แลกเปลยี่ นข้อมูลกนั ชา้ เนือ่ งจากไม่มีอินเทอรเ์ นต็ ไม่สามารถอปั เดต
ขา่ วสารได้ Real time)

4. ครอู ธิบายวา่ ยุคก่อนหน้านีม้ ือถือ และคอมพิวเตอร์ของเรายงั ไมม่ ีความสามารถในการเข้าถึงอินเทอรเ์ นต็
แตป่ ัจจบุ ันอปุ กรณเ์ หล่านแ้ี ทบทกุ เครื่องจะมคี วามสามารถในการเช่อื มต่อเครือข่ายเขา้ หากนั ได้ เช่น
Bluetooth , Wifi Internet ทาให้อปุ กรณห์ ลายชิ้นเชอ่ื มต่อกนั จงึ ทาให้สามารถแลกเปล่ยี นขอ้ มลู กนั ได้
อยา่ งรวดเรว็

5. ครูอธิบายวา่ ลักษณะการทาให้อุปกรณห์ ลายช้นิ เชือ่ มตอ่ เข้าหากันผ่านเครือขา่ ย และทาการแลกเปล่ียน
ขอ้ มลู กนั เพื่อให้ใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากข้นึ เปน็ แนวคดิ ท่ีคลา้ ยกับเทคโนโลยี IoT

6. ครูอธิบายแนวคดิ จดุ กาเนิด และองค์ประกอบของของเทคโนโลยี IoT ในหนงั สือวิชาวทิ ยาการคานวณ
บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หนา้ 77-78 เรื่อง เทคโนโลยี IoT และองค์ประกอบของ
เทคโนโลยี IoT ว่าเปน็ การทาใหอ้ ปุ กรณต์ ่าง ๆ มีหนว่ ยประมวลผลและความสามารถในการเชอ่ื มต่อกบั
อปุ กรณ์อน่ื ได้ โดยไมต่ ้องพ่ึงพาความสามารถของคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผลและการเชื่อมตอ่ กบั
อุปกรณ์อื่น จึงทาใหอ้ ุปกรณ์สามารถส่งผ่านข้อมูลระหว่างกนั ได้โดยตรง เชน่ เครือ่ งพิมพท์ เี่ ช่ือมเข้า
ระบบ wifi และสั่งปรน้ิ ทง์ านผา่ นระบบ wifi ไม่จาเปน็ ตอ้ งเชอ่ื มเครื่องพิมพ์กับคอมพวิ เตอรอ์ ีกตอ่ ไป
แตส่ ามารถสงั่ งานจากอุปกรณใ์ ดก็ได้ทีเ่ ชื่อมวงเครือขา่ ย wifi เดยี วกัน

ชั่วโมงท่ี 2

ขนั้ สอน (50 นาที)

7. ครูถามนกั เรยี นวา่ หากเราสามารถพฒั นาเทคโนโลยี IoT ด้วยตนเองได้นักเรยี นคดิ ว่าจะนาอปุ กรณ์

อิเลก็ ทรอนิกส์ใดมาเชือ่ มต่อเครอื ขา่ ย และจะใชป้ ระโยชนจ์ ากการเชอ่ื มตอ่ เข้าเครอื ข่ายของอุปกรณน์ ้นั

อยา่ งไร ส่มุ นักเรียนตอบคาถาม3-5คน

(แนวคาตอบ แอรเ์ ช่ือมเน็ตแลว้ เช็คอณุ หภมู จิ ากที่ไหนก็ได้จากนน้ั กส็ ่งั เปดิ -ปดิ แอร์ตอนไหนก็ได้)

8. ครอู ธิบายเพิ่มเติมเกีย่ วกบั แนวคดิ ของ IoT เรือ่ งองคป์ ระกอบทส่ี าคัญท้งั 3 สว่ นได้แก่

1) Smart Device ใช้นาเขา้ ข้อมลู จากเซนเซอร์

2) Cloud Computing หรือ Wireless Network เพ่อื ใชเ้ ป็นสอื่ กลางในการรับส่งข้อมลู

3) Dashboard เพ่ือใชส้ ื่อสารกบั ผู้ใช้

ดังนั้นนอกจากอปุ กรณจ์ ะสามารถเช่ือมต่อเขา้ เปน็ เครือข่ายเดียวกันไดแ้ ล้วจะต้องมสี ว่ นตดิ ตอ่ ทีใ่ ช้ควบคมุ

การทางานภายในระบบได้ดว้ ย เช่น สัง่ สตาร์ทรถผ่านมือถือโดยใช้สื่อกลางเปน็ ระบบอนิ เทอรเ์ น็ต เปิด-ปิด

เครอื่ งใช้ไฟฟ้าภายในบา้ นด้วยเครอื ข่ายไร้สาย Wifi

9. ครูให้นักเรียนวาดแผนผงั การทางานตามแนวคดิ ของเทคโนโลยี IoT และเขียนแนวคิดการประยุกตใ์ ช้

เทคโนโลยี IoT ในชวี ติ ประจาวันในแบบฝกึ หัดบริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เรอื่ ง

เทคโนโลยี หนา้ 53-55 ข้อ 1-5

(แนวคดิ เชงิ คานวณ : ในสว่ นการแยกย่อย Decomposition นกั เรียนฝกึ กระบวนการแยกองค์ประกอบ

โดยการเขยี นองคป์ ระกอบย่อยของเทคโนโลยใี นรูปแบบแผนผงั )

ชั่วโมงท่ี 3

ข้ันสอน (50 นาท)ี

10. ครสู อบถามนักเรยี นวา่ สงสยั หรอื ไม่ แอรท์ บ่ี ้านเรารู้อุณหภูมวิ ่าเปน็ กีอ่ งศาภายในบ้านไดอ้ ย่างไร

(แนวคาตอบ มีตวั ตรวจจับ มีเครอื่ งวดั อณุ หภมู ิ มเี ซนเซอร์ เซนเซอร์วดั อุณหภมู ิ)

11. ครสู อบถามนักเรยี นว่า “นกั เรยี นรูจ้ กั เซนเซอร์อะไรบ้าง หรือเคยเห็นเซนเซอรใ์ นอุปกรณ์ไหนบ้าง

(แนวคาตอบ ข้ึนอยู่กับดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน)

12. ครแู นะนาบอร์ด micro:bit (ไมโครบิท) ท่มี ีเซนเซอรห์ ลากหลายสามารถนามาใชพ้ ัฒนาเทคโนโลยี IoT ได้

โดยให้นกั เรยี นเปดิ หนงั สือวชิ าวิทยาการคานวณ บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หน้า

79-8 เร่อื ง ตัวอย่างอปุ กรณ์สาหรับเทคโนโลยี IoT และยกตวั อยา่ งอปุ กรณ์ ไมโครบิท พรอ้ มบอก

สว่ นประกอบเบ้ืองตน้ (กรณีท่ีโรงเรียนมี micro:bit ใหค้ รูแจกบอร์ด micro:bit ให้นกั เรียนทาความรจู้ ัก)

13. ครใู ห้นักเรียนเปดิ หนังสือวิชาวิทยาการคานวณ บริษัทอกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 หน้า
82 จากน้ันครูอธบิ ายตวั อย่างแนวคิดการพฒั นาเทคโนโลยี IoT โดยใช้บอร์ดไมโครบิทเป็นอปุ กรณ์ในการ
วัดอุณหภูมแิ ลว้ ส่งข้อมลู มาบนแทบเลท็ ซ่ึงเป็นสว่ นแสดงผลและใชแ้ ทปเล็ทเป็นอปุ กรณ์เพ่ือควบคุมการ
ทางานของพัดลมไดโ้ ดยกดปุ่มสงั่ งาน A บนแทปเลท็ เพ่ือเปิดพัดลม พร้อมขึ้นสถานะเลข 1 บนบอรด์ ไม
โครบทิ ใหผ้ ้ใู ชร้ สู้ ถานะการทางานของพดั ลมได้ และกดปุ่มงาน B เพือ่ ปิดพดั ลมพร้อมข้ึนสถานะ0 บน
บอร์ดไมโครบทิ

14. ครูต้ังคาถามกบั นักเรยี นว่าจากแนวคดิ นี้หากให้นักเรยี นปรบั ใชแ้ ละพัฒนาต่อนักเรยี นจะนาแนวคิดไป
พัฒนาต่ออยา่ งไร สุ่มนกั เรียนตอบคาถาม 3-5 คน

15. ครูใหน้ ักเรยี นจับคู่กัน จากน้ันทาแบบฝึกหดั แบบฝึกหัดบรษิ ัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. หนา้ 55 ขอ้ ที่ 6
โดยแต่ละคู่เลือกแค่ 1 แนวคิด จากแบบฝกึ หัดขอ้ 5 นาแนวคิดในการพัฒนาเทคโนโลยี IoT มาปรบั ปรุง
ต่อโดยประยุกต์ใช้ความสามารถจากบอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์

ชว่ั โมงที่ 4

ข้ันสอน (40 นาท)ี

16. จากช่ัวโมงทีผ่ า่ นมาครใู ห้นกั เรียนแต่ละค่เู ลือกแนวคิดการพฒั นาเทคโนโลยี IoT แล้ว ในช่วั โมงนคี้ รใู ห้
นกั เรียนลงมือทาแบบฝึกตามเวลาท่กี าหนด

17. ครูให้แตล่ ะคอู่ อกมานาเสนอแนวคิดการพัฒนาเทคโนโลยี IoT ของตนเอง และใหเ้ พ่ือนในชัน้ เรยี นร่วมกนั
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

18. เมือ่ นาเสนอเสรจ็ แลว้ ใหค้ ุณครถู ามทุกควู่ า่ “จากทีเ่ ราไดแ้ ลกเปล่ียนความคิดเห็นและฟงั การนาเสนอ
แนวคดิ คู่อืน่ แลว้ นักเรียนคิดว่าอยากปรับปรุงแนวคดิ การพัฒนาเทคโนโลยี IoT ของค่ตู นเองอย่างไร”

ขั้นสรุป (10 นาที)

1. ครใู หน้ ักเรียนชว่ ยกนั สรุปแนวคดิ ของเทคโนโลยี IoT
2. ครถู ามนักเรียนว่าจากการฟังแนวคิดของเพ่ือนในชั้นเรยี นมีแนวคิดใดนา่ สนใจ หรือแนวคิดใดทมี่ ีประโยชน์

ในชีวติ ประจาวนั ไดจ้ รงิ บ้าง
3. ครสู รุปแนวคิด และองค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT ให้นกั เรยี นฟงั พร้อมทง้ั เน้นถงึ ความสาคัญเรอื่ ง

ประโยชนก์ ารใชง้ านจรงิ ในชวี ติ ประจาวัน
4. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดเรอ่ื ง เทคโนโลยี IoT หน้า 56 ข้อ 7

เรื่องที่ 2 : ซอฟต์แวร์ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาแอปพลิเคชนั เวลา 4 ชั่วโมง

รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย
วิธกี ารสอนโดยเน้นกระบวนการกลมุ่ (Group Process–Based Instruction)
วธิ กี ารสอนโดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)
วธิ กี ารสอนโดยใช้แนวคดิ เชิงคานวณ (Computational Thinking)

ข้นั นา (10 นาที)

1. ครูสนทนากบั นักเรียนวา่ ถ้าสมมตนิ กั เรียนไปเทย่ี วตา่ งประเทศ นกั เรียนคาดวา่ ตอ้ งใชเ้ งนิ ประมาณเท่าไร
2. จากน้นั ครูถามตอ่ ว่าจานวนเงินทีน่ ักเรยี นบอกเปน็ สกุลเงนิ ไทย หรือสกุลเงนิ ประเทศทตี่ ้องการไปเทย่ี ว
3. ครถู ามว่าแลว้ นักเรยี นสามารถแปลงจานวนเงนิ บาทเป็นสกลุ เงินของตา่ งประเทศอยา่ งไร

(แนวคาตอบ สามารถคานวณได้ด้วยโปรแกรมที่อยู่บนออนไลน์ หรือแอพพิเคชั่นบนมือถือและแท็ปเลท
นอกจากนน้ั ยังสามารถคานวณไดโ้ ดยดูจากการแปลงอัตราแลกเปลีย่ นค่าเงนิ ประจาวัน)
4. ครสู อบถามว่านักเรียนเคยสงสยั ไหมว่าโปรแกรมเหลา่ นที้ างานอยา่ งไร
(แนวคาตอบ : การแปลงค่า เทียบคา่ เงิน ดจู ากอัตราแลกเปลย่ี นเงนิ )

ขนั้ สอน (40 นาท)ี

1. ครกู ลา่ วถึงลกั ษณะแบบนีเ้ ปน็ ประโยชน์ของโปรแกรม หรอื แอปพลเิ คชนั ท่ีเราใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
2. ครใู ห้นักเรียนเปิดหนังสือเรยี นวิชา เทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 บรษิ ทั อักษรเจริญ

ทัศน์ อจท. หนา้ 83 หัวขอ้ การพัฒนาแอปพลเิ คชนั
3. ครูอธิบายความหมาย และประเภทของแอปพลิเคชัน และยกตัวอย่างแอปพลิเคชันจากในหนังสือหน้า 84

หรอื ตามความเหมาะสม
4. ครูอธิบายเพิ่มเรื่องข้ันตอนการพฒั นาแอปพลิเคชัน ในหนงั สือเรยี นวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชัน้

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หนา้ 85-88
5. ครูให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 57-58 ข้อ 1-3 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

ชั่วโมงท่ี 2

ขนั้ ส1อ.น (50 นาที)

6. ครูถามนักเรียนว่าจากท่ีเราพูดถึงจานวนเงิน และการแปลงสุกลเงินในคาบท่ีแล้วนักเรียนคาดว่าหาก
ต้องการพฒั นาแอปพลเิ คชนั เราจะตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื ใดบ้าง
(แนวคาตอบ คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมภาษาC++ โปรแกรมภาษาPython )

7. ครูอธิบายว่าการพัฒนาโปรแกรมสามารถใช้ภาษาในการเขียน และพัฒนาแอปพลิเคชันได้หลากหลาย
สามารถเลือกใช้ไดต้ ามความถนดั

8. ครูสนทนากบั นกั เรยี นว่า นักเรียนได้เรยี นเขียนโปรแกรมภาษาPython เบ้อื งต้นมาแล้วในช้นั มธั ยมศึกษาปี
ที่ 2 แล้วรู้หรือไม่ว่าทาไมนักพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันส่วนใหญ่จึงเลือกใช้โปรแกรมนี้ เรามาดู
จุดเด่น จุดด้อยของโปรแกรมภาษาไพทอนกัน (เปิดหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า89)

9. ครูบอกนักเรียนว่า คาบนี้จะได้ศึกษาการทางานของโปรแกรมแปลงค่าเงินโดยให้นักเรยี นเปดิ หนังสือเรยี น
วิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า89 หัวข้อ
ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ในการพฒั นาแอปพลเิ คชนั่

10. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Mu จากนั้นครูอธิบายหน้าท่ีการทางานเคร่ืองมือของโปรแกรม เป็นการ
ทบทวนเน้ือหาเดิมท่ีเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (เน้ือหาเดิมในหนังสือวิชา วิทยาการคานวณ ชั้น
มัธยมศึกษาปที 2่ี บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท.) หรอื ศกึ ษาเพมิ่ เติมจากใบความรเู้ ร่ือง If else, while, for
(สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้จากเวบ็ ไซต์ https://codewith.mu/en/download)

ช่ัวโมงท่ี 3

ข้ันส1อ.น (50 นาที)

11. ครูอธิบายเน้ือหาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษัท อักษร
เจริญทัศน์ อจท. หน้า90-105 เร่ืองโปรแกรมคานวณหาอัตราแลกเปล่ียนเงินบาทไทย(THB) เป็นเงิน
ดอลลาร์ (USD) และให้นักเรียนศึกษาพร้อมทดลองเขียนโปรแกรมตามหนังสือ เพื่อความเข้าใจโปรแกรม
มากข้ึน ให้ศึกษาในใบความรู้เพ่ิมเติมเรื่องการใช้งาน GUI ร่วมกับภาษาไพทอนในการเขียนโปรแกรม โดย
ใช้ Tkinter

12. ครถู ามนกั เรียนวา่ จากตัวอย่างที่ศึกษา สามารถนาแนวคิดการแปลงสกุลเงนิ ไปปรับเป็นโปรแกรมรูปแบบ
อ่นื ได้หรือไม่ อย่างไรบ้างให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และบันทกึ รูปแบบที่เพื่อน
นาเสนอแลว้ สนใจลงกระดาษ A4

14. ครูสอบถามว่าจากการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นไดพ้ บขอ้ ดี ข้อเสียอะไรบ้าง
15. ครูให้นักเรียนจับคู่เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดและรูปแบบท่ีนักเรียนสนใจการพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลิเค

ชัน จากน้ันเลือกแนวคิดที่น่าสนใจ 1 อย่างเพื่อเขียนรายละเอียดการทางานตามข้ันตอนการพัฒนาแอป
พลิเคชนั ดงั กล่าวในแบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หนา้ 58-59 ขอ้ 4
16. ครูให้นักเรียนนาแนวคิดท่ีได้มาเขียน Flow Chart เพื่อนาไปพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันในแบบฝึกหัด
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หนา้ 60 ขอ้ 5

ช่ัวโมงท่ี 4

ขน้ั ส1อ.น (40 นาที)

17. ครถู ามนกั เรียนวา่ จากการเขียน Flow Chart นักเรยี นคาดวา่ แนวคดิ ทต่ี นเองเขียนมโี อกาสทีจ่ ะทาได้จรงิ
หรอื ไม่

18. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะคู่นาเสนอแนวคิดและผังงาน (Flowchart) ของตนเองหน้าชน้ั เรยี น ใหเ้ พอ่ื น
รว่ มกันแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ พร้อมทัง้ ครูคอยให้คาแนะนา จากนั้นให้นาไปปรบั ปรุงแก้ไข

ขน้ั สรุป (10 นาที)

1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างแอปพลิเคชันท่ีมีประโยชน์ของในชีวิตประจาวัน โดยการตอบคาถามในแบบฝึกหัด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) อจท. หนา้ 66 ขอ้ 7

เรื่องที่ 3 : ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาแอปพลเิ คชนั (2) เวลา 6 ช่ัวโมง

รูปแบบการสอนแบบบรรยาย (Lecture)
วิธีการสอนโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)

ขั้นนา (10 นาที)

1. ครูบอกกับนักเรียนว่าจากช่ัวโมงที่ผ่านมาเราทราบดีว่าโปรแกรมท่ีใช้ในการพัฒนาแอปแพลิเคชันมีให้เลอื ก
หลากหลาย แต่โปรแกรมที่นยิ มกันและเรยี นรู้ได้เร็วซึ่ง Python เปน็ ตัวเลือกทน่ี า่ สนใจ

2. ครูสนทนากับนักเรียนว่า “จากตัวอย่างท่ีนักเรียนลองเขียนโปรแกรมแปลงค่าเงินด้วยโปรแกรมภาษา
Python นักเรียนคิดว่า ฟังก์ชันหรือคาสั่งทนี่ ักเรยี นใชใ้ นการเขียนโปรแกรมข้างต้น เพียงพอสาหรับการ
พฒั นาแอปพลิเคชันตามแนวคดิ ของนกั เรียนหรือไม่”

3. ครสู นทนากบั นักเรยี นวา่ “หากเราต้องการพัฒนาแอปแพลิเคชนั ดว้ ย Python จะตอ้ งเรียนรู้อะไรบ้าง
(แนวคาตอบ โปรแกรมทใี่ ช้เขยี น เชน่ Mu, คาสั่งใหโ้ ปรแกรมแสดงผล, เรยี นร้คู าส่ังif-else, คาสงั่ loop)

ข้ันสอน (40 นาที)

1. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Mu จากนั้นครูอธิบายหน้าท่ีการทางานเคร่ืองมือของโปรแกรม (เนื้อหาเดิมใน
หนังสือวิชา วทิ ยาการคานวณ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี2 บริษทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท.)
(สามารถดาวนโ์ หลดโปรแกรมได้จากเว็บไซต์ https://codewith.mu/en/download )

2. ครูทบทวนการเขียนโปรแกรมคาส่งั print เพ่ือสงั่ ให้โปรแกรมแสดงผลตวั เลขและขอ้ ความ
3. ครูทบทวนการเขียนโปรแกรมโดยใช้ variable ด้วยตัวเลข และข้อความเพื่อการแสดงผล
4. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า กรณีที่สร้างตัวแปรของตัวเลข เช่น A = 5 กับ C = “5” แสดงผลออกมาเป็นเลข 5

เหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน A เป็นตัวแปรของตัวเลข ส่วน C เป็นตัวแปรของตัวอักษรหรือข้อความ
เพราะมสี ัญลักษณ์ “”
5. จากนน้ั ครูทบทวนรูปแบบรหสั ข้อมลู (Format Code) เพิม่ เติม จากท่เี คยเรียนผ่านมาแลว้ ในระดบั ชน้ั ม.2
6. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง ตวั แปรและตวั ดาเนนิ การ

ช่วั โมงที่ 2

ข้ันส2อ.น (50 นาท)ี

7. ครูถามคาถามเพื่อทบทวนนักเรียนว่าจากการเรียนเรื่องการใช้งานตัวแปรเพื่อการดาเนินการทาง
คณติ ศาสตร์ มีขอ้ มลู ตวั เลขแบบไหนบ้างทส่ี ามารถนามาดาเนินการทางคณติ ศาสตร์ได้
(แนวคาตอบ จานวนเงิน อุณหภูมิ น้าหนัก ส่วนสูง เป็นตัวเลขท่ีมีค่าสามารถนามาดาเนินการทาง
คณิตศาสตรไ์ ด้ )

8. จากน้ันครูทบทวนการใช้งานคาสง่ั การรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ input

9. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง การเขียนใช้คาส่ังแสดงผล อินพุต และเอาต์พุต และแบบฝึกหัด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 61 ข้อ 6.1

10. ครสู อบถามนักเรียนวา่ ฟงั กช์ นั input ทางานอย่างไร
(แนวคาตอบ เป็นการรบั ข้อมูลจากแป้นพิมพ์ หรือนาเขา้ ข้อมลู จากแป้นพิมพ์)
ชว่ั โมงท่ี 3

ขั้นส2อ.น (50 นาที)

11. ครูถามนักเรียนว่าจากการเรียนเขียนโปรแกรมคาส่ังที่เรียนมา หากครูต้องการเขียนโปรแกรมจัดลาดับ
ความนิยมของร้านอาหารโดยใช้ข้อมูลจากระดับความพอใจในการใช้บริการ 5 ระดับ นักเรียนคิดว่า
สามารถทาไดห้ รือไม่
(แนวคาตอบ ไมส่ ามารถทาไดเ้ นอ่ื งจากเรียนคาสง่ั การดาเนนิ การแล้ว แต่ยังไมม่ ีคาสง่ั ในการตรวจสอบค่า )

12. ครสู อนนักเรียนใช้งานคาสั่ง if-else
13. จากนั้นครูให้นักเรียนทาใบงาน เรื่อง การทางานแบบมีเงื่อนไข และแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการ

คานวณ) หน้า 62 ขอ้ 6.2
14. ครูถามนักเรียนว่าสามารถนาความร้ทู ี่เรยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งไรบ้าง

(แนวคาตอบ การเขียนโปรแกรมตดั เกรด เขียนโปรแกรมBMI เป็นตน้ )
ชว่ั โมงท่ี 4

ข้นั ส1อ.น (50 นาที)

15. ครูถามนักเรียนว่าจากการเรียนเขียนโปรแกรมท่ีผ่านมา หากครูต้องการให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อ
แสดงชอ่ื ตนเอง 100 บรรทัด นักเรียนคดิ วา่ ตอ้ งเขียนคาส่ังเยอะหรอื ไม่
(แนวคาตอบ เยอะ เนื่องจากตอ้ งเขยี นคาส่ังบรรทัดตอ่ บรรทดั ในการแสดงผล )

16. ครูบอกท่มี าและอธบิ ายเรือ่ งการใช้งานคาสั่งทาซ้าและคาส่ังอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ while , for
17. ครสู อนนกั เรยี นใชง้ านคาสัง่ while / for
18. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง การทาซา้ แบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 63 -65

ขอ้ 6.3 - 6.5
19. ครูใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั บอกคาส่ังในการเขียนโปรแกรมท่ีไดเ้ รียนท้ังหมด พรอ้ มบอกหนา้ ที่ของแตล่ ะคาสงั่

ชวั่ โมงที่ 5

ขนั้ ส1อ.น (50 นาที)

20. จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ครูให้นักเรียนแต่ละคู่นาเสนอแนวคิดและผังงาน (Flowchart) ของตนเอง

หน้าชั้นเรียน ให้เพื่อนร่วมกันแลกเปล่ียนความคิดเห็น พร้อมท้ังครูคอยให้คาแนะนา จากนั้นให้นาไป

ปรับปรงุ แก้ไข

21. ในคาบนี้ครูให้นักเรียนนาแนวคิดที่ปรับปรุงแล้วมาพัฒนาต่อเพ่ือเขียนโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันด้วย

ภาษา Python หรอื นกั เรยี นจะออกแบบแนวคดิ การพัฒนาโปรแกรมหรอื แอปพลเิ คชนั ใหม่ก็ได้

22. ครูให้นกั เรียนลงมือเขยี นโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชนั ด้วยภาษา Python

ชว่ั โมงท่ี 6

ข้นั ส1อ.น (40 นาท)ี

23. ครใู ห้นักเรียนลงมือเขยี นโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชันด้วยภาษา Python (ต่อ)
24. ครูให้นกั เรียนทดสอบโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชันเพ่ือตรวจสอบข้อผิดพลาด

ขน้ั สรุป (10 นาที)

1. ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละคู่นาเสนอโปรแกรมหรือแอปพลิเคชัน ใหเ้ พอื่ นรว่ มกันแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น พร้อม
ทง้ั ครคู อยใหค้ าแนะนาเพม่ิ เติม

8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้

8.1 สือ่ การเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.2
2. หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4
เร่อื ง แอปพลิเคชนั
3. หนังสอื แบบฝกึ หดั รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรื่อง แอปพลเิ คชนั
4. โปรแกรม Mu
5. ใบความรู้ เรื่อง การใช้คาส่ังแสดงผลอนิ พุต และเอาต์พุต
6. ใบความรู้ เรอ่ื ง ตวั แปรและตวั ดาเนนิ การ
7. ใบความรู้ เร่ือง การทางานแบบมเี ง่ือนไข
8. ใบความรู้ เรอ่ื ง การทาซา้
9. ใบงานที่ 4.3.1 เรอ่ื ง ตวั แปรและตัวดาเนินการ
10. ใบงานที่ 4.3.2 เรอ่ื ง การใชค้ าสั่งแสดงผลอนิ พตุ และเอาตพ์ ุต
11. ใบงานท่ี 4.3.3 เรอ่ื ง การทางานแบบมีเงือ่ นไข
12. ใบงานที่ 4.3.4 เรอื ง การทาซา้

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพิวเตอร์
2) อินเทอร์เนต็

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. หากระบบควบคมุ แอรอ์ าคารแห่งหนึง่ ถูกออกแบบ 8. หากต้องการเปลย่ี นโปรแกรมตอ่ ไปนใ้ี หร้ บั คา่ เฉพาะจานวนเตม็

ใหเ้ ช่อื มเขา้ อินเทอรเ์ นต็ โดยอาศยั wifi เพอ่ื ใหส้ ่ังงาน สามารถทาไดด้ ว้ ยวธิ ใี ด

การเปิด-ปดิ แอร์ไดจ้ ากมือถือจากการส่ือสารด้วยอินเทอร์เนต็

ถือวา่ เป็นลักษณะของเทคโนโลยี IoT หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. ไมใ่ ช่ เพราะ ต้องมีอุปกรณ์มากกวา่ หนง่ึ อยา่ งที่

เช่อื มเข้ากับระบบ wifi และอินเทอรเ์ นต็

ข. ใช่ เพราะ ระบบแอรเ์ ชอื่ มกับสญั ญาณ wifi และอนิ เทอรเ์ นต็

ค. ใช่ เพราะ ระบบแอรเ์ ชอ่ื มกับอนิ เทอรเ์ น็ตและการสัง่ งาน ก. บรรทดั ท6่ี เปน็ dollar = baht / rate (int)

จากมอื ถือได้ ข. บรรทัดท่ี4และ5

ง. ไม่ใช่ เพราะ ระบบการทางานของเทคโนโลยตี อ้ งเช่อื มกบั เปน็ rate = float(int('ปอ้ นอตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ บาทไทยต่อ

อุปกรณไ์ ฟฟ้ามากกวา่ หนึง่ ชนดิ 1 ดอลลาร์ : ') rate = float(int('ป้อนจานวนเงินบาทไทย : ')

2. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT ค. บรรทดั ท4่ี และ5

ก. Compiler ข. Dashboard เปน็ rate = int(input('ปอ้ นอัตราแลกเปลยี่ นเงินบาทไทยต่อ 1

ค. Smart Device ง. Cloud Computing ดอลลาร์ : ') rate = int(input('ปอ้ นจานวนเงินบาทไทย : ')

3. หากกาลังพดู ถึง “แอปพลิเคชน่ั ระบบและแอปพลเิ คชัน ง. บรรทดั ที8่ เป็น print('คานวณเป็นเงนิ ดอลลารไ์ ด้ : %.f ดอลลาร'์

ท่ตี อบสนองตอ่ ความต้องการผใู้ ช้” แสดงว่าผู้พดู กาลังพดู ถงึ % dollar)

เรอื่ งอะไร 9. หากต้องการตัวแปรเก็บขอ้ ความคาวา่ Welcome to program

ก. ประเภทของผงั งาน ข. ประเภทของแอปพลเิ คชัน และคา่ ตวั เลข 497 ขอ้ เขยี นคาสง่ั ได้ถูกต้อง

ค. ข้นั ตอนการเขียนของผังงาน ง. ขัน้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ก. text = Welcome to program , x = 497

4. “Windows Android Linux” ข้อใดเก่ยี วขอ้ งกบั ข้อความ ข. text = Welcome to program ; x = "497"

ดงั กล่าว ค. text = "Welcome to program" ; x = 497

ก. แอปพลิเคชั่นบราวเซอร์ ข. แอปพลเิ คชน่ั บรกิ าร ง. text = "Welcome to program" , x = "497"

ค. แอปพลิเคชันเทคนคิ ง. แอปพลิเคชันระบบ 10. ขอ้ ใดจะให้ผลลัพธเ์ ปน็ การแสดงผลคาวา่ Application 3 รอบ

5. ข้อใดคือข้ันตอนแรกของขนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั่ ก. ข.

ก. กาหนดปัญหา ข. วเิ คราะหป์ ญั หา

ค. ศึกษาความเป็นไปได้ ง. วเิ คราะหค์ วาม

6. คาสงั่ print() จะใหผ้ ลลัพธ์การทางานอยา่ งไร

ก. แสดงผลบนเว็บไซต์ ข. แสดงผลบนหนา้ จอ ค. ง.

ค. แสดงผลบนบราวเซอร์ ง. แสดงผลผ่านเครอ่ื งพิมพ์

7. หากต้องการใหโ้ ปรแกรมแสดงผลคาว่า Monday ตอ้ งกรอก

เลขใดในโปรแกรม

ก. เลข 1

ข. เลข 2

ค. เลข 3

ง. เลข 4

เฉลย

1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ก 6. ข 7. ข 8. ค 9. ค 10. ง

แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4

คาช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. หากต้องการตวั แปรเก็บข้อความคาว่า Welcome to 6. ข้อใดจะให้ผลลพั ธเ์ ปน็ การแสดงผลคาว่า Application 3 รอบ
ก. ข.
program และคา่ ตัวเลข 497 ขอ้ เขยี นคาสั่งได้ถูกต้อง
ค. ง.
ก. text = Welcome to program , x = 497
7. หากต้องการใหโ้ ปรแกรมแสดงผลคาว่า Monday ต้องกรอกเลข
ข. text = Welcome to program ; x = "497" ใดในโปรแกรม

ค. text = "Welcome to program" ; x = 497 ก. เลข 1
ข. เลข 2
ง. text = "Welcome to program" , x = "497" ค. เลข 3
ง. เลข 4
2. ข้อใดคอื ขน้ั ตอนแรกของขั้นตอนการพฒั นาแอปพลเิ คช่ัน 8. หากกาลังพูดถึง “แอปพลเิ คชัน่ ระบบและแอปพลเิ คชัน
ทตี่ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการผใู้ ช้” แสดงวา่ ผ้พู ดู กาลังพดู ถงึ เรอ่ื ง
ก. กาหนดปญั หา ข. วเิ คราะห์ปญั หา อะไร
ก. ประเภทของผงั งาน ข. ประเภทของแอปพลเิ คชัน
ค. ศกึ ษาความเปน็ ไปได้ ง. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ ค. ข้นั ตอนการเขียนของผังงาน ง. ขัน้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั
9. “Windows Android Linux” ข้อใดเก่ียวข้องข้อใด
3. หากต้องการเปลยี่ นโปรแกรมตอ่ ไปนใี้ หร้ ับค่าเฉพาะจานวน ก. แอปพลเิ คชน่ั บราวเซอร์ ข. แอปพลเิ คช่นั บริการ
ค. แอปพลิเคชนั เทคนิค ง. แอปพลเิ คชันระบบ
เตม็ สามารถทาไดด้ ว้ ยวธิ ีใด 10. หากระบบควบคมุ แอรอ์ าคารแหง่ หน่งึ ถูกออกแบบ
ใหเ้ ชือ่ มเขา้ อนิ เทอร์เนต็ โดยอาศัย wifi เพอื่ ให้สงั่ งาน
ก. บรรทัดท6ี่ เปน็ dollar = baht / rate (int) การเปดิ -ปดิ แอรไ์ ดจ้ ากมอื ถอื จากการสอ่ื สารดว้ ยอนิ เทอร์เนต็ ถือว่า
เป็นลักษณะของเทคโนโลยี IoT หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
ข. บรรทดั ท่4ี และ5 ก. ไมใ่ ช่ เพราะ ตอ้ งมอี ุปกรณม์ ากกว่าหนึง่ อยา่ งท่ี
เช่ือมเขา้ กบั ระบบ wifi และอนิ เทอร์เน็ต
เป็น rate = float(int('ป้อนอัตราแลกเปลย่ี นเงินบาทไทยตอ่ ข. ใช่ เพราะ ระบบแอร์เชอ่ื มกบั สญั ญาณ wifi และอินเทอร์เนต็
ค. ใช่ เพราะ ระบบแอรเ์ ชอ่ื มกบั อินเทอรเ์ น็ตและสง่ั งานจากมอื ถือ
1 ดอลลาร์ : ') rate = float(int('ป้อนจานวนเงนิ บาทไทย : ') ง. ไมใ่ ช่ เพราะ ระบบการทางานของเทคโนโลยตี อ้ งเชือ่ มกบั อุปกรณ์
ไฟฟา้ มากกว่าหน่งึ ชนิด และสามารถควบคุมไดท้ ุกอุปกรณ์
ค. บรรทัดท4ี่ และ5

เปน็ rate = int(input('ป้อนอตั ราแลกเปลยี่ นเงินบาทไทยตอ่ 1

ดอลลาร์ : ') rate = int(input('ปอ้ นจานวนเงนิ บาทไทย : ')

ง. บรรทดั ท8่ี เป็น print('คานวณเป็นเงินดอลลาร์ได้ : %.f

ดอลลาร'์ % dollar)

4. คาส่ัง print() จะใหผ้ ลลัพธก์ ารทางานอย่างไร

ก. แสดงผลบนเว็บไซต์ ข. แสดงผลบนหนา้ จอ

ค. แสดงผลบนบราวเซอร์ ง. แสดงผลผ่านเคร่อื งพมิ พ์

5. ข้อใดไม่ใชอ่ งคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT

ก. Compiler ข. Dashboard

ค. Smart Device ง. Cloud Computing

เฉลย 1. ค 2. ก 3. ค 4. ข 5. ก 6. ง 7. ข 8. ข 9. ง 10. ค

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 แอปพลเิ คชัน เวลา 14 ชัว่ โมง

เรือ่ ง แนวคิดและองค์ประกอบของ IoT เวลา 4 ชวั่ โมง

รายวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

ผสู้ อน นางสาวกมลวรรณ จนั ทรววิ ฒั น์ วันท่.ี ....../........../..........

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวิตจริงอยา่ งเปน็ ข้นั ตอน

และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หา

ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทันและมจี รยิ ธรรม

ตวั ชว้ี ัด ม.3/1 พฒั นาแอปพลเิ คชนั ที่มีการบรู ณาการกบั วชิ าอ่นื อยา่ งสร้างสรรค์

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายแนวคิดและองค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT ได้ (K)
2. ออกแบบแนวคดิ เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี IoT ได้ (P)
3. ยกตัวอย่างประโยชนข์ องเทคโนโลยี IoT ในชีวติ ประจาวันได้ (A)

3. สาระสาคญั
การทาให้อุปกรณห์ ลายตัวสามารถสอ่ื สาร แลกเปลีย่ นข้อมูล และทางานรว่ มกนั ไดน้ ั้น เรียกว่า

เทคโนโลยี IoT ตอ้ งอาศัยความสามารถของ Smart Device ซ่งึ อุปกรณท์ ่ีมหี น่วยประมวลผล หรือเซนเซอร์
ภายในตัว เพือ่ ส่งข้อมูลผา่ น Cloud Computing หรือ Wireless Network เป็นตวั กลางในการรับส่งข้อมลู
ภายในเครอื ข่ายเพื่อประมวลผล และอาศัย Dashboard สาหรับแสดงผลและใช้ควบคุมการทางานจากผ้ใู ช้

4. สาระการเรียนรู้
1. แนวคดิ ของเทคโนโลยี IoT
2. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT
3. อปุ กรณ์ที่ใช้สาหรับพฒั นาเทคโนโลยี IoT
4. ขอ้ ดขี ้อเสียของเทคโนโลยี IoT

5. รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน
1. วธิ กี ารสอนแบบการใช้คาถาม (Questioning Method)
2. วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
 ความสามารถในการส่ือสาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ทักษะ 4Cs
 ทกั ษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทกั ษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skill)
 ทกั ษะการสื่อสาร (Communication Skill)
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์  ซ่อื สตั ย์ สุจริต
 รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์  ใฝ่เรยี นรู้
 มวี ินัย  มุ่งมน่ั ในการทางาน
 อยู่อย่างพอเพียง  มจี ิตสาธารณะ
 รกั ความเป็นไทย

9. การจัดกระบวนการเรยี นรู้

ชัว่ โมงที่ 1

1. ครใู ห้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง แอปพลเิ คชนั เพอ่ื วัดความรเู้ ดิมของ
นักเรยี นก่อนเขา้ สู่กจิ กรรม

ข้ันนา (5 นาท)ี
1. ครูถามคาถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า “นักเรียนร้จู ักเทคโนโลยี IoT หรือไม่”
ขั้นสอน (30 นาที)
7. ครใู ห้นกั เรียนเปิดหนงั สือวิชาวทิ ยาการคานวณ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หน้า77

เร่อื ง เทคโนโลยี IoT
8. ครถู ามนักเรยี นว่าเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ หรอื เครอื ข่ายไร้สายมีประโยชน์กบั ชวี ิตเราอยา่ งไร

(แนวคาตอบ เชน่ สัญญาณ3G 4G ทาใหเ้ ขา้ ถึงอินเทอร์เน็ตไดส้ ะดวก)

9. ครูถามต่อว่าถ้าสมมตมิ ือถือ หรือคอมพวิ เตอร์ แลปทอปของเราไมม่ ีความสามารถในการเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ย
อินเทอรเ์ นต็ ได้ นักเรียนคิดวา่ จะมีผลกระทบต่อชีวิตอยา่ งไร
(แนวคาตอบ คน้ หาข้อมูลได้ยาก แลกเปล่ียนข้อมูลกนั ช้าเน่ืองจากไม่มอี ินเทอร์เนต็ ไม่สามารถอปั เดต
ข่าวสารได้ Real time)

10.ครอู ธบิ ายว่า ยคุ ก่อนหน้าน้มี ือถือ และคอมพิวเตอรข์ องเรายังไม่มีความสามารถในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
แตป่ จั จบุ ันอปุ กรณเ์ หลา่ นีแ้ ทบทกุ เคร่ืองจะมีความสามารถในการเชื่อมตอ่ เครอื ข่ายเขา้ หากันได้ เช่น
Bluetooth , Wifi Internet ทาใหอ้ ุปกรณ์หลายช้ินเช่อื มต่อกนั จึงทาใหส้ ามารถแลกเปลีย่ นขอ้ มลู กันได้
อยา่ งรวดเร็ว

11.ครอู ธบิ ายวา่ ลักษณะการทาใหอ้ ปุ กรณห์ ลายช้ินเช่อื มตอ่ เข้าหากนั ผ่านเครือขา่ ย และทาการแลกเปลี่ยน
ข้อมลู กนั เพ่ือให้ใชป้ ระโยชนไ์ ด้มากขนึ้ เปน็ แนวคดิ ท่ีคล้ายกับเทคโนโลยี IoT

12.ครูอธบิ ายแนวคดิ จุดกาเนดิ และองค์ประกอบของของเทคโนโลยี IoT ในหนังสือวิชาวทิ ยาการคานวณ
บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หนา้ 77-78 เรือ่ ง เทคโนโลยี IoT และองค์ประกอบของ
เทคโนโลยี IoT ว่าเป็นการทาให้อุปกรณต์ า่ ง ๆ มหี น่วยประมวลผลและความสามารถในการเช่อื มต่อกบั
อุปกรณ์อื่นได้ โดยไม่ต้องพึง่ พาความสามารถของคอมพวิ เตอรใ์ นการประมวลผลและการเช่ือมตอ่ กบั
อุปกรณ์อน่ื จึงทาให้อปุ กรณ์สามารถส่งผ่านข้อมูลระหวา่ งกันได้โดยตรง เช่น เครอ่ื งพิมพท์ ่เี ชื่อมเข้า
ระบบ wifi และสั่งปรน้ิ ทง์ านผา่ นระบบ wifi ไม่จาเป็นต้องเชื่อมเครื่องพิมพ์กบั คอมพิวเตอร์อีกตอ่ ไป
แต่สามารถสงั่ งานจากอปุ กรณ์ใดก็ไดท้ ี่เช่ือมวงเครือข่าย wifi เดียวกัน

ชว่ั โมงท่ี 2

ข้ันสอน (50 นาที)
7. ครถู ามนักเรยี นวา่ หากเราสามารถพัฒนาเทคโนโลยี IoT ด้วยตนเองไดน้ ักเรียนคดิ วา่ จะนาอุปกรณ์

อิเล็กทรอนิกส์ใดมาเชอื่ มต่อเครอื ขา่ ย และจะใช้ประโยชนจ์ ากการเชือ่ มตอ่ เข้าเครือข่ายของอปุ กรณ์นนั้
อย่างไร สุ่มนักเรยี นตอบคาถาม3-5คน
(แนวคาตอบ แอรเ์ ชื่อมเนต็ แล้วเชค็ อณุ หภูมิจากท่ีไหนก็ได้จากน้ันกส็ ง่ั เปิด-ปิดแอร์ตอนไหนก็ได้)
8. ครอู ธิบายเพ่มิ เติมเกยี่ วกับแนวคดิ ของ IoT เรอื่ งองค์ประกอบทส่ี าคัญท้ัง 3 ส่วนได้แก่

1) Smart Device ใชน้ าเข้าข้อมลู จากเซนเซอร์

2) Cloud Computing หรือ Wireless Network เพอ่ื ใช้เป็นสื่อกลางในการรับส่งข้อมลู

3) Dashboard เพ่อื ใช้สื่อสารกับผใู้ ช้

ดงั นนั้ นอกจากอุปกรณจ์ ะสามารถเช่ือมต่อเข้าเปน็ เครือขา่ ยเดียวกันได้แล้วจะต้องมีส่วนติดต่อท่ีใช้ควบคมุ

การทางานภายในระบบไดด้ ว้ ย เช่น สง่ั สตาร์ทรถผา่ นมอื ถือโดยใช้ส่อื กลางเป็นระบบอนิ เทอร์เนต็ เปดิ -ปิด

เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ภายในบ้านด้วยเครอื ข่ายไรส้ าย Wifi

9. ครูใหน้ ักเรียนวาดแผนผังการทางานตามแนวคิดของเทคโนโลยี IoT และเขียนแนวคิดการประยุกตใ์ ช้
เทคโนโลยี IoT ในชีวิตประจาวนั ในแบบฝกึ หัดบรษิ ัทอักษรเจรญิ ทศั น์ อจท ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เร่ือง
เทคโนโลยี หนา้ 53-55 ขอ้ 1-5
(แนวคิดเชิงคานวณ : ในส่วนการแยกย่อย Decomposition นักเรียนฝกึ กระบวนการแยกองคป์ ระกอบ
โดยการเขียนองคป์ ระกอบยอ่ ยของเทคโนโลยีในรูปแบบแผนผัง)

ชวั่ โมงที่ 3
ข้นั สอน (50 นาที)
10. ครูสอบถามนกั เรียนวา่ สงสยั หรือไม่ แอร์ท่บี า้ นเรารู้อณุ หภูมิว่าเป็นกอี่ งศาภายในบ้านได้อย่างไร

(แนวคาตอบ มตี วั ตรวจจบั มเี ครอื่ งวดั อุณหภมู ิ มีเซนเซอร์ เซนเซอร์วดั อุณหภมู ิ)
11. ครสู อบถามนักเรยี นวา่ “นักเรยี นรู้จักเซนเซอร์อะไรบ้าง หรือเคยเหน็ เซนเซอร์ในอุปกรณไ์ หนบ้าง

(แนวคาตอบ ขนึ้ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน)

12. ครแู นะนาบอร์ด micro:bit (ไมโครบิท) ที่มเี ซนเซอรห์ ลากหลายสามารถนามาใช้พัฒนาเทคโนโลยี IoT ได้
โดยให้นักเรียนเปิดหนงั สือวิชาวิทยาการคานวณ บริษัทอกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หน้า
79-8 เร่อื ง ตัวอย่างอปุ กรณส์ าหรบั เทคโนโลยี IoT และยกตวั อย่างอุปกรณ์ ไมโครบทิ พรอ้ มบอก
สว่ นประกอบเบื้องตน้ (กรณีที่โรงเรียนมี micro:bit ใหค้ รูแจกบอรด์ micro:bit ใหน้ ักเรียนทาความรู้จกั )

13. ครูใหน้ ักเรียนเปดิ หนังสือวิชาวทิ ยาการคานวณ บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 หน้า
82 จากน้ันครูอธบิ ายตวั อยา่ งแนวคดิ การพัฒนาเทคโนโลยี IoT โดยใช้บอร์ดไมโครบิทเป็นอปุ กรณ์ในการ
วัดอณุ หภูมแิ ล้วส่งข้อมลู มาบนแทบเลท็ ซึง่ เป็นสว่ นแสดงผลและใช้แทปเลท็ เปน็ อุปกรณ์เพื่อควบคุมการ
ทางานของพัดลมไดโ้ ดยกดปุ่มสงั่ งาน A บนแทปเลท็ เพ่ือเปดิ พัดลม พร้อมข้นึ สถานะเลข 1 บนบอรด์ ไม
โครบทิ ให้ผใู้ ช้รสู้ ถานะการทางานของพดั ลมได้ และกดปุ่มงาน B เพอื่ ปดิ พดั ลมพรอ้ มข้ึนสถานะ0 บน
บอร์ดไมโครบิท

14. ครูตั้งคาถามกบั นักเรียนวา่ จากแนวคิดน้หี ากให้นกั เรยี นปรบั ใช้และพัฒนาต่อนักเรยี นจะนาแนวคิดไป
พัฒนาตอ่ อย่างไร สุม่ นกั เรยี นตอบคาถาม 3-5 คน

15. ครใู ห้นกั เรยี นจบั คู่กนั จากน้นั ทาแบบฝึกหดั แบบฝึกหัดบริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. หนา้ 55 ข้อที่ 6
โดยแต่ละคู่เลอื กแค่ 1 แนวคิด จากแบบฝกึ หัดข้อ 5 นาแนวคิดในการพฒั นาเทคโนโลยี IoT มาปรับปรุง
ต่อโดยประยุกตใ์ ช้ความสามารถจากบอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์

ช่ัวโมงท่ี 4

ขนั้ สอน (40 นาที)
16. จากชั่วโมงท่ผี า่ นมาครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคู่เลือกแนวคิดการพฒั นาเทคโนโลยี IoT แลว้ ในชั่วโมงน้ีครูให้

นกั เรยี นลงมือทาแบบฝึกตามเวลาท่กี าหนด
17. ครใู หแ้ ตล่ ะคู่ออกมานาเสนอแนวคิดการพัฒนาเทคโนโลยี IoT ของตนเอง และใหเ้ พ่ือนในชั้นเรียนรว่ มกนั

แลกเปลย่ี นความคิดเห็น
18. เม่ือนาเสนอเสรจ็ แลว้ ใหค้ ณุ ครถู ามทุกควู่ ่า “จากท่ีเราได้แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และฟังการนาเสนอ

แนวคดิ ค่อู ่นื แลว้ นกั เรียนคดิ ว่าอยากปรบั ปรุงแนวคดิ การพัฒนาเทคโนโลยี IoT ของคู่ตนเองอย่างไร”
ขนั้ สรปุ (10 นาที)
1. ครใู ห้นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ แนวคดิ ของเทคโนโลยี IoT
2. ครถู ามนกั เรียนว่าจากการฟังแนวคิดของเพื่อนในช้นั เรียนมีแนวคดิ ใดนา่ สนใจ หรือแนวคดิ ใดทมี่ ปี ระโยชน์

ในชีวติ ประจาวันได้จรงิ บา้ ง
3. ครสู รปุ แนวคิด และองคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT ให้นักเรียนฟงั พรอ้ มทงั้ เนน้ ถงึ ความสาคญั เรอื่ ง

ประโยชน์การใช้งานจรงิ ในชีวิตประจาวนั
4. ครูใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดเรื่อง เทคโนโลยี IoT หนา้ 56 ขอ้ 7

10. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4
เรือ่ ง แอปพลิเคชัน
2. หนังสอื แบบฝกึ หัดรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง แอปพลิเคชัน

11. การวัดและการประเมนิ ผล

11.1 การประเมนิ ระหว่างการจดั กิจกรรม

จดุ ประสงค์ วธิ ีการประเมิน เครือ่ งมือการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน
แบบประเมิน อธิบายแนวคดิ และ
1.อธิบายแนวคิดและ ตวรจแบบฝกึ หดั เรอื่ ง แบบฝกึ หัด องคป์ ระกอบของ
เรื่อง เทคโนโลยี IoT เทคโนโลยี IoT ได้ ใน
องคป์ ระกอบของ เทคโนโลยี IoT (ข้อ1-3) ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไป
1.แบบประเมิน ถือว่าผ่าน
เทคโนโลยี IoT ได้ (K) แบบฝึกหัด 1.ออกแบบแนวคดิ ในการ
2.แบบประเมิน พฒั นาเทคโนโลยี IoT ได้
2.ออกแบบแนวคดิ เพื่อ 1.ตรวจการออกแบบ การนาเสนอ ตรงตามแนวคิดของ
พฒั นาเทคโนโลยี IoT แนวคิดในการพัฒนา เทคโนโลยี ในระดับ
ได้ (P) เทคโนโลยี IoT ใน แบบฝึกหัด คุณภาพพอใชข้ น้ึ ไปถือว่า
แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง เรื่อง เทคโนโลยี IoT ผ่าน
เทคโนโลยี IoT (ข้อ5-7) ขอ้ 7 2.นาเสนอแนวคิดในการ
2.ประเมนิ การนาเสนอ พัฒนาเทคโนโลยี IoT ใน
แนวคิดในการพฒั นา ระดับคุณภาพพอใช้ขนึ้ ไป
เทคโนโลยี IoT ถือวา่ ผา่ น
ยกตัวอยา่ งเทคโนโลยี IoT
3.ยกตวั อยา่ งประโยชน์ ตรวจแบบฝกึ หัดเรื่อง ในชวี ิตประจาวนั ถูกต้อง
ของเทคโนโลยี IoT ใน เทคโนโลยี IoT (ขอ้ 8) 60% ขึน้ ไปถอื ว่าผา่ น
ชีวิตประจาวนั ได้ (A)

11.2 การประเมนิ การนาเสนองานกลุ่ม คุณภาพผลงาน
4 3 21
ที่ รายการประเมิน

1 นาเสนอการประยุกต์แนวคดิ ในการพัฒนาเทคโนโลยี IoT กบั
ความสามารถของ micro:bit ไดน้ า่ สนใจและสื่อสารเข้าใจง่าย ชัดเจน

2 อธบิ ายการทางานของแนวคิดไดเ้ ขา้ ใจ และถูกต้องตามหลักการ และตอบ
คาถามได้

3 มีความคิดสร้างสรรค์
4 การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในกลุม่
5 การรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน

รวม

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
16 – 20 ดี
10 – 15
นอ้ ยกวา่ 10 พอใช้
ปรับปรุง

11.3 การประเมนิ แบบฝึกหัด เรอื่ ง เทคโนโลยี IoT (แนวคดิ และองค์ประกอบของ IoT)

ประเด็นในการประเมนิ 3 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1
2

1.อธบิ ายแนวคดิ ของ อธิบายแนวคดิ ของ อธบิ ายแนวคิดของ อธิบายแนวคิดของ

เทคโนโลยี IoT เทคโนโลยี IoT ได้ เทคโนโลยี IoT ได้ เทคโนโลยี IoT ได้

ถกู ต้องครบถว้ นทั้งหมด ถูกต้อง 50% ขนึ้ ไป ถกู ต้อง น้อยกวา่ 50%

2.แผนผังการทางาน เขียนแผนผังการทางาน เขียนแผนผังการทางาน เขยี นแผนผงั การทางาน

องคป์ ระกอบของ องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของ องคป์ ระกอบของ

เทคโนโลยี IoT เทคโนโลยี IoT ไดเ้ ป็น เทคโนโลยี IoT ได้เปน็ เทคโนโลยี IoT ได้เป็น

ระบบ ถกู ต้องและ ระบบ ถูกต้องและ ระบบ ถกู ต้องและ

เขา้ ใจง่ายทั้งหมด เขา้ ใจงา่ ย 50% ข้นึ ไป เขา้ ใจง่าย น้อยกว่า

50%

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
5–6 ดี
3–4
พอใช้
น้อยกวา่ 3 ปรับปรงุ

11.4 การประเมินแบบฝึกหัด เรอื่ ง เทคโนโลยี IoT (การออกแบบแนวคิดในการพัฒนา

เทคโนโลยี IoT)

ประเดน็ ในการประเมิน 3 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1
2

1.ระบุปญั หาท่ีพบเจอใน ระบุปัญหาที่พบเจอใน ระบปุ ญั หาที่พบเจอใน ระบุปญั หาท่ีพบเจอใน

ชวี ิตประจาวนั และ ชีวิตประจาวันได้ ชีวิตประจาวนั ได้ ชวี ติ ประจาวนั ได้ และ

แนวทางการพฒั นา นา่ สนใจ และอธิบาย น่าสนใจ และอธบิ าย อธบิ ายแนวทางการพัฒนา

แนวทางการพฒั นาโดย แนวทางการพัฒนาโดย โดยใช้เทคโนโลยี IoT ได้

ใช้เทคโนโลยี IoT ได้ ใช้เทคโนโลยี IoT ได้ ถูกต้องครบ น้อยกว่า 50%

ถกู ต้องครบถ้วน ถูกต้องครบ 50% ขน้ึ ไป

2.ออกแบบแนวคดิ ใน ออกแบบแนวคิดในการ ออกแบบแนวคิดในการ ออกแบบแนวคิดในการ

การพฒั นาเทคโนโลยี พัฒนาเทคโนโลยี IoT พฒั นาเทคโนโลยี IoT พฒั นาเทคโนโลยี IoT กบั

IoT กบั ความสามารถ กบั ความสามารถของ กบั ความสามารถของ ความสามารถของ บอร์ด

ของบอรด์ บอรด์ บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้

ไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ หลักการถูกตอ้ งครบถ้วน

น่าสนใจ สร้างสรรค์ นา่ สนใจ หลกั การ และเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์ได้

หลกั การถูกต้องครบถ้วน ถกู ต้อง และเลือกใช้ เหมาะสมกบั การแกป้ ญั หา

ท้งั หมด และเลือกใช้ อุปกรณ์ได้เหมาะสมกับ น้อยกว่า 50%

อุปกรณ์ได้เหมาะสมกับ การแกป้ ัญหา 50% ขน้ึ

การแกป้ ัญหา ไป

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
5–6 ดี
3–4
พอใช้
นอ้ ยกว่า 3 ปรับปรงุ

บันทึกหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนร้ทู ่ีเกดิ ขน้ึ กับผ้เู รียน (เกง่ ดี มสี ุข)
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
...................................................... ............................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................... .......................
........................................................................................................... ...................................................................

ลงชือ่ ........................................................
(นางสาวกมลวรรณ จันทรววิ ัฒน)์

ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ยโรงเรยี นบา้ นขามทะเลสอ
............./..................../...............

ความเหน็ ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................... ...........................................
.......................................................................................................................................... ....................................
......................................................................................................................... .....................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นายบุญยงั เจมิ ขุนทด)

ตาแหนง่ ครชู านาญการพเิ ศษ
รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นขามทะเลสอ

............./..................../...............

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4 แอปพลิเคชัน เวลา 14 ชัว่ โมง

เรอ่ื ง ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน เวลา 4 ช่ัวโมง

รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

ผสู้ อน นางสาวกมลวรรณ จันทรววิ ฒั น์ วันที่......./........../..........

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน

และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแก้ปญั หา

ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมีจริยธรรม

ตวั ชีว้ ัด ม.3/1 พัฒนาแอปพลเิ คชนั ท่มี กี ารบูรณาการกบั วิชาอ่ืนอยา่ งสรา้ งสรรค์

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1.บอกความหมาย ประเภท และข้ันตอนการพฒั นาแอปพลิเคชันได้ (K)
2.ออกแบบการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ตามขัน้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชันได้ (P)
3.ยกตัวอยา่ งแอปพลเิ คชันทมี่ ปี ระโยชน์ของในชวี ิตประจาวนั ได้ (A)

3. สาระสาคญั
แอปพลิเคชัน เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่ออานวยในด้านต่าง ๆ มีการออกแบบมาเพื่อใช้งาน

ในหลายรูปแบบ โดยแอปพลิเคชันแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ แอปพลิเคชันระบบ แอปพลิเคชันท่ี
ตอบสนองต้องการของกลุ่มผ้ใู ช้

การพัฒนาแอปพลิเคชัน มี 7 ข้ันตอน ดังนี้ 1) กาหนดปัญหา 2) ศึกษาความเป็นไปได้ 3) วิเคราะห์
ความตอ้ งการแอปพลเิ คชนั 4) ออกแบบแอปพลเิ คชนั 5) ทดสอบ 7) จดั ทาเอกสาร

ซ่ึงการพัฒนาโปรแกรมในปัจจุบันนิยมใช้โปรแกรมภาษาไพทอน (Python) เพราะเป็นภาษาท่ีอ่าน
แล้วเข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมการพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยโปรแกรมภาษาไพทอน
เชน่ โปรแกรมคานวณหาอัตราแลกเปล่ียนเงนิ บาทไทย (THB) เป็นเงินดอลลาร์ (USD) เปน็ ตน้

4. สาระการเรียนรู้
1. ข้นั ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชัน
2. ซอฟตแ์ วรท์ ี่ใช้ในการพฒั นาแอปพลิเคชนั่

5. รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน
1. รปู แบบการสอนแบบการอภิปราย
2. วธิ ีการสอนโดยเนน้ กระบวนการกลมุ่ (Group Process–Based Instruction)
3. วธิ กี ารสอนโดยใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)
4. วิธกี ารสอนโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณ (Computational Thinking)

6. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. ทักษะ 4 Cs
 ทกั ษะการคดิ วิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทักษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skill)
 ทกั ษะการสอื่ สาร (Communication Skill)
 ทักษะความคดิ สร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต
 รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์  ใฝ่เรยี นรู้
 มีวนิ ยั  มงุ่ มั่นในการทางาน
 อยู่อยา่ งพอเพียง  มจี ิตสาธารณะ
 รักความเป็นไทย

9. การจดั กระบวนการเรียนรู้

ชัว่ โมงท่ี 1

ข้ันนา (10 นาท)ี
1. ครูสนทนากับนักเรยี นวา่ ถา้ สมมตินักเรยี นไปเทยี่ วต่างประเทศ นักเรยี นคาดว่าต้องใช้เงนิ ประมาณเท่าไร
2. จากนนั้ ครถู ามตอ่ วา่ จานวนเงนิ ท่ีนกั เรยี นบอกเปน็ สกุลเงนิ ไทย หรอื สกุลเงนิ ประเทศท่ีต้องการไปเทย่ี ว
3. ครถู ามว่าแล้วนักเรียนสามารถแปลงจานวนเงินบาทเป็นสกลุ เงนิ ของต่างประเทศอยา่ งไร

(แนวคาตอบ สามารถคานวณได้ด้วยโปรแกรมท่ีอยู่บนออนไลน์ หรือแอพพิเคช่ันบนมือถือและแท็ปเลท
นอกจากนัน้ ยังสามารถคานวณไดโ้ ดยดจู ากการแปลงอัตราแลกเปล่ยี นคา่ เงินประจาวนั )
4. ครูสอบถามวา่ นักเรยี นเคยสงสัยไหมวา่ โปรแกรมเหล่านี้ทางานอยา่ งไร
(แนวคาตอบ : การแปลงคา่ เทยี บคา่ เงนิ ดจู ากอตั ราแลกเปลยี่ นเงนิ )
ข้นั สอน (40 นาที)
1. ครูกลา่ วถงึ ลกั ษณะแบบนเ้ี ปน็ ประโยชน์ของโปรแกรม หรือแอปพลเิ คชนั ที่เราใชใ้ นชีวิตประจาวนั
2. ครูให้นักเรยี นเปิดหนังสือเรียนวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษทั อักษรเจริญ
ทศั น์ อจท. หน้า 83 หวั ข้อ การพฒั นาแอปพลิเคชัน
3. ครูอธิบายความหมาย และประเภทของแอปพลิเคชัน และยกตัวอย่างแอปพลิเคชันจากในหนังสือหนา้ 84
หรือตามความเหมาะสม
4. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เรื่องข้ันตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชนั ในหนงั สือเรียนวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชนั้
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. หนา้ 85-88
5. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 57-58 ข้อ 1-3 เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจ

ขั้นสอน (50 นาที) ชั่วโมงที่ 2

6. ครูถามนักเรียนว่าจากท่ีเราพูดถึงจานวนเงิน และการแปลงสุกลเงินในคาบท่ีแล้วนักเรียนคาดว่าหาก

ต้องการพฒั นาแอปพลิเคชนั เราจะตอ้ งใช้เครือ่ งมือใดบา้ ง

(แนวคาตอบ คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมภาษาC++ โปรแกรมภาษาPython )

7. ครูอธิบายว่าการพัฒนาโปรแกรมสามารถใช้ภาษาในการเขียน และพัฒนาแอปพลิเคชันได้หลากหลาย

สามารถเลือกใช้ได้ตามความถนัด

8. ครสู นทนากบั นกั เรียนวา่ นักเรียนได้เรียนเขียนโปรแกรมภาษาPython เบือ้ งตน้ มาแล้วในช้ันมัธยมศึกษาปี

ที่ 2 แล้วรู้หรือไม่ว่าทาไมนักพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันส่วนใหญ่จึงเลือกใช้โปรแกรมนี้ เรามาดู

จุดเด่น จุดด้อยของโปรแกรมภาษาไพทอนกัน (เปิดหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 บริษัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. หนา้ 89)
9. ครูบอกนักเรียนว่า คาบน้ีจะได้ศึกษาการทางานของโปรแกรมแปลงค่าเงินโดยให้นักเรียนเปิดหนังสือเรยี น
วิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า89 หัวข้อ
ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคช่ัน
10. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Mu จากนั้นครูอธิบายหน้าที่การทางานเครื่องมือของโปรแกรม เป็นการ
ทบทวนเน้ือหาเดิมที่เรียนในระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 2 (เน้ือหาเดิมในหนังสือวิชา วิทยาการคานวณ ช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ่2ี บรษิ ัท อักษรเจริญทัศน์ อจท.) หรอื ศกึ ษาเพิม่ เติมจากใบความรเู้ ร่ือง If else, while, for
(สามารถดาวนโ์ หลดโปรแกรมไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ https://codewith.mu/en/download )

ชัว่ โมงที่ 3
ขน้ั สอน (50 นาที)
11. ครูอธิบายเน้ือหาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษร

เจริญทัศน์ อจท. หน้า90-105 เร่ืองโปรแกรมคานวณหาอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทไทย(THB) เป็นเงิน
ดอลลาร์ (USD) และให้นักเรียนศึกษาพร้อมทดลองเขียนโปรแกรมตามหนังสือ เพื่อความเข้าใจโปรแกรม
มากขึ้น ให้ศึกษาในใบความรู้เพิ่มเติมเร่ืองการใช้งาน GUI ร่วมกับภาษาไพทอนในการเขียนโปรแกรม โดย
ใ้ช้โมดูล Tkinter
12. ครูถามนักเรียนว่าจากตัวอย่างท่ีศึกษา สามารถนาแนวคดิ การแปลงสกลุ เงินไปปรับเป็นโปรแกรมรูปแบบ
อืน่ ไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไรบ้างใหน้ ักเรียนร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเห็น และบนั ทกึ รปู แบบท่ีเพื่อน
นาเสนอแลว้ สนใจลงกระดาษ A4
14. ครสู อบถามว่าจากการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ได้พบขอ้ ดี ข้อเสียอะไรบา้ ง
15. ครูให้นักเรียนจับคู่เพื่อแลกเปล่ียนแนวคิดและรูปแบบท่ีนักเรียนสนใจการพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลิเค
ชัน จากน้ันเลือกแนวคิดท่ีน่าสนใจ 1 อย่างเพ่ือเขียนรายละเอียดการทางานตามข้ันตอนการพัฒนาแอป
พลิเคชนั ดงั กลา่ วในแบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 58-59 ขอ้ 4
16. ครูให้นักเรียนนาแนวคิดที่ได้มาเขียน Flow Chart เพื่อนาไปพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันในแบบฝึกหัด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 60 ข้อ 5

ช่ัวโมงท่ี 4

ข้นั สอน (40 นาที)
17. ครูถามนกั เรียนว่าจากการเขยี น Flow Chart นกั เรยี นคาดวา่ แนวคดิ ทีต่ นเองเขยี นมโี อกาสทีจ่ ะทาไดจ้ รงิ

หรอื ไม่
18. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะคนู่ าเสนอแนวคดิ และผังงาน (Flowchart) ของตนเองหนา้ ชั้นเรยี น ให้เพอื่ น

ร่วมกันแลกเปล่ียนความคิดเหน็ พร้อมท้งั ครูคอยใหค้ าแนะนา จากนน้ั ให้นาไปปรับปรุงแก้ไข

ขน้ั สรุป (10 นาที)
1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างแอปพลิเคชันท่ีมีประโยชน์ของในชีวิตประจาวัน โดยการตอบคาถามในแบบฝึกหัด

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) อจท. หนา้ 66 ขอ้ 7

10. สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4

เรอ่ื ง แอปพลิเคชนั

2. หนงั สือแบบฝกึ หดั รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เรอื่ ง แอปพลิเคชัน

3. โปรแกรม Mu

11. การวัดและการประเมนิ ผล

11.1 การประเมินระหว่างการจดั กิจกรรม

จดุ ประสงค์ วิธีการประเมนิ เคร่ืองมือการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ

1. บอกความหมาย ตรวจแบบฝึกหดั แบบฝกึ หดั รายวชิ า บอกความหมาย

ประเภท และขน้ั ตอน หนา้ 57-58 พ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ประเภท และขน้ั ตอน

การพัฒนาแอปพลเิ คชนั เทคโนโลยี (วิทยาการ การพัฒนาแอปพลเิ คชนั

ได้ (K) คานวณ) ม.3 ไดถ้ ูกตอ้ ง 60% ขนึ้ ไป

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4

เรอ่ื ง แอปพลเิ คชัน

หน้า 57-58

2.ออกแบบการพัฒนา 1.ตรวจการออกแบบ 1.แบบประเมนิ 1.ออกแบบการพัฒนา

แอปพลเิ คชนั ตาม แนวคดิ ในแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด แอปพลิเคชันตาม

ขน้ั ตอนการพฒั นาแอป หนา้ 58-59 เรอ่ื ง แอปพลิเคชนั ขน้ั ตอนการพัฒนาแอป

พลิเคชนั ได้ (P) 2.ประเมินการนาเสนอ (ออกแบบการพัฒนา พลิเคชันได้ ในระดับ

แนวคิดการออกแบบการ แอปพลเิ คชัน) คณุ ภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื

พัฒนาแอปพลเิ คชนั 2.แบบประเมนิ ว่าผา่ น

การนาเสนองานกลุม่ 2.นาเสนอแนวคดิ การ

(ออกแบบแนวคดิ การ ออกแบบการพัฒนาแอป

พัฒนาแอปพลเิ คชนั ) พลเิ คชนั ในระดับ

คุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถือ

ว่าผา่ น

3.ยกตัวอย่างแอปพลเิ ค ตรวจแบบฝึกหดั อจท. แบบฝึกหดั รายวิชา 3.ผ่านเกณฑ์การ
ชันทม่ี ปี ระโยชนข์ องใน หน้า 66 ขอ้ 7 พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ประเมนิ 60% ขน้ึ ไป
ชวี ิตประจาวันได้ (A) เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4
เรอ่ื ง แอปพลเิ คชัน
หน้า 66 ข้อ 7

11.2 การประเมินการนาเสนองานกลมุ่ (ออกแบบแนวคิดการพฒั นาแอปพลเิ คชัน)

ที่ รายการประเมิน คุณภาพผลงาน
4 3 21

1 นาเสนอการออกแบบการพฒั นาแอปพลิเคชันตามขนั้ ตอนการพัฒนาแอป

พลิเคชนั ได้น่าสนใจและสือ่ สารเขา้ ใจง่าย ชัดเจน

2 อธิบายการทางานของแนวคิดไดเ้ ข้าใจ และถูกต้องตามหลักการ และตอบ

คาถามได้

3 มคี วามคิดสร้างสรรค์

4 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลุ่ม

5 การรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน

รวม

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
16 – 20 ดี
10 – 15
นอ้ ยกว่า 10 พอใช้
ปรบั ปรงุ

11.3 การประเมินแบบฝกึ หัด เรอ่ื ง แอปพลิเคชนั (ออกแบบการพฒั นาแอปพลิเคชัน)

ประเด็นในการประเมนิ 3 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1
2

1.ความสอดคล้องกับ ออกแบบแนวคิดการ ออกแบบโปรแกรมหรือ ออกแบบโปรแกรมหรอื

เน้ือหา พัฒนาโปรแกรมหรือ แอปพลเิ คชันตาม แอปพลเิ คชนั ตาม

แอปพลิเคชันตาม ข้นั ตอนการออกแบบ ขนั้ ตอนการออกแบบ

ขนั้ ตอนการออกแบบ แอปพลเิ คชันได้ถูกต้อง แอปพลเิ คชันได้ถูกต้อง

แอปพลิเคชันได้ถกู ต้อง และชัดเจนมากกว่า50% น้อยกวา่ 50%

ครบถว้ นและชัดเจน

2.การแสดงอัลกอริทึม เขียนแสดงลาดบั การ เขยี นแสดงลาดบั การ เขียนแสดงลาดบั การ

ทางานของโปรแกรม ทางานของแอปพลเิ คชนั ทางานของแอปพลเิ คชนั

หรือแอปพลิเคชนั ด้วย ดว้ ยแผนผงั งาน (Flow ด้วยแผนผงั งาน (Flow

แผนผงั งาน (Flow Chart) ได้เป็นระบบ Chart) ได้เปน็ ระบบ

Chart) ได้เป็นระบบ ถกู ต้องและเข้าใจง่าย ถกู ต้องและเขา้ ใจง่าย

ถกู ต้องและเข้าใจงา่ ย มากกวา่ 50% น้อยกว่า50%

3.มคี วามคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ

ในการออกแบบแอป แนวคดิ การพฒั นาแอป แนวคดิ การพัฒนาแอป แนวคดิ การพัฒนาแอป

พลิเคชัน พลเิ คชันได้น่าสนใจ พลเิ คชันได้นา่ สนใจ พลเิ คชันไดน้ า่ สนใจ

และคานึงประโยชนข์ อง และคานึงประโยชน์ของ และคานึงประโยชนข์ อง

การใช้งาน การใชง้ านเปน็ ส่วนใหญ่ การใชง้ านบา้ งพียง

บางสว่ น

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
7–9 ดี
5–6
พอใช้
นอ้ ยกวา่ 5 ปรบั ปรงุ

บันทึกหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนร้ทู ่ีเกดิ ขน้ึ กับผ้เู รียน (เกง่ ดี มสี ุข)
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ปัญหา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
...................................................... ............................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. .................................................
แนวทางการแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................... .......................
........................................................................................................... ...................................................................

ลงชือ่ ........................................................
(นางสาวกมลวรรณ จันทรววิ ัฒน)์

ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ยโรงเรยี นบา้ นขามทะเลสอ
............./..................../...............

ความเหน็ ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา
ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศึกษา
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................... ...........................................
.......................................................................................................................................... ....................................
......................................................................................................................... .....................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นายบุญยงั เจมิ ขุนทด)

ตาแหนง่ ครชู านาญการพเิ ศษ
รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นขามทะเลสอ

............./..................../...............

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 แอปพลิเคชนั เวลา 14 ช่ัวโมง

เรอื่ ง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชั่น (2) เวลา 6 ช่ัวโมง

รายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ผู้สอน นางสาวกมลวรรณ จนั ทรวิวฒั น์ วันที.่ ....../........../..........

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชว้ี ัด

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน

และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา

ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม

ตวั ช้ีวดั ม.3/1 พัฒนาแอปพลิเคชนั ทม่ี ีการบูรณาการกับวชิ าอื่นอย่างสรา้ งสรรค์

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายหน้าท่กี ารทางานของคาสงั่ ในการเขยี นโปรแกรมดว้ ย Python ได้ (K)
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมหรอื แอปพลเิ คชันด้วยภาษา Pythonได้ (P)
3. พฒั นาแอปพลเิ คชันทีค่ านึงถึงประโยชน์ต่อชวี ิตประจาวัน (A)

3. สาระสาคัญ
ภาษาไพทอนเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสาหรับผู้เร่ิมต้นเขียนโปรแกรมไปจนถึงการ

ประยุกต์ใชง้ านในระดบั สงู เนื่องจากโครงสรา้ งภาษาที่ลดความยุ่งยากเร่ืองไวยากรณ์ในการเขยี นโปรแกรมลง
อ่านแล้วเขา้ ใจงา่ ย ไม่ซบั ซอ้ น

4. สาระการเรียนรู้
1. ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ในการพฒั นาแอปพลิเคช่ัน

5. รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน
1. รูปแบบการสอนแบบบรรยาย (Lecture)
2. วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)

6. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
 ความสามารถในการสือ่ สาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทกั ษะ 4Cs  ซ่อื สัตย์ สจุ ริต
 ทกั ษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)  ใฝเ่ รียนรู้
 ทกั ษะการทางานรว่ มกัน (Collaboration Skill)  มุ่งม่ันในการทางาน
 ทักษะการสือ่ สาร (Communication Skill)  มจี ติ สาธารณะ
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
 รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
 มวี นิ ยั
 อยู่อย่างพอเพียง
 รักความเปน็ ไทย

9. การจดั กระบวนการเรยี นรู้

ช่วั โมงท่ี 1

ขั้นนา (10 นาที)
1. ครูบอกกับนักเรียนว่าจากชั่วโมงที่ผ่านมาเราทราบดีว่าโปรแกรมท่ีใช้ในการพัฒนาแอปแพลิเคชันมีให้เลือก

หลากหลาย แต่โปรแกรมทนี่ ิยมกนั และเรยี นรู้ได้เร็วซง่ึ Python เป็นตวั เลือกทนี่ า่ สนใจ
2. ครูสนทนากับนักเรียนว่า “จากตัวอย่างท่ีนักเรียนลองเขียนโปรแกรมแปลงค่าเงินด้วยโปรแกรมภาษา

Python นักเรียนคิดว่า ฟังก์ชันหรือคาส่ังท่ีนักเรยี นใช้ในการเขียนโปรแกรมข้างต้น เพียงพอสาหรับการ
พฒั นาแอปพลเิ คชนั ตามแนวคิดของนกั เรียนหรือไม่”
3. ครูสนทนากบั นกั เรยี นว่า “หากเราตอ้ งการพฒั นาแอปแพลเิ คชันด้วย Python จะตอ้ งเรียนรู้อะไรบ้าง
(แนวคาตอบ โปรแกรมท่ใี ช้เขียน เชน่ Mu, คาสั่งให้โปรแกรมแสดงผล, เรียนรู้คาสั่งif-else, คาส่งั loop)
ขัน้ สอน (40 นาที)
1. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Mu จากน้ันครูอธิบายหน้าท่ีการทางานเครื่องมือของโปรแกรม (เนื้อหาเดิมใน
หนงั สอื วชิ า วทิ ยาการคานวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท.)
(สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ https://codewith.mu/en/download )
2. ครูทบทวนการเขียนโปรแกรมคาสงั่ print เพ่ือส่งั ให้โปรแกรมแสดงผลตัวเลข และข้อความ

เช่น Code ผลลพั ธ์ได้

3. ครทู บทวนการเขยี นโปรแกรมโดยใช้ variable ดว้ ยตัวเลข และข้อความเพ่ือการแสดงผล เช่น
Code

ผลลพั ธท์ ่ีได้

4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า กรณีที่สร้างตัวแปรของตัวเลข เช่น A = 5 กับ C = “5” แสดงผลออกมาเป็นเลข 5
เหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน A เป็นตัวแปรของตัวเลข ส่วน C เป็นตัวแปรของตัวอักษรหรือข้อความ
เพราะมีสญั ลักษณ์ “”

5. จากน้นั ครูทบทวนรปู แบบรหัสข้อมูล (Format Code) เพ่มิ เติม จากที่เคยเรยี นผา่ นมาแล้วในระดับชน้ั ม.2
6. ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงาน เรอ่ื ง ตวั แปรและตัวดาเนินการ

ช่ัวโมงท่ี 2

ขน้ั สอน (50 นาท)ี
7. ครูถามคาถามเพ่ือทบทวนนักเรียนว่าจากการเรียนเร่ืองการใช้งานตัวแปรเพ่ือการดาเนินการทาง

คณิตศาสตร์ มขี อ้ มลู ตัวเลขแบบไหนบ้างที่สามารถนามาดาเนินการทางคณติ ศาสตร์ได้
(แนวคาตอบ จานวนเงิน อุณหภูมิ น้าหนัก ส่วนสูง เป็นตัวเลขที่มีค่าสามารถนามาดาเนินการทาง
คณติ ศาสตรไ์ ด้ )
8. จากน้นั ครูทบทวนการใชง้ านคาสัง่ การรบั ขอ้ มลู จากแป้นพิมพ์ input เชน่

Code

ผลลัพธท์ ีไ่ ด้

9. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่อง การเขียนใช้คาส่ังแสดงผล อินพุต และเอาต์พุต และแบบฝึกหัด
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 61 ข้อ 6.1

10. ครสู อบถามนกั เรยี นวา่ ฟังก์ชัน input ทางานอยา่ งไร
(แนวคาตอบ เป็นการรบั ขอ้ มูลจากแป้นพมิ พ์ หรือนาเขา้ ขอ้ มูลจากแปน้ พมิ พ)์
ชัว่ โมงที่ 3

ขน้ั สอน (50 นาที)
11. ครูถามนักเรียนว่าจากการเรียนเขียนโปรแกรมคาส่ังที่เรียนมา หากครูต้องการเขียนโปรแกรมจัดลาดับ

ความนิยมของร้านอาหารโดยใช้ข้อมูลจากระดับความพอใจในการใช้บริการ 5 ระดับ นักเรียนคิดว่า
สามารถทาไดห้ รือไม่
(แนวคาตอบ ไม่สามารถทาได้เนื่องจากเรยี นคาสง่ั การดาเนนิ การแล้ว แตย่ งั ไมม่ คี าสงั่ ในการตรวจสอบค่า )

12. ครูสอนนกั เรียนใช้งานคาสั่ง if-else
13. จากนั้นครูให้นักเรียนทาใบงาน เร่ือง การทางานแบบมีเงื่อนไข และแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการ

คานวณ) หนา้ 62 ขอ้ 6.2
14. ครถู ามนักเรียนวา่ สามารถนาความร้ทู เี่ รยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งไรบ้าง

(แนวคาตอบ การเขียนโปรแกรมตดั เกรด เขยี นโปรแกรมBMI เป็นต้น)

ชัว่ โมงที่ 4
ขน้ั สอน (40 นาท)ี
15. ครูถามนักเรียนว่าจากการเรียนเขียนโปรแกรมที่ผ่านมา หากครูต้องการให้นักเรียนเขียนโปรแกรมเพื่อ

แสดงชื่อตนเอง 100 บรรทดั นักเรยี นคิดว่าตอ้ งเขยี นคาสงั่ เยอะหรอื ไม่
(แนวคาตอบ เยอะ เนอ่ื งจากต้องเขียนคาส่งั บรรทัดตอ่ บรรทัดในการแสดงผล )
16. ครูบอกทมี่ าและอธบิ ายเร่ืองการใช้งานคาสั่งทาซา้ และคาส่ังอ่นื ๆ ได้แก่ while , for
17. ครสู อนนักเรยี นใช้งานคาสง่ั while / for
18. ครใู ห้นักเรยี นทาใบงาน เร่ือง การทาซา้ แบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 63 -65
ข้อ 6.3 - 6.5
19. ครูให้นักเรยี นชว่ ยกันบอกคาส่ังในการเขยี นโปรแกรมท่ีได้เรียนท้งั หมด พร้อมบอกหนา้ ทข่ี องแต่ละคาสั่ง

ชั่วโมงที่ 5

ข้นั สอน (50 นาท)ี

20. จากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ครูให้นักเรียนแต่ละคู่นาเสนอแนวคิดและผังงาน (Flowchart) ของตนเอง

หน้าช้ันเรียน ให้เพื่อนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พร้อมทั้งครูคอยให้คาแนะนา จากนั้นให้นาไป

ปรับปรุงแก้ไข

21. ในคาบน้ีครูให้นักเรียนนาแนวคิดท่ีปรับปรุงแล้วมาพัฒนาต่อเพ่ือเขียนโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันด้วย

ภาษา Python หรอื นกั เรยี นจะออกแบบแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมหรือแอปพลเิ คชันใหมก่ ็ได้

22. ครูให้นกั เรียนลงมือเขยี นโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันดว้ ยภาษา Python

ชว่ั โมงที่ 6

ขนั้ สอน (40 นาท)ี
23. ครูให้นักเรียนลงมอื เขียนโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชนั ด้วยภาษา Python (ต่อ)

24. ครใู ห้นกั เรียนทดสอบโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชันเพื่อตรวจสอบข้อผิดพลาด

ขัน้ สรุป (10 นาท)ี
1. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละคู่นาเสนอโปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั ให้เพ่ือนรว่ มกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พร้อม
ทง้ั ครคู อยให้คาแนะนาเพิ่มเติม
10. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.2
2. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4
เรอ่ื ง แอปพลเิ คชนั
3. หนังสอื แบบฝกึ หัดรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 เร่อื ง แอปพลิเคชัน
4. โปรแกรม Mu
5. ใบความรู้ เร่ือง การใชค้ าสั่งแสดงผลอนิ พุต และเอาต์พตุ
6. ใบความรู้ เรือ่ ง ตวั แปรและตวั ดาเนนิ การ
7. ใบความรู้ เรือ่ ง การทางานแบบมีเงื่อนไข
8. ใบความรู้ เรอ่ื ง การทาซา้
9. ใบงานท่ี 4.3.1 เรอื่ ง ตวั แปรและตัวดาเนินการ
10. ใบงานที่ 4.3.2 เรื่อง การใช้คาสง่ั แสดงผลอินพุต และเอาต์พุต
11. ใบงานท่ี 4.3.3 เร่อื ง การทางานแบบมเี งื่อนไข
12. ใบงานที่ 4.3.4 เรือง การทาซา้

11. การวัดและการประเมินผล

11.1 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรม

จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมอื การประเมิน เกณฑ์การประเมิน
แบบประเมนิ ชน้ิ งาน อธิบายได้ถกู ต้องตาม
1.อธิบายหนา้ ทก่ี าร อธบิ ายการทางานของ (ออกแบบและเขยี น หลกั การ 60% ข้นึ ไปถือ
โปรแกรมหรอื แอปพลเิ ค ว่าผ่าน
ทางานของคาสั่งในการ โปรแกรมหรอื แอปพลิเค ชันด้วยภาษา Python)
แบบประเมนิ ชนิ้ งาน 1.ออกแบบและเขียน
เขยี นโปรแกรมด้วย ชันทีเ่ ขียนด้วยภาษา (ออกแบบและเขียน โปรแกรมหรอื แอปพลเิ ค
โปรแกรมหรือแอปพลิเค ชันดว้ ยภาษา Python
Python ได้ (K) Python ชนั ดว้ ยภาษา Python) ได้ ในระดบั คุณภาพ
พอใช้ขน้ึ ไปถือว่าผา่ น
2.ออกแบบและเขียน 1.ตรวจโปรแกรมหรอื แบบประเมนิ บอกประโยชน์ของแอป
การนาเสนอ พลเิ คชนั ทพ่ี ัฒนาขึ้น
โปรแกรมหรอื แอปพลเิ ค แอปพลเิ คชนั ทีเ่ ขียนด้วย คานึงถงึ ประโยชนต์ อ่
ชีวติ ประจาวนั ได้ใน
ชันดว้ ยภาษา Python โปรแกรมภาษา Python ระดบั คุณภาพพอใช้ขนึ้
ไปถือวา่ ผ่าน
ได้ (P)

3.พัฒนาแอปพลเิ คชนั ท่ี บอกประโยชน์ของแอป
คานึงถงึ ประโยชนต์ อ่ พลิเคชนั ทีพ่ ฒั นาข้นึ
ชวี ิตประจาวัน (A)

11.2 การประเมินชนิ้ งาน (ออกแบบและเขียนโปรแกรมหรอื แอปพลเิ คชนั ด้วยภาษา Python)

ประเด็นในการประเมนิ 3 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1
2

1.ความสอดคล้องกับ อธบิ ายหนา้ ท่กี ารทางาน อธิบายหน้าท่ีการทางาน อธบิ ายหนา้ ที่การทางาน

เนือ้ หา ของคาส่ังในการเขยี น ของคาส่งั ในการเขียน ของคาส่ังในการเขียน

โปรแกรมด้วย Python โปรแกรมดว้ ย Python โปรแกรมดว้ ย Python

ไดถ้ ูกต้องตามหลักการ ไดถ้ ูกต้องตามหลักการ ได้เพียงบางส่วน ส่อื สาร

สอื่ สารเขา้ ใจง่ายชัดเจน สอื่ สารเขา้ ใจชดั เจนและ เข้าใจและตอบคาถามได้

และตอบคาถามได้ ตอบคาถามไดม้ ากกว่า นอ้ ยกวา่ 50%

ท้งั หมด 50%

2.ข้ันตอนการเขยี น เขยี นโปรแกรมหรือแอป เขยี นโปรแกรมหรือแอป เขียนโปรแกรมหรือแอป

โปรแกรมหรือแอปพลิเค พลเิ คชนั ดว้ ยภาษา พลิเคชนั ด้วยภาษา พลิเคชนั ดว้ ยภาษา

ชันดว้ ยภาษา Python Python ไดถ้ กู ต้อง ใช้ Python ได้ถูก ใช้คาสง่ั Python ได้ ใช้คาส่งั

คาส่ังเหมาะสมกบั การ เหมาะสมกบั การทางาน เหมาะสมกับการทางาน

ทางาน สามารถ สามารถตรวจสอบและ สามารถตรวจสอบและ

ตรวจสอบและแกไ้ ข แก้ไขข้อผิดพลาดของ แก้ไขข้อผิดพลาดของ

ข้อผดิ พลาดของ โปรแกรมได้มากกวา่ โปรแกรมได้น้อยกวา่

โปรแกรมได้ 50% 50%

3.มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ

ในการออกแบบแอป แนวคิดการพฒั นาแอป แนวคดิ การพัฒนาแอป แนวคดิ การพฒั นาแอป

พลิเคชนั พลเิ คชนั ได้นา่ สนใจ และ พลิเคชนั ได้นา่ สนใจ และ พลิเคชนั ได้น่าสนใจ และ

สรา้ งสรรค์ มคี วาม สรา้ งสรรค์ มคี วาม สร้างสรรค์ มีความ

เหมาะสมกับการใช้งาน เหมาะสมกับการใชง้ าน เหมาะสมกบั การใช้งาน

มากกว่า50% นอ้ ยกวา่ 50%

เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
7–9 ดี
5–6
พอใช้
น้อยกวา่ 5 ปรับปรงุ

11.3 การประเมนิ การนาเสนอ (ออกแบบและเขียนโปรแกรมหรือแอปพลเิ คชันด้วยภาษา Python)

ท่ี รายการประเมิน คุณภาพผลงาน
4 3 21

1 อธบิ ายหน้าทก่ี ารทางานของคาส่งั ในการเขียนโปรแกรมดว้ ย Python ได้

ถกู ต้อง และตอบคาถามได้

2 บอกประโยชน์ของแอปพลเิ คชันทพ่ี ฒั นาและคานึงถงึ ประโยชน์ตอ่

ชวี ิตประจาวนั

3 มวี ิธกี ารนาเสนอน่าสนใจ ใช้ภาษาเหมาะสมเขา้ ใจงา่ ย

4 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม

5 การรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่ืน

รวม

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
15 – 20 ดี
10 – 14
นอ้ ยกวา่ 10 พอใช้
ปรบั ปรงุ

11.4 แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

คาชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ลงในชอ่ ง

ท่ีตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงค์ด้าน 32 1

1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาตแิ ละรอ้ งเพลงชาตไิ ด้

กษตั ริย์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทีส่ ร้างความสามัคคีปรองดองและเป็นประโยชน์

ต่อโรงเรยี น

1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา

1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามทีโ่ รงเรยี นจัดขนึ้

2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมูลท่ีถูกตอ้ งและเปน็ จริง

2.2 ปฏบิ ัตใิ นสงิ่ ท่ถี ูกต้อง

3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัว

มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวัน

4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ร้จู ักใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนแ์ ละนาไปปฏิบัติได้

4.2 รู้จักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม

4.3 เช่ือฟงั คาส่งั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้

4.4 ตั้งใจเรยี น

5. อยู่อย่างพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพยส์ ินและส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั

5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยดั และรู้คุณคา่

5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ

6. ม่งุ มน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามตงั้ ใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ ับมอบหมาย

6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็

7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจติ สานึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย

7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย

8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 ร้จู ักช่วยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทางาน

8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรัพย์สมบัติและส่ิงแวดล้อมของห้องเรยี น

และโรงเรียน

ลงชือ่ ..................................................ผูป้ ระเมิน
............/.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัติชดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดมี าก
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัตชิ ัดเจนและบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี
พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตบิ างคร้ัง 30-40 พอใช้
ปรับปรงุ
ตา่ กว่า 30

ใบความรู้
เร่ือง การใช้คาส่ังแสดงผลอินพตุ และเอาต์พุต
คาส่ังแสดงผลดว้ ย print คือ การแสดงผลทางหน้าจอโดยใช้คาสั่ง print() ทาหน้าท่ใี นการแสดง
ขอ้ มลู ชนดิ อักขระ ตัวเลข ตัวแปร หรือนพิ จน์
โค้ด ผลลพั ธ์

คาสั่งนาเขา้ ข้อมูลทางแปน้ พิมพด์ ว้ ย input
Input คือ การรบั ข้อมลู จากภายนอกดว้ ยแป้นพิมพโ์ ดยใช้คาสัง่ input() ซึง่ จะรับข้อมลู เข้ามาเก็บไว้

ในตัวแปร
โค้ด ผลลัพธ์

ใบความรู้

เรอ่ื ง ตัวแปร และตัวดาเนินการ

ตวั แปร คอื หน่วยความจาที่ใช้จดั เก็บข้อมลู เพ่ือนาไปใช้ในโปรแกรม ตวั แปรจะถูกเรียกใชใ้ นการเกบ็

ขอ้ มลู จากอนิ พตุ เกบ็ ค่าคงที่ นาขอ้ มูลไปคานวณและเกบ็ ผลลพั ธ์การกาหนด หรือประกาศตัวแปร

ชนิดขอ้ มลู ตัวแปร
ชนดิ การใช้งาน
Int ข้อมลู ชนดิ ตัวเลขจานวนเต็ม
String ขอ้ มูลท่ีเป็นอักขระ หรือข้อความ
Float ข้อมลู ที่เป็นจานวนจริง
ตัวดาเนินการ หรือ โอเปอเรเตอร์ คอื สญั ลักษณ์ท่ีบอกใหด้ าเนินการอย่างใดอยา่ งหนึง่ กับข้อมูลในตวั

แปร และคา่ คงท่ีต่างๆ เชน่ การคานวณ โดยใช้เคร่อื งหมาย + - * / และการเปรยี บเทยี บทใ่ี ชเ้ ครอื่ งหมาย > <

>= <=

1) ตวั ดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์

ตัวดาเนนิ การ ความหมาย ตวั อยา่ ง
x+y
+ การบวก x-y
x*y
- การลบ x/y
x%y
* การคณู x ** y

/ การหาร

% การหาร เอาเฉพาะเศษ

** การยกกาลัง

2) ตัวดาเนินการเปรยี บเทยี บ

ตวั ดาเนนิ การ ความหมาย ตัวอย่าง
== เท่ากับ x == y
!= ไมเ่ ทา่ กบั x != y
> มากกว่า x>y
< นอ้ ยกวา่ x<y
>= มากกวา่ หรือเท่ากบั x >= y
<= นอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กบั x <= y

ใบความรู้
เร่อื ง การทางานแบบมเี ง่อื นไข
การใช้งานคาสงั่ if
if คอื คาสง่ั กาหนดเงื่อนไขเพื่อควบคุมให้โปรแกรมทางานเฉพาะคาสง่ั ที่ตอ้ งการเม่ือเง่ือนไขเปน็ จรงิ
ซึ่งเปน็ การเลือกทางานท่ีมที างเลอื กเดยี ว
โคด้ ผลลัพธ์

การใชง้ านคาส่ัง if-else
If-else คอื การกาหนดเง่ือนไขให้โปรแกรมเลือกทา 2 กรณี โดยเลือกทาคาส่ังในบล็อก if เมือ่

เงอ่ื นไขเป็นจรงิ หรือเลือกทาคาสั่งในบล็อก else เมอื่ เง่อื นไขเปน็ เทจ็
โค้ด ผลลัพธ์

ใบความรู้
เรอื่ ง การทางานซา้
การใช้งานคาส่งั while
while คอื การวนลปู โดยการตรวจสอบเง่ือนไขก่อนทางาน ซ่งึ ในขณะท่จี รวจสอบพบวา่ เงอ่ื นไขเปน็
จริง คาสง่ั ท่ีอยภู่ ายในบลอ้ กจะถกู รนั ให้ทางานวนรอบไปเร่ือยๆ และจะหยุดทางานเม่ือโปรแกรมตรวจสอบ
พบวา่ เง่อื นไขเป็นเท็จ
คาสง่ั ผลลัพธ์
i=0
while i <= 10:
print(i, end = ', ')
i=i+1

การใชง้ านคาสงั่ for
for คือ การทางานแบบวนซา้ ที่สามารถกาหนดจานวนครงั้ ท่แี นน่ อน โดยมีการกาหนดจุดเริ่มต้น จดุ

สดุ ทา้ ย และจานวนการทางานตามจานวนข้อมูลทมี่ ี
คาสัง่ ผลลัพธ์

for num in (27,12,2537):
print(num)

bp ='Lisa','Jisoo','Jennie','Rose'
for bp in bp:

print(bp)

ใบงานท่ี 4.3.1
เร่อื ง ตวั แปรและตัวดาเนินการ
1.ให้นักเรียนทาความเข้าใจเร่ืองตวั แปรเพ่ือตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1.1 เขียนผลลพั ธ์การทางานของโค้ดต่อไปนี้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 “ก้ิฟขายแอปเปิ้ลได้เงนิ มา 425 บาท อรขายส้มได้เงินมา 565 บาท ทศขายมะม่วงงินมา 456”
ใหน้ กั เรียนเขียนโปรแกรมเพ่ือแสดงรายไดจ้ ากการขายผลไม้ของแต่ละคน โดยใช้คาสั่ง “ตัวแปร”
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.ให้นกั เรียนทาความเขา้ ใจเร่ืองตวั แปรและการดาเนินการเพอ่ื ตอบคาถามต่อไปน้ี
2.1 เขียนผลลพั ธก์ ารทางานของโค้ดต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.2 เขียนผลลัพธ์การทางานของโคด้ ต่อไปนี้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.3 ให้นักเรียนเขยี นโปรแกรมเฉล่ยี คา่ อาหารรายคน โดยใหโ้ ปรแกรมรบั จานวนลูกค้า และค่าอาหาร
ทงั้ หมด จากน้นั แสดงค่าอาหารท่ีเฉลี่ยต่อคนทางหนา้ จอ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version