The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wouttipong Pilerd, 2021-01-03 22:06:17

งานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น

ใบเนื้อหาหน่วยที่ 2

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 29 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอ้ื งต้น

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 310 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งตน้

เนอื้ หาสาระ
2.1 คานา

อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายอย่าง ร่วมกันทางานเป็น
ระบบนิวเมตกิ ส์ ซง่ึ ในชดุ การสอนนจ้ี ะไดก้ ล่าวถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบนิวเมติกส์ โดยจะเริ่ม
กล่าวถึงอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีเป็นต้นกาลังหรือแหล่งจ่ายความดันลมอัด ให้กับระบบนิวเมติกส์น้ันคือ
เครือ่ งอัดอากาศ และระบบเตรียมความพรอ้ มของลมอดั ทจี่ ะนาไปใช้งาน




( )



ภาพท่ี 2.1 องคป์ ระกอบของอุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ที่มีการใช้งานทว่ั ไป

ss

( )




2
1

3
42

53
1

ภาพที่ 2.2 สญั ลักษณข์ องอปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์จากภาพที่ 2.1

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 231 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบื้องต้น

หน่วยผลิตลมอัด (Pressure Source) คือ ต้นกาเนิดลมอัดหรือเคร่ืองอัดอากาศ ทา
หน้าที่ผลิตลมอัด โดยการดูดอากาศผ่านลิ้นดูดของตัวเคร่ืองอัดอากาศแล้วอัดอากาศออกสู่ลิ้นอัด
นาไปเกบ็ หรือสง่ ต่อไปยังหน่วยอนื่ เพ่อื ปรับปรุงคุณภาพลมอดั

เคร่ืองระบายความร้อน (Heat Exchanger) หรือ ระบบหล่อเย็น (Cooler) คือการ
ระบายความร้อนออกจากลมอัดที่ผ่านมาจากเครื่องอัดอากาศ ซ่ึงการระบายความร้อนนั้นอาจใช้
หลกั การแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ หรือแบบใช้นา้ หลอ่ เยน็

ถังลมอัด (Tank) คอื ภาชนะหรือที่เก็บลม พักลม เพ่ือใช้เก็บสะสมลมอัดที่มาจากเคร่ือง
อัดอากาศ โดยถังลมอัดควรมีขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งาน หรือภาระงาน เพื่อป้องกันการทางาน
ของเคร่อื งอัดอากาศมากเกินกาลงั

ชุดกรองอากาศ (Filter With Water Trap Automatic) คือ อุปกรณ์ดักฝุ่นละออง
ความช้ืน ท่ีปะปนมากับลมอดั เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้อุปกรณท์ างานในระบบเสยี หาย

ชุดทาอากาศแห้ง (Air Dryer) คือ การทาให้ความช้ืนท่ีปะปนมากับลมอัด กลั่นตัวเป็น
หยดนา้ และไหลออกช่องระบายท้ิง

ชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลม หรือ ชุดบริการลมอัด (Air Service Unit) คือ
อุปกรณ์ท่ีช่วยทาความสะอาดลมอัด ปรับค่าความดันออกใช้งาน หรืออาจมีตัวผสมน้ามันหล่อล่ืนเข้า
ไปในลมอดั ตอนออกไปใช้งานดว้ ย เพอื่ ยืดอายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์ในระบบ

ชุดผสมน้ามันหล่อลื่น (Air Lubricatior) คือ ตัวจ่ายน้ามันหล่อลื่นเข้าไปผสมกับลมอัด
เพ่อื หล่อลนื่ ยดื อุปกรณ์ในระบบ

2.2 เคร่ืองอัดอากาศ
ในการทางานของระบบนวิ เมติกส์ เปน็ การส่งถ่ายพลังงานลมอัด ท่ีมีความดันลมอัดสูง

ไปใช้งานในการควบคุม หรอื ทางานของอุปกรณท์ างาน ในระบบนิวเมติกส์แบบต่าง ๆ โดยลมอัดที่มี
ความดันสูงได้มาจากเคร่ืองอัดอากาศ หรือคอมเพรสเซอร์ (Compressor) ซ่ึงมีหน้าท่ี ผลิตลมอัด
(Compressed air production) โดยอากาศปกติจะถกู อดั ให้มคี วามดันสงู ข้นึ ตามความต้องการ

เครื่องอัดอากาศ จะเป็นจุดศูนย์กลางสาหรับการจ่ายลมอัดให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน
ระบบนิวเมตกิ ส์ สาหรับค่าความดันลมอดั ปกติ ท่ใี ชง้ านกันโดยทั่วไปจะมีค่าประมาณ 6 - 8 บาร์ และ
มีค่าของความดันช่วงใช้งานต่าสุดถึงสูงสุดอยู่ระหว่าง 1.5 - 10 บาร์ โดยมีเครื่องอัดอากาศเป็นตัว
ผลติ ลมอัด

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 32 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบือ้ งตน้



1. 2. 3.

1
2

ภาพที่ 2.3 ชนิดของเครื่องอัดอากาศ

จากภาพที่ 2.3 สามารถอธบิ ายการทางานของเครื่องอัดอากาศแต่ละชนิดไดด้ ังนี้

2.2.1 เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบชกั (Piston Compressor)
เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบชัก ในปัจจุบันนี้นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถสร้าง

ความดันไดร้ ะหว่าง 4 – 10 บาร์ ดว้ ยอัตราการจ่ายท่ีสามารถทาได้ต้ังแต่ 2 ถึง 500 ลบ.เมตรต่อนาที
เหมาะสาหรับงานอุตสาหกรรมที่ต้องการอากาศที่มีความดันต่า ความดันปานกลาง และความดันสูง
เคร่ืองอัดอากาศแบบลกู สูบชกั แบ่งตามโครงสรา้ งไดด้ ังน้ี

2.2.1.1 เครอ่ื งอดั อากาศแบบลกู สบู ชกั ช้ันเดียว (Single Stage Air Compressor)
เคร่ืองอัดอากาศแบบลูกสูบชักอัดช้ันเดียว เหมาะสาหรับงานที่ต้องการความ

ดัน อยู่ระหว่าง 4 – 10 บาร์ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยมีหลักการทางานแบ่งเป็น 2 จังหวะ
คือ จังหวะดดู และจงั หวะอัด ในจงั หวะดูดเมื่อลูกสูบเคล่ือนที่ลงในแนวเส้นตรง ลิ้นของวาล์วตัวท่ีหนึ่ง
เปิดออกทาให้อากาศจากภายนอกถูกดูดเข้าไปในห้องสูบ ล้ินวาล์วตัวที่สองถูกปิดและจังหวะอัด เม่ือ
ลูกสูบเคลื่อนท่ีขึ้น ลิ้นของวาล์วตัวท่ีสองเปิดออก ทาให้อากาศท่ีอยู่ภายในห้องสูบถูกอัดเข้าไปในถังเก็บ
ลมลน้ิ วาลว์ ตัวทหี่ นง่ึ ถกู ปิด

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 433 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองตน้

ภาพที่ 2.4 เครือ่ งอัดอากาศแบบลกู สบู ชกั ช้นั เดียวและการทางาน
ท่มี า : http://4mechtech.blogspot.com วนั ท่ี 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.2.1.2 เคร่อื งอดั อากาศแบบลกู สบู ชกั อัด 2 ช้ัน (DoubleStage Air Compressor)
เหมาะกับงานทตี่ ้องการใช้ความดันสูงกว่า 10 บาร์ สามารถอัดอากาศได้สูงถึง

30 บาร์ โดยมีการทางานของลูกสูบ 2 ด้าน ที่จะทางานสลับกันคือ จังหวะท่ี 1 ลูกสูบตัวท่ี 1 ด้านซ้าย จะ
ดูดอากาศจากภายนอกเขา้ ภายในหอ้ งสบู ส่วนลูกสบู ตวั ท่ี 2 ดา้ นขวา จะอัดอากาศเข้าเก็บในถังเก็บลม และ
จังหวะที่ 2 ลูกสบู ตัวที่ 1 จะอัดอากาศผ่านชุดระบบความร้อนเข้าไปภายในห้องสูบของลูกสูบตัวท่ี 2 ซ่ึงเป็น
จงั หวะดูดอากาศ การทางานของลูกสบู ท้งั สองจะสลบั กัน

ภาพท่ี 2.5 เครอ่ื งอดั อากาศแบบลูกสูบชัก 2 ช้นั และการทางาน
ทม่ี า : http://4mechtech.blogspot.com วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558

2.2.1.3 เครือ่ งอัดอากาศแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)
เป็นเคร่ืองอัดอากาศแบบลูกสูบที่ใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็นตัวดูดหรืออัดอากาศ

และทาให้ลูกสบู กับหอ้ งดดู อากาศแยกออกจากกัน ทาให้อากาศท่ีถูกดูดหรืออัดในเครื่องอัดอากาศไม่
สัมผัสชิ้นส่วนท่ีเป็นโลหะ จึงปราศจากน้ามันหล่อลื่น เหมาะสาหรับใช้งานอุตสาหกรรมผลิตอาหาร
อุตสาหกรรมยารักษาโรค และอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ หลักการทางานโดยอาศัยแผ่นไดอะแฟรมเป็น
ตัวดูดอากาศและอัดอากาศในสภาวะท่ีลูกสูบเคลื่อนท่ีลงแผ่นไดอะแฟรมจะดูดอากาศจากภายนอก
ผา่ นวาล์วตัวทหี่ นง่ึ เข้ามาในห้องเก็บลม ในสภาวะทีล่ ูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นสุดแผ่นไดอะแฟรมจะอัดอากาศ
ภายในห้องสูบผา่ นวาลว์ ตวั ทสี่ อง เขา้ ไปยังถังเก็บลม

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 354 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งตน้

ภาพที่ 2.6 เคร่อื งอัดอากาศแบบไดอะแฟรมและการทางาน
ท่ีมา : http://www.arozone.com/en/products/diaphram-pumps/ วันท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2558

2.2.2 เคร่ืองอดั อากาศแบบหมุน
เป็นเครื่องอัดอากาศท่ีทางานโดยอาศัยหลักการหมุนอัดอากาศ จึงทาให้การทางานไม่มี

เสียงดงั เคร่อื งเดินเรียบสมา่ เสมอ และไม่มีลิ้นวาล์ว การอัดลมคงที่ จ่ายลมอัดได้ตั้งแต่ปริมาตร 4 – 170
ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ท่ีความดันต้ังแต่ 4 – 10 บาร์ เคร่ืองอัดอากาศแบบหมุนมีราคาสูงกว่าเคร่ืองอัด
อากาศแบบลูกสูบ เพราะมีประสทิ ธิภาพสูงกว่า นิยมใช้ในระบบนิวเมติกส์ที่ต้องติดตั้งเคร่ืองอัดอากาศไว้
ในห้อง เครือ่ งอดั อากาศแบบหมุนแบ่งออกเปน็ 3 แบบคอื

2.2.2.1 เครื่องอดั อากาศแบบแวนโรตารี่ (Vane rotary Air Compressor)
มหี ลกั การทางาน โดยใชใ้ บพดั เล่ือนที่ติดอยู่กับโรเตอร์หรือตัวหมุน ซึ่งวางเย้ือง

ศูนย์ในเรอื นสบู เม่อื โรเตอร์เร่ิมทางาน แผ่นใบพัดท่ีอยู่ในร่องจะกวาดลมอัดไปรอบ ๆ ตามแรงเหว่ียง
หนีศูนย์ ทาให้ห้องอัดอากาศในเรือนสูบเปลี่ยนจากห้องแคบเป็นห้องกว้าง และเปล่ียนจากห้องกว้าง
เป็นหอ้ งแคบ ทาใหเ้ กิดการดูดและการอัดอากาศจากทางลมเข้าไปยังทางด้านลมออกเพื่อเก็บไว้ในถัง
เกบ็ ลมต่อไป เครอ่ื งอดั อากาศแบบเวนโรตาร่ีมีใชง้ าน

INPUT

OUTPUT

ภาพที่ 2.7 เครื่องอัดอากาศแบบแวนโรตารี่และการทางาน
ทีม่ า : http://4mechtech.blogspot.com วันท่ี 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 635 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองต้น

2.2.2.2 เคร่ืองอดั อากาศแบบสกรู (Screw Air Compressor)
เป็นเคร่ืองอัดอากาศท่ีต้องสร้างด้วยความประณีต ต้นทุนการผลิตจึงสูงไม่มีล้ิน

ไม่ต้องการหลอ่ ล่ืน มเี พลาอยู่ 2 แกน เพลาตัวหนึ่งมีฟันสกรูนูน และเพลาอีกอันหน่ึงมีฟันสกรูเว้าวาง
ขบกัน และมีทิศทางการหมุนเข้าหากัน ซ่ึงดูดอัดลมจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหน่ึง ระหว่างการใช้งาน
ต้องมกี ารระบายความรอ้ นออกจากตัวเคร่ือง

การทางานเมื่อโรเตอร์เกลียวสกรูท้ังคู่หมุนลมจากภายนอกจะถูกดูดผ่านทาง
ชอ่ งลมเข้าและถูกอดั ไปรอบเรือนปั๊มด้วยความเร็วสูงและถูกอัดผ่านทางช่องลมออกไปยังถังเก็บลม มี
อตั ราการจา่ ยลมได้มากถงึ 170 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ นาที สรา้ งความดันได้ประมาณ 10 บาร์

ภาพที่ 2.8 เครอ่ื งอดั อากาศแบบสกรูและการทางาน
ท่ีมา : http://www.offshore-technology.com วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.2.2.3 เคร่อื งอดั อากาศแบบใบพดั หมนุ (Roots Air Compressor)
เป็นเคร่ืองอัดอากาศที่ต้นทุนการผลิตสูง ไม่มีลิ้นวาล์ว เสียงไม่ดัง ไม่ต้องการ

การหล่อล่ืนระหว่างการใช้งาน ต้องมีการระบายความร้อน ซึ่งประกอบด้วยใบพัด 2 ใบ 2 ตัว ขบกัน
หมุนด้วยความเร็วรอบเท่ากัน เช่นเดียวกับแบบสกรู มีหลักการทางานคือ เม่ือโรเตอร์ทั้งสองหมุน
สวนทางกนั จะทาให้อากาศ ถูกดูดจากด้านไปยังอีกด้านหน่ึง โดยที่ไม่มีการเปล่ียนแปลงปริมาตร ทา
ให้อากาศไม่ถูกอัดตัว แต่อากาศท่ีเคล่ือนที่จะถูกอัดเข้าไปในถังเก็บลมน่ันเอง เครื่องอัดอากาศแบบ
ใบพดั หมนุ มอี ตั ราการจ่ายลมได้ต้งั แต1่ 00 ลูกบาศกเ์ มตรต่อนาที สรา้ งความดันได้ประมาณ4-10 บาร์

INPUT OUTPUT

ภาพที่ 2.9 เครื่องอดั อากาศแบบใบพัดหมนุ และการทาง7าน
ทม่ี า : http://www.okokchina.com วันท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 36 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอื้ งต้น

2.2.3 เคร่ืองอดั อากาศแบบกระแสอากาศ
เป็นเครือ่ งอัดอากาศแบบกระแสอากาศ เหมาะกับงานทตี่ อ้ งการอัตราการไหลของลมสูง

มีอัตราการผลิตจ่ายลมได้ต้ังแต่ 170 – 8,000 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ที่ความดันของลม 4 - 10 บาร์
เครอ่ื งอดั อากาศแบบกระแสอากาศแบ่งได้ออกเปน็ 2 แบบคอื

2.2.3.1 เครือ่ งอัดอากาศแบบอากาศวนรอบกังหัน (Radial Flow Air Compressor)
เครื่องอัดอากาศแบบอากาศวนรอบกังหัน มีหลักการทางาน โดยใช้หลักการ

ของกังหันใบพัด ซ่ึงลมจะถูกดูด ผ่านไปยังใบกังหันที่เคล่ือนท่ีด้วยความเร็วสูง ผ่านใบพัดด้านหน่ึง
และจะอดั ลมวนรอบใบพัดกงั หันใบพัด ไปยังอกี ดา้ นหนึง่ เพื่อผลิตลมอดั เขา้ เก็บไว้ในถังเกบ็ ลม

INPUT OUTPUT

ภาพที่ 2.10 เคร่อื งอัดอากาศแบบอากาศวนรอบกังหนั
ทีม่ า : http://www.slideshare.net วนั ท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

2.2.3.2 เครื่องอดั อากาศแบบอากาศตามแกนเพลา (Axial flow Air Compressor)
เป็นเคร่ืองอัดอากาศท่ีใช้หลักการของใบพัดกังหัน โดยการเคล่ือนท่ีของใบพัด

กังหันจะเคล่ือนท่ีด้วยความเร็วสูง ลมจะถูกดูดผ่านใบพัดด้านหน่ึง และจะอัดลมตามแกนเพลาของ
ใบพัดไปยังอกี ด้านหน่งึ

INPUT OUTPUT

ภาพที่ 2.11 เคร่ืองอัดอากาศแบบอากาศตามแกนเพลา
ที่มา : http://www.slideshare.net วนั ที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 837 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบ้อื งตน้

2.3 เคร่อื งระบายความร้อนลมอดั (Heat Exchanger)
เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ระบายความร้อนออกจากลมอัดท่ีผ่านมาจากเคร่ืองอัดอากาศ ซ่ึงการ

ระบายความร้อนน้ันแบ่งเป็น 2 แบบ คือแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ และแบบใช้น้าหล่อเย็น
สามารถแบง่ การควบคมุ การทางานตามขนาดของเครือ่ งอดั อากาศ ได้ 2 แบบดงั น้ี

2.3.1 แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ (Air cooled)
2.3.2 แบบใชน้ า้ หล่อเยน็ (Water Cooled)

2.3.1 แบบระบายความร้อนดว้ ยอากาศ (Air cooled)
เปน็ การระบายความร้อนด้วยใช้การเป่าลมผ่านแผงระบายความร้อนที่เป็นท่อทางเดิน

ของลมอดั เพอ่ื เอาความร้อนออกจากลมอัดโดยการแลกเปล่ียนอุณหภูมิที่แตกต่างผ่านผิวท่อของแผง
ระบายความร้อน และมีอุปกรณ์ดักน้าท่ีเกิดจากการกล่ันตัวของลมอัด เพ่ือระบายออกสู่ภายนอก
เครอ่ื ง นิยมใชใ้ นอตุ สาหกรรมขนาดกลาง

ภาพท่ี 2.12 โครงสรา้ งเครือ่ งระบายความร้อนลมอดั แบบระบายความร้อนดว้ ยอากาศ
ที่มา : http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Pnumetic.html วันท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.3.2 แบบใช้นา้ หล่อเยน็ (Water Cooled)
เป็นการระบายความร้อนโดยใช้น้าเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนความร้อนของท่อ

ทางเดนิ ของลมอัดทแ่ี ชใ่ นภาชนะทมี ีน้าไหลเวียนอยู่ตลอด โดยน้าที่ไหลเข้ามามีอุณหภูมิที่ต่า เม่ือผ่าน
เข้ามาใช้ระบายความร้อนของลมอัดแล้วก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น ก็จะมีกระบวนการนาน้าไปลดอุณหภูมิ
ปรบั ปรุงคุณภาพ และนากลับมาใชร้ ะบายความร้อนต่อไป

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 938 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้อื งต้น







ภาพท่ี 2.13 โครงสร้างเคร่อื งระบายความร้อนลมอัดแบบระบายความร้อนดว้ ยนา้

2.4 ถงั ลมอดั (Tank)
ในงานอุตสาหกรรม ที่ใช้ระบบนิวเมติกส์เป็นส่วนประกอบของระบบการทางาน

เครื่องจักรกล ในส่วนต่าง ๆ ถ้าระบบเคร่ืองจักรกลทางานพร้อม ๆ กันหลายตัว จะเกิดปัญหากับ
ปริมาณของลมอัด (อากาศที่ถูกอัดจากเคร่ืองอัดอากาศ) ท่ีเคร่ืองอัดอากาศผลิตไม่เพียงพอ และถ้า
เครอื่ งจักรกลไม่ได้ทางาน ลมอัดที่เคร่ืองอัดอากาศผลิตออกมา ก็ไม่มีที่เก็บ จึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ท่ี
สามารถเก็บลมอัด และจ่ายลมอัดได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลาด้วยความดันคงที่ โดยการใช้ถังเก็บลม
หรอื ถงั พักลม เพอ่ื ใช้เก็บสะสมลมอัดทีม่ าจากเครื่องอดั อากาศ ถงั เก็บลมอัด มอี ยู่ 2 แบบดังนี้

2.4.1 ถังเก็บลมแบบนอน (Horizontal Model) จะใช้กับเคร่ืองอดั อากาศขนาดเลก็
2.4.2 ถังเก็บลมแบบต้ัง (Vertical Model) จะใช้กับเคร่ืองอัดอากาศขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่

ภาพที่ 2.14 ถังเก็บลมแบบต้ังและแบบนอน
ท่มี า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 1309 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบอื้ งตน้

2.5 ชุดกรองอากาศ (Filter with Water Trap Automatic)
เป็นการกรองสิ่งสกปรกและความชื้นออกจากลมอัดโดยอัตโนมัติ โดยจะให้ลมอัดเข้ามา

ส่วนตรงกลางของไส้กรองแล้วผ่านออกไปทางด้านข้างไปออกท่ีทางออก และจะมีตัวดักน้าที่เกิดจาก
การกลั่นตัวของลมอัดแยกออกมาแล้วระบายท้ิงไปด้านนอกด้วยความดันจากลมอัดโดยอัตโนมัติ

ภาพท่ี 2.15 อุปกรณ์กรองอากาศโดยอตั โนมัติ
ที่มา : https://www.nanasupplier.com วันท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.6 ชุดทาอากาศแห้ง (Air Dryer)
เน่ืองจากอากาศท่ีถูกเพ่ิมความดันจากเคร่ืองอัดอากาศจะมีอุณหภูมิสูงข้ึน และมีไอน้า

ปะปนอยู่ เมอ่ื ระยะเวลาผ่านไปไอนา้ จะเยน็ ตัวลงและกล่ันตัวเป็นหยดน้าท่ีอุณหภูมิห้อง ดังน้ันจาเป็น
ที่จะต้องกาจัดน้าท่ีอยู่ในลมอัดออกก่อนการนาไปใช้งาน วิธีการที่ทาให้อากาศแห้ง มีด้วยกัน 3 วิธี
ดงั น้ี

2.6.1 การใช้สารเคมีดูดความช้นื (Chemical Absorption Drying)
เม่ือลมอัดไหลเข้าด้านล่างของถังผ่านสารเคมี ความชื้นที่ปะปนกับอากาศจะถูก

ดูดเก็บเอาไว้ในสารเคมี เม่ืออากาศไหลผ่านสารเคมี (Dryer Chemical) เป็นเวลานานจะเกิดการ
อ่ิมตัวของไอน้า และกล่ันตัวเป็นหยดน้าไหลลงส่วนล่างของถัง ที่มีวาล์วสาหรับระบายน้าทิ้ง (Drain)
การตดิ ตง้ั ถังเคมจี ะตดิ ตง้ั อยู่กับท่ี และเป็นถังชนิดตั้ง

ภาพที่ 2.16 การใชส้ ารเคมีดูดความช้ืน
ทม่ี า : https://nptel.ac.in วันที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 1410 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบอื้ งตน้

2.6.2 การใช้กระบวนการทางฟิสิกส์ (Absorption Drying)
กระบวนการทางฟิสิกส์โดยใช้ถังบรรจุสารจานวน 2 ถัง เพื่อใช้งานสลับกัน

โดยสารท่ีใช้ดูดความชื้นโดยส่วนมากใช้ซิลิคอนไดออกไซด์ ที่มีรูปร่างเป็นเม็ดคล้ายลูกปัด และมี
ลักษณะเป็นเจล เม่ืออากาศไหลจากเครื่องอัดอากาศ ผ่านช้ันของเจลของถัง A ความช้ืนท่ีปะปน
กับอากาศจะถูกดูดเก็บเอาไว้ และเม่ือถัง A เจลดูดความชื้นอ่ิมตัวแล้ว ก็จะสลับให้ถัง B ดูดความชื้น
สลับกันไป และเมื่อสารดูดความชื้นอ่ิมตัวแล้วเราใช้ลมร้อนเป่าทาให้สารดูดความชื้นแห้ง แล้วนา
กลับมาใช้งานใหม่ได้ ดังนั้นในช่วงที่ทาการเป่าลมร้อนให้สารแห้ง จึงต้องสลับการทางานของถังท้ัง 2
ใบ เพ่ือทาการดดู ความชื้นจากอากาศในระบบสลบั กนั ไป

ภาพที่ 2.17 การใช้กระบวนการทางฟิสิกส์
ท่มี า : https://www.denairgroup.ru วนั ที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

2.6.3 ระบบทาความเย็นให้อากาศแห้ง (Low Temperature Drying)
ระบบทาความเย็นเพื่อให้อากาศแห้ง เมื่อลมอัดไหลผ่านห้องระบายความร้อน

(Air heat exchanger) อุณหภูมิลมอัดจะลดลง และไหลผ่านไปยังห้องหล่อเย็น (Air cooling unit)
ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องทาความเย็น (Refrigerating machine) เมื่ออากาศเย็นตัวลง ไอน้าท่ี
ปะปนในลมอัด จะกลั่นตัวเป็นหยดน้า ตกลงมาส่วนล่างของห้องหล่อเย็น และไหลออกไปท่ีตัวดักน้า
(Separator) ส่วนลมอัดที่แห้ง จะไหลผ่านห้องระบายความร้อนอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ือให้อุณหภูมิสูงข้ึน
กอ่ นนาลมอัดออกไปใชง้ านต่อไป

ภาพท่ี 2.18 ระบบทาความเยน็ ใหอ้ ากาศแหง้
ที่มา : https://airpowered.co.uk วนั ท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 1421 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบอ้ื งต้น

เมื่อลมอัดไหลผ่านห้องระบายความร้อน (Air heat exchanger) อุณหภูมิลมอัดจะ
ลดลง และไหลผ่านไปยังห้องหล่อเย็น (Air cooling unit) ที่เป็นส่วนหนึ่งของเคร่ืองทาความเย็น
(Refrigerating machine) เม่ืออากาศเย็นตัวลง ไอน้าที่ปะปนในลมอัด จะกลั่นตัวเป็นหยดน้า ตก
ลงมาส่วนลา่ งของหอ้ งหลอ่ เย็น และไหลออกไปที่ตัวดักน้า (Separator) ส่วนลมอัดที่แห้ง จะไหลผ่าน
ห้องระบายความรอ้ นอีกคร้ังหนึง่ เพ่ือให้อณุ หภมู ิสงู ข้ึนกอ่ นนาลมอัดออกไปใชง้ านต่อไป

วิธีการทาให้อากาศแห้ง ท้ัง 3 วิธีที่กล่าวมา จะใช้งานในตอนท่ีเราผลิตลมอัดจากเครื่อง
อัดอากาศ ก่อนท่ีจะนาลมอัดไปเก็บไว้ที่ถังเก็บลมเราจะทาให้อากาศแห้งด้วยวิธีการดังที่กล่าวมา แต่
เมอ่ื ลมอัดถูกนาไปเก็บไว้ในถังเก็บลมแล้ว ก่อนที่เราจะนาไปใช้งานเราต้องทาการควบคุมคุณภาพลม
อัดก่อนนาไปใช้ในวงจรนวิ เมติกส์ โดยการใชช้ ุดควบคุมและปรบั ปรุงคุณภาพลมอดั ซงึ่ อธิบายได้ดงั นี้

2.7 ชดุ ควบคมุ และปรบั ปรุงคุณภาพลมอัด (Air Service Unit)
วิธีการทาให้ลมอัดมีคุณภาพ ท่ีเป็นที่นิยมโดยท่ัวไปคือการใช้ชุดควบคุมและปรับปรุง

คุณภาพลมอัด ซง่ึ มีการทางานในการรักษาความดนั ให้คงท่ตี ามความตอ้ งการ ทาให้ลมอัดมีคุณภาพ มี
ความสะอาด ก่อนการนาไปใช้งาน และมีสัดส่วนน้ามันหล่อล่ืนที่เหมาะสม ชุดควบคุมและปรับปรุง
คุณภาพลมอดั มีสัญลกั ษณแ์ ละสว่ นประกอบ

 Air Regulator
 Pressure gauge

 Air Filter

 Air lubricator
ภาพที่ 2.19 โครงสร้างและสัญลักษณช์ ุดควบคุมและปรับปรุงคณุ ภาพลมอดั
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2558
โดยสว่ นประกอบท่ีใชใ้ นชุดควบคมุ และปรับปรงุ คุณภาพลมอดั มีการทางานดังต่อไปนี้

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 1432 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอื้ งต้น

2.7.1 ชุดกรองลมอดั (Air Filter)
เน่ืองจากลมอัดเกิดจากการอัดอากาศที่อยู่รอบ ๆ ตัวเราโดยประมาณท่ีปริมาตร

8 ลูกบาศก์เมตร มาอัดตัวให้ได้ลมอัดปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร แล้วเก็บไว้ภายในถังเก็บลม เมื่อเรา
จะนาลมอดั ไปใชง้ านเราจะต้องกรองเอาสิ่งสกปรกออกก่อน โดยใช้ไส้กรองในการกรองอากาศ และมี
แผ่นกะบงั เปน็ ตัวปอ้ งกันไม่ใหส้ ่ิงสกปรกทีส่ ะสมอยดู่ ้านล่างลอยข้ึนไปปะปนกบั ลมอดั ทน่ี าไปใชง้ าน

2.7.2 ชดุ ควบคุมความดนั (Air Regulator)
มีหลักการทางาน คือ ถ้าความดันลมอัดจากแหล่งจ่ายลมสูงข้ึนจะกดให้

ไดอะแฟรมชนะแรงสปรงิ ในขณะเดียวกันกา้ นวาลว์ ก็จะถูกกด ทาให้ชอ่ งเปิดวาล์วมีขนาดเล็กลง และ
เม่ือความดันลมอัดลดลงสปริงจะดันให้แผ่นไดอะแฟรมเลื่อนตัวขึ้น ก้านวาล์วก็จะเปิดวาล์วให้ลมอัด
ไหลผ่านได้มากข้ึน ถ้าความดันลมอัดด้านใช้งานเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว จะทาให้แผ่นไดอะแฟรมถูกกด
ลงชนะแรงสปริงทดี่ นั อยูใ่ หต้ า่ ลงมาก กา้ นวาล์วก็จะเปดิ วาลว์ ที่แกนของไดอะแฟรมให้ความดันลมอัด
ระบายผ่านหอ้ งสปริงออกสู่บรรยากาศภายนอก ชดุ ควบคุมความดันไม่สามารถปรับความดันลมอัดให้
สงู กว่าความดนั แหลง่ จา่ ยท่ีสง่ เข้ามา ในชุดควบคุมความดนั ได้ แตจ่ ะสามารถควบคมุ ความดันลมอัดได้
ทร่ี ะดบั ต่ากว่าหรอื เท่ากบั ความดนั แหล่งจ่ายท่สี ่งเขา้ มาเท่าน้นั

2.7.3 เกจวัดความดนั ลมอัด (Pressure Gauge)
มีหนา้ ที่วัดความดันลมท่อี อกจากชุดควบคุมความดัน มีหลักการทางานดังน้ี เม่ือ

ลมอัดไหลเข้ามาในช่องทางเข้า จะสะสมอยู่ภายในท่อสปริงซึ่งโค้งเป็นวงกลมและมีหน้าตัดเป็น
ส่ีเหลี่ยมจัตุรัส อีกด้านหน่ึงต่ออยู่กับชุดกลไกขับเฟืองให้เข็มหมุน เป็นผลทาให้ท่อสปริงยืด ไปทาให้
เข็มหมุนชไ้ี ปทีต่ ัวเลขตามคา่ ของความดันลมทเ่ี ขา้ เกจ

2.7.4 ตัวผสมน้ามันหล่อลนื่ (Air Lubricator)
มีหน้าที่ในการเติมน้ามันหล่อล่ืนให้กับลมอัด เพื่อเป็นตัวหล่อล่ืนและป้องกัน

อุปกรณ์ที่เคลื่อนท่ีสัมผัสกันโดยตรง โดยมีหลักการทางาน เม่ือลมอัดไหลผ่านรูทางเข้าจะไหลผ่าน
ด้านล่างและไหลตรงออกไปสู่บริเวณคอคอด ส่วนที่ไหลลงด้านล่างนั้นจะดันให้น้ามันเข้าไปในท่อดูด
น้ามันและหยดลงที่หัวฉีด เมื่อหยดน้ามันถูกลมอัดพัดจะแตกเป็นฝอยผสมกับลมอัด โดยมีวาล์ว
สาหรับปรับปริมาณการหยดของน้ามัน โดยปกติจะมีปริมาณน้ามันหล่อล่ืนประมาณ 5 หยดต่อนาที
แตป่ ัจจุบันอุปกรณน์ วิ เมติกสบ์ างตัวมีการเคลอื บสารป้องกันสนิทในขบวนการผลิตแล้ว ดังน้ันอุปกรณ์
ดังกล่าวจึงไมจ่ าเป็นต้องใช้ตัวผสมนา้ มนั หลอ่ ลนื่ ในระบบ

2.8 ระบบท่อจา่ ยลมอัด

ระบบจา่ ยลมอดั เปน็ การวางระบบและการตดิ ต้ัง ส่วนประกอบต่าง ๆ เพื่อใช้งานในวงจรระบบ
นิวเมติกส์ ซึ่งเราได้ศึกษาเก่ียวกับเครื่องอัดอากาศและการควบคุม การควบคุมคุณภาพลมอัด และมี
สว่ นประกอบท่ีเราจาเปน็ ต้องศึกษาในการว่างระบบจ่ายลมอัดดงั นี้

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 1443 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น

ในระบบจ่ายลมอัด ต้องมีการเดินจุดต่อลมหมายเลขอัดจากถังเก็บลมเพ่ือนาไปใช้ โดยมี
ส่วนประกอบในระบบจ่ายลมอัดดังภาพท่ี 2.20

ท่อแยก ท่อส่งหลัก ลาดเอยี ง 1 - 2 %

Service Unit

Compressor ถงั เก็บลม

ถงั ดักนา้

วาลว์ ระบายนา้ ทง้ิ

ภาพท่ี 2.20 สว่ นประกอบระบบจ่ายลมอัด
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.8.1 การวางท่อสง่ ลมอัด

2.8.1.1 แบบปิดปลายท่อส่ง โดยปิดท่อส่งหลักด้านหนึ่งและเดินท่อแยกออกจากท่อส่ง
หลักเปน็ จดุ ๆ ทปี่ ลายท่อจะมคี วามดันตกครอ่ มสูง

ภาพที่ 2.21 การเดินท่อส่งหลกั แบบปิดปลายท่อสง่
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

2.8.1.2 แบบวงแหวน ท่อส่งหลักและท่อแยกจะเดินมาบรรจบกันเป็นวงแหวน ลมอัด
สามารถไหลวนถึงกันได้ตลอดท้ังสองปลาย เพื่อลดความดันตกคร่อมและทาให้ความดันเฉลี่ยในท่อมี
คา่ ใกล้เคียงกันมากทส่ี ุด

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 1454 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งต้น

ภาพที่ 2.22 การเดินทอ่ สง่ หลกั แบบวงแหวน
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วนั ที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

สาหรับการวางท่อสง่ ลมอดั ภายในโรงงาน นิยมวางในลักษณะเป็นวงแหวน (Ring
main) คือวางเปน็ วงรอบโรงงาน การวางทอ่ แบบน้จี ะทาให้การจา่ ยลมกระจายออกไปท้ังสองด้านของ
วงแหวนไปรอบโรงงาน ซ่ึงทาให้ไม่เกิดความดันตกคร่อมบริเวณปลายสุดของท่อ และข้อควรระวังใน
การเดินท่อส่งหลักควรพยายามให้มีข้อต่อน้อยที่สุด และควรเลือกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อให้
เหมาะสมกบั ปรมิ าณลมอัดท่ใี ช้งาน

2.8.2 การเลอื กขนาดทอ่ สง่ ลม (Determination of the Pipe line)
ในการเลือกขนาดของท่อส่งลม เราจะใช้เส้นกราฟเทียบเพ่ือเลือกขนาดเส้นผ่าน

ศูนย์กลางของท่อส่งลม ดังแสดงในภาพท่ี 23 ในการเลือกขนาดของท่อส่งลม จะต้องพิจารณาถึง
ขนาดของท่อและปรมิ าณการใช้ลม คา่ ความดันตกคร่อม (Pressure Drop) ในวงจรเมื่อมีอัตราการใช้
ภายในระบบเต็มที่แล้ว ไม่ควรเกินร้อยละห้าของความดันใช้งาน การเลือกท่อลมที่มีขนาดใหญ่เกิน
ความจาเปน็ ทาให้ไม่ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย แต่ถ้าเลือกท่อลมท่ีมีขนาดเล็กเกินไป ก็จะทาให้สูญเสียกาลัง
ลมไป เนอ่ื งจากแรงเสยี ดทานท่เี กิดขน้ึ ในการเลอื กขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของท่อส่งลม ควรจะเลือก
ขนาดของทอ่ ลมให้ใหญก่ ว่าท่ีคานวณได้ โดยมีองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ในการพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้

2.8.2.1 ปรมิ าณการใช้ลมอัด (ลูกบาศกเ์ มตร/นาที)
2.8.2.2 ความยาวรวมของท่อท้งั หมด (เมตร)
2.8.2.3 ค่าความดนั ใช้งาน (บาร)์
2.8.2.4 คา่ ความดันตกคร่อม (บาร์) ไม่ควรเกิน 5 % ของคา่ ความดันใชง้ าน
2.8.2.5 จานวนวาล์ว ข้อต่อข้องอตา่ ง ๆ

เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการเลือกขนาดท่อลมหลัก โดยใช้แผนผังการเลือกขนาด
เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางทอ่ สง่ ลม โดยแสดงวธิ ีการดงั ตวั อยา่ งที่ 2.1 วธิ ีการเลือกขนาดทอ่ ดงั น้ี

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 1465 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบื้องต้น

ตัวอย่างที่ 2.1 การคานวณหาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อส่งลม (ใช้เส้นกราฟในภาพท่ี 2.23)
ปรมิ าณการใช้ลมอัดของโรงงานแห่งหนึ่ง มีความต้องการลมอัดในการใช้งานเท่ากับ 250 ลูกบาศก์เมตร
ตอ่ ชวั่ โมง และคาดวา่ ภายในระยะเวลา 5 ปี จะมีการใชล้ มอดั เพม่ิ มากขน้ึ 300 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงเพิ่มเป็น
750 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ชั่วโมง รวมเปน็ 1,000 ลูกบาศก์เมตรตอ่ ชว่ั โมง ความยาวของท่อท่ีต้องใช้ 500
เมตร คา่ ความดนั ตกครอ่ ม 0.095 บาร์ คา่ ความดันใชง้ าน 8 บาร์ ให้หาขนาดของท่อใช้งาน

วธิ ที า จากเสน้ กราฟเทยี บขนาดท่อในภาพที่ 2.23 จะได้
1. ทเ่ี ส้น A ทาจุดท่ีค่า 500 เมตร (ความยาวรวมท้งั หมดของท่อ)

2. ทเ่ี สน้ B ทาจุดที่ค่า 1000 ลกู บาศก์เมตรตอ่ ชว่ั โมง (277.78 ลิตรตอ่ วินาท)ี

ปรมิ าณการใชล้ มทงั้ หมด

3. ลากเสน้ ตรงใหผ้ ่านจดุ A และ B ท่ีทาไว้ ให้ไปตัดเสน้ C แล้วทาจดุ ไว้

4. ที่เสน้ E ทาจดุ ท่ีค่า 8 บาร์ (ค่าความดนั ใช้งาน)

5. ทเี่ สน้ G ทาจดุ ที่คา่ 0.095 บาร์ (ค่าความดนั ทสี่ ูญเสีย)

6. ลากเส้นผ่านจุด G และ E ที่ทาไว้ ให้ไปตดั เสน้ E แล้วทาจดุ ไว้

7. ลากเสน้ ตรงจากจดุ F มายังจดุ C ในขอ้ 3 โดยลากผ่านเส้น D ก็จะไดค้ า่ เส้น

ผา่ นศนู ยก์ ลางของท่อส่งหลกั คือ 100 มลิ ลิเมตร

ดงั นนั้ จะไดข้ นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของท่อสง่ ลมเท่ากับ 100 mm ตอบ

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 1476 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนวิ เมติกส์และไฮดรอลิกส์เบ้อื งต้น

ภาพที่ 2.23 เสน้ กราฟเทยี บขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางท่อส่งลม
ทม่ี า : http://www.engineeringtoolbox.com/compressed-air-pressure-drop-nomograph-
d_1278.html วันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2563

2.8.3 การตดิ ตงั้ ทอ่ สง่ ลม (Installation of Pipe Line)

ในการติดต้ังท่อส่งลมจะต้องพิจารณาเลือกขนาดท่อและชนิดให้เหมาะสมกับความ
ต้องการใช้ปรมิ าณลมอัด ความดนั ในการใช้งาน โดยมขี ้อพิจารณาในการติดตง้ั ดงั น้ี

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 1487 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองต้น

2.8.3.1 การเดินทอ่ ส่งหลักจ่ายลมอัด เดินท่อตามแนวนอน ควรวางให้มีมุมลาดเอียงลง
ประมาณ 1- 2 เปอรเ์ ซ็นต์ ตามแนวความยาวของแนวท่อส่งลมอัด และจุดปลายต่าสุดของท่อควรติด
วาล์วระบายน้าท้งิ

2.8.3.2 การติดตั้งท่อจ่ายลมอัดควรยึดท่อตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ ไม่ควรยึดกับ
ผนังอฐิ ในจดุ ท่ีคับแคบ เพราะจะทาใหย้ ุง่ ยากในการตรวจสอบ สามารถยดึ ไดห้ ลายแบบ

(ก) แบบแขวน (ข) แบบยึดข้างฝาผนัง (ค) แบบยดึ บนเพดาน

ภาพที่ 2.24 การยึดท่อส่งหลักแบบตา่ ง ๆ ภายในโรงงาน
ทีม่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.8.3.3 ท่อแยกท่ีต่อออกจากท่อส่งหลัก (Main Line) ควรต่อออกด้านบนของท่อหลัก
เพ่ือป้องกันน้าท่ีกลั่นตัวเป็นหยดน้า ไหลเข้าสู่อุปกรณ์นิวเมติกส์ ควรทามุมเอียงขึ้นด้านบนประมาณ
30 องศากับแนวระดับ แล้วงอท่อแยกโค้งลงด้วยรัศมีด้านในอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 5 เท่าของ
เสน้ ผา่ นศูนย์กลางท่อลมอัด

ภาพท่ี 2.25 ท่อแยกทีต่ อ่ ออกจากท่อส่งหลัก
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

2.8.4 ท่อลมอ่อน (Air Hose)
ท่อลมอ่อนหรือท่อยาง มีหน้าท่ีเชื่อมต่ออุปกรณ์กับชุดบริการลมอัด ท่อลมอ่อน

ประกอบด้วยชั้นยางเป็นช้ัน ๆ และเสริมเชือกหรือใยสังเคราะห์ เพ่ือเพิ่มความแข็งแรง บางชนิดผลิต
จากโพลียูรีเทน (Polyurethane, PU) ซึ่งมีคุณสมบัติ ยืดหยุ่น น้าหนักเบา ผสมสีหลากหลาย ทนต่อ
แรงจากการสั่นสะเทือน และการกัดกร่อนของสารเคมีได้ดี โดยท่ัวไปนิยมใช้ท่อลมอ่อนท่ีมีขนาด
เส้นผา่ นศูนย์กลาง 4 , 6 , 8 และ 10 มลิ ลิเมตร

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 1498 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองตน้

ภาพที่ 2.26 ท่อลมอ่อนหรือท่อยาง
ท่ีมา : http://www.directindustry.com/prod/tricoflex/product-8524-704963.html
วนั ที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.8.5 ขอ้ ต่อลม (Fitting)

ขอ้ ตอ่ ลมมหี นา้ ทใี่ นการยึดและประกอบท่อยางหรือท่อเหล็กกับระบบท่อลมหลัก ข้อต่อ
ลมท่ีใช้ในงานอุตสาหกรรม ในปัจจุบันน้ีมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปมากมาย เช่น Quick fitting,
Insert fitting, Standard fitting, Miniature fitting และ Multi connector ซึ่งที่ตัวข้อต่อลมอัด
บางตัว จะมีวาล์วกันกลับของลมติดต้ังอยู่ ดังน้ันในขณะท่ีไม่ได้เสียบหัวต่อลมกับท่อส่งลมน้ัน จึงไม่มี
ลมอัดไหลออกมาได้

จุดตอ่ ลมหมายเลขอดั กบั ท่อลมหลัก จดุ ตอ่ ลมอัดกับท่อลม (ขอ้ ตอ่ ลมอดั )

ภาพที่ 2.27 จุดตอ่ ลมอดั (ข้อตอ่ ลม)
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.9 อปุ กรณ์ทางานในระบบ (Pneumatic Actuators)

อุปกรณ์ทางานในระบบนิวเมติกส์ คืออุปกรณ์ท่ีใช้ลมอัดเป็นต้นกาลังในการทางาน ในการ
เคลื่อนท่ที ัง้ ในแนวเสน้ ตรง การหมุน การดดู จับชน้ิ งาน เป็นต้น ซงึ่ มอี ุปกรณ์นิวเมติกส์ทางานท่ีนิยมใช้
งานดังน้ี

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 2409 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนิวเมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอื้ งตน้

2.9.1 อุปกรณ์ทางานในแนวเสน้ ตรง
อุปกรณ์ทางานในแนวเส้นตรง คืออุปกรณ์ท่ีใช้ลมอัดเป็นต้นกาลังในการควบคุมการ

ทางานใหเ้ คล่อื นทใ่ี นแนวเสน้ ตรง มีอปุ กรณ์ทางานในแนวเส้นตรงดงั น้ี

2.9.1.1 กระบอกสูบทางเดยี ว (Single Acting Cylinder)
กระบอกสูบทางเดียวหรือกระบอกสูบทางานทางเดียว จะใช้ลมดันลูกสูบเพียง

ด้านเดยี ว จึงให้แรงขณะเคล่อื นทีเ่ พยี งทศิ ทางเดียว (เล่อื นออกและเลือ่ นเข้า) และเลื่อนกลับด้วยสปริง
ภายในกระบอก สปริงจะมีแรงพอที่จะดันลูกสูบกลับเท่านั้น จึงไม่ควรให้รับภาระใด ๆ ท้ังส้ินในขณะ
เล่อื นกลับ เมอ่ื ป้อนลมอัดดนั ลูกสูบให้เลอื่ นออก ขณะเดียวกันลูกสบู จะดันใหส้ ปรงิ ยุบตัวทาให้เกิดแรง
ต้านเน่ืองจากสปริง เกิดการสูญเสียแรงดันขึ้น แรงดันสูญเสียเน่ืองจากแรงสปริงมีค่าประมาณ 25%
ของแรงดนั ลกู สูบ

ถ้าเปรียบเทียบกระบอกสูบทางเดียวและสองทางท่ีมีขนาดความโต และช่วงชักเท่ากัน
กระบอกสูบทางเดียวจะยาวกวา่ กระบอกสูบสองทาง เพราะตอ้ งบวกความยาวของสปริงด้วย ด้วยเหตุ
น้ีความยาวช่วงชักของการะบอกสูบชนิดน้ี โดยทั่วไปยาวไม่เกิน 100 มิลลิเมตร (mm.) ภายใน
กระบอกสูบด้านสปริง จะมีรูระบายลม ใช้ระบายลมขณะเลื่อนเข้าและเล่ือนออก และเพ่ือป้องกัน
ไม่ให้ฝุ่นละอองเข้ากระบอกสูบจึงจาเป็นต้องติดต้ังตัวกรองลมไว้ท่ีรูระบายลม การบังคับกระบอกสูบ
ชนดิ น้ีใช้วาลว์ ควบคุมทิศทางลมแบบ 3/2

สญั ลักษณ์

ภาพท่ี 2.28 โครงสรา้ งกระบอกสูบทางานทางเดียว
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 2510 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนิวเมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบอื้ งตน้

กระบอกสบู แบบทางานทางเดยี วมีให้เลือก 2 ลักษณะ คือ แบบปกตเิ ขา้ และแบบปกติ
ออก ซึ่งการเขา้ หรอื ออกขน้ึ อยู่กับตาแหนง่ สปริงภายใน

แบบปกตอิ อก แบบปกตเิ ขา้

ภาพท่ี 2.29 แสดงสญั ลกั ษณ์ของกระบอกสูบทางเดยี วแบบปกติเขา้ และปกติออก
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วนั ท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.9.1.2 กระบอกสูบสองทาง (Double Acting Cylinder)
กระบอกสูบสองทางหรือกระบอกสูบทางานสองทาง ออกแบบให้ลมเข้าได้ทั้ง

ด้านหัวสูบ (A) และด้านก้านสูบ (B) จึงมีแรงขณะเคล่ือนที่ทั้งสองทิศทาง (เลื่อนออกและเลื่อนเข้า)
ใชก้ บั งานที่ต้องการใช้แรงหรือความเร็วท้ังจังหวะเลอ่ื นออกและเลื่อนเขา้ หรือชว่ งชักยาว

กระบอกสูบทางานสองทาง จะทางานเม่ือป้อนลมอัดเข้าทางด้านใดด้านหน่ึงของ
กระบอกสูบ อกี ดา้ นหนึ่งจะเป็นทางระบายลมออก การเปลี่ยนทางลมโดยทั่วไปใช้วาล์วควบคุทิศทาง
ลมแบบ 4/2 หรือ 5/2

สัญลักษณ์

ภาพที่ 2.30 สญั ลักษณแ์ ละโครงสร้างกระบอกสูบทางานสองทาง
ทีม่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 2521 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งตน้

2.9.1.3 กระบอกสูบสองทางมอี ปุ กรณก์ นั กระแทก
เป็นกระบอกสูบสองทางที่มีอุปกรณ์กันการกระแทก เพ่ือป้องกันความเสียหาย

จากการชนของก้านสูบกับกระบอกสูบ เม่ือก้านสูบเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงหรือเม่ือมีการใช้ลมอัด
ความดันสูงในการลดการกระแทกจะใช้วิธีการลดความเร็วของก้านสูบ คือ ปกติลมอัดภายใน
กระบอกสูบ จะระบายออกทางชอ่ ง B และ ช่อง A โดยสะดวก แต่เมื่อวาล์วเข็ม เคล่ือนท่ีมาดันซีลกัน
ลม จะปดิ ทางลมท่ชี อ่ ง B ทาให้ความเร็วของก้านสูบกอ่ นการกระแทกจะลดลง เน่ืองจากลมจะระบาย
ออกจากกระบอกสูบได้เฉพาะเส้นทางวาล์วเข็ม ซ่ึงสามารถปรับอัตราการไหลได้จากการปรับวาล์ว
เข็มท้ังสองด้าน ทาให้เกิดแรงต้านจากลมอัดที่ค้างอยู่ภายในกระบอกท่ีไม่สามารถระบายออกอย่าง
รวดเร็วได้

สญั ลักษณ์

ภาพที่ 2.31 โครงสรา้ งกระบอกสูบทางานสองทางท่ีมีอุปกรณ์กันการกระแทก
ทมี่ า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วนั ท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.9.1.4 กระบอกสูบสองกา้ นสูบ (Double rod end Cylinder)
กระบอกสูบสองก้านสูบ คือกระบอกสูบที่มีก้านสูบยาวทะลุท้ังสองด้าน โดย

กา้ นสบู จะเคล่อื นทเ่ี ข้าและออกสลับด้านกนั เสมอ
สญั ลักษณ์

ภาพท่ี 2.32 สัญลกั ษณ์และโครงสร้างกระบอกสูบแบบสองก้านสบู

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 2532 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้อื งตน้

2.9.2 อุปกรณ์ทางานในแนวหมุนรอบแกนเพลา

อุปกรณ์ทางานในแนวหมุนรอบแกนเพลาจะมีการทางานในลักษณะการหมุนไปมาใน
ทศิ ทางตามเข็มและทวนนาฬกิ า โดยทั่วไปท่ีนยิ มใชก้ นั คอื กระบอกสูบโรตารีแ่ ละมอเตอรล์ ม

2.9.2.1 กระบอกสูบโรตาร่ี (Rotary Actuator)
กระบอกสูบโรตาร่ีจะมีการทางานในลักษณะการหมุนไปมาในทิศทางตามเข็ม

และทวนเข็มนาฬิกา เม่ือจ่ายลดอัดเข้าภายใน ก้านสูบจะเกิดการหมุนไปมาได้แต่ไม่สามารถ
หมุนรอบตัว 360 องศาได้ สามารถควบคุมการหมุนได้ท้ังสองทิศทาง คือ ตามเข็มและทวนเข็ม
นาฬิกา ในการเลอื กใชง้ านสามารถกาหนดมมุ ในการกวาด ด้วยการปรบั ตัง้ สลกั ที่ฐานหมุน

สัญลักษณ์

ภาพที่ 2.33 สญั ลักษณ์และโครงสรา้ งกระบอกสบู โรตาร่ี

2.9.2.2 มอเตอรล์ ม (Air Motor)
มอเตอร์ลมเป็นอุปกรณ์ท่ีมีแกนกลางหมุนได้ด้วยลมอัด นิยมใช้ในงานท่ีมีการ

กระแทกสูง เช่น สว่านเจาะปูน ซีเมนต์ หรือในบริเวณท่ีไม่ต้องการให้เกิดประกายไฟจากมอเตอร์
ไฟฟ้า โดยข้อแตกต่าง ระหว่างมอเตอร์ลมและกระบอกสูบโรตารี่ คือ กระบอกสูบโรตาร่ีไม่สามารถ
หมนุ เกิน 360 องศาได้ แต่มอเตอรล์ มหมุนรอบไดเ้ หมือนมอเตอร์ไฟฟา้

สญั ลกั ษณ์

ภาพท่ี 2.34 สญั ลกั ษณ์และโครงสร้างมอเตอรล์ ม

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 2543 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบือ้ งตน้

2.9.3 อปุ กรณ์หยิบจบั (Grippers)
เป็นการอุปกรณใ์ นการจับยึดชิ้นงานโดยใช้กลไกและกระบอกสูบทางานร่วมกันสามารถ

หยิบจบั ชน้ิ งานรูปทรงตา่ ง ๆ นยิ มใช้งานรว่ มกับระบบอัตโนมัติในงานอตุ สาหกรรม

สญั ลกั ษณ์

ภาพท่ี 2.35 สัญลักษณ์และโครงสร้างอปุ กรณห์ ยบิ จบั

2.9.4 ชดุ อุปกรณ์ดดู จบั ด้วยระบบสุญญากาศ (Vacuum generator & suction cup)
อุปกรณ์ดูดจับช้ินงานท่ีมีผิวเรียบ โดยการใช้ถ้วยยางกดลงบนพ้ืนผิวแล้วสร้างสภาพ

สุญญากาศภายในถ้วยยางด้วย Vacuum generator ท่ีมีลักษณะคล้ายท่อสามทางท่ีปลายด้านล่าง
ยึดติดกับถ้วยยาง เมื่อมีลมอัดผ่านช่องทางลมด้านบน จะเกิดแรงดูดอากาศภายในถ้วยยางทาให้เกิด
สภาพสุญญากาศภายในถว้ ยยาง และยงั สามารถดดู จับวัตถหุ รือชิน้ งานทเี่ ปน็ ทรงกลมได้ โดยการเลือก
ลกั ษณะถ้วยยางที่เหมาะสม

ภาพท่ี 2.36 หวั ดดู จบั ดว้ ยระบบสุญญากาศ
ท่มี า : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วนั ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558

อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ ท่ีนามาใช้ในงานระบบควบคุมการทางานของเคร่ืองจักรกลที่ใช้ใน
งานอุตสาหกรรมโดยหลัก ๆ ประกอบด้วย อุปกรณ์นิวเมติกส์ทางาน และอุปกรณ์นิวเมติกส์ควบคุม
ซึง่ การใชง้ านขนึ้ อยู่กับความตอ้ งการของระบบควบคุม

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 2554 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบือ้ งต้น

2.10 การกาหนดรหสั ท่อทางต่อลม
ข้อกาหนดการบอกช่ือจุดต่อลมหมายเลข จะมีการกาหนดรหสั เพอ่ื ใหเ้ กิดความสะดวกในการ

ออกแบบวงจร การกาหนดรหัสจะกาหนดเปน็ ตวั อักษรหรือตัวเลข

2.11 การบอกช่ือวาล์วควบคมุ
ตามข้อกาหนดการบอกช่ือวาล์วควบคุมตามมาตรฐาน ISO 1219 และข้อกาหนดการ

บอกช่ือจุดต่อลมหมายเลข จะมีการกาหนดรหัสเพ่ือให้เกิดความสะดวกในการออกแบบวงจร การ
กาหนดรหสั จะกาหนดเปน็ ตัวอักษรหรือตัวเลขดงั แสดงในตารางท่ี 2.1

ตารางท่ี 2.1 การกาหนดรหสั ทอ่ ทางต่อลม (ปานเพชร, 2549)

ตวั เลข ตัวอักษร ความหมาย

1 P จดุ ต่อลมอดั เข้าวาลว์
2,4 A,B จดุ ต่อลมออกจากวาล์วไปใชง้ าน
3,5 R,S จดุ ต่อลมระบายทงิ้ สู่อากาศ
10, 12 , 14 X, Y , Z จดุ ตอ่ ลมอดั เขา้ เลื่อนวาล์ว

หลักการบอกชื่อวาล์วควบคุม จะบอกจานวนจุดต่อลมหมายเลขก่อนแล้วตามด้วย
ตาแหนง่ การทางานของวาลว์ ควบคุม ดงั แสดงในตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 แสดงจานวนตาแหน่งการทางานของวาลว์ (ปานเพชร, 2549)

ตาแหนง่ ทางาน การทางานของวาล์วควบคมุ

วาล์วควบคมุ 1 ตาแหน่ง ใช้สาหรับควบคมุ อตั ราการไหลหรือความดนั

10 วาลว์ ควบคุม 2 ตาแหนง่ ปกติ 1 ตาแหนง่ และทางาน 1 ตาแหนง่
ตาแหน่งทางาน 0 หมายถงึ ตาแหนง่ ปกติ วาล์วยงั ไม่ถูกเลื่อน
102 1 หมายถงึ ตาแหนง่ ทางาน วาลว์ ถูกเลือ่ น

การทางานของวาลว์ ควบคมุ

วาล์วควบคุม 3 ตาแหนง่ ปกติ 1 ตาแหนง่ และทางาน 2 ตาแหน่ง
0 หมายถึง ตาแหนง่ ปกติ วาลว์ ยงั ไม่ถูกเล่ือน
1 หมายถึง ตาแหนง่ การทางานที่ 1 วาล์วถูกเลือ่ นไปทางซ้าย
2 หมายถึง ตาแหน่งการทางานท่ี 2 วาล์วถกู เล่ือนไปทางขวา

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 2565 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนที่ 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองตน้

โดยความหมายของจานวนช่องสี่เหล่ียม (Position) หมายถึง จานวนตาแหน่งทางานท่ี
ลิน้ วาลว์ เปลีย่ นตาแหน่งการทางานได้

2.12 การบังคบั การเลื่อนวาลว์ ควบคุม

ในการบังคับการเล่ือนวาล์วควบคุม เพ่ือให้เปลี่ยนตาแหน่งการทางาน สามารถแยก
ตามลกั ษณะการบังคบั การเลือ่ นวาล์วได้ 5 ดังนี้

2.12.1. การควบคมุ โดยใช้กล้ามเน้อื (Manual Actuation)
2.12.2 การเลอื่ นวาลว์ ควบคุมโดยใช้กลไก (Mechanical)
2.12.3 การเลอื่ นวาล์วควบคุมโดยใชล้ มควบคมุ (Pneumatic)
2.12.4 การเลื่อนวาล์วควบคุมโดยใชไ้ ฟฟา้ (Electrical Actuation)
2.12.5 การเล่อื นวาล์วควบคุมแบบผสม

การบังคับการเล่ือนวาล์วควบคุมสามารถอธิบายได้ดังแสดงในตารางการควบคุมการ
เล่ือนวาล์วทัง้ 5 แบบ ในตารางท่ี 2.3 ถงึ ตารางที่ 2.7

ตารางท่ี 2.3 การควบคมุ โดยใชก้ ลา้ มเน้อื (Manual Actuation) (ปานเพชร, 2549)

สัญลกั ษณ์ ความหมาย

ใชก้ ล้ามเนอ้ื (สญั ลักษณ์ทว่ั ไป) (General)

ใช้มือกด (Pushbutton)

ใช้มอื จบั โยก (Lever Operated)

ใช้เทา้ เหยียบ (Foot Pedal)

ใช้มอื จบั โยก มีตวั ร็อกตาแหน่ง (Detent Lever)

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 2576 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบอ้ื งตน้

ตารางท่ี 2.4 การเลอื่ นวาล์วควบคุมโดยใช้กลไก (Mechanical) (ปานเพชร, 2549)

สัญลกั ษณ์ ความหมาย

ใช้สปริงดนั กลบั (Spring Return)

ใชก้ ลไกภายนอกกด (Plunger)

ใชก้ ลไกภายนอก กดทางานสองทิศทาง
เชน่ ใชก้ า้ นสบู กด (Roller Operated)

วาล์วไมท่ างาน ใชก้ ดไกภายนอกกดแต่ทางานในทิศทาง
เดยี ว ส่วนอีกทศิ ทางไมท่ างาน (Idle Return ,
วาล์วทางาน Roller Trip)

ตารางท่ี 2.5 การเลือ่ นวาลว์ ควบคุมโดยใชล้ มควบคุม (Pneumatic) (ปานเพชร, 2549)

สัญลกั ษณ์ ความหมาย

ใช้สัญญาณลมเลื่อนวาลว์ (Direct Pneumatic Actuation)

ใชล้ มไปดันวาลว์ ให้ผา่ นลิ้นช่วย (Pilot valve) เพ่ือให้ลมไปดนั
เมนวาล์วเคล่ือนที่ (Indirect Pneumatic Actuation)

ลมอดั ท้ังสองด้านมีความแตกตา่ งกัน

ลมอดั ควบคุมโดยทางอ้อม

ปลอ่ ยลมอัดออกโดยทางอ้อม

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 2587 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้อื งตน้

ตารางท่ี 2.6 การเลื่อนวาลว์ ควบคุมโดยใช้ไฟฟา้ (Electrical Actuation) (ปานเพชร, 2549)

สัญลกั ษณ์ ความหมาย

ใชโ้ ซลินอยดค์ วบคุมการเล่อื นวาล์ว
(Single Solenoid Actuation)

ใชโ้ ซลนิ อยดค์ วบคุมการเล่ือนวาลว์ ท้งั ไปและกลับ
(Double Solenoid Actuation)

ตารางท่ี 2.7 การเลื่อนวาลว์ ควบคุมแบบผสม (ปานเพชร, 2549)

สัญลักษณ์ ความหมาย

ใช้โซลนิ อยดเ์ ปิดทางลมเพื่อใหล้ มไปเล่อื นวาลว์

ใชล้ ูกกลงิ้ เปดิ ทางลมเพื่อให้ลมไปเล่อื นวาลว์

ใชโ้ ซลนิ อยด์ หรือมือกดในการเลือ่ นวาลว์

ใช้โซลนิ อยดเ์ ปดิ ทางลมเพ่ือให้ลมไปเลือ่ นวาลว์
หรอื ใชม้ ือกด

ใช้โซลนิ อยด์หรือมือกดเปิดทางลมเพ่ือให้ลมไปเล่อื นวาลว์

2.13 วาล์วควบคุมนิวเมติกส์ (Pneumatics Control Valves)

ในการออกแบบวงจรนิวเมตกิ ส์เบ้อื งตน้ น้ัน จาเป็นจะต้องมีความรู้พื้นฐานเก่ียวกับวาล์ว
ควบคุมนิวเมติกส์ โดยวาล์วควบคุมแต่ละประเภทจะแตกต่างกัน ตามลักษณะการใช้งาน ซึ่งสามารถ
แบง่ ได้ 6 ประเภทคอื

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 2598 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องตน้

2.13.1 วาลว์ เปิด-ปิด (Shut-off valves)
2.13.2 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง (Directional control valves)
2.13.3 วาลว์ ควบคมุ การไหลทางเดยี ว (Non-return valves)
2.13.4 วาล์วควบคมุ อัตราการไหล (Flow control valve)
2.13.5 วาลว์ ควบคมุ ความดนั (Pressure control valves)
2.13.6 วาล์วผสม (Valve combination)

การใช้งานของวาล์วควบคุม โครงสร้าง การทางานและสัญลักษณ์ สามารถอธิบาย
ได้ดงั น้ี

2.13.1 วาลว์ เปิด - ปดิ (Shut–off valves)

วาล์วเปิด – ปิด มีโครงสร้างและการทางานที่ไม่ซับซ้อน ดังนั้นเราจะกล่าวถึง
เฉพาะการใช้งานเท่าน้ัน การใช้งานมีหน้าที่ในการควบคุมการเปิดและปิดลมอัดให้กับระบบวงจร
นิวเมตกิ สท์ ่ตี ดิ ตั้งอย่หู ลังวาลว์ เปิดปดิ

สญั ลักษณแ์ บบทวั่ ไป

ภาพที่ 2.37 วาล์วเปดิ -ปิด และสัญลกั ษณ์

2.13.2 วาล์วควบคุมทิศทาง (Directional control valves, D.C.V)

2.13.2.1 โครงสร้างของวาลว์ ควบคุมทิศทาง

มีหน้าที่ในการควบคุมทิศทาง ของลมอัดท่ีจ่ายให้กับอุปกรณ์นิวเมติกส์ โดย
ภายในประกอบด้วยลิ้นวาล์วที่เคล่ือนที่ได้ ตาแหน่งของลิ้นวาล์วที่เคลื่อนท่ีได้จะเรียกว่า ตาแหน่ง
ทางาน (Position) ใช้สัญลักษณ์รูปส่ีเหล่ียมแทนจานวนตาแหน่งท่ีล้ินวาล์วเปล่ียนได้ ตามข้อกาหนด
การเรียกชอ่ื วาล์วควบคมุ วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง สามารถแบ่งตามโครงสรา้ งการทางานของวาล์วได้ 2 แบบ

แบบท่ี 1. วาลว์ แบบนัง่ บ่า (Poppet Valve) ประกอบดว้ ย
- แบบลูกบอล
- แบบแผ่นกลม

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 3509 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้อื งตน้

2

13

สญั ลักษณ์

(ก) สถานะปกติ (ข) สถานะทางาน

ภาพท่ี 2.38 วาล์ว 3/2 ชนดิ วาลว์ แบบนัง่ บา่ (Poppet Valve) แบบลูกบอล
ท่ีมา : http://xn-12ca0dct2crocn6ejz4cdi6qwa3d.blogspot.com วนั ท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

หลักการทางาน สถานะปกติ ลมอัดไหลเข้าวาล์วที่จุดต่อลมหมายเลข 1 และจุด
ต่อลมหมายเลข 1 จะถูกปิด จุดต่อลมหมายเลข 2 และจุดต่อลมหมายเลข 3 ต่อถึงกัน ในสถานะ
ทางาน (เม่ือมีการกดวาล์ว) จะทาใหว้ าล์วเปล่ียนตาแหนง่ ทาให้จุดต่อลมหมายเลข 1 เปิด และต่อกับ
จดุ ต่อลมหมายเลข 2 ลมอดั ไหล ส่วนจดุ ต่อลมหมายเลข 3 จะถกู ปดิ

แบบที่ 2. วาล์วแบบเลือ่ น (Slide Valve) ประกอบดว้ ย
- แบบสูบเลอ่ื น
- แบบแผ่นเลื่อน

2
12

13

สญั ลกั ษณ์

(ก) สถานะปกติ (ข) สถานะทางาน

ภาพท่ี 2.39 วาลว์ 3/2 ชนดิ วาล์วแบบเล่อื น (Slide Valve)

หลักการทางาน สถานะปกติ ลมอัดจะไหลจากจุดต่อลมหมายเลข 1 และจุดต่อ
ลมหมายเลข 1 จะถูกปิด ส่วนจุดต่อลมหมายเลข 2 และจุดต่อลมหมายเลข 3 จะต่อถึงกัน และใน
สถานะทางาน เมอื่ มีสัญญาณลมเข้าทางจุดต่อลมหมายเลข 12 ลิ้นวาล์วจะเล่ือนลงด้านล่าง จะทาให้
ลมอัดที่ไหลจากจุดต่อลมหมายเลข 1 ต่อถึงจุดต่อลมหมายเลข 2 และส่วนจุดต่อลมหมายเลข 3
จะถูกปดิ และถา้ ไม่มลี มเข้าทจ่ี ุดต่อลมหมายเลข 12 วาล์วจะเล่อื นกลบั สถานะปกตดิ ้วยสปรงิ

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 3610 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งตน้

2.13.2.2 สญั ลักษณ์ของวาล์วควบคมุ ทิศทาง

สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทาง ท่ีนิยมใช้กันในงานอุตสาหกรรม จะใช้ตาม
มาตรฐาน ISO 1219 และมาตรฐาน DIN โดยมีสัญลักษณ์ ชื่อวาล์ว และภาพถ่ายของวาล์วควบคุม
ทิศทางท่ใี ช้ในงานอุตสาหกรรม และใช้ในห้องปฏบิ ัตกิ ารนวิ เมตกิ ส์

ตารางที่ 2.8 ภาพถา่ ย สญั ลักษณ์ และช่ือของวาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

ภาพถ่าย สญั ลกั ษณ์ ชอ่ื

2 วาลว์ 2/2 แบบป่มุ กด ปกตปิ ิด
(2/2-way valve with push button
1 spring return, normally closed)
2
วาลว์ 3/2 ปกตปิ ิด แบบปมุ่ กด กลับ
13 ดว้ ยสปริง (3/2 way valve with
2 push button actuation and spring
return, Normally open)
13 วาล์ว 3/2 ปกตเิ ปิด แบบปุ่มกด กลับ
2 ดว้ ยสปริง (3/2 way valve with push
button actuation and spring
13 return, Normally closed)
2 วาลว์ 3/2 แบบลูกกลงิ้ กดทางาน
สองทศิ ทาง ปกติปดิ
13 (3/2 way roller lever valve and
spring return, Normally closed)
วาลว์ 3/2 แบบลูกกลง้ิ กดทางานทศิ ทาง
เดียว ปกติปิด
(3/2 way roller lever valve with
idle return, Normally closed)

2 วาลว์ 3/2 ปกตปิ ิด แบบคา้ งตาแหนง่
(3/2-way valve with selector
switch, Normally closed)

13

ทม่ี า : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วันที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 3621 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้

ตารางที่ 2.8 ภาพถา่ ย สญั ลักษณ์ และชื่อของวาลว์ ควบคมุ ทิศทาง (ตอ่ )

ภาพถ่าย สญั ลักษณ์ ชอื่

2 วาลว์ 3/2 ปกติปิด แบบเล่ือนดว้ ยลม

ดา้ นเดียว กลับดว้ ยสปรงิ

1 3 (3/2-way pneumatic switch and
spring return, normally closed)

2 วาล์ว 3/2 ปกติเปิด แบบเลอื่ นดว้ ยลม
ดา้ นเดียว กลบั ด้วยสปรงิ

1 3 (3/2-way pneumatic switch and
spring return, normally open)

42 วาล์ว 5/2 แบบเลอ่ื นดว้ ยไฟฟ้าทง้ั สอง
ดา้ น
53 (5/2-way double solenoid valve)
1
วาลว์ 5/2 แบบคา้ งตาแหน่ง
42 (5/2-way valve with selector
switch)
53
1

4 2 วาลว์ 5/2 แบบเลื่อนด้วยลมทง้ั สองดา้ น
(5/2-way double pneumatic
switch)

53

ท่ีมา : http://www.festo-didactic.com/int-en/co1nnected-learning วนั ท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.13.3 วาลว์ ควบคุมการไหลทางเดียว (Non-return valves)

วาล์วควบคุมการไหลทางเดียว หรือวาล์วกันกลับ มีหลักการทางานคือลมอัด
จะไหลผ่านได้เพียงทิศทางเดียว จะนามาใช้ในการควบคุมการทางานของวงจรนิวเมติกส์ ที่ต้องการ

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 3632 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้

ส่งสัญญาณในการควบคุมเพียงทิศทางเดียว หรือรับสัญญาณเพื่อไปควบคุมวงจรโดยมีเง่ือนไขการ
สง่ สัญญาณผ่านไดท้ ศิ ทางเดยี ว ประกอบดว้ ยวาลว์ ทมี่ ีทิศทางการไหลทางเดียวดังต่อไปน้ี

2.13.3.1 วาลว์ กันกลับ (Check valve)
2.13.3.2 วาลว์ กนั กลับสองทาง (Shuttle valve, OR)
2.13.3.3 วาล์วความดันสองทาง (Two Pressure valve, AND)

สัญลกั ษณ์ของวาล์วควบคมุ การไหลทางเดยี ว ที่นิยมใช้กนั ในงานอุตสาหกรรม จะใช้ตาม
มาตรฐาน ISO 1219 และมาตรฐาน DIN ดงั ตอ่ ไปน้ี

ตารางท่ี 2.9 ภาพถา่ ย สัญลักษณ์ และชื่อของวาลว์ ควบคุมการไหลทางเดียว

ภาพถ่าย สัญลักษณ์ ชื่อ

วาล์วกนั กลบั
(Check valve)

วาลว์ กันกลบั สองทาง
(Shuttle valve, OR)

วาล์วความดนั สองทาง
(Two Pressure valve, AND)

ทม่ี า : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2558

2.13.3.1 การทางานของวาล์วกันกลับ วาล์วชนิดนี้จะยอมให้ลมอัดไหลผ่านได้ใน
ทศิ ทางเดยี วเท่าน้นั โดยลมจะไหลยอ้ นกลับทางเดิมไม่ได้ โดยวาลว์ กันกลบั จะยอมให้ลมอัดไหลผ่านได้
ในทิศทางจากซ้ายมือไปขวามือเท่าน้ัน ซ่ึงจะมีทิศทางตรงข้ามกับเครื่องหมาย “<” โดยมีทั้งแบบมี
สปรงิ ภายใน และแบบไมม่ สี ปริงดันภายใน

2.13.3.2 การทางานของวาล์วกันกลับสองทาง วาล์วกันกลับสองทาง (Shuttle
Valve, OR) เป็นวาล์วทีมีลักษณะการทางานโดยมีจุดต่อลมสามท่อ คือ จุดต่อท่อลมหมายเลข 1, จุด
ตอ่ ทอ่ ลมหมายเลข 1(1/3) และจุดต่อท่อลมหมายเลข 2 จุดต่อลมอัดจะยอมให้ลมไหลผ่านได้ทิศทาง
ดังนี้ กรณีที่ 1 ลมอัดไหลจากจุดต่อท่อลมหมายเลข 1 ผ่านออกจุดต่อท่อลมหมายเลข 2 และ กรณีท่ี
2 ลมอัดไหลผา่ นจดุ ต่อทอ่ ลมหมายเลข 1(1/3) ผา่ นออกจดุ ต่อท่อลมหมายเลข 2 โดยจะยอมให้ลมอัด
ไหลผา่ นได้ในทิศทางเดยี วเทา่ นัน้ ทง้ั 2 กรณี ซึง้ ลมอดั จะไหลย้อนกลับทางเดมิ ไมไ่ ด้

2.13.3.3 การทางานของวาล์วความดันสองทาง วาล์วความดันสองทาง (Two
Pressure Valve, AND) เป็นวาล์วทีมีลักษณะการทางาน โดยมีจุดต่อลมสามท่อ คือ จุดต่อท่อลม

เอสารประกอบการสอน หน้าท่ี 3643 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้อื งตน้

หมายเลข 1, จุดต่อท่อลมหมายเลข 1(1/3) และ จุดต่อท่อลมหมายเลข 2 จุดต่อลมอัดจะยอมให้ลม
ไหลผ่านได้ทิศทางเดียวในกรณีที่มีลมอัดไหลจากจุดต่อท่อลมหมายเลข 1 และจุดต่อท่อลมหมายเลข
1(1/3) จึงจะสามารถไหลผ่านออกไปยังจุดต่อท่อลมหมายเลข 2 ได้ แต่จะต้องมีลมอัดไหลเข้าจุดต่อ
ท่อลมหมายเลข 1 กับจุดต่อท่อลมหมายเลข 1(1/3) ท้ังสองจุดต่อลมเท่าน้ันจึงจะมีลมอัดไหลออก
ทจ่ี ดุ ตอ่ ท่อลมหมายเลข 2 แตถ่ า้ มีลมอดั ไหลเขา้ จดุ ต่อลมหมายเลขเพียงดา้ นใดด้านหนึ่ง จะไม่มีลมอัด
ไหลออกท่ีจุดต่อทอ่ ลมหมายเลข 2 ซง้ึ ลมอัดจะไหลยอ้ นกลับทางเดิมไม่ได้

2.13.4 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหล (Flow control valve)

วาล์วชนิดนี้จะมีหน้าที่ควบคุมปริมาณการไหลของลมอัด ท่ีผ่านมาจากวาล์ว
ควบคุมทิศทางไปยังอุปกรณ์ทางาน การควบคุมปริมาณการไหลของลมอัดจะทาให้สามารถควบคุม
ความเรว็ ของกา้ นสบู ซงึ่ ในการทางานประกอบด้วยวาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหลดงั ตอ่ ไปน้ี

2.13.4.1 วาล์วระบายลมเรว็ (Quick Exhaust valve)
2.13.4.2 วาลว์ หรป่ี รับค่าได้ (Throttle valve adjustable)
2.13.4.4 วาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหลทางเดียว (One way flow control valve)

ตารางท่ี 2.10 ภาพถา่ ย สญั ลักษณ์ และชือ่ ของวาลว์ ควบคุมอัตราการไหล

ภาพถ่าย สัญลักษณ์ ช่อื

2 วาลว์ ระบายลมเรว็
1 (Quick Exhaust valve)

3

100% วาล์วหรี่ปรบั คา่ ได้
(Throttle valve adjustable)

วาล์วควบคุมอัตราการไหลทางเดียว
(One Way Flow Control valve)

ที่มา : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วนั ที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 3654 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วิชางานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองตน้

2.13.4.1 การทางานของวาล์วระบายลมเร็ว วาล์วชนิดนี้จะมีหน้าท่ีควบคุม
ปริมาณการไหลของลมอดั ที่ผา่ นมาจากวาล์วควบคมุ ทศิ ทางไปยังอุปกรณ์ทางาน การควบคุมปริมาณ
การไหลของลมอัดจะทาให้สามารถควบคุมความเรว็ ของก้านสูบหรืออุปกรณ์นิวเมติกส์ทางานได้ วาล์ว
ระบายลมเร็ว เป็นวาล์วควบคุมอัตราการไหลของลมอัดออกจากกระบอกสูบเพ่ือระบายสู่บรรยากาศ
ไดเ้ ร็วขึน้ และลดเสยี งทีเ่ กดิ จากการระบายลม ซึ่งส่งผลให้ความเรว็ ของก้านสูบเร็วกวา่ ปกติ

2.13.4.2 การทางานของวาล์วหร่ีปรับค่าได้ วาล์วชนิดน้ีใช้ในการควบคุมปริมาณ
การไหลของลมอดั ไดท้ ้งั สองด้าน เมื่อมีลมอัดเข้ามาไม่ว่าจะเป็นทางด้านซ้ายหรือขวา ปริมาณลมจะ
ไหลผา่ นไปอีกด้านหนึ่ง ซึ่งจะมีปริมาณมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับการปรับสกรูของวาล์ว ให้ล้ินเปิดทาง
ลมกวา้ งหรือแคบ ประโยชน์ของวาล์วหรี่ปรับค่าได้ คือ จะใช้ควบคุมความเร็วของก้านสูบท้ังสภาวะ
เคล่ือนที่ออกและเข้า มีข้อเสียคือไม่สามารถแยกควบคุมความเร็วโดยอิสระได้ ดังน้ันเราจึงใช้วาล์ว
ควบคมุ อตั ราการไหลทางเดยี วมาใชใ้ นการควบคุม

2.13.4.3 การทางานของวาล์วควบคุมอัตราการไหลทางเดียว วาล์วชนิดน้ีใช้
ควบคุมอัตราการไหลของลมอัดได้เพียงทิศทางเดียว คือจากด้านซ้ายมือไหลไปด้านขวามือ ส่วนการ
ไหลจากทศิ ทางดา้ นขวามอื ไหลไปด้านซ้ายมือจะไหลผ่านไดป้ กติ ดงั นนั้ จงึ เป็นวาล์วท่ีควบคุมความเร็ว
ของก้านสูบขณะเคลื่อนท่ีเข้า หรือเคลื่อนที่ออก ให้ช้าลงกว่าปกติ ซึ่งในการควบคุมความเร็วในการ
เคลื่อนท่ีของก้านสูบจะมีการใช้งานอยู่ด้วยกันสองแบบคือ การควบคุมอัตราการไหลของลมอัดเข้า
กระบอกสูบ (Inlet Control) และการควบคุมอัตราการไหลของลมท่ีระบายออกจากกระบอกสูบ
(Outlet Control)

2.13.5 วาลว์ ควบคุมความดัน (Pressure control valves)

ว า ล์ ว ค ว บ คุ ม ค ว า ม ดั น ล ม มี ห น้ า ที่ ค ว บ คุ ม แ ล ะ ล ด ค ว า ม ดั น ล ม อั ด ข อ ง ว ง จ ร
นิวเมติกส์ให้คงที่ แต่จะไม่สามารถปรับความดันให้สูงขึ้นจากความดันของแหล่งจ่ายลมอัดได้ วาล์ว
ควบคมุ ความดันนส้ี ามารถแบง่ ตามลักษณะการใช้งานได้ 2 แบบดังนี้

2.13.5.1 วาล์วควบคุมความดัน (Pressure regulator) ควบคุมความดันลม
อัดดา้ นใชง้ านในระบบนวิ เมตกิ ส์ใหม้ ีคา่ คงท่โี ดยความดันลมอดั ดา้ นเขา้ จะมคี ่าสูงกว่าหรือเท่ากับความ
ดันลมอดั ทางดา้ นใช้งานเสมอ โดยมีการทางานเมื่อความดันและปริมาณแรงดันลมอัดที่ผ่านไปด้านใช้
งาน(ค่าเฉลี่ยของความดันลมอัดที่ใช้งานทั่วไปมีค่าประมาณ 6 - 8 บาร์) โดยมีการทางาน คือ ถ้า
ความดันของลมอัดสูงกว่าค่าของสปริงตัวบน จะทาให้แผ่นไดอะแฟรมยกขึ้น เป็นผลให้ก้านของ
พอพเพตยกข้ึนตามไปด้วย ทาให้บ่าวาล์วปิดทางลมท่ีเข้าวาล์ว ซึ่งค่าของแรงดันสปริงจะเป็นตัว
กาหนดค่าความดันของลมอัด เราสามารถปรับแรงดันสปริงได้ตามที่ต้องการ วาล์วควบคุมความดัน
ไมส่ ามารถปรบั ความดันให้สูงกว่าความดันที่ส่งเข้ามาในชุดควบคุมความดันได้ จะควบคุมความดันได้
ทีร่ ะดบั ตา่ กว่าหรือเทา่ กับความดันท่ีสง่ เขา้ มาเทา่ น้ัน

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 3665 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งต้น

สปรงิ
ไดอะแฟรม

ภาพท่ี 2.40 โครงสรา้ งและสญั ลักษณ์วาลว์ ควบคุมความดัน
ท่มี า : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วนั ท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ 2558

2.13.5.2 วาล์วจากัดความดัน (Pressure limiting valve หรือ Safety valve) ใช้
ความคมุ ความดนั ลมอัดใหไ้ ดค้ า่ ตามท่ีกาหนด และวาลว์ ระบายลมอดั ส่วนที่ความดันลมอัดเกินกว่าค่า
ทกี่ าหนดออกจากระบบ การกาหนดค่าความดันดว้ ยการปรับสปรงิ

สภาวะปกติ เมือ่ ความดันของลมอัดมีค่าน้อยกว่าแรงของสปริงท่ีตั้งไว้ ความดัน
ลมอดั จากจดุ ต่อลม P จึงไมส่ ามารถเอาชนะแรงสปริงได้

สภาวะการทางาน เมื่อความดันลมอัดของระบบมีค่าสูงกว่าแรงสปริงท่ีต้ังไว้
ความดันลมอัดจากจุดต่อลม P จะเอาชนะแรงสปริงแล้วไปเล่ือนล้ินของวาล์วให้เปิดออก เป็นผลให้
ความดนั ลมอดั ของระบบทเ่ี กินคา่ ท่ีกาหนดถูกระบายทงิ้ ท่ีจดุ ต่อลม R

ภาพที่ 2.41 โครงสร้างและสญั ลกั ษณ์วาลว์ จากดั ความดัน
ท่ีมา : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วันที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 3676 ของจานวน 39 หน้า
ชุดการสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนิวเมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งตน้

2.13.6 วาลว์ ผสม (Combination Valves)

วาล์วผสมเป็นการนาวาล์วควบคุมแบบต่าง ๆ มาผสมกันต้ังแต่ 2 แบบขึ้นไป
แลว้ นามาใชใ้ นวงจรควบคุมนิวเมติกส์ โดยมีลักษณะการใช้งานท่ีนาคุณสมบัติของวาล์วควบคุมแต่ละ
แบบมาใช้ในงานควบคุมตามความตอ้ งการของวงจร วาลว์ ผสมทน่ี ิยมใชก้ ันโดยทวั่ ไปมี 4 แบบดังนี้

2.13.6.1 วาลว์ ปรบั ลาดับ (Adjustable pressure sequence valve)
2.13.6.2 วาล์วหนว่ งเวลา (Time delay valve)
2.13.6.3 วาล์วนบั จานวน (Pneumatic counter valve)
2.13.6.4 ชุดวาลว์ ควบคมุ ระบบสุญญากาศ (Adjustable Vacuum Control System)

สัญลักษณ์ของวาล์วผสม ที่นิยมใช้กันในงานอุตสาหกรรม จะใช้ตามมาตรฐาน ISO
1219 และมาตรฐาน DIN โดยมีสัญลักษณ์ และภาพถ่ายของวาล์วควบคุมแบบผสม ที่ใช้ในงาน
ควบคมุ วงจรนิวเมตกิ สร์ ่วมกบั วาล์วแบบอนื่ ๆ

ตารางท่ี 2.11 ภาพถา่ ย สญั ลกั ษณ์ และชื่อของวาลว์ ควบคุมแบบผสม

ภาพถา่ ย สญั ลักษณ์ ชอ่ื

วาล์วปรับลาดบั
(Adjustable pressure
sequence valve)

วาล์วหน่วงเวลา ปกตปิ ิด
(Time delay valve,
normally closed)

วาล์วนบั จานวน
(Pneumatic counter valve)

เอสารประกอบการสอน หนา้ ที่ 3687 ของจานวน 39 หน้า
ชดุ การสอนที่ 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมติกส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วิชางานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบื้องตน้

ภาพถ่าย สัญลักษณ์ ชอ่ื

วาล์วควบคมุ สญุ ญากาศ
(Adjustable vacuum
actuator)

ชดุ ดดู จับช้นิ งานสุญญากาศ
(Vacuum generator/
Suction cup)

ที่มา : http://www.festo-didactic.com/int-en/connected-learning วนั ที่ 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

2.13.6.1 การทางานของวาล์วปรับลาดับ วาล์วชนิดน้ีเป็นการนาวาล์วควบคุม
ความดัน มาผสมกับวาล์ว 3/2 แบบบังคับการทางานด้วยลม กลับตาแหน่งด้วยสปริง แล้วนามาใช้
เป็นวาล์วควบคมุ ในวงจรนิวเมติกส์ โดยมีลักษณะการใช้งานที่นาคุณสมบัติของวาล์วควบคุมความดัน
มาใช้ คือเม่ือมีความดันของลมอัดมีค่าตามที่ปรับตั้งไว้ จะส่งสัญญาณลมไปเลื่อนวาล์ว 3/2 ที่อยู่
ภายในวาล์วปรับลาดับ วาล์วปรับลาดับ จะใช้ในการปรับระยะชักของก้านสูบได้ โดยอัตโนมัติ ทั้งน้ี
ขึ้นอยู่กับภาระโหลดและแรงสปริงท่ีปรับค่าไว้ นอกจากนี้ยังสามารถนาเอาสัญญาณไปสั่งให้
กระบอกสูบตัวถดั ไปทางานตอ่ เนอื่ งได้อกี ด้วย

2.13.6.2 การทางานของวาล์วหน่วงเวลา วาล์วชนิดน้ีเป็นการนาวาล์วควบคุม
อัตราการไหลทางเดยี ว และมถี งั เก็บสะสมความดันลมอดั มาผสมกับวาล์ว 3/2 แบบบังคับการทางาน
ด้วยลม กลบั ตาแหน่งด้วยสปริง วาล์วชนิดนี้จะทาหน้าท่ีหน่วงเวลาในการสั่งจ่ายแรงดันลมอัด หรือ
หน่วงเวลาในการสั่งหยุดจ่ายแรงดันลมอัดแล้วแต่ละชนิดของวาล์ว ช่วงเวลาในการหน่วงเวลาตั้งได้
ตั้งแต่ 1 วินาที เป็นต้นไป ซ่ึงข้ึนอยู่กับขนาดของถังเก็บสะสมความดันหรือห้องหน่วงเวลา วาล์ว
หน่วงเวลามี 2 แบบคือ วาล์วหน่วงเวลา ปกติปิด (Time Delay Valve, Normally Closed) และ
วาลว์ หนว่ งเวลา ปกตเิ ปิด (Time Delay Valve, Normally Open)

2.13.6.3 การทางานของวาล์วนับจานวน วาล์วชนิดน้ีเป็นการนาวาล์วควบคุม มา
ผสมกับระบบกลไกในการทางานเพ่ือนับจานวนสัญญาณลมอัดที่ไหลเข้าวาล์วนับจานวน แล้วส่ง
สัญญาณไปบังคับการทางานต่อไป ในวงจรนิวเมติกส์ที่ต้องการให้มีการนับรอบการทางานของ
อปุ กรณ์ตัวใดตัวหน่ึง หรอื นับจานวนของช้ินงานในระบบ ซ่ึงวาล์วนับจานวน จะเป็นอุปกรณ์ที่จะใช้

เอสารประกอบการสอน หน้าที่ 3698 ของจานวน 39 หนา้
ชดุ การสอนท่ี 2 อุปกรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วิชา 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์เบอ้ื งตน้

ในการตอบสนองเงื่อนไขการทางาน มีหลักการทางานคือสัญญาณลมที่ป้อนเข้าท่ีจุดต่อลมหมายเลข
12 จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงแบบปิด-เปิด กล่าวคือเมื่อป้อนสัญญาณลมเข้าที่จุดต่อลมหมายเลข 12
หนึ่งคร้ังตัวนับจะนับหนึ่ง เม่ือป้อนสัญญาณลมคร้ังที่สองตัวนับจะนับสองเช่นนี้ไปเร่ือย ๆ จนกว่า
จะถึงค่าสูงสุดท่ีปรับตั้งไว้ และในกรณีที่นับยังไม่ถึงค่าสูงสุดแต่ต้องการกลับมาเริ่มต้นนับใหม่ ให้ทา
การรเี ซ็ต ซง่ึ อาจจะใช้การกดหรอื ใช้สัญญาณลมก็ได้

2.13.6.4 การทางานของวาล์วควบคุมสุญญากาศ วาล์วชนิดน้ี เป็นการนาวาล์ว
ควบคุมวาล์ว 3/2 แบบบังคับการทางานด้วยลม กลับตาแหน่งด้วยสปริง มาผสมกับ วาล์วสร้าง
สุญญากาศ และนามาทางานร่วมกับอุปกรณ์สุญญากาศ (Vacuum nozzle) ใช้ในการเคลื่อนย้าย
ชิ้นงานในอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดเล็ก โดยวาล์วควบคุมสุญญากาศ จะสร้างสุญญากาศ
ให้มีความดันต่ากว่าความดันบรรยากาศ (1 atm) เมื่อดูดจับชิ้นงานแล้วจะส่งสัญญาณให้กับชุด
ควบคุมสุญญากาศ เพ่ือทาหน้าท่ีเปล่ียนเป็นสัญญาณลมอัดเพื่อควบคุมอุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์
ใหท้ างานต่อไป

2.13.6.5 การทางานของชุดดูดจับช้ินงานสุญญากาศ อุปกรณ์จับยึดด้วยระบบ
สุญญากาศ มีหน้าที่ดูดจับช้ินงานท่ีมีผิวเรียบ โดยการใช้ถ้วยยางกดลงบนพื้นผิวแล้วสร้างสภาพ
สญุ ญากาศภายในถว้ ยยางด้วย Vacuum generator ท่ีมีลกั ษณะคล้ายทอ่ สามทางท่ีปลายด้านล่างยึด
ติดกับถ้วยยาง เมื่อมีลมอัดผ่านช่องทางลมด้านบน จะเกิดแรงดูดอากาศภายในถ้วยยาง ทาให้เกิด
สภาพสญุ ญากาศภายในถว้ ยยาง

2.14 บทสรปุ

อุปกรณ์ในระบบนิวเมติกส์ ที่นามาใช้ในงานระบบควบคุมการทางานของเคร่ืองจักรกลท่ีใช้
ในงานอุตสาหกรรมโดยหลกั ๆ ประกอบดว้ ย อุปกรณน์ วิ เมติกสท์ างาน และอุปกรณ์นิวเมติกส์ควบคุม
ซึ่งการใช้งานข้ึนอยู่กับความต้องการของระบบควบคุม และในการออกแบบวงจรนิวเมติกส์เบื้องต้น
เราจะได้ศึกษาและปฏิบัตงิ านในชดุ การสอนท่ี 3 วงจรนวิ เมติกส์เบือ้ งต้นตอ่ ไป

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 69 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอ้ื งต้น

เอสารประกอบการสอน หนา้ ท่ี 70 ของจานวน 39 หนา้
ชุดการสอนท่ี 2 อปุ กรณ์ในระบบนวิ เมตกิ ส์ รหสั วชิ า 2100-1009
วชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบอ้ื งต้น


Click to View FlipBook Version