The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบจัดการฐานข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warisara Sadsee, 2020-10-28 09:36:06

ระบบจัดการฐานข้อมูล

ระบบจัดการฐานข้อมูล

ระบบจดั การฐานขอ้ มลู

รูปแบบบรรทดั ฐาน

รูปแบบบรรทัดฐาน (Normal Form) ถูกคิดค้นโดย อี.เอฟ.คอดด์ (E.F.Codd) การจัดระบบข้อมูล
ในรูปแบบบรรทัดฐานเปนวิธีออกแบบฐานข้อมูลแบบหนึง โดยทําการแยกตารางซึงเปนตาราง
ทีเก็บข้อมูลทุกอย่างอยู่ในตารางเดียวกัน การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน เปนการ
ดําเนินงานอย่างเปนลําดับทีกําหนดไว้เปนขันตอน ตามปญหาทีเกิดขึนในขันตอนต่างๆ ดังนี

รูปแบบบรรทัดฐานระดับที 1 (First Normal Form: 1NF)
รูปแบบบรรทัดฐานระดับที 2 (Second Normal Form: 2 NF)
รูปแบบบรรทัดฐานระดับที 3 (Third Normal Form: 3NF)
รูปแบบบรรทัดฐานบอยส์-คอดด์ (Boyce-Codd Normal Form: BCNF)
รูปแบบบรรทัดฐานระดับที 4 (Fourth Normal Form: 4NF)
รูปแบบบรรทัดฐานระดับที 5 (Fifth Normal Form: 5NF)

(First Normal Form: 1NF)
นิ ยามของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 1
รเี ลชนั จะอยใู่ นรูปของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 1 กต็ อ่ เมอื มคี ุณสมบตั ติ ามเงอื นไข
ดงั ตอ่ ไปนี
1. มกี ารกําหนดแอตทรบิ วิ ตท์ เี ปนคีย์
2. ตอ้ งไมม่ รี พี ีทตงิ กรุป๊ แตล่ ะแถวหรอื คอลมั น์ จะมคี ่าไดเ้ พียง 1 ค่าเทา่ นั น
3. แอตทรบิ วิ ตท์ กุ ตวั ตอ้ งขนึ อยกู่ บั คียห์ ลกั

(Second Normal Form : 2NF)
ในหนึ งรเี ลชนั จะประกอบดว้ ยแอตทรบิ วิ ตต์ า่ ง ๆ ทมี คี วามสัมพันธท์ ขี นึ ตอ่
กนั ซงึ ความสัมพันธด์ งั กลา่ วจะเปนตวั กําหนดวา่ แอตทรบิ วิ ตใ์ ดเปนตวั
กําหนดขอ้ มลู หรอื คียแ์ อตทรบิ วิ ต์ (Key Attribute) และและแอตทรบิ วิ ต์
ใดเปนขอ้ มลู ทถี กู กําหนดหรอื นอนคียแ์ อตทรบิ วิ ต์ (Nonkey Attribute)
นิ ยามของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 2รเี ลชนั จะอยใู่ นรูปของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 2 กต็ อ่
เมอื มคี ุณสมบตั ติ ามเงอื นไขดงั ตอ่ ไปนี
1. รเี ลชนั นั นเปนนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 1 อยแู่ ลว้
2. รเี ลชนั นั นไมม่ พี ารเ์ ชยี ลดเี พนเดนซี

(Third Normal Form : 3NF)
ในหนึ งรเี ลชนั จะประกอบคียแ์ อตทรบิ วิ ตแ์ ละนอนคียแ์ อตทรบิ วิ ต์
คียแ์ อตทรบิ วิ ตจ์ ะตอ้ งเปนตวั กําหนดความหมายหรอื การมอี ยขู่ อง
แอตทรบิ วิ ตอ์ นื ๆ ทอี ยใู่ นรเี ลชนั เสมอ
นิ ยามของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 3 รเี ลชนั จะอยใู่ นรูปของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 3 กต็ อ่
เมอื มคี ุณสมบตั ติ ามเงอื นไขดงั ตอ่ ไปนี
1. รเี ลชนั นั นเปนนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 2 อยแู่ ลว้
2. รเี ลชนั นั นไมม่ ที รานซทิ ฟี ดเี พนเดนซี

(Boyce-Codd Normal Form : BCNF)ในหนึ งรเี ลชนั อาจจะประกอบดว้ ย
หลายแคนดเิ ดตคีย์ (Candidate Key) ทกุ แอตทรบิ วิ ตใ์ นรเี ลชนั จะตอ้ ง
ขนึ อยกู่ บั แคนดเิ ดตคียเ์ สมอ เราสามารถกําหนดนิ ยามของรเี ลชนั ทอี ยใู่ น
รูปของบอยซค์ อดดน์ อรม์ ลั ฟอรม์ กต็ อ่ เมอื รเี ลชนั มคี ุณสมบตั ติ ามเงอื นไข
ดงั ตอ่ ไปนี
1. รเี ลชนั นั นเปนนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 3 อยแู่ ลว้
2. ทกุ แอตทรบิ วิ ตใ์ นรเี ลชนั จะตอ้ งขนึ กบั แคนดเิ ดตคีย์

(Fourth Normal Form : 4NF)ในขณะทกี ารทาํ ให้อยใู่ นรูปของนอรม์ ลั
ฟอรม์ ตา่ ง ๆ ทผี า่ นมา จะเกยี วขอ้ งกบั การขนึ ตรงตอ่ กนั ของขอ้ มลู ในแตล่ ะ
แอตทรบิ วิ ตห์ รอื ฟงกช์ นั นั ลดเี พนเดนซี แตก่ ารทาํ ให้อยใู่ นรูปของนอรม์ ั
ลฟอรม์ ที 4 จะเกยี วขอ้ งกบั รูปแบบของการขนึ ตรงตอ่ กนั ของขอ้ มลู ใน
ระดบั ทซี บั ซอ้ นกวา่ นิ ยามของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 4รเี ลชนั จะอยใู่ นรูปของ
นอรม์ ลั ฟอรม์ ที 4 กต็ อ่ เมอื มคี ุณสมบตั ติ ามเงอื นไขดงั ตอ่ ไปนี
1. รเี ลชนั นั นเปนบอยซค์ อดดน์ อรม์ ลั ฟอรม์ อยแู่ ลว้
2. รเี ลชนั นั นไมม่ ที รเิ วยี ลมลั ตแิ วลดู เี พนเดนซี

(Fifth Normal Form : 5NF)การแปลงให้อยใู่ นรูปของนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 5 จะ
พิจารณาถงึ การขนึ ตอ่ กนั ของขอ้ มลู ในการแยกขอ้ มลู ในรเี ลชนั ออกเปนรเี ลชนั
ยอ่ ย และประกอบรเี ลชนั ยอ่ ยกลบั เปนรเี ลชนั ใหญเ่ ชน่ เดมิ ซงึ เปนการตรวจ
สอบวา่ เมอื รวมกนั ใหมด่ ว้ ยวธิ กี ารจอยน์ แลว้ จะไดร้ เี ลชนั กลบั มาเหมอื นเดมิ
ทกุ ประการหรอื ไมน่ ิ ยามของ 5NF รเี ลชนั จะเปน 5NF ถา้
1. รเี ลชนั นั นเปนนอรม์ ลั ฟอรม์ ที 4 อยแู่ ลว้
2. การแบง่ แยกรเี ลชนั มคี ุณสมบตั จิ อยน์ ดเี พนเดนซี

ภาษา SOL

SQL ยอ่ มาจาก Structured English Query Language หรอื SEQUEL จนไดม้ ี
การปรบั ปรุงเวอรช์ นั เปน SEQUEL/ 2 เมอื ป ค.ศ. 1976 และตอ่ มากไ็ ดเ้ ปลยี น
ชอื มาเปน SQL เนื องจากคํายอ่ เดมิ นั นไปซากบั ผลติ ภณั ฑอ์ นื ทมี อี ยกู่ อ่ นหน้ านี
แลว้ SQL จดั เปนภาษามาตราฐานของระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์ เปนภาษา

ทสี ามารถใชง้ านไดใ้ นคอมพิวเตอรห์ ลายระดบั เชน่ ระดบั แมนเฟรม
คอมพิวเตอร์ จนไปถงึ ระดบั ไมโครคอมพิวเตอร์ จงึ ทาํ ให้ผลติ ภณั ฑซ์ อฟตแ์ วร์

ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ลว้ นแตส่ นั บสนนุ ชดุ คําสัง SQL แทบทงั หมด
หลงั จากนั น ป ค.ศ. 1970 ระบฐานขอ้ มลู ORACLE ถกู พัฒนาโดยพัฒนา
ORACLE CORPORATION และถอื เปนกา้ วแรกในเชงิ พาณิชยส์ ําหรบั การ

พัฒนาระบบ การจดั การฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์ (RDBMS) ทตี งั อยบู่ นพืนฐาน
ของ SQL และตอ่ มากม็ ผี ลติ ภณั ฑอ์ นื ๆ พัฒนาตามมา เชน่ INGRESS

ภาษา SQL (Structured English Query language)
เปนภาษาทมี รี ูปแบบเปนภาษาองั กฤษงา่ ยตอ่ การเรยี นรูแ้ ละการเขยี นโปรแกรม
ซงึ เปนภาษาทมี อี ยใู่ น DBMS หลายตวั มคี วามสามารถใชน้ ิ ยามโครงสรา้ งตาราง
ภายในฐานขอ้ มลู การจดั การขอ้ มลู รวมไปถงึ การควบคุมสิทธกิ ารใชง้ านฐาน
ขอ้ มลู SQL จะประกอบดว้ ยภาษา 3 รูปแบบดว้ ยกนั แตล่ ะแบบกจ็ ะมหี น้ าทเี ฉพาะ
แตกตา่ งกนั ไป

1. ภาษาสําหรบั การนิ ยามขอ้ มลู (Data Definition Language: DDL)
2. ภาษาสําหรบั การจดั การขอ้ มลู (Data Manipulation Language: DML)
3. ภาษาสําหรบั การควบคุมขอ้ มลู (Data Control Language: DCL)

ภาษานิ ยามขอ้ มลู (Data Definition Language : DDL)เปนชดุ คําสังทใี ชส้ ําหรบั
กําหนดโครงสรา้ งของตารางในฐาน ขอ้ มลู คําสังทจี ดั อยใู่ นประเภท DDL
นี ไดแ้ ก่ CREATE, ALTER และ DROP

ตวั อยา่ ง คําสัง SQL เพือเรยี กดขู อ้ มลู รหัสนั กศึกษา ชอื นั กศึกษา
และอายุ โดยให้คัดเลอื กเฉพาะผทู้ มี อี ายไุ มเ่ กนิ 18 ป
(อา้ งองิ จากตวั อยา่ งในหัวขอ้ ขา้ งตน้ )
SELECT ID, NAME, AVG FROM STUDENT WHERE AGE <=18;

ตวั อยา่ งการเขยี น
การใชภ้ าษา SOL เพือกําหนดโครงสรา้ งของตารางนั กศึกษา ซงึ
ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ตต์ อ่ ไปนี

รหัสนั กศึกษา เปนชนิ ดอกั ขระ จํานวน 8 ไบต์
ชอื นั กศึกษา เปนชนิ ดอกั ขระ จํานวน 20 ไบต์
อายุ เปนชนิ ดเลขจํานวนเตม็
ค่าใชจ้ า่ ย/เดอื น เปนชนิ ดตวั เลขทศนิ ยม(ความกวา้ ง 9 หลกั
ทศนิ ยม 2 ตําแหน่ ง) สามารถใชค้ ําสังใน SQL เพือกําหนด
โครงสรา้ ง ไดด้ งั นี
CREATE TABLE STUDENT
(ID CHAR(8),
NAME CHAR(20),
AGE INTEGER
PAY DECIMAL(9.2) ),

ความรูพ้ ืนฐานเกยี วกบั ฐานขอ้ มลู
ไมใ่ ชเ่ ชงิ สัมพันธ์

ฐานขอ้ มลู NoSQL สรา้ งตามวตั ถปุ ระสงค์สําหรบั โมเดลขอ้ มลู แบบ
เฉพาะเจาะจงและมแี บบแผนทยี ดื หยนุ่ สําหรบั การสรา้ งแอปพลเิ คชนั
อนั ทนั สมยั ฐานขอ้ มลู NoSQL เปนทรี ูจ้ กั กนั ดใี นดา้ นความงา่ ยในการ

พัฒนา การทาํ งาน และประสิทธภิ าพตามขนาดทตี อ้ งการ หน้ านี
ประกอบดว้ ยทรพั ยากรเพือชว่ ยให้คุณเขา้ ใจฐานขอ้ มลู NoSQL และเรมิ

ตน้ ใชง้ าน

ทาํ ไมคุณจงึ ควรใชฐ้ านขอ้ มลู NoSQL
ฐานขอ้ มลู NoSQL เหมาะมากสําหรบั แอปพลเิ คชนั สมยั ใหม่ เชน่
อุปกรณ์เคลอื นที เวบ็ และเกมทจี ําเปนตอ้ งมฐี านขอ้ มลู ทยี ดื หยนุ่ ปรบั
ขนาดได้ ประสิทธภิ าพสงู และทาํ งานไดด้ เี ยยี มเพือมอบประสบการณ์ผู้

ใชท้ ยี อดเยยี ม


Click to View FlipBook Version