The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ_การจัดการโรงเรียน_รับมือโควิด-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจัดการโรงเรียนรับมือโควิด-19

คู่มือ_การจัดการโรงเรียน_รับมือโควิด-19

51

52 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19

คำ� แนะน�ำส�ำหรับครอบครวั

1.  ในกรณีท่ีต้องเรียนจากที่บ้าน  ผู้ปกครองหาพื้นท่ีในบ้านท่ีเหมาะสม  สงบ  เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีต่อเน่ือง 
อาจจะเป็นมมุ ใดมุมหนง่ึ หรือห้องใดห้องหน่งึ ของบ้าน  ในกรณีของเดก็ และวยั ร่นุ ท่ีไม่มสี มาธ ิ หรอื วอ่ กแว่กได้งา่ ย 
อาจจะตอ้ งมกี ารก�ำ กบั ดแู ลจากผใู้ หญเ่ ป็นระยะ ๆ 
2.  การกำ�กับดูแลโดยผู้ใหญ่  ข้ึนอยู่กับอายุ  ความสามารถของเด็ก  โดยท่าทีของพ่อแม่  หรือครู  จำ�เป็นต้อง
มีความยืดหยุ่น  และจัดลำ�ดับความสำ�คัญให้ชัดเจนว่าส่ิงไหนคาดหวังให้เด็กทำ�จนเสร็จเม่ือใด  โดยไม่คาดหวัง
ความสมบรู ณด์ งั เช่นในสภาวะปกติ
1)  เดก็ อนบุ าลถงึ ประถมศกึ ษาตอนตน้   ผดู้ แู ลจ�ำ เปน็ ตอ้ งนงั่ ก�ำ กบั เดก็ ตง้ั แตเ่ ชา้   เพอ่ื ตรวจสอบตารางเรยี น 
สง่ิ ทต่ี อ้ งเตรยี มให้พรอ้ มสำ�หรับการเรียน
2)  เด็กประถมศกึ ษาตอนปลาย  เพิม่ ความสามารถในการจดบนั ทกึ การเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง 
3)  เด็กมธั ยมศกึ ษา  แนะนำ�การต้ังเปา้ หมายและทำ�ใหบ้ รรลุเป้าหมายในระยะสัน้ และระยะยาว
3.  สังเกตอารมณ ์ พฤติกรรม  และสังคมของบตุ รหลานรว่ มกับคร ู เพอื่ ปอ้ งกันและช่วยเหลืออย่างทันท่วงที

สามารถดรู ายละเอยี ดเพิม่ เตมิ ไดท้  ี่
www.jitdee.com/home

www.schools.au.reachout.com

53

แนวทางให้สุขศึกษาส�ำหรบั แม่ครัว  และผู้สัมผสั
อาหาร

จัดใหม้ กี ารดูแลผู้สัมผัสอาหาร  สถานที่ปรงุ ประกอบอาหาร  สถานที่รับประทานอาหาร  ดังน ี้
•  หากแม่ครัวผู้สัมผัสอาหารมีอาการเจ็บป่วย  เช่น  มไี ข้  ไอ  จาม  มีน�้ำ มูก  หรือเหนื่อยหอบ  ให้หยุดงาน
และพบแพทย์ทันท ี
• ในขณะปฏบิ ตั งิ านผสู้ มั ผสั อาหารตอ้ งสวมหมวกคลมุ ผม  ผา้ กนั เปอื้ น  หนา้ กากผา้   และถงุ มอื   และมกี าร
ปฏิบัติตนตามหลักสขุ าภิบาลอาหาร  ตามกฎหมายสาธารณสุข 
• ลา้ งมอื อยา่ งสม�ำ่ เสมอดว้ ยสบแู่ ละน�ำ้ กอ่ นหยบิ หรอื จบั อาหาร  และหลงั การใชส้ ว้ ม  ไมไ่ อหรอื จามรดอาหาร 
• ปกปดิ อาหาร  ใชถ้ งุ มอื และทคี่ บี อาหารในการหยบิ จบั อาหาร  หา้ มใชม้ อื หยบิ จบั อาหารทพี่ รอ้ มรบั ประทาน
โดยตรง  และจัดให้มีช้อนกลางส่วนบุคคลครบทุกคนแยกเป็นสัดส่วน  เม่ือเสิร์ฟอาหารท่ีต้องรับประทานร่วมกัน 
โดยผู้รบั ประทานตอ้ งไม่น�ำ ช้อนกลางสว่ นบุคคลสัมผสั กบั ปาก
•   ทำ�ความสะอาดจุดเสี่ยง  เช่น  ห้องครัว  อุปกรณ์ปรุงประกอบอาหาร  โต๊ะ  เก้าอี้  ด้วยน้ำ�ยาทำ�ความ
สะอาดท่วั ไป  รวมถงึ ลา้ งภาชนะอุปกรณห์ รือสง่ิ ของเครื่องใชใ้ ห้สะอาดเปน็ ประจำ�ทุกวัน 
• จัดเตรียมอาหารที่ปรุงสุกใหม่  ให้เด็กรับประทาน  ภายในเวลา  2  ช่ัวโมง  หากเกินเวลาดังกล่าว  ให้นำ�
อาหารไปอ่นุ จนเดอื ดและน�ำ มาเสิรฟ์ ใหม ่
• ยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัดตามข้อแนะนำ�องค์การอนามัยโลก  ตามหลัก  5  ประการสู่อาหารปลอดภัย 
(Five  Keys  to  Safer  Food)

54 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19

หลกั  5 ประการ  สู่อาหารปลอดภัย

1. รกั ษาความสะอาด

-  ล้างมอื ทุกครงั้ ก่อนรับประทานอาหาร  และในระหวา่ งการเตรยี มอาหาร
-  ล้างมอื ทุกครงั้ หลังเข้าหอ้ งน้ำ�
-  ท�ำ ความสะอาดและฆา่ เชื้อพ้นื ผิวและอุปกรณท์ ี่ใช้ในการประกอบอาหาร
-  ดแู ลสถานทปี่ ระกอบอาหารและอาหารใหป้ ลอดจากแมลงและสัตว์ตา่ ง ๆ 

เหตุผล  เช้ือจุลินทรีย์และเช้ือไวรัสจากสารคัดหลั่งอาจจะอยู่ตามผ้าเช็ดหน้าและเคร่ืองใช้ในครัว 
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  โตะ๊   เขียง  ซงึ่ มีโอกาสทีเ่ ช้ือจะตดิ มากบั มือของผปู้ ระกอบการอาหาร

2. แยกอาหารทปี่ รงุ สุกแล้วออกจากอาหารสด

-  แยกเน้อื สดออกจากอาหารประเภทอ่นื
-  แยกอปุ กรณแ์ ละภาชนะประกอบอาหาร  เชน่   มดี และเขียงในการเตรยี มอาหารสด
-  เก็บอาหารในภาชนะที่มีการปดิ ผนกึ   ไมใ่ หอ้ าหารที่ปรงุ สกุ แล้วกับอาหารสดอย่รู วมกัน

เหตผุ ล  อาหารดบิ   โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เนอื้ สตั วแ์ ละอาหารทะเล  รวมไปถงึ ของเหลวจากเนอื้ สตั ว ์
อาจมีเชื้อจุลินทรีย์ปนเป้ือนอยู่  ซึ่งอาจแพร่กระจายไปสู่อาหารอ่ืน ๆ ในขณะปรุงอาหารหรือเก็บ
อาหาร

3.  ปรุงอาหารให้สุกท่ัวถึง

-  ปรงุ อาหารใหส้ ุกทั่วถึง  โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อ  เน้ือไก ่ ไข ่ และอาหารทะเล
-  การปรุงอาหารประเภทนำ้�แกงและสต ู จะต้องต้มให้เดือดและใช้อุณหภูมิไม่ต่ำ�กว่า  70  องศา
เซลเซียส  เนอ้ื และเน้ือไกจ่ ะต้องแนใ่ จว่าของเหลวจากเน้ือสตั วใ์ ส  ไมเ่ ป็นสีชมพู
-  เวลาอุ่นอาหารท่ีปรงุ แลว้   จะต้องอนุ่ และคนให้อาหารไดร้ บั ความรอ้ นทัว่ ถึง

เหตุผล  การปรุงอาหารที่ถูกวิธีและถูกสุขลักษณะจะทำ�ลายเชื้อจุลินทรีย์ท่ีเป็นอันตรายได้
เกือบทุกชนิด  จากการศึกษาพบว่าอาหารท่ีปรุง  ณ  อุณหภูมิ  70  องศาเซลเซียส  เป็นอาหาร
ท่ีปลอดภัยจากเช้ือไวรัสและแบคทีเรีย  อาหารบางชนิดจะต้องใส่ใจเป็นพิเศษ  อาหารจำ�พวกนี้ 
ได้แก ่ เนือ้ บด  ขอ้ ตอ่ สตั ว ์ และสตั ว์ปกี ทั้งตัว  เชน่   ไก ่ เป็ด  เปน็ ตน้

55

4. เกบ็ อาหารในอณุ หภูมทิ เ่ี หมาะสม

-  ไมท่ ิง้ อาหารท่ปี รงุ สุกแลว้ ไว ้ ณ  อณุ หภมู หิ อ้ งเกินกวา่   2  ชัว่ โมง
-  เกบ็ อาหารที่ปรุงแล้วและอาหารทเ่ี นา่ เสยี งา่ ยไวใ้ นต้เู ย็น  (อุณหภูมิต่�ำ กว่า  5  องศาเซลเซียส)
-  อาหารทป่ี รงุ แลว้ จะตอ้ งน�ำ ไปอนุ่   (ทอี่ ณุ หภมู  ิ 60  องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป)  กอ่ นน�ำ มารบั ประทาน
-  ไมเ่ กบ็ อาหารไว้นานจนเกินไป  ถงึ แม้วา่ จะเก็บในตเู้ ยน็
-  อยา่ ละลายอาหารแช่แข็งท่ีอุณหภูมิห้อง

เหตุผล  เช้ือจุลินทรีย์สามารถเพิ่มจำ�นวนได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว  ณ  อุณหภูมิห้อง  และจะ
หยุดเจริญหรือเพ่ิมจำ�นวนช้าลง  ณ  อุณหภูมิตำ่�กว่า  5  องศาเซลเซียส  และ  ณ  อุณหภูมิสูงกว่า 
60  องศาเซลเซียส  อย่างไรก็ตาม  เชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายบางชนิดจะยังคงเจริญและเพิ่ม
จ�ำ นวนไดท้ อ่ี ณุ หภมู ติ ่ำ�กว่า  5  องศาเซลเซียส

5. ใช้น�ำ้ และวัตถุดิบท่ปี ลอดภัยในการปรงุ อาหาร

-  ใชน้ ำ�้ สะอาดในการปรุงอาหาร/ท�ำ ให้นำ�้ สะอาดก่อนน�ำ ปรุงอาหาร
-  เลอื กใช้เฉพาะวัตถดุ ิบทีส่ ด
-  เลอื กใช้วัตถดุ ิบท่ีผา่ นข้ันตอนฆ่าเชื้อโรคมาแลว้   เชน่   นมพาสเจอไรซ์
-  ล้างผักและผลไม้ใหส้ ะอาด  โดยเฉพาะผักและผลไม้ที่ต้องรับประทานสด ๆ 
-  ไม่น�ำ วตั ถดุ ิบท่ีหมดอายแุ ล้วมาใช้ในการปรงุ อาหาร

เหตุผล  วัตถุดิบในการปรุงอาหารรวมไปถึงน้ำ�และนำ้�แข็งอาจจะมีเช้ือจุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย
บางชนิดและสารเคมีปนเปื้อนอยู่  สารพิษอาจเกิดในอาหารที่กำ�ลังเน่าเสีย  การเลือกวัตถุดิบ
ในการปรงุ อาหารอยา่ งถูกวิธแี ละการปฏิบัตติ ามหลกั สุขอนามัยเบื้องตน้ จะลดความเส่ียงจากการ
บรโิ ภคสารปนเป้ือนในอาหาร

หมวดท ่ี 4

อนามยั

ส่ิงแวดล้อม 



58 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19

จัดใหม้ กี ารดูแลความสะอาดห้องส้วมและอา่ งลา้ งมอื

(1)  ท�ำ ความสะอาดบรเิ วณทมี่ กี ารสมั ผสั บอ่ ย ๆ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ  2  ครงั้   ไดแ้ ก ่ พนื้ หอ้ งสว้ ม  โถสว้ ม 
ที่กดชักโครกหรือโถปัสสาวะ  สายฉีดชำ�ระ  กลอนหรือลูกบิดประตู  ฝารองน่ัง  ฝาปิดชักโครก  ก๊อกน้ำ�
อา่ งลา้ งมือ  ด้วยน�ำ้ ยาทำ�ความสะอาดท่ัวไป  หรือน้�ำ ผสมผงซกั ฟอก

(2)  ซักผ้าสำ�หรับเช็ดทำ�ความสะอาดและไม้ถูพื้นด้วยนำ้�ผสมผงซักฟอกหรือนำ้�ยาฆ่าเช้ือ  แล้วซัก
ดว้ ยน้ำ�สะอาดอกี ครง้ั   และน�ำ ไปผ่ึงตากแดดให้แหง้  

(3)  ผู้ปฏิบัติงานที่ดูแลความสะอาดและผู้ปฏิบัติงานเก็บขยะ  ให้สวมถุงมือยาง  หน้ากากผ้า  เส้ือ
กนั ฝนหรอื ผา้ ยางกนั เปอ้ื น  รองเทา้ ยางหมุ้ สงู ถงึ หนา้ แขง้   และใชอ้ ปุ กรณป์ ากคบี ดา้ มยาวเกบ็ ขยะ  ใสถ่ งุ ขยะ
ปิดปากถุงให้มิดชิด  นำ�ไปรวบรวมไว้ที่พักขยะ  แล้วล้างมือให้สะอาดทุกคร้ังภายหลังปฏิบัติงาน  และเม่ือ
ปฏบิ ัติงานเสร็จในแตล่ ะวัน  หากเปน็ ไปได้ควรอาบน้ำ�และเปลย่ี นเส้ือผา้ ทันท ี

59

การดแู ลอาคารสถานท ี่ สนามเดก็ เล่น 
ทำ�ความสะอาดห้องและบริเวณท่ีมีการใช้บริการร่วมกันทุกวัน  ได้แก่  ห้องเรียน  โรงอาหาร  ห้องประชุม 
โรงยิม  สนามเด็กเล่น  ห้องสมุด  ห้องคอมพิวเตอร์  ห้องดนตรี  ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา  สระว่ายนำ้�  ลิฟต์ 
ราวบนั ได  ลกู บดิ ประต ู โตะ๊   เกา้ อ ี้ พนกั พงิ   อปุ กรณด์ นตร ี กฬี า  คอมพวิ เตอร ์ ดว้ ยน�ำ้ ผสมผงซกั ฟอกหรอื น�้ำ ยา
ทำ�ความสะอาดทว่ั ไป  ท้ังน ้ี ให้ใชต้ ามคำ�แนะนำ�ของผลติ ภณั ฑน์ นั้  
ความสะอาดของรถรับ-ส่งนักเรียน 
กรณที มี่ รี ถรบั -สง่ นกั เรยี น  กอ่ นและหลงั ใหบ้ รกิ ารแตล่ ะรอบใหเ้ ปดิ หนา้ ตา่ งและประต ู เพอ่ื ถา่ ยเท  ระบาย
อากาศภายในรถ  และทำ�ความสะอาดในจุดที่มีการสัมผัสบ่อย  ได้แก่  ราวจับ  ที่เปิดประตู  เบาะน่ัง  ที่วางแขน 
ด้วยน้ำ�ผสมผงซักฟอกหรือนำ้�ยาทำ�ความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์  (นำ้�ยาฟอกขาว  2  ฝา 
ต่อน้ำ�  1  ลิตร)  และปฏบิ ัติตามค�ำ แนะน�ำ บนฉลาก

60 คู่มือการจัดการโรงเรียน รับมือโควิด-19


Click to View FlipBook Version