The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prawit nakmorn, 2019-10-08 04:21:39

คู่มือการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.พช.3

คู่มือป้องกันภัย(สพป.พช.3)

คมู่ ือการป้องกันตนเอง
จากภัยคกุ คามรปู แบบใหม่

กล่มุ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3



สำรบญั

คำนำ หน้ำ
สำรบญั ก
บทที่ 1 บทนำ ข
บทที่ 2 ภัยคุกคำมรปู แบบใหม่ 1
บทที่ 3 ข้นั ตอนกำรดำเนินงำน 4
คณะทำงำน 32
34

ข สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

คู่มือการป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรปู แบบใหม่

หน้าที่ 1

บทที่ 1
บทนำ

หลกั กำร

คนไทย 4.0 ในราชกิจจานุเบกษา กล่าวว่า “ต้องเป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความ
พร้อมทั้ง กายและใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย และมีจิตสาธารณะ
รับผิดชอบต่อสงั คมและผ้อู ื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดีของชาติ
มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสาม และ
อนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรยี นรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มี
ทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอ่ืนๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของ
ตนเอง” (ท่มี า: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF)

คาแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา ใน
วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 วิสัยทัศน์ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21”
ประกอบด้วยนโยบายหลัก 12 ด้าน และนโยบายเร่งด่วน 12 เร่ือง ส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในการสร้างความม่ันคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
เพ่ือแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังทั้งระบบ ด้วยการบังคับใช้ กฎหมายอย่างเคร่งครัด ให้ความรู้เยาวชน
ถงึ ภัยยาเสพตดิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย
ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย และสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs
:Sustainable Development Goals) มติ ิ People เป้าประสงคท์ ี่ 2 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทกุ ท่ี (No
Poverty) เพ่ือการรับมือและปรับตัวต่อภัยพิบัติด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมของคนจนและกลุ่ม
เปราะบาง (1.5) ภายในปี 2573 สร้างภูมิต้านทานและลดการเปิดรับและความเปราะบางต่อเหตุรุนแรงท่ี
เก่ียวข้องกับภูมิอากาศและภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้กับผู้ที่ยากจนและอยู่ในสภาวะ
เปราะบาง มติ ิ Prosperity เปา้ ประสงคท์ ี่ 11 ทาให้เมืองและการต้ังพื้นฐานขอมนุษย์มีความปลอดภยั ทั่วถึง
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน (Sustainable cities and Communities) ลดความสูญเสียและความ
เสียหายจากภัยพิบัติท่ีมีต่อเมือง (โดยเฉพาะภัยพิบัติทางน้า) (11.b) ภายในปี 2563 เพิ่มจานวนเมืองและ
กระบวนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ท่ีเลือกใช้และดาเนินการตามนโยบาย และแผนท่ีบูรณาการเพื่อนาไปสู่
ความครอบคลุม ความมีประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร การลดผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศมภี ูมติ า้ นทางต่อภัยพบิ ัติ และให้พัฒนาและดาเนนิ การตามการบรหิ ารความเส่ียงจากภัยพบิ ัติ
แบบองค์รวมในทุกระดับ ให้เป็นไปตามกรอบการดาเนินงานเซนไดเพ่ือการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ พ.ศ.
2558-2573 มิติ Planet เป้าประสงค์ท่ี 13 ปฏิบัติอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู่กับการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ และผลกระทบที่เกิดข้ึน (Climate Action) การสร้างความสามารถในการปรับตัวและรับมือกับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (13.b) ส่งเสริมกลไกเพิ่มขีดความสามารถในการวางแผน
และการบริหารจัดการที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีป ระสิทธิผลในประเทศพัฒนา
น้อยที่สุดและใหค้ วามสาคญั ต่อผ้หู ญงิ เยาวชน และชุมชนท้องถ่นิ และชายขอบ

คู่มอื การป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าท่ี 2

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเหน็ ความสาคญั ให้สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาพฒั นา
หลกั สตู รให้สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล
เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ พร้อมกับจัดทาคู่มือ/
แผนปฏิบัติการของโรงเรียนในการดาเนินการให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะในการป้องกันตนเองจากภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ ซ่ึงภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในที่นี้ หมายถึง ภาวะหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความไม่
มั่นคง ทเี่ ป็นปญั หา ทม่ี คี วามรุนแรง สลับซับซอ้ น หากไม่ดาเนนิ การแก้ไขจะเกิดผลกระทบในวงกว้างตอ่ ความ
มน่ั คงแหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ สาธารณภยั ภัยโซเชียล ภยั ยาเสพตดิ ภัยบุคคล

1) สาธารณภัย หมายถึง ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของ
ประชาชน หรือความเสยี หายแก่ทรัพยส์ ินของประชาชนหรือของรฐั แบง่ เป็น 2 ชนิด คอื

(1) สาธารณภัยเกิดตามธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย อากาศหนาวผิดปกติ คล่ืนความ
รอ้ น สึนามิ แผ่นดนิ ถล่ม โคลนถล่ม แผน่ ดนิ ไหว โรคระบาด ฯลฯ

(2) สาธารณภัยท่ีมนุษย์ทาให้เกิดขึ้น เช่น ภัยจากการจราจร ภัยจากการประกอบอาชีพ
ภัยจากความไม่สงบของประเทศ ภัยจากไฟฟา้ อัคคไี ฟ ภัยจากวตั ถุอันตราย ภยั จากความเจรญิ ก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี ภยั จากฝนุ่ ละออง ฯลฯ

2) ภัยโซเชียล ซึ่งในที่นี้จะหมายถึง ภัยจากการใช้สังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหญ่มาก ในยุค
ปัจจุบันที่ Social Network หรือสังคมออนไลน์กาลังได้รับความนิยม เพื่อการติดต่อส่ือสาร ประชุมงาน
แลกเปล่ียนประสบการณ์ความคิดเห็นและแชร์ข้อมูลต่างๆ ทาให้เหล่ามิจฉาชีพหันมาขโมยข้อมูลและสร้าง
ความเดอื ดรอ้ น การหลอกลวงให้หลงเชอื่ จนได้รบั ความเสยี หาย

3) ภยั ยาเสพติด หมายถึง ภัยที่เกิดจากยาเสพติด เช่น ภัยจากการเสพ หลงผิดเป็นผู้ค้าหรือเข้า
รว่ มกระบวนการ

4) ภัยบุคคล หมายถึง ภัยจากบุคคล เชน่ แกง๊ ตกทอง หลอกให้โอนเงิน แกง๊ คอลเซ็นเตอร์ ฯลฯ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต เป็นหน่วยงานทางการศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีอานาจหน้าท่ีดาเนินการให้เป็นไปตามอานาจหน้าที่ของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ภารกิจหลัก
ในการจัดการศึกษา และส่งเสริม ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนทุกกลุ่มได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างท่ัวถึงมี
ความเสมอภาคและมีคุณภาพในเขตพื้นที่ 4 อาเภอของจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ อาเภอหนองไผ่ อาเภอบึง
สามพัน อาเภอวิเชียรบุรี และอาเภอศรีเทพ มีลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นพ้ืนที่ราบและพ้ืนท่ีภูเขาสูง มีหุบ
เขารอบล้อม แมน่ า้ ปา่ สักไหลผา่ น มีทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 21 เปน็ เส้นทางหลัก โดยสภาพบริบทของ
โรงเรียนในสังกัด มีภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ได้แก่ อยู่ในพื้นท่ีที่มีป่าไม้ ติดป่าสงวน เป็นพ้ืนท่ีที่มีไร่อ้อย
บริเวณกว้างและติดแม่น้าลาคลอง การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้ง่ายท้ังรูปแบบเน็ตประชารัฐ ทาให้เกิดภัยจาก
ความเจริญก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมลู ซง่ึ อาจทาให้นักเรียนได้รบั ข้อมูลที่เปน็ ภยั การแพร่
ระบาดของยาเสพติด และเกิดภัยจากบุคคลหลอกให้โอนเงิน แก๊งคอลเซ็นเตอร์ เป็นต้น เพื่อป้องกันภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 จึงจัดทาคู่มือการป้องกัน
ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ให้สถานศึกษาในสังกัดได้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน ผ่านส่ือ
วิดีโอและส่ือภาพยนตร์ส้นั เพื่อให้นักเรียนในสังกดั ศกึ ษาสามารถปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คกุ คามรูปแบบใหม่ได้
และใหข้ อ้ คิดเกีย่ วกบั วธิ กี ารปอ้ งกนั ภัยคุกคาม

ค่มู ือการป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 3

วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นให้สาหรับสถานศึกษาและนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้ใชศ้ ึกษาเพอื่ การป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่

ขอบเขต

ความหมาย วิธีการป้องภยั คุกคามรูปแบบใหม่ ทห่ี มายถึง ภาวะหรอื สถานการณ์ที่กอ่ ให้เกิดความไม่
มั่นคง ท่ีเป็นปญั หา ที่มีความรุนแรง สลับซบั ซ้อน หากไมด่ าเนนิ การแก้ไขจะเกิดผลกระทบในวงกว้างตอ่ ความ
มน่ั คงแห่งชาติ ได้แก่

1) สาธารณภัย หมายถึง ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของ
ประชาชน หรือความเสียหายแกท่ รัพย์สนิ ของประชาชนหรือของรฐั แบง่ เปน็ 2 ชนดิ คอื

(1) สาธารณภัยเกิดตามธรรมชาติ เช่น วาตภยั อุทกภัย อากาศหนาวผดิ ปกติ คลื่นความ
ร้อน สึนามิ แผ่นดินถลม่ โคลนถลม่ แผ่นดินไหว โรคระบาด ฯลฯ

(2) สาธารณภัยทม่ี นุษย์ทาใหเ้ กิดข้นึ เช่น ภัยจากการจราจร ภัยจากการประกอบอาชีพ
ภัยจากความไม่สงบของประเทศ ภัยจากไฟฟา้ อัคคีไฟ ภัยจากวัตถุอันตราย ภยั จากความเจรญิ ก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี ภัยจากฝ่นุ ละออง ฯลฯ

2) ภัยโซเชียล ซ่ึงในท่ีน้ีจะหมายถึง ภัยจากการใช้สังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหญ่มาก ในยุค
ปัจจุบันท่ี Social Network หรือสังคมออนไลน์กาลังได้รับความนิยม เพ่ือการติดต่อสื่อสาร ประชุมงาน
แลกเปล่ียนประสบการณ์ความคิดเห็นและแชร์ข้อมูลต่างๆ ทาให้เหล่ามิจฉาชีพหันมาขโมยข้อมูลและสร้าง
ความเดอื ดร้อน การหลอกลวงให้หลงเช่ือจนไดร้ บั ความเสียหาย

3) ภัยยาเสพติด หมายถึง ภัยที่เกิดจากยาเสพติด เช่น ภัยจากการเสพ หลงผิดเป็นผู้ค้าหรือ
เขา้ ร่วมกระบวนการ

4) ภัยบคุ คล หมายถงึ ภัยจากบุคคล เช่น แกง๊ ตกทอง หลอกใหโ้ อนเงนิ แกง๊ คอลเซ็นเตอร์ ฯลฯ

ผลท่คี ำดวำ่ จะได้รบั

สถานศึกษาและนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้ใช้
ศกึ ษาเพอ่ื ปอ้ งกนั ตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่

คมู่ ือการปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 4

บทท่ี 2
ภยั คกุ คามรปู แบบใหม่

การจัดทาคู่มือการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เพ่ือเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้สาหรับ
สถานศึกษาและนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้ใช้ศึกษาเพ่ือ
ปอ้ งกนั ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ประกอบดว้ ย สาธารณภัย , ภัยโซเชยี ล , ภัยยาเสพตดิ และ ภัยบุคคล

1. สาธารณภัย

ความหมายของสาธารณภยั
พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ให้ความหมายของ สาธารณภัย คือ
อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของ
ศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทาให้เกิดข้ึน อุบัติเหตุ
หรือเหตุอื่นใด ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของ
ประชาชน หรือของรฐั และให้หมายความรวมถึงภยั ทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยาสถาน พ.ศ.2561 กล่าวว่า สาธารณภัย หมายถึง ภัยท่ีเกิดแก่คนหมู่
มากอยา่ งไฟไหม้ น้าทว่ ม เช่น หนว่ ยบรรเทาสาธารณภยั
องค์การบริหารส่วนตาบลท่าม่วง ให้ความหมายของ สาธารณภัย คือ อัคคีภัย วาตภยั ตลอดจน
ภัยอ่ืนอันมีท่ีมาจากสาธารณะ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้กระทาให้เกิดข้ึน ก่อให้เกิดอันตรายแก่
ชวี ิต ร่างกายของประชาชน หรอื ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ ินของประชาชน หรือ ของรัฐ แบง่ ตามลกั ษณะการ
เกดิ หรอื สาเหตุได้เป็น 2 ประเภท คอื สาธารณภัยธรรมชาติ และสาธารณภยั จากมนุษย์
สาธารณภัย ในทนี่ ี่แบ่งเป็น 2 ชนดิ คือ
(1) สาธารณภัยเกิดตามธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย อากาศหนาวผิดปกติ คลื่นความร้อน
สึนามิ แผน่ ดนิ ถลม่ โคลนถลม่ แผน่ ดินไหว โรคระบาด ฯลฯ
(2) สาธารณภัยท่ีมนุษย์ทาให้เกิดขึ้น เช่น ภัยจากการจราจร ภัยจากการประกอบอาชีพ ภัยจาก
ความไม่สงบของประเทศ ภัยจากไฟฟ้า อัคคีไฟ ภัยจากวัตถุอันตราย ภัยจากความเจริญก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี ภัยจากฝ่นุ ละออง ฯลฯ
สาเหตแุ ละลกั ษณะ และวิธีปอ้ งกัน
1) สาธารณภยั เกดิ ตามธรรมชาติ

(1) วาตภัย หมายถึง ภัยธรรมชาตซิ งึ่ เกดิ จาก พายลุ มแรงแบ่งได 2 ชนิด
 วาตภัยจากพายุฤดูร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน เกิดจากกระแสอากาศร้อนยกขน้ึ เบ้ือง

บนอย่างรุนแรง และเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจนสามารถกล่ันตัวเป็นหยดน้าหรือเป็นน้าแข็งแล้วตกลงมา
บางครั้งจะเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนองและอาจมีลูกเห็บ ทาความเสียหายได ในบริเวณเล็กๆ ชวงเวลาส้ันๆ
ความเร็วลมที่ เกิดขึ้นในขณะน้ัน ประมาณ 50 กม./ชม. ทาให้สิ่งก่อสร้าง บ้านเรือน พืชผลทางการเกษตร
เสยี หาย ฝนตกหนกั ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เปน็ อนั ตรายแกชีวติ มนุษยแ์ ละสัตวไ์ ด้ จะเกดิ ขน้ึ (มนี าคม-พฤษภาคม)

คูม่ ือการปอ้ งกนั ตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 5

กอ่ นเกดิ - อากาศร้อนอบอา้ ว ติดตอ่ กันหลายวัน
- ลมสงบ แม้ใบไมกไ็ มส่ันไหว
- ความชน้ื ในอากาศสงู จนรูสกึ เหนยี วตามร่างกาย
- ท้องฟา้ มวั ทศั นะวสิ ยั การมองเห็นระยะไกลไมชัดเจน (อากาศมัว)
- เมฆทวีมากขนึ้ ทอ้ งฟา้ มืดครมึ้ อากาศรอ้ นอบอ้าว

ขณะเกดิ - พายลุ มแรง 15-20 นาทีความเรว็ มากกวา่ 50 กม./ชม.
- เมฆทวีข้ึนอย่างรวดเร็วลมกระโชกแรงเป็นคร้ังคราวในช่วง 1 - 2 นาทีแรก
ความเร็วลมอาจสูงถึง 60-70 กม/ชม. บางคร้ังมีฝนตกหนักอาจจะมีลูกเห็บ
ตกไดในบางครั้ง มีฟ้าคะนอง ฟาแลบถ้านับ ในใจ 1-2-3 แลว ไดยินเสียงฟ้า
ร้องและพายุจะห่างไปประมาณ 1 กม. ถ้าเห็นฟ้าแลบและฟ้าร้องพรอมกัน
พายุจะอยูใ่ กล้มาก
- สภาวะนี้ จะอย่ปู ระมาณ 1 ชม. หลงั เกดิ
- พายุสลายไปแล้วอากาศจะเย็นลงรูสึกสดชื่นขึ้น ท้องฟ้าแจ่มใส ทัศนะวิสัย
ชดั เจน

 วาตภัยจากพายุหมุนเขตร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน เป็นพายุที่เกิดข้ึนเหนือทะเลจีนใต้
และมหาสมุทรแปซิฟกิ ในเขตร้อน มีศูนย์กลางประมาณ 200 กม. หรือมากกว่า มีลมพดั เวียนรอบศูนย์กลางทิศ
ทวนเข็ม นาฬิกา (ในซีกโลกเหนือ) หากมีความแรงถึงขั้นพายุไต้ฝุ่นจะมีศูนย์ กลางเป็นวงกลมประมาณ
15-60 กม. เรยี กวา่ ตาพายุ มองเห็นไดจากภาพถ่ายเมฆจากดาวเทยี ม เม่ือพายุหมนุ เขตร้อนเคลื่อนตัวข้นึ ฝง่ั จะ
ทาความเสยี หายให้บริเวณทเ่ี คลือ่ นผ่านเป็นอย่างมาก ความรุนแรงของพายุหมนุ เขตรอน แบงตามความเรว็ ลม
สูงสุดใกลจุดศูนยกลางไดดงั น้ี

- พายุดเี ปรสช่นั มีกาลงั ออน ความเรว็ ลมใกลศูนยกลางไมเกิน 63 กม /ชม
- พายุโซนรอน มกี าลังปานกลางความเร็วลมใกลศูนยกลาง 63-117 กม/ชม.
- พายุไตฝุน มีกาลงั แรงความเร็วลมใกลศูนยกลางต้ังแต 118 กม/ชม. ขน้ึ ไป
ขอสังเกตกอน/ขณะ/หลังเกดิ สภาวะอากาศของพายหุ มุนเขตรอน (กรกฎาคม-ตลุ าคม)
กอนเกดิ - อากาศดีลมตะวันออกเฉยี งเหนือพัดผาน

- เมฆทวขี ้ึนเปนลาดบั
- ฝนตกเปนระยะๆ ขณะเกิด
- เมฆเต็มทองฟาฝนตกตอเนือ่ งเกือบตลอดเวลาลมพัดจัดและแนทิศ
- เมื่อตาพายผุ านมาลมสงบ ทองฟาแจมใส แตยังจะมีลมรุนแรงตามมาอีกครั้ง
ในระยะเวลาสน้ั ๆ
- เมฆเต็มทองฟาฝนตกเกือบตลอดเวลาลมพัดกลับทิศ
หลังเกิด - พายสุ ลายไปแลวจะท้ิงความเสยี หายไวตามทางผาน อากาศดีข้ึนเปนลาดบั
วาตภยั ครั้งสาคญั ในประเทศไทยเกดิ ข้นึ ทใี่ ดและเมื่อไร
 วาตภัยจากพายุโซนร อน “แฮเรียต” ท่ีแหลมตะลุมพุกอาเภอปากพนังจังหวัด
นครศรีธรรมราช เม่ือวันที่ 25 ตุลาคม 2505 มีผูเสียชีวิต 870 คน สูญหาย 160 คน บาดเจ็บ 422 คน
ประชาชนไรที่อยูอาศัย 16,170 คน ทรัพยสนิ สญู เสยี ราว960 ลานบาท

คมู่ อื การปอ้ งกันตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าท่ี 6

วาตภัยจากพายุไตฝุน “เกย” ท่ีพัดเขาสูจังหวัดชุมพรเมื่อวันท่ี 4 พฤศจิกายน 2532

ความเร็วของลมวัดได้ 120 กม./ ชม. ประชาชนเสียชีวิต 602 คน บาดเจ็บ 5,495 คน บานเรือนเสียหาย

61,258 หลงั ทรพั ยสินสญู เสียราว 11,739,595,265 บาท

 วาตภัยจากพายุไตฝุนลินดา ตงั้ แตวันที่ 2 พฤศจิกายน ถึง 4 พฤศจิกายน 2540 ทาใหเกิด

ความเสียหายจากวาตภัย อุทกภัยและคลื่นซัดฝงในพื้นที่ 11 จงั หวัดของภาคใตและภาคตะวันออกเม่ือเดือน

พฤศจิกายน 2532

จากพายุและลมแรงจดั ส่งผลความเสียหายดังนี้

บนบก

ตนไมถอนรากถอนโคน ตนไมทบั บานเรือนพังผูคนไดรับบาดเจ็บถึงตายเรือกสวนไรนา เสยี หาย

หนักมาก บานเรือนที่ไมแข็งแรงไมสามารถตานทานความรุนแรงของลมไดพังระเนระนาด หลังคาบานที่ทา

ดวยสังกะสีจะ ถูกพัดเปด กระเบ้ืองหลังคาปลวิ วอน เปนอนั ตรายตอผูทอ่ี ยูในท่โี ลงแจง เสาไฟฟา เสาโทรเลข

เสาโทรศัพทลม สายไฟฟาขาด ไฟฟาลดั วงจรเกดิ เพลิงไหมผูคนเสียชีวิตจากไฟฟาดดู ได้ ผูคนที่พกั อยูรมิ ทะเล

จะถกู คลน่ื ซัดทวม บานเรอื น และกวาดลงทะเลผูคนอาจจมน้าตาย ในทะเลไดฝนตกหนักมากทัง้ วันและทั้งคืน

อุทกภัยจะตามมา น้าป่าจากภูเขาไหลหลากลงมาอยางรุนแรง ทวมบานเรือน ถนน และเรือนสวนไรนา เส

นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน และถนนถูกตดั ขาด

ในทะเล

มีลมพัดแรงจัดมากคลื่นใหญ เรือขนาดใหญอาจถูกพัดพาไปเกยฝั่ง หรือชนหินโสโครก

ทาใหจมได เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝ่ัง หรือหลีกเลี่ยงการเดินเรือเขาใกล้ศูนยกลางพายุมีคลื่นใหญซัดฝ่ัง

ทาใหระดับน้าสูง ทวม อาคารบานเรือนบริเวณริมทะเลและอาจกวาด ส่ิงกอสรางท ีไ่ มแข็งแรงลงทะเลได

เรอื ประมงบริเวณชายฝง จะถูกทาลาย

แนวทางและวิธีการปอ้ งกันวาตภยั

วาตภยั จากพายุฤดรู ้อน วาตภัยจากพายหุ มนุ เขตร้อน

- ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคาเตือนจาก - ติดตามสภาวะอากาศ ฟงคาเตอื นจากกรม

กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา อุตุนยิ มวทิ ยา

- สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย ตลอด - สอบถาม แจงสภาวะอากาศรายโทร

24 ช่ัวโมง 0-2399-4012-3, 0-2398-9838 ตลอด 24

- ติดต้ังสายลอ่ ฟา้ สาหรบั อาคารสูงๆ ชว่ั โมง

- ปลูกสร้าง ซอมแซม อาคารให้แข็งแรง - ฝกซอมการปองกนั ภัยพิบัติเตรยี มพรอมรบั มือ

เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เล้ียง และ และวางแผนอพยพหากจาเปน

พืชผลการเกษตรเม่อื ย่างเขา้ สู่ฤดรู อ้ น - เตรยี มเครือ่ งอปุ โภค บรโิ ภคยารักษาโรคไฟฉาย

- ไม่ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด ขณะมีฝน แบตเตอร่ีวิทยุกระเปาหว้ิ ติดตาม ขาวสาร

ฟา้ คะนอง และยานพาหนะ

- ไม ใส เครื่องประดับโลหะและอยู่ - ซอมแซมอาคารใหแข็งแรง เตรียมปองกนั ภัยให

กลางแจง้ ขณะมฝี นฟา้ คะนอง สัตวเลี้ยง และพืชผลการเกษตร

- เตรียมพรอมอพยพเมื่อไดรับแจงใหอพยพ

เหตุการณด์ ังกลา่ วยังไม่เกิดข้ึนในเขตจงั หวัดเพชรบูรณ์ แตก่ ็ประมาทไม่ได้ หากมกี ารเดินทางไป

ทะเลในชว่ งเวลาดังกล่าวจะได้รู้จกั เตรียมตัวและป้องกันภยั ได้

คูม่ ือการป้องกันตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 7

(2) อุทกภัย หมายถึง ภัยและอันตรายที่ เกิดจากสภาวะน้าท่วมหรือน้าท่วมฉับพลัน มีสาเหตุ
มาจากการเกดิ ฝนตกหนักหรอื ฝน ตอ่ เน่ืองเปน็ เวลานาน มีสาเหตุจากเน่อื งมาจาก

 หยอมความกดอากาศตา่
 พายหุ มนุ เขตรอน ไดแกพายดุ เี ปรสช่นั , พายุโซนรอน , พายใุ ตฝุน
 รองมรสุมหรอื รองความกดอากาศต่ากาลังแรง
 ลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใตกาลงั แรง
 ลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ
 เข่ือนพงั (อาจมสี าเหตุจากแผนดินไหวและอน่ื ๆ)
ภัยจากนา้ ทวมหรืออุทกภัยสามารถแบงไดดังน้ี
 อุทกภัยจากน้าป่าไหลหลากและน้าทวมฉับพลนั มักจะเกดิ ข้ึนในที่ราบต่า หรือที่ราบลุ่ม
บริเวณใกล้ภูเขาตนน้า เมื่อมีฝนตกหนักเหนือภูเขาตอเน่ืองเปนเวลานาน จะทาใหจานวนน้าสะสมมีปริมาณ
มากจนพื้นดิน และตนไมดูด ซับไมไหวไหลบาลงสูท่ีราบต่าเบ้ืองลางอยางรวดเร็ว มีอานาจทาลายรางรุนแรง
ระดับหนง่ึ ที่ทาให้บ้านเรือน พังทลายเสียหาย และอาจทาใหเกิดอันตรายถึงชวี ิตไดความแรงของน้าสามารถ
ทาลายตนไมอาคารถนน สะพาน ชวี ติ และทรพั ยสนิ
 อุทกภัยจากน้าทวมขังและน้าเออทน เกิดจากน้าในแม่น้าลาธารลนตลิ่ง หรือมีระดับสูง
จากปกติ เอ่อท่วมลนไหลบาออกจากระดับตล่ิงในแนวระนาบ จากท่ีสูงไปยังท่ีต่าเขาทวมอาคารบ้านเรือน
เรือกสวนไรนาไดรับความ เสียหาย หรือเปนสภาพน้าทวมขัง ในเขตเมืองใหญท่ีเกิดจากฝนตกหนัก ต่อเนื่อง
เปนเวลานาน มีสาเหตุมาจาก ระบบการระบายน้าไมดีพอ มีส่ิงกอสรางกีดขวางทางระบายน้าหรือเกิดน้า
ทะเลหนุนสูงกรณีพ้ืนที่อยูใกลชายฝง ทะเลทาใหการคมนาคมชะงักเกดิ โรคระบาดทาลายสาธารณูปโภคและ
พชื ผลการเกษตร เม่ือเกดิ อุทกภยั อนั ตรายและความเสยี หายทเี่ กิดขึน้ มีอะไรบาง
สามารถแบงอนั ตรายและความเสยี หายท่ีเกดิ จากอุทกภยั ไดดังนี้
 น้าท่วมอาคารบานเรอื น สง่ิ กอสรางและสาธารณสถาน ซ่งึ จะทาใหเกิดความเสียหายทาง
เศรษฐกิจอยางมาก บานเรือนหรืออาคารสิ่งกอสรางที่ไมแข็งแรงจะถูกกระแสน้าท่ีไกลเชี่ยวพังทลายไดคน
และสัตวพาหนะและสตั วเลี้ยงอาจไดรบั อันตรายถงึ ชีวติ จากการจมน้าตาย
 เสนทางคมนาคมและการขนสงอาจจะถูกตัดเปนชวง ๆ โดยความแรงของกระแสน้าถนน
และสะพานอาจจะ ถกู กระแสนา้ พดั ใหพังทลายได สนิ คาพัสดุอยูระหวางการขนสงจะไดรบั ความเสียหายมาก
 ระบบสาธารณูปโภคจะไดรบั ความเสียหายเชน โทรศพั ทโทรเลขไฟฟาและประปา ฯลฯ
 พื้นท่ีการเกษตรและการปศุสัตวจะไดรับความเสียหายเชน พืชผลไรนา ทุกประการที่
กาลังผลิดอกออกผลอาจ ถูกน้าทวมตายได สัตว พาหนะ วัว ควาย สัตวเลี่ยงตลอดจนผลผลิตที่เก็บกักตุน
หรอื มีไวเพ่ือทาพนั ธุจะไดรับ ความเสยี หายความเสยี หายทางออม จะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโดยทัว่ ไป เกิด
โรคระบาด สุขภาพจิตเสอื่ ม และสูญเสยี ความปลอดภัย เปนตน
แนวทางและวิธีการป้องกนั สามารถกลาวพอสงั เขปไดดงั น้ี
 ติดตามสภาวะอากาศ ฟงคาเตือนจากกรมอุตุนยิ มวิทยา
 สอบถาม แจงสภาวะอากาศราย โทร 0-2399-4012-3 , 0-2398-9838 ตลอด 24 ช่ัวโมง
 ฝกซอมการปองกันภัยพบิ ัติเตรยี มพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจาเปน
 เตรยี มน้าด่มื เครอื่ งอปุ โภค บริโภคไฟฉายแบตเตอร่ี วิทยุ กระเปาห้ิว ติดตามขาวสาร
 ซอมแซมอาคารใหแขง็ แรง เตรียมปองกันภัยใหสัตวเล่ยี งและพืชผลการเกษตร

คูม่ ือการป้องกันตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 8

 เตรียมพรอมเสมอเม่ือไดรับแจงใหอพยพไปที่สูง เม่ืออยูในพื้นยท่ีเสี่ยงภัยและฝนตก
หนักตอเน่อื ง

 ไมลงเล่นน้า ไมขับรถผานน้าหลากแมอยูบนถนน ถาอยูใกล้น้า เตรียมเรือเพ่ือการ
คมนาคม

 หากอยูในพื้นที่น้าทวมขัง ปองกันโรคระบาด ระวังเร่ืองน้าและอาหาร ตองสุกและ
สะอาดกอนบริโภค

เมื่อไดรับคาเตือน เร่ืองอุทกภยั จากกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยาควรปฏิบัตติ นอยางไร
กอนเกดิ ควรปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
ก. เชอ่ื ฟงคาเตือนอยางเครงครัด
ข. ติดตามรายงานของกรมอุตุนยิ มวทิ ยาอยางตอเน่ือง
ค. เคลือ่ นยาย คน สัตวเลี้ยง เชน ววั ควายและสิ่งของไปอยูในที่สูง ซึ่งเปนท่ีพนระดับ
นา้ ท่เี คยทวม มาก่อน
ง. ทาคันดินหรือกาแพงกั้นนา้ โดยรอบ
จ. เคลื่อนย้ายพาหนะเชน รถยนตหรือลอเล่ือนไปอยูท่ีสูง หรือทาแพสาหรับท่ีพัก
รถยนต อาจจะใชถ้ งั น้า ขนาด 200 ลติ ร ผกู ติดกันแลวใชกระดานปกู ็ได
ฉ. เตรียมกระสอบใสดินหรือทรายเพื่อเสริมคันดินที่กั้นน้าใหสูงข้ึน เม่ือระดับน้าข้ึน
สูงทวมคันดนิ ทส่ี รา้ งอยู่
ช. ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง หรือแพไมไวใชดวย เพื่อใชเปนพาหนะในขณะน้าท่วม
เปนเวลานาน เรอื เหล่าน้ี สามารถชวยชีวติ ไดเม่อื อุทกภยั คุกคาม
ซ. เตรียมเคร่ืองมือชางไม้ ไม้กระดาน และเชือกไวบางสาหรับตอแพเพ่ือชวยชีวิตใน
ยามคับขัน เม่ือน้าท่วมมากขึ้น จะไดใช้เครื่องมือชางไมเปดหลังคาร้ือฝาไม้เพ่ือใช
ชวยพยงุ ตวั ในน้าได
ฌ. เตรียมอาหารกระปอง หรืออาหารสารองไวบาง พอท่ีจะมีอาหารรับประทานเมื่อ
นา้ ทวมเปนระยะเวลาหลาย ๆ วัน อาหารยอมขาดแคลนและไมมีท่หี ุงตม
ญ. เตรียมน้าดื่มเก็บไวในขวดและภาชนะท่ีปดแนน ๆ ไวบางเพราะน้าที่สะอาดท่ีใช
ตามปกติขาดแคลนลงระบบ การสงน้าประปาอาจจะหยุดชะงกั เปนเวลานาน
ฎ. เตรียมเครื่องเวชภัณฑไวบางพอสมควรเชน ยาแกพิษกัดตอยแมลงปอง ตะขาบ งู
และสัตวอ่ืน ๆ เพราะเมื่อเกิด น้าทวมพวกสัตวมีพิษ เหล่านี้จะหนีน้าขึ้นมาอยูบน
บานและหลงั คาเรอื น
ฏ. เตรียมเชือก มนิลามีความยาวไมนอยกวา 10 เมตร ใชปลายหน่ึงผูกมัดกับตนไม
เปนทยี่ ึดเหน่ียว ในกรณีท่ีกระแสน้าเชี่ยวและคลน่ื ลกู ใหญซัดมากวาดผูคนลงทะเล
จะชวยไมใหไหลลอยไปตามกระแสนา้
ฐ. เตรียมวิทยุท่ีใช้ถ่านไฟฉาย เพ่ือไวติดตามฟังรายงานข่าวลักษณะอากาศจากกรม
อตุ ุนิยมวิทยา
ฑ. เตรียมไฟฉาย ถ่านไฟฉาย และเทียนไข เพอ่ื ไวใช้เมอ่ื ไฟฟา้ ดบั
ขณะเกิด ควรตั้งสติให้ม่ันคง อย่าตื่นเต้นกลัวหรือตกใจ ควรเตรียมพร อมท่ีจะเผชิญ

เหตกุ ารณ์ด้วยความสุขมุ รอบคอบ และควรปฏบิ ัติดังตอ่ ไปน้ี

คูม่ อื การปอ้ งกนั ตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 9

ก. ตดั สะพานไฟ และปดิ แกส๊ หุงต้มใหเ้ รียบรอ้ ย
ข. จงอยใู่ นอาคารที่แขง็ แรง และอยู่ในท่ีสงู พน้ ระดับนา้ ที่เคยทว่ มมาก่อน
ค. จงทาใหร้ า่ งกายกายอบอนุ อยเู สมอ
ง. ไมควรขบั ขยี่ านพาหนะฝ่าลงไปในกระแสน้าหลาก
จ. ไมควรเลน่ น้าหรอื วา่ ยน้าเล่นในขณะนา้ ทว่ ม
ฉ. ระวังสัตว์มีพิษท่ีหนีน้าท่วมขึ้นมาอยู่บนบ้าน และหลังคาเรือนกัดต่อย เช่น งู

แมลงปอ่ ง ตะขาบ เป็นตน้
ช. ติดตามเหตุการณอย่างใกล้ชิด เช่น สังเกตลมฟ้าอากาศ และติดตามคาเตือน

เกีย่ วกบั ลักษณะอากาศจากกรม อุตุนิยมวทิ ยา
ซ. เตรียมพรอมที่จะอพยพไปในที่ปลอดภัยเม่ือสถานการณจวนตัว หรือปฏิบัติตาม

คาแนะนาของทางราชการ
ฌ. เม่อื จวนตัวใหค้ านึงถึงความปลอดภยั ของชวี ติ มากกวา่ ห่วงทรัพย์สมบัติ
หลังเกิด เมื่อระดับน้าลดลงจนเป็นปกติ การบูรณะซ่อมแซมส่ิงต่างๆ จะต้องเริ่มต้นทันที
งานบูรณะตา่ งๆ เหลา่ นี้จะประกอบด้วย
ก. การขนส่งคนอพยพกลับยงั ภมู ลิ าเนาเดิม
ข. การช่วยเหลอื ในการร้อื สิ่งปรักหกั พงั ซอมแซมบ้านเรือนท่หี ักพัง และถา้ บา้ นเรือน

ทีถ่ ูกทาลายสิ้น กใ็ หไ้ ดร้ ับ ความชว่ ยเหลอื ในการจดั หาที่พักอาศยั และการดารงชีพ
ช่วั ระยะหนึง่
ค. การกวาดเก็บขนสิ่งปรักหักพังท่ัวไป การทาความสะอาดบ้านเรอื น ถนนหนทางที่
เต็มไปด้วยโคลนตม และส่ิง ชารุดเสียหายท่ีเกล่ือนกลาดอยู่ทั่วไปกลับสูสภาพ
ปกตโิ ดยเร็ว
ง. ซ่อมแซมบ้านเรอื นอาคาร โรงเรยี นท่ีพักอาศยั สะพานท่ีหักพังชารุดเสียหาย และ
ทเ่ี สยี หายมากจนไมอาจ ซอมแซมไดกใ็ หร้ อื้ ถอนเพราะจะเปน็ อนั ตรายได้
จ. จัดซ่อมทาเคร่ืองสาธารณูปโภค ให้ กลับคืนสู สภาพปกติโดยเร็วท่ีสุด เช่น
การไฟฟา้ ประปา โทรเลข โทรศพั ท์
ฉ. ภายหลังน้าท่วมจะมีซากสัตว์ตาย ปรากฏในที่ต่างๆ ซึ่งจะต้องจัดการเก็บฝัง
โดยเร็ว สัตว์ที่มีชีวิตอยู่ซ่ึงอดอาหารเป็นเวลานาน ใหร้ ีบให้อาหารและนากลับคืน
ให้เจา้ ของ
ช. ซอมถนน สะพาน และทางรถไฟท่ีขาดตอนชารดุ เสียหายให้กลับสู่สภาพเดิม เพ่ือ
ใช้ในการคมนาคมไดโดยเร็ว ทีส่ ุด
ซ. สร้างอาคารชั่วคราวสาหรับผู้ที่อาศัย เน่ืองจากถูกอุทกภัยทาลายให้อยู่อาศัยเป็น
การชัว่ คราว
ฌ. การสงเคราะห์ผู้ประสบอุทกภัย มีการแจกเส้ือผ้า เคร่ืองนุ่งห่ม และอาหารแกผู้
ประสบภัย ความอดอยาก ความขาดแคลนจะมีอยู่ระยะหนึ่ง ซ่ึงควรจะไดรับ
ความชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยบรรเทาทกุ ข์หรอื มลู นิธิ และอีกประการ หนึ่ง
ญ. ภายหลังอุทกภัย เนื่องจากสิ่งแวดล้อมมีการเปล่ียนแปลงอย่างมาก จะทาให้เกิด
เจ็บไขและโรคระบาดได

คมู่ อื การป้องกันตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 10

(3) อากาศหนาวผิดปกติ คือ ภัยท่ีเกิดขึ้นจากสภาพอากาศท่ีหนาวจัดอุณหภูมิต่ากว่า 15
องศาเซลเซียสและลงอย่างต่อเนื่องจนประชาชนได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวางเกิดขึ้นระหว่าง
เดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นกมุ ภาพันธ์ ซึ่งเปน็ ช่วงที่ความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผล่ งมา ปกคลุมประเทศ
ไทยส่งผลให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน จาก http://thainews.prd.go.th/banner/th/2561/02
/disaster2018/winter.php อา้ งอิงจาก สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดน่าน (http://pr.prd.go.th/nan)
แนวทางและวธิ กี ารป้องกัน

 หมั่นดูแลรักษาสุขภาพร่างกาย ด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอพร้อมกับเตรียม
เส้อื ผ้าเครือ่ งนุ่งห่ม รวมทัง้ อปุ กรณป์ อ้ งกันความหนาวเยน็

 เกษตรควรเตรียมความพร้อมในการป้องกันพืชผลทางการเกษตรซ่ึงหากเป็นพืชผักควร
จัดเตรียมโรงเรือน หรือกางมุ้งผัก หรืออาจมีวัสดุคลุมแปลงปลูกเพื่อลดผลกระทบจาก
อุณหภูมทิ ่ลี ดตา่ ลง

 เกษตรกรควรเตรียมอาหารและนา้ ใหเ้ พยี งพอต่อสตั ว์เลย้ี ง
 หมนั่ ตรวจสอบอปุ กรณ์ไฟฟ้า สายไฟภายในบา้ นหากชารุดตอ้ งซ่อมแซมให้มีสภาพปลอดภัย

(4) คล่ืนความร้อน เป็นปรากฎการณ์อากาศร้อนมากกว่าท่ีเคย ทาให้เราได้เห็นข่าวคนท่ีเป็น
โรคลมแดด หรือฮีทสโตกกันหลายครั้ง และยังไม่สามารถพยากรณ์ได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ แต่มีแนวโน้ม
เป็นไปได้มากท่ีจะเกิดขึ้นในประเทศไทย เพราะความช้ืนจากทะเลจะพัดเข้ามาปกคลุมประเทศไทยในขณะที่
อากาศร้อน จากสภาพอากาศที่ร้อนและมีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูงทาให้เหง่ือไม่สามารถระเหย และพา
ความร้อนออกจากรา่ งกายได้ ทาให้รู้สกึ ร้อนอบอ้าวส่งผลให้ระบบเมตาบอลิซึมในร่างกายลัมเหลวถึงเสียชีวิต
ได้ ส่วนในต่างประเทศอาจมีการเตือนถึงการเกิดคลื่นความร้อนและแนะนาการรับมือภัยธรรมชาติน้ี โดยให้
อยู่ในบ้านหรือในตัวอาคารท่ีมีร่มเงาและด่ืมน้ามากๆ เพื่อป้องกันการสูญเสียน้าของร่างกาย ในช่วงฤดูร้อน
ของประเทศไทยตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคมเป็นระยะเวลาที่ข้ัวโลกเหนือหันเข้าหา
ดวงอาทติ ย์ โดยเฉพาะเดอื นเมษายนบริเวณประเทศไทย ซ่ึงดวงอาทิตย์อยเู่ กือบตรงศรี ษะในเวลาเท่ียงวัน ทา
ให้ประเทศไทยได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เต็มที่ บางคร้ังยังมีหย่อมความกดอากาศต่าจากความร้อนปก
คลุม การเพ่ิมขึ้นของก๊ชเรือนกระจกที่มีแนวโน้มสูงข้ึนในแต่ละปี และปีใดท่ีมีปรากฎการณ์เอลนีโญเกิดข้ึนก็
จะเป็นสาเหตุทาให้โลกร้อนยิง่ ขึ้น ประทศไทยก็จะมีอุณหภมู ิสูงกว่าปกติ ถ้าปรากฎการณ์เอลนีโญรุนแรงจะมี
ผลทาให้ประเทศไทยรอ้ นมากยิง่ ขน้ึ ในแตล่ ะวนั อุณหภูมิชว่ งกลางวนั เวลาประมาณ 1300 น. ถงึ 16.00 น.จะ
เป็นช่วงทอี่ ุณหภูมิอากาศรอ้ นทสี่ ุด โดยเฉพาะเวลาประมาณ 14.00 น. จะเป็นช่วงเวลาท่ีร้อนที่สุดคลื่นความ
ร้อน(Heat Wave) คือช่วงระยะเวลาหนึ่งท่ีอากาศร้อนกว่าปกติ ซ่ึงอาจมีความชื้นมากนิยามของคลื่นความ
รอ้ นไมไ่ ด้กาหนดไวเ้ ป็นสากลท่ัวไป คลื่นความร้อนกับการผนั แปรอากาศและชว่ งเวลาท่ีรอ้ น ความรุนแรงของ
คล่ืนความร้อนเป็นสาเหตุให้ผลผลิตเสียหายอยา่ งหนัก คนหลายพนั คนที่ต้องตายจากโรคท่ีเกดิ จากความร้อน
สูงและมกี ารใช้กระแสไฟฟ้ามากเกินปกตเิ ป็นบริเวณกว้างในขณะเดยี วกันกม็ ีการใชเ้ ครอ่ื งปรับอากาศเพิ่มมาก
ข้ึน จ าก สา นั กง า นเ ผ ยแ พ ร่ป ร ะช า สัม พั นธ์ กร ม คว บ คุม โ รค http://old.ddc.moph.go.th/
advice/showimgpic.php?id=374 มรี ูปแบบ ดังนี้

 คล่ืนความร้อน(Heat wave) จะมีความร้อนสูง 322 องศาเซลเซียส (90 องศาฟาเรนไฮต์)
หรือสูงกว่านี้เป็นระยะเวลานานมากกว่า 48 ช่ัวโมง และมีความข้ึนสัมพัทธ์ 80% หรือ
มากกว่านี้

คมู่ ือการปอ้ งกนั ตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 11

 ดรรชนีความร้อน(Heat index) หมายถึง จานวนองศาเซลเซียสหรือฟาเรนไฮต์ที่บอกถึง
อากาศร้อนอย่างไร ซ่ึงเป็นความรู้สึกจริงๆ ของคนท่ีสัมพันธ์กับอุณหภูมิและความชื้นหรือ
หมายถึงดรรชนีการวัดค่าความร้อนที่แท้จริงท่ีเรารู้สึกสืบเนื่องมา จากผลของความข้ึนใน
สภาวะของอณุ หภมู สิ งู ร่างกายของคนเราจะรู้สึกร้อนกวา่ อุณหภูมิที่วดั ได้จากเทอรโ์ มมิเตอร์

 โรคเพลียแดด (Heat Exhaustion) มีอันตรายน้อยกว่าความร้อนชนิด โรคลมร้อน ซึ่ง
เกิดขึ้นเมื่อคนท่ีออกแรงทางานหนักหรือออกกาลังมากในท่ีมีอากาศร้อนและช้ืนทาให้
ของเหลวในร่างกายสูญเสียไปกลายเป็นเหง่ือออกมา ของเหลวที่สูญเสียเป็นสาเหตุให้เลือด
ไปเลย้ี งกลม้ เนือ้ ทส่ี าคญั ลดลงทาใหเ้ กดิ อาการช็อก

 โรคลมแดด (Heat Stroke) เป็นโรคท่ีเกิดจากการท่ีร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไปจน
ทาให้อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 40 องศาเชลเชียส โดยอาการที่เกิดเบื้องตันได้แก่ เมื่อยล
อ่อนเพลีย เบ่อื อาหาร คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล ปวดศีรษะ ความดันต่า หน้ามืด ไวต่อสิ่ง
เราได้ง่าย และยังอาจมีผลต่อระบบไหลเวียน จากนั้นยังมีอาการเพิ่มเติมอาทิ ภาวะขาด
เหงื่อ เพอ้ ชัก ไมร่ ู้ตัว มีการตาย ของเชลล์ตบั หายใจเร็ว มีการบวมบริเวณปอด การค่งั ของ
ของเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ ไปจนถึงอาการซ้าอก การช่วยเหลือในเบ้ืองตันให้นาผู้ป่วย
เขา้ ร่ม นอนราบ ยกเท้าสูงทงั้ 2 ข้าง ถอดเส้ือผา้ ออก ใช้ผา้ ชบุ น้าเย็นหรือน้าแข็งประคบตาม
ซอกตัว คอ รักแร้ เชิงกราน ศรี ษะ ร่วมกับการใช้พัดลมเป้าระบายความร้อน หรือเทน้าเย็น
ราดลงบนตัวเพื่อลอุณหภมู ิรา่ งกายใหล้ ดตา่ ลงโดยเร็วทส่ี ดุ จากน้ันรบี นาสง่ โรงพยาบาล

แนวทางและวิธีการป้องกัน ควรหลีกเล่ียงแดด อย่าขาดน้า ใส่เส้ือคลายร้อน ช่วยป้องกันโรคลมแดด
(กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา) ดงั นี้

ก. เตรียมสภาพร่างกายให้พร้อมด้วยการออกกาลังกายกลางแจ้งอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 คร้ัง
คร้งั ละอยา่ งน้อย 30 นาท่ี เพือ่ ให้ร่างกายปรบั สภาพใหเ้ คยชนิ กบั อากาศร้อน

ข. หลกี เลีย่ งการอยู่กลางแดดในวันทีอ่ ากาศร้อนจัด โดยเฉพาะช่วงเวลา 10.00-15.00 น.
ค. ด่ืมน้า12 แก้วก่อนออกจากบ้านในวันที่มีอากาศร้อนจัด และหากต้องอยู่ท่ามกลางสภาพ

อากาศรอ้ นควรดืม่ นา้ ใหไ้ ด้ชว่ั โมงละ 1 ลิตร หรือ 4-6 แกว้ ต่อชว่ั โมง
ง. สวมใส่เสอ้ื ผา้ ทม่ี สี ีอ่อน ไม่หนา นา้ หนกั เบา และสามารถระบายความรอ้ นได้ดี
จ. ใช้โลช่ันกันแดดท่มี คี า่ SPF 15 ขน้ึ ไปกอ่ นออกจากบ้าน
ฉ. เด็กเล็กหรือคนชราท่ีช่วยเหลือตัวเองได้น้อยควรดูแลเป็นพิเศษโดยจัดให้อยู่ใน

สภาพแวดล้อม หรือห้องที่ระบายอากาศได้ดี ในเด็กอาจต้องให้มีระยะพักระหว่างการเล่น
ทุก 1 ช่ัวโมง และใหด้ ่ืมนา้ 1 แก้วในระหวา่ งน้ัน
ช. อย่าเพิกเฉยต่อความรู้สึกร้อน หรือเหน่ือยเกินไปของเด็กและคนชรา และอย่าปล่อยให้เด็ก
หรือคนชราอย่ใู นรถท่ปี ดิ สนิทตามลาพงั
ซ. หลีกเลี่ยงการกินยาแก้แพ้ ลดน้ามูก โดยเฉพาะก่อนการออกกาลังกาย หรือต้องอยู่
ทา่ มกลางสภาพอากาศร้อน หรืออย่กู ลางแดดเปน็ เวลานาน ๆ
ฌ. หลีกเล่ยี งเครอื่ งด่มื ท่ีมแี อลกอฮอล์ และยาเสพตดิ ทุกชนดิ

คมู่ อื การปอ้ งกนั ตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 12

(5) สึนามิ เป็นภัยธรรมชาติที่ไม่เคยเกิดขึ้นในจังหวัดเพชรบูรณ์ แต่ควรทราบสาเหตุและวิธี
ปอ้ งกันตวั เบือ้ งต้น เมอื่ สถาการณ์จริง

สึนามิ เป็นชื่อคลนื่ ชนิดหน่ึงทีม่ ียาวคลื่นหลายกโิ ลเมตร และช่วงห่างระยะเวลาของแต่ละลูก
คล่นื ยาวนาน การเกดิ คลนื่ สนึ ามมิ ีหลายสาเหตุ ที่สาคัญและเกิดบอ่ ยๆ คือเกดิ จากการเคลือ่ นตัวของพ้ืนทะเล
ในแนวด่ิงจมตัวลงตรงแนวรอยเล่ือนเม่ือเกิดแผ่นดินไหว หรือการที่มวลของน้าถูกแทนท่ีทางแนวดิ่งของ
แผ่นดิน หรือวัตถุ "Tsunami" สึนามิ เป็นคามาจากภาษาญี่ปุน ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "harbor
wave" หรือคล่ืนในอ่าว ฝ่ัง หรือท่าเรือ โดยทีค่ าว่า "Tsu" หมายถึง "harbor" อ่าว ฝง หรือทา่ เรือ สว่ นคาว่า
'Nami' หมายถึง "คล่ืน" คลื่นสึนามิน้ันสามารถเปลี่ยนสภาพพื้นท่ีชายฝั่งในช่วงเวลาส้ันๆ ให้เปลี่ยนแปลงได
อย่างมหาศาล สวนสาเหตุอื่นๆ ท่ีทาให้เกิดคลื่นสึนามิไดนั้น ไดแกการเกิดแผ่นดินถล่ม ท้ังที่ริมฝั่งทะเล และ
ใต้ทะเล เช่นที่ ปาปัวนิวกินี หรือ ผลจากอุกกาบาตพุ่งลงทะเลทาให้มวลน้าถูกแทนที่จึงเกิดปฏิกิริยาของแรง
ต่อเนื่องทาให้เกิดคล่ืนยักษ์ใต้น้าข้ึน ซ่ึงก็คือคลื่นสึนามิ น่ันเอง กรณีที่เม่ือเกิดแผ่นดินไหวขึ้นในมหาสมุทร
หรือใกล้ชายฝั่งแผ่นดินไหวจะสร้างคลื่นขนาดมหึมา จะแผ่ออกทุกทิศ ทุกทาง จากแหล่งกาเนิดนั่นคือแผ่
ออกจากรอบศูนย์กลางบริเวณที่เกิดคล่ืนสึนามิ เม่ืออยู่บริเวณน้าลึกจะมีความสูงของคลื่นไมมากนัก และไม่
เป็นอันตรายต่อเรือเดินทะเล แต่คล่ืนจะค่อนข้างใหญ่มากและอันตรายเม่ือเข้าสู่ฝั่งสภาพที่เป็นจริงในทะเล
เปิดนา้ ลึก จะเห็นคลา้ ยลูกคลืน่ ไม่สูงนักว่งิ ไปตามผวิ น้า ซง่ึ เรอื ยังสามารถแลนอยูบน ลกู คลื่นนไี้ ดแ้ ตเ่ มือ่ คล่ืน
น้ีเคล่ือนมาถึงบริเวณน้าต้ืนใกล้ชายฝั่งมันจะเคลื่อนโถมเข้าสู่ชายฝั่ง บางคร้ังสูงถึง40 เมตร ซ่ึงคล่ืนสึนามินี้มี
ความเร็วสูงมากเมื่ออยู่ในทะเลลึก โดยมีความเร็วประมาณ 720 กม. / ช่ัวโมง ในบริเวณท่ีทะเลมีความลึก
4,000 เมตร

มาตรการป้องกันภัยจากคล่ืนสึนามิของกรมอุตุนิยมวิทยา ในวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2004
กรมอุตุนิยมวิทยาได้ออก 14 มาตรการป้องกันภัยจากคลื่นสึนามิ เตือนประชาชนสังเกตความเคล่ือนไหวพบ
ส่งิ ผดิ ปกติ ป้องกนั ตวั โดยไม่ต้องรอประกาศราชการ

(1) เมื่อรู้สึกว่ามีการส่ันไหวเกิดข้ึน ขณะท่ีอยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝ่ัง ให้รีบออก
จากบริเวณชายฝั่งไปยังบริเวณที่สูงหรือท่ีดอนทันทีโดยไม่ต้องรอประกาศจาก
ทางการ เน่อื งจากคล่นื สึนามเิ คล่ือนทด่ี ว้ ยความเรว็ สูง

(2) เมือ่ ได้รับฟังประกาศจากทางการเกีย่ วกับการเกิดแผน่ ดนิ ไหวบริเวณทะเลอันดา
มันใหเ้ ตรียมรบั สถานการณ์ท่ีอาจจะเกดิ คลืน่ สึนามิตามมาได้โดยด่วน

(3) สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่งหากมีการลดระดับของน้าลงมาก หลังการเกิด
แผ่นดนิ ไหว ใหส้ นั นษิ ฐานว่าอาจเกดิ คล่ืนสนึ ามิตามมาได้ ให้อพยพคนในครอบครัว
สัตว์เลี้ยงใหอ้ ยูห่ ่างจากชายฝ่งั มากๆ และอยู่ในท่ีดอนหรือท่นี า้ ทว่ มไมถ่ ึง

(4) ถ้าอยู่ในเรือซ่ึงจอดอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวฯให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเล
เม่ือทราบว่าจะเกิดคลื่นสึนามิพัดเข้าหา เพราะคล่ืนสึนามิที่อยู่ไกลชายฝ่ังมากๆ
จะมขี นาดเลก็

(5) คลื่นสึนามิอาจเกิดข้ึนได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว เนื่องจากมี
การแกว่งไปมาของน้าทะเลดังนั้นควรรอซักระยะเวลาหน่ึงจึงสามารถลงไป
ชายหาดได้

(6) ติดตามการเสนอขา่ วของทางราชการอยา่ งใกล้ชิดและต่อเนอ่ื ง

คมู่ อื การป้องกันตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 13

(7) หากท่ีพักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทาเข่ือน กาแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุลด
แรงปะทะของน้าทะเลและก่อสร้างทพี่ ักอาศัยใหม้ ่ันคงแข็งแรงในบริเวณย่านที่มี
ความเส่ยี งภัยในเร่ืองคลืน่ สึนามิ

(8) หลีกเล่ียงการก่อสร้างใกล้ชายฝ่ังในย่านท่มี ีความเสีย่ งภัยสงู
(9) วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคล่ืนสึนามิเช่นกาหนดสถานท่ีในการอพยพ

แหลง่ สะสมน้าสะอาด เปน็ ตน้
(10) จดั วางผงั เมอื งใหเ้ หมาะสมบรเิ วณแหลง่ ทอ่ี ยู่อาศัยควรมีระยะห่างจากชายฝงั่
(11) ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องการป้องกันและบรรเทาภัยจาก

คล่นื สนึ ามิและแผ่นดนิ ไหว
(12) วางแผนล่วงหน้าหากเกิดสถานการณ์ข้ึนจริง ในเรื่องการประสานงานระหว่าง

หน่วยงานที่เก่ียวข้อง กาหนดข้ันตอนในด้านการช่วยเหลือบรรเทาภัย ด้าน
สาธารณะสุข การรื้อถอนและฟ้นื ฟสู ง่ิ ก่อสร้าง เป็นต้น
(13) อย่าลงไปในชายหาดเพ่ือดูคล่ืนสึนามิ เพราะเม่ือเห็นคล่ืนแล้วก็ใกล้เกินกว่าจะ
หลบหนีไดท้ ัน
(14) คล่ืนสึนามิในบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก แต่อีกบริเวณหน่ึงอาจมีขนาดใหญ่
ดังนั้นเมอ่ื ได้ยินขา่ วการเกิดคล่ืนสึนามิขนาดเล็กในสถานท่ีหน่ึง จงอย่าประมาท
ใหเ้ ตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณ์

(6) แผ่นดินถล่ม เป็นปรากฏการณธรรมชาติของการสึกกร่อนชนิดหน่ึงท่ีก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อบริเวณพ้ืนท่ีท่ีเป็นเนินสูงหรือภูเขาท่ีมีความลาดชันมาก เนื่องจากขาดความสมดุลในการทรงตัว
บริเวณดังกลา่ วทาให้เกดิ การปรับตัวของพื้นดินต่อแรงดึงดูดของโลก และเกิดการเคล่อื นตัวขององค์ประกอบ
ธรณีวิทยาบริเวณน้ันจากที่สูงลงสูท่ีต่า แผ่นดินถล่มมักเกิดในกรณีที่มีฝนตกหนักมาก บริเวณภูเขาและภูเขา
น้ันอมุ้ น้าไวจนเกิดการอ่ิมตัว โดยเฉพาะภูเขาหินแกรนิต มีพันธุไมปกคลมุ น้อย ต้นน้าลาธารถูกทาลาย มักจะ
เกิดเมื่อมฝี นตกหนกั หลายช่วั โมง จนทาใหเ้ กิดการพังทลายตามลักษณะการเคลือ่ นตัวได แบง่ ได้ 3 ชนดิ คือ

 แผ่นดินถล่มท่ีเคล่ือนตัวอย่างแผ่นดินถล่มท่ีเคลื่อนตัวอย่างช้าๆ เรียกว่า Creep เช่น
Surficial Creep

 แผ่นดนิ ถล่มที่เคล่อื นทเ่ี คลอ่ื นตัวอย่างรวดเรว็ เรยี กว่า Slide หรอื Flow เช่น Surficial Slide
 แผ่นดินถลม่ ทเ่ี คลอ่ื นตวั อย่างฉบั พลนั เรียกวา่ Fall Rock Fall
นอกจากน้ียังสามารถแบงออกไดตามลักษณะของวัสดุที่ร่วงหล่นลงมาได้ 3 ชนิด คือ แผ่นดิน
ถล่มที่เกิดจากการเคล่ือนตัวของผิวหน้าดินของภูเขา แผ่นดินถล่มที่เกิดจากการเคลื่อนท่ีของวัตถุที่ยังไม
แข็งตวั แผน่ ดนิ ถลม่ ที่เกิดจาการเคล่อื นตัวของช้นั หนิ
แผ่นดินถล่มในประเทศไทย มักเกิดขึ้นเม่ือไร และบริเวณใด แผ่นดินถล่มในประเทศไทย
ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาซึ่งเป็นต้นน้าลาธาร บริเวณตอนบนของประเทศ
โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีโอกาสเกิดแผน่ ดินถล่มเนื่องมาจากพายุหมุนเขตร้อน
เคลอ่ื นผ่านในระหว่าง เดอื นกรกฎาคม - สิงหาคม ในขณะท่ภี าคใตจะเกิดในชว่ งฤดมู รสุมตะวันออกเฉียงเหนอื
ระหวา่ งเดือนพฤศจกิ ายน – ธนั วาคม ความรุนแรงของแผน่ ดินถล่ม มีองคป์ ระกอบดังนี้ ก. ปริมาณ
ฝนท่ตี กบนภูเขา

คมู่ ือการปอ้ งกนั ตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 14

ข. ความลาดชนั ของภเู ขา
ค. ความสมบรู ณของป่าไม้
ง. ลกั ษณะทางธรณีวิทยาของภเู ขา
ซ่ึงพืน้ ที่ในจังหวัดเพชรบรู ณ์ กม็ ีโอกาสเกิดควรการปอ้ งกนั ดงั น้ี
- ตดิ ตามสภาวะอากาศ
- ฟงั คาเตือนจากกรมอุตนุ ิยมวิทยา
- สอบถาม โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838 ตลอด 24 ชั่วโมง
- อนุรกั ษต์ น้ นา้ ลาธาร ปลกู ป่าเพิ่มเติม
- สรา้ งแนวปอ้ งกนั ดินถลม โดยเฉพาะบรเิ วณตดิ ทางคมนาคม
- เตรียมอปุ กรณฉ์ กุ เฉนิ
- ซักซอ้ มและเตรยี มพรอมเสมอ หากต้องอพยพไปอยทู่ ส่ี ูงและปลอดภัย

(7) โคลนถลม่ สานกั ธรณวี ิทยาส่ิงแวดลอ้ มและธรณพี ิบัตภิ ัย กรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า
ดินถล่มหรือโคลนถล่ม (Landslide or Mass movement) คือการเคล่ือนที่ของมวลดิน หรือหิน ลงมาตาม
ลาดเขาด้วยอทิ ธพิ ลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก โดยปกติ ดินถล่มที่เกิดข้ึนในประเทศไทย ส่วนใหญ่ “ นา้ ” จะมี
ส่วนเก่ียวข้องกับการเกิดดินถล่มเสมอ โดยน้าจะเป็นตัวลดแรงต้านทานในการเคล่ือนตัวของมวลดินหรือหิน
และน้าจะเป็นตัวที่ทาให้คุณสมบัติของดินที่เป็นของแข็งเปลี่ยนไปเป็นของไหลได้ เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้
ท่ัวไปในบริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง อย่างไรก็ตาม ในบริเวณท่ีมีความลาดชันต่าก็สามารถเกิดดินถล่มได้
ถ้ามปี จั จัยท่ีก่อให้เกดิ ดนิ ถลม่ โดยทัว่ ไปบริเวณท่มี ักจะเกดิ ดินถล่ม คอื บรเิ วณท่ีใกลก้ ับแนวรอยเลื่อนท่ีมีพลงั และ
มีการยกตัวของแผ่นดินขึ้นเป็นภูเขาสูง บริเวณที่ทางน้ากัดเซาะเป็นโตรกเขาลึกและชัน บริเวณที่มีแนวรอย
แตกและรอยแยกหนาแน่นบนลาดเขา บริเวณที่มีการผุพังของหินและทาให้เกิดชั้นดินหนาบนลาดเขา ใน
บริเวณที่มคี วามลาดชนั ตา่ และมดี ินที่เกิดจากการผพุ ังของช้ันหินบนลาดเขาหนา ดินถล่มมกั เกิดจากการท่นี ้าซึมลงใน
ชัน้ ดินบนลาดเขาและเกดิ แรงดันของน้าเพ่ิมข้ึนในช้นั ดินโดยเฉพาะในชว่ งที่ฝนตกหนัก ( วรวฒุ ิ, 2548)

ชนิดของดินถล่มท่ีพบในประเทศไทยจากการศึกษาการแผ่กระจายของรอยดินถล่ม ในพ้ืนท่ีที่
เคยเกิดดินถล่มในประเทศไทยส่วนใหญ่ พบว่า รอยของดินถล่มมีลักษณะเกิดร่วมกันได้หลายแบบ และมัก
เกิดตามทางน้าเดิมท่ีมีอยู่แล้วหรือบนร่องเล็ก ๆ บนลาดเขาท่ีน้ามักไหลมารวมกันเม่ือมีฝนตก และมีความ
ลาดชันสูงมากกว่า ร้อยละ 30 (วรวุฒิ, 2535 ) และเม่ือพิจารณาเฉพาะจุดบนภูเขาสูงพบว่าบริเวณที่ช้ันดิน
หนาส่วนใหญจ่ ะเป็นรูปแบบ DebrisavalancheและRotationalslideส่วนบรเิ วณท่ีชัน้ ดนิ บางจะเปน็ แบบTranslational
slideเป็นส่วนใหญ่ และจากการท่ีดินถล่มในประเทศไทยเกิดร่วมกับการที่มีฝนตกเป็นปริมาณท่ีสูงมาก ดังน้ัน
ชนดิ ของรอยดินถล่มโดยภาพรวม จึงเป็นแบบ Flows เปน็ ส่วนใหญ่ ตะกอนดินทราย ท่ีพังทลายเนือ่ งจากดิน
ถล่ม ก็จะถูกพัดพาโดยน้า ออกจากท่ีเกิดการถล่มลงไปสู่เบ้ืองล่าง ก่อนที่จะไหลลงมากองทับถมกันบริเวณที่
ราบเชิงเขาในลักษณะของเนนิ ตะกอนรปู พัดหน้าหบุ เขา ซงึ่ เปน็ รปู แบบของ Debris flow

ปัจจัยการเกิดดินถล่มที่เกิดข้ึนในปะเทศไทยเกิดจากปัจจัยหลัก 4 ประการ ดังน้ีคือ (คณะ
สารวจพื้นทเี่ กิดเหตดุ ินถล่มภาคเหนอื ตอนลา่ ง, 2550 )

ก. สภาพธรณีวิทยา โดยปกติช้ันดินที่เกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นช้ันดินที่เกิดจากการผุ
กร่อนของหิน ให้เกิดเป็นดิน โดยหินแต่ละชนิดเวลาผุจะให้ชนิดและความหนาของดินท่ี
แตกต่างกันออกไป เน่ืองจากช้ันหินแต่ละชนิดมีอัตราการผุพังไม่เท่ากัน เช่น หินแกรนิต

คูม่ อื การปอ้ งกนั ตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 15

จะมีอัตราการผุพังสูง แร่องค์ประกอบเมื่อผุพังแล้วจะให้ช้ันดินทรายร่วนหรือดินทรายปน
ดินเหนียว และให้ช้ันดินหนาหินภูเขาไฟ มีอัตราการผุพังใกล้เคียงกับหินแกรนิต เม่ือผุพัง
ให้ชั้นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว และให้ชั้นดินหนาเช่นกัน หินดินดาน – หิน
โคลน เมื่อผุพังจะให้ชั้นดินเป็นดินเหนียวปนทราย และมีความหนาน้อยกว่าหินแกรนิต
จากปัจจัยดังกล่าวพบว่า ดินที่ผุพังมาจากหินต่างชนิดกันจะให้ดินต่างชนิดกัน และความ
หนาต่างกัน คุณสมบัติของดินในการยึดเกาะระหว่างเม็ดดินและค่าแรงต้านทานการไหล
ของดินก็จะแตกต่างกันตามชนิดของดินนั้นๆด้วย ทาให้ไหล่เขามีความลาดชันไม่เท่ากัน
และต้นไม้ท่ีข้ึนตามธรรมชาติบนภูเขาต่างชนิดกันตามชนิดของช้ันดินและความสูงของ
ภูเขานอกจากชนิดของหินแล้ว ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาเช่น รอยเล่ือน รอยแตก
และทิศทางการวางตัวของชั้นหิน จะมีผลต่อการผุพังโดยเฉพาะหินท่ีมีรอยแตกมาก หินท่ี
อยู่ในเขตรอยเลื่อนโดยเฉพาะรอยเล่ือนมีพลังจะมีการผุพังสูง เนื่องจากมวลหินท่ีรอยแตก
น้ันจะมีช่องวา่ งให้น้าและอากาศผ่านเข้าไปทาปฏิกิริยาทางเคมีให้หินผุพังได้ง่าย ชั้นหนิ ใน
บางบริเวณหากมีการแทรกดันของหินอัคนีแทรกซอน หรือบริเวณท่ีมีน้าพุร้อน และแหล่ง
แร่จากสายน้าแร่ร้อน จะทาให้หินมีอัตราการผุพังยิ่งขึ้นไปอีกเพราะความร้อนและ
สารละลายน้าแร่ร้อนท่ีมาจากหินอัคนีแทรกซอนจะไปทา ปฎิกิริยา ก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงทางเคมใี นเนือ้ หิน
ข. สภาพภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศเป็นผลที่เกิดจากขบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือก
โลก การผุพังท่ีแตกต่างกันของชั้นหินและลักษณะการวางตัวของโครงสร้างชั้นหิน ซ่ึงเป็น
ปัจจัยอีกตัวที่มีผลต่อเสถียรภาพของดินบนภูเขา ค่าความลาดชันจะมีความสัมพันธ์
โดยตรง กับเสถียรภาพของดินท่ีอยู่บนภูเขา กล่าวคือย่ิงบริเวณใดท่ีมีความลาดชันสูง ยิ่งมี
โอกาสท่ีดินจะเกิดการสูญเสียเสถียรภาพและเคลื่อนที่ลงมาตามลาดชันของภูเขาได้สูง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งช้ันดินทรายร่วนท่ีไม่มีแรงยึดเกาะระหว่างเม็ดดินมีโอกาสจะถล่มลงมา
ได้สูงเม่ือผนวกเข้ากับปัจจัยตัวอ่ืนๆ ซึ่งจากการศึกษาของ วรวุฒิ ตันติวนิช (2535) ได้
รายงานผลการศึกษาการเกิดดินถล่มท่ีบ้านกระทูนเหนือ อาเภอพิปูน จังหวัด
นครศรีธรรมราช เมื่อวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2531 พบว่ารอยดินถล่มส่วนมากพบอยู่ใน
บริเวณที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 30 นอกจากนี้ลักษณะภูมิประเทศท่ีเป็นร่องเขา
หน้ารับน้าฝนและเป็นบริเวณที่น้าฝนไหลมารวมกันจะทาให้ปริมาณน้าในมวลดินสูงข้ึน
อย่างรวดเรว็ และทาให้บริเวณพื้นมีคา่ อัตราส่วนความปลอดภัยของลาดดินลดลง มโี อกาส
เกดิ การเคลอื่ นตัว และถลม่ ลงมาได้มากกว่าพน้ื ทท่ี ่ไี ม่ใชร่ อ่ งเขาหนา้ รับนา้ ฝน
ค. ปรมิ าณน้าฝน ดินถล่มท่เี คยเกิดข้ึนในประเทศไทย จะเกิดข้นึ เม่อื ฝนตกหนกั เป็นเวลานาน
โดยน้าฝนจะไหลซึมลงไปในชั้นดนิ จนกระท่ังชั้นดินชุ่มน้า ไม่สามารถอุ้มน้าไว้ได้ เนอ่ื งจาก
ความดันของน้าในดนิ เพ่ิมขึ้น ( Piezometric head ) เป็นการเพิม่ ความดันในช่องวา่ งของ
เม็ดดิน ( Pore Pressure ) ดันให้ดินมีการเคล่ือนท่ีลงมาตามลาดเขาได้ง่ายข้ึน และ
นอกจากน้ีแล้วน้าท่ีเข้าไปแทนท่ีช่องว่างระหว่างเม็ดดินทาให้แรงยึดเกาะระหว่างเม็ดดิน
ลดน้อยลง ส่งผลให้ดินมีกาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินลดลงทาให้ความปลอดภัย
ของลาดดินลดลงไปด้วย (วรากร ไม้เรียง, 2546 ) และถา้ หากปริมาณนา้ ในมวลดนิ เพ่ิมขึ้น
จนมวลดินอิ่มตัวไปด้วยน้า และระดับน้าในชัน้ ดินสูงขน้ึ มาทีร่ ะดับผิวดินจะเกิดการไหลบน

คูม่ ือการป้องกนั ตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หน้าท่ี 16

ผวิ ดินและกัดเซาะหน้าดิน ความปลอดภัยของลาดดนิ จะลดลงไปครึ่งหนึ่งของสภาวะปกติ
( Glawe ,2004) หมายความว่าลาดดินเริ่มมีการเคล่ือนตัวตามระนาบของการเคลื่อนตัว
ของดิน และถ้าฝนตกต่อเนื่องเปน็ ระยะเวลานานออกไป น้าจะไหลลงไปในระนาบของรอย
การเคล่ือนตัวและชะล้างเม็ดดินที่เป็นดินเหนียวออกไปตามแนวระนาบทาให้ค่าแรงยึด
เกาะระหว่างเม็ดดินบริเวณระนาบการเคล่ือนตัว ลดลงไปอย่างมาก ก่อให้เกิดดินถล่มลง
มาตามความลาดชันของไหล่เขา จากการศึกษาข้อมูลปริมาณน้าฝนร่วมกันกับประชาชน
ในพื้นท่ีหลายจังหวัด (คณะสารวจพ้ืนที่เกิดเหตุดนิ ถล่มภาคเหนือตอนล่าง, 2550 ) พบว่า
ถ้าปริมาณน้าฝนมากกว่า 90 มิลลิเมตร ในรอบ 24 ช่ัวโมง จะเกิดน้าป่าไหลหลาก และ
หากปริมาณน้าฝนมากกว่า 150 มิลลิเมตร ชั้นดินบางแห่งอาจเกิดดินไหลหรือดินถล่ม
นอกจากนี้ปริมาณน้าฝนท่ีตกต่อเน่ืองกันหลายวันสะสมมากกว่า 300 มิลลิเมตร บางแห่ง
อาจเกิดดินไหลหรอื ดินถลม่ ได้เช่นเดยี วกนั
ง. สภาพสิ่งแวดล้อม จากบันทึกเหตุการณ์ดินถล่มในอดีต พบว่าพ้ืนท่ีเกิดดินถล่มส่วนใหญ่
อยู่ในพื้นทีภ่ ูเขาสูงชันและหลายๆ พ้ืนที่พบวา่ มีการเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน จาก
รายงานของคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( 2540 ) (อ้างถึงใน
วรวุฒิ ตันติวนิช, 2548 ) พบพื้นท่ีที่เกิดเหตุการณ์ดินถล่ม ท่ีบ้านกระทูนเหนือ มีการ
เปล่ียนแปลงสภาพป่าเป็นสวนยางพาราโดยเฉพาะพวกต้นยางที่ยังมีขนาดเล็กอยู่ หรือท่ี
บ้านน้าก้อ บ้านน้าชุน มีการบุกรุกทาลายป่าไม้เพื่อทาไร่และทาการเกษตรบนท่ีสูง จาก
การศึกษาของ Abe และ Twamoto (1986) (อ้างถึงในกวี จรงุ ทวีเวทย์, 2546) พบว่าดิน
ท่ีมีรากไม้ยดึ เกาะจะมีค่าแรงยึดเหนียวระหว่างเม็ดดนิ มากกว่าดินที่ไมม่ ีรากไม้ ซึ่งทาให้ค่า
กาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินมีค่าสูงข้ึน เน่ืองจากว่ารากพืชที่แทรกตัวในเนื้อดิน
จะแทรกซอนผ่านแนวระนาบเฉอื นของพน้ื ราบ ซึ่งจะช่วยรับแรงดงึ และยึดโครงสรา้ งดินทา
ให้ดินมีค่ากาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินสูงข้ึน จากการศึกษาของ กวี จรุงทวีเวทย์
(2546) พบว่า การเพิ่มข้ึนของค่ากาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินจะมีการ
เปล่ียนแปลงสมั พันธก์ ับคุณสมบัติ ความหนาแน่นของรากพืช หมายความว่าช้ันดนิ ทม่ี ีราก
พชื หนาแนน่ มาก คา่ กาลังรับแรงต้านทานการไหลของดินจะเพิม่ สูงขึ้นตามไปด้วย และใน
การศึกษาเดียวกันนี้ ได้ทาการจาลองอิทธิพลของรากพืชต่อการเพิ่มเสถียรภาพพ้ืนลาด ที่
ระนาบเฉือนความลึกแตกต่างกัน พบว่าค่าอัตราส่วนความปลอดภัยพื้นลาดที่มีรากพืช
แทรกอยู่ต่อพ้ืนลาดท่ีไม่มีรากพืช มีค่ามากกว่าพื้นลาดที่ไม่มีรากพืช และมีค่ามากสุดท่ี
ระดับความลึกของระนาบเฉือน 0.0-0.5 เมตร และลดลงไปตามระดับความลึกที่เพิ่มข้ึน
แสดงให้เห็นว่าอิทธิพลของรากพืชช่วยเพ่ิมค่ากาลังรับแรงต้านทานการไหลของมวลดิน
เฉพาะในส่วนท่ีรากไม้หยั่งลึกลงไปถึงเท่านั้น และมีความหนาแน่นมาก หากเกิดการเฉือน
ของระนาบอยู่ลึกลงไปมากกว่าชั้นดินท่ีรากไม้จะหยั่งถึง รากไม้นั้นก็ไม่มีส่วนช่วยใดๆ ใน
กาลังรับแรงต้านทานการไหลของดิน กาลังรับแรงต้านทานการไหลของดิน ทั้งหมดก็จะ
ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดิน และแรงเสียดทานระหว่างเม็ดดิน
ของชนิดดินน้ันๆ ดังท่ีเราจะเห็นได้ว่าเมื่อมีเหตุการณ์ดินถล่มบางพื้นท่ีท่ีเป็นป่าสมบูรณ์
ดนิ โคลนจะถล่มลงมาพร้อมต้นไม้ โดยการเล่อื นไถลของต้นไม้ซึ่งเคล่ือนที่ลงไปในลักษณะ
ลาต้นยงั คงตัง้ ตรงอยใู่ นแนวดิ่ง นอกจากคุณสมบัติในการเพิ่มกาลังรับแรงต้านทานการไหล

คูม่ ือการป้องกันตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หน้าที่ 17

ของดินแล้ว รากพืชยังมีส่วนในการดูดซึมเอาน้าที่ไหลลงไปในดินให้มีปริมาณลดลงหรือ
ชะลอการอิ่มตวั ของดินอกี ทาง
ลักษณะพ้ืนทีเ่ สยี่ งภยั ดนิ ถล่ม มีขอ้ สงั เกตดงั ตอ่ ไปนี้
 อยูต่ ิดภูเขาและใกล้ลาห้วย
 มรี อ่ งรอยดินไหลหรอื ดนิ เล่ือนบนภเู ขา
 มีรอยแยกของพ้นื ดนิ บนภูเขา
 อยู่บนเนินหนา้ หุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง
 ถูกนา้ ปา่ ไหลหลากและท่วมบอ่ ย
 มกี องหนิ เนนิ ทรายปนโคลนและตน้ ไม้ ในหว้ ยใกล้หมบู่ ้าน
 พ้นื หว้ ยจะมีกอ้ นหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกนั ตลอดท้องน้า
ข้อสังเกตหุ รอื ส่งิ บอกเหตุ
 มฝี นตกหนักถงึ หนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรตอ่ วัน)
 ระดบั นา้ ในห้วยสูงข้ึนอยา่ งรวดเร็ว
 สีของน้าเปลย่ี นเป็นสขี องดนิ บนภูเขา
 มีเสยี งดงั อื้ออึง ผิดปกติดงั มาจากภูเขาและลาห้วย
 นา้ ทว่ มหมู่บา้ น และเพิม่ ระดบั ขึน้ อยา่ งรวดเรว็
จากภัยโคลนถล่มหรือดินถล่ม ยังไม่เคยเกิดข้ึนในเขตพ้ืนท่ีของจังหวัดเพชรบูรณ์ แต่ก็ควรรู้จัก
และรู้ถงึ วิธีการป้องกันภัยโคลนถลม่ หรอื ดินถลม่ เบื้องตน้

(8) แผ่นดินไหว หมายถึงภัยธรรมชาติซง่ึ เกิดจากการปลดปล่อยพลังงานใต้พิภพ ทาใหแ้ ผ่นดิน
เกดิ การสน่ั สะเทือน อาจทาให้เกิด ภูเขาไฟระเบดิ แผ่นดนิ เลอื่ น ถลม สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว หรือ
ความส่นั สะเทือนของพืน้ ดินเกดิ ข้ึนไดท้ังจาก

- เกดิ จากธรรมชาติ ไดแก การเคลอ่ื นตัวของเปลือกโลกโดยฉับพลนั ตามแนวขอบของแผน่
เปลอื กโลก หรือตามแนวรอยเลอื่ น การระเบิดของภเู ขาไฟ การยบุ ตวั ของโพรงใต้ดนิ
แผน่ ดินถลม อุกาบาตขนาดใหญ่ตก เป็นต้น

- เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ทง้ั ทางตรงและทางออม เช่น การระเบิดตา่ งๆ การทา
เหมืองสร้างอา่ งเกบ็ นา้ ใกล้รอยเลอื่ น การทางานของเครื่องจักรกล การจราจร เป็นตน้

แผน่ ดินไหวในประเทศไทยเกิดขึน้ ได้โดย
ก. แผ่นดนิ ไหวขนาดใหญ่ทมี่ ีแหลง่ กาเนิดจากภายนอกประเทศสง่ แรงสั่นสะเทือนมายัง
ประเทศไทย โดยมี แหล่งกาเนดิ จากตอนใต้ของสาธารณรฐั ประชาชนจีน พม่า
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทะเลอนั ดามัน ตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ส
วนมากบริเวณท่รี ูสึกสัน่ ไหว ไดแก บรเิ วณภาคเหนือ ภาคใต ภาคตะวนั ตก ภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และกรุงเทพมหานคร
ข. แผ่นดินไหวเกดิ จากแนวรอยเล่อื นทยี่ ังสามารถเคล่ือนตัวซึ่งยูบริเวณภาคเหนือและภาค
ตะวันตกของประเทศ เช่น รอยเลือ่ นเชยี งแสน รอยเลอื่ นแม่ทา รอยเลอ่ื นแพร รอยเลอ่ื น
เถนิ รอยเลื่อนเมยอุทัยธานี รอยเล่อื นศรีสวสั ด์ิ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเล่อื นคลอง
มะรุย เปน็ ตน้

คมู่ ือการป้องกันตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 18

ภัยจากแผน่ ดินไหวมีอะไรบา้ งและส่งผลกระทบ ไดแ้ ก่ ภยั แผน่ ดินไหวทเ่ี กิดข้ึนมที ้ังทางตรงและทางออม เชน่
พน้ื ดินแยก ภูเขาไฟระเบิด อาคารส่ิงก่อสรา้ งพังทลาย เนือ่ งจากแรงส่นั ไหว ไฟไหม กา๊ ซร่ัว คลน่ื สึนามิ
แผน่ ดนิ ถลม เสน้ ทางคมนาคมเสียหาย เกดิ โรคระบาด ปัญหาดานสขุ ภาพจิตของผู้ประสบภัย ความสูญเสยี ใน
ชวี ติ และทรพั ย์สิน เกดิ ความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ เช่น การสอ่ื สาร โทรคมนาคมขาดช่วง เครือ่ งคอมพวิ เตอร์
หยุดหรอื ขัดข้อง การคมนาคมทางบก ทางอากาศชะงัก ประชาชนตืน่ ตระหนก มีผลต่อการลงทุนและการ
ประกันภยั เปน็ ต้น
บรเิ วณทม่ี ีความเสยี่ งต่อภัยแผ่นดินไหวสงู ในประเทศไทย ไดแก

 บริเวณที่อยใู่ กลแ้ หลง่ กาเนิดแผน่ ดนิ ไหว ตามแนวรอยเลื่อนทงั้ ภายในและภายนอก
ประเทศ สว่ นใหญ่อยบู่ รเิ วณ ภาคเหนือและตะวันตก ของประเทศไทย

 บริเวณท่เี คยมปี ระวัตหิ รอื สถิตแิ ผน่ ดินไหวในอดตี และมีความเสียหายเกดิ ขึ้น จากนั้น
เวน้ ชว่ งการเกิด แผ่นดินไหวเปน็ ระยะเวลานานๆ บรเิ วณนั้นจะมโี อกาสการเกดิ
แผ่นดนิ ไหว ที่มขี นาดใกลเ้ คยี งกับสถติ เิ ดิมไดอีก

 บรเิ วณท่เี ปน็ ดนิ อ่อนซึ่งสามารถขยายการสั่นสะเทือนไดดี เชน่ บรเิ วณท่ีมีดนิ เหนียว
อย่ใู ต้พ้นื ดินเปน็ ชน้ั หนา เชน่ บรเิ วณทีล่ ุมหรืออยูใกลป้ ากแม่น้า เปน็ ตน้

 บริเวณ 6 จังหวัดในภาคใต้ อันไดแก จงั หวัด ระนอง พังงา ภูเกต็ กระบี่ ตรงั และ
สตูล เป็นบรเิ วณท่ีมีอันตรายเสย่ี งภยั สงู จากคลน่ื สนึ ามิ เม่ือเกดิ แผ่นดนิ ไหวบริเวณ
รอยตอ่ ของแผ่นเปลือกเปลอื กโลก ในทะเล อนั ดามนั หรือมหาสมทุ รอินเดยี

ข้อมลู แผ่นดนิ ไหวในอดีตสว่ นใหญ่ บงบอกถงึ ความรนุ แรงแผ่นดินไหวไดรับการบันทึกอยู่ในเอกสาร
ทางประวตั ศิ าสตร์ เชน่ ปมู พงศาวดาร ศิลาจารกึ เปน็ ตน้ มีแผน่ ดนิ ไหวรูสึกไดโดยท่วั ไปส่วนใหญ่มีตาแหนง่
บรเิ วณภาคเหนอื และภาคตะวันตกของประเทศ ข้อมลู แผ่นดนิ ไหวต่างๆ สามารถค้นจากการบันทกึ เหล่าน้ีนี้
พบว่าเกิดเหตุการณแผน่ ดนิ ไหวรูสึกไดในประเทศไทยเกิดขน้ึ ตั้งแต่ 624 ป กอ่ นครสิ ตศกั ราช บางคร้งั
เหตุการณรนุ แรงจนทาใหเ้ มืองล่ม เช่น เหตุการณ์เม่ือปี พ.ศ. 1003 มกี ารบันทกึ วา่ เมอื งโยนกนครล่ม
เนอ่ื งจากการสน่ั สะเทือน สวนใหญ่เหตุการณไดบนั ทกึ ถึงความรูสึก สน่ั ไหว ความเสียหายและความต่ืน
ตระหนกั ของผคู้ น ปัจจบุ นั พบวา่ แผ่นดินไหวรูสกึ ไดในประเทศไทยเกิดขน้ึ ปลี ะ 6-8 คร้ัง โดยเปน็
แผ่นดินไหวขนาดเลก็ ถึงปานกลาง มีตาแหน่งศูนยก์ ลางทัง้ ภายในประเทศและนอกประเทศ สวนสาเหตทุ ด่ี ู
เหมอื นว่าความถีข่ องการเกิดแผ่นดินไหวเพมิ่ ขึ้นน้นั แท้จริงแผ่นดนิ ไหวเกิดข้นึ เปน็ ปกติเชน่ น้ตี งั้ แต่อดตี แต่
เนอื่ งจากการสื่อสารในอดตี ไมรวดเร็วจงึ ทาใหก้ ารรับรูเร่ืองความส่นั สะเทือนไมแพรหลาย ต่างจากปจั จุบันท่ี
การส่ือสารรวดเร็วเมอ่ื เกดิ แผ่นดินไหวแม้ว่าอยูห่ า่ งไกลอกี มุมหน่งึ ของโลก ก็สามารถทราบขา่ วไดทนั ที อีกทงั้
ความเจริญทาใหเ้ กดิ ชุมชนขยายตวั ลา้ เขา้ ไปอยใู่ กล้บรเิ วณแหล่งกาเนดิ แผ่นดินไหว ชมุ ชนรับรูถึง
แรงสั่นสะเทือนได้ง่ายข้ึน จงึ ทาใหด้ เู หมือนวา่ แผน่ ดนิ ไหวเกดิ ขึน้ บ่อยครั้งกวา่ ในอดตี

กรมอุตุนิยมวิทยาให้บริการข้อมูลด้านการตรวจวัดตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวท้ังในและ
ต่างประเทศ เวลาเกิด ขนาด สถิติแผ่นดินไหวที่เคยเกิดข้ึนในอดีตและปัจจุบัน ความรู วิชาการด้าน
แผ่นดินไหวและวิศวกรรมแผ่นดินไหว การดาเนินงานของคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติความร่วมมือ
ด้านการแลกเปลี่ยนข้อมลู ระหว่างประเทศ ความร่วมมือด้านแผน่ ดินไหว และวิศวกรรมแผ่นดินไหวระหวา่ ง
ประเทศไทยกบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ญีป่ ุน สหรฐั อเมริกา อังกฤษ อาเซียน เปน็ ต้น

คูม่ อื การป้องกนั ตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 19

เครอื่ งมือตรวจแผ่นดนิ ไหว เรียกว่า Seismograph มหี ลกั ทางานอย่างง่ายๆ คอื เครื่องมือจะ
ประกอบดว้ ยเคร่ืองรบั ความสั่นสะเทอื น แปลงสญั ญาณความสัน่ สะเทือนเป็นสญั ญาณไฟฟา้ จากนั้นถูกขยาย
ด้วยระบบขยายสัญญาณและแปลงกลบั มาเปน็ การสนั่ ไหว ของปากกาทบ่ี ันทึกบนแผน่ กระดาษ ตลอดเวลา
24 ช่วั โมง โดยมสี ญั ญาณเวลา ปรากฏบนกระดาษบนั ทึกอยา่ งสมา่ เสมอทกุ นาที ทาให้ทราบว่าคล่ืน
แผ่นดินไหวที่เดนิ ทางมาถึงสถานีเมอ่ื ไร รศั มีการตรวจวดั คลืน่ แผน่ ดนิ ไหวของกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยาสามารถตรวจ
คลน่ื แผน่ ดนิ ไหวไดท่ัวโลก แต่สว่ นใหญก่ ารคานวณตาแหนง เวลาเกดิ ขนาดแผ่นดนิ ไหว กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยาจะ
คานวณเฉพาะคลืน่ แผ่นดนิ ไหวใกล้ซงึ่ อยูห่ า่ งจากสถานีไมเกิน 1,000 กโิ ลเมตร

กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยามสี ถานีตรวจแผน่ ดินไหวอยู 2 ระบบ ไดแก
1) ระบบ Analog ไดแก ท่ี จังหวดั เชียงราย นา่ น ตาก นครสวรรค์ เขือ่ นเขาแหลม กาญจนบรุ ี

เลย อุบลราชธานี ขอนแกน ประจวบคีรีขนั ธ์ ภเู ก็ต สงขลา และจนั ทบรุ ี
2) ระบบ Digital ไดแก ที่ จงั หวดั เชียงใหม่ เชยี งราย ตาก แม่ฮองสอน แพร เลย ขอนแกน

นครราชสมี า กาญจนบรุ ี ประจวบครี ขี ันธ์ สุราษฎร์ธานี และสงขลา นอกจากน้ีกรมอตุ นุ ิยมวิทยาโดยสานัก
แผ่นดินไหวยงั ไดรบั อนุมตั ิงบประมาณในการปรบั ปรุงและขยายสถานีตรวจแผน่ ดนิ ไหวเพิม่ ขึ้นใน
ปีงบประมาณ 2547-2548 อีก

ในอดตี นั้นเคยมีแผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทยซึ่งทาความเสยี หายกบั สงิ่ ก่อสรา้ งอย่างชดั เจน ที่ไหน
เมอื่ ไร แผน่ ดินไหวทเี่ กิดบรเิ วณอาเภอพาน จงั หวัดเชียงราย เมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2537 ขนาด 5.1 รคิ เตอร
ทาให้ความเสียหายให้กับโรงพยาบาลอาเภอพาน โรงเรียน และวัดต่างๆ นับสบิ ๆ แหง บรเิ วณใกล้ศนู ย์กลาง
บางอาคาร ถึงกับข้นั ใช้การไมได

การปอ้ งกนั และบรรเทาภยั แผ่นดินไหวทาได้อย่างไร แผ่นดินไหวใหญ่ทเ่ี กิดในตา่ งประเทศ เกดิ
เน่อื งจากประเทศเหลา่ นน้ั อยู่ในแนวของแผน่ ดนิ ไหวโลก ซ่ึงเป็นรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก สวนประเทศไทย
น้ันไมอ่ ย่ยู ่านดังกลา่ ว แต่ไมใ่ ชว่ า่ จะไมม่ ีความเสีย่ งจากภยั แผน่ ดินไหว นักธรณีวทิ ยาพบวา่ ยังมีแหลกาเนิด
แผน่ ดนิ ไหวไหว ได้แก่ รอยเล่ือนใหญ่ๆ หลายแนวซง่ึ ยังไมมีการพสิ จู นทราบถึงลักษณะท่ีกอ่ ใหเ้ กิดแผน่ ดนิ ไหว
ใหญไ่ ดหรือไม โดยทัว่ ไปในปัจจุบนั อนั ตรายทีเ่ กิดขึ้นของภัยแผน่ ดินไหวในประเทศไทยมักเกิดจาก
แผ่นดินไหวขนาดกลาง สวนเร่ืองการป้องกันและบรรเทาภยั แผ่นดินไหวน้นั จาเปน็ ตอ้ งมีการวางแผนทัง้ ใน
ระยะส้นั ระยะยาวใหม้ ีการแบ่งเขตแผน่ ดนิ ไหวตามความเส่ียงที่เหมาะสม สร้างอาคารสิง่ ก่อสรา้ งต่างๆ ตาม
ความเสยี่ งของแผ่นดินไหว ใหค้ วามรปู้ ระชาชนในการป้องกันและบรรเทาภัยเม่ือก่อนเกิด ขณะเกดิ และ
ภายหลังการเกิดแผ่นดนิ ไหว เป็นต้น

การพยากรณแ์ ผน่ ดนิ ไหวปจั จบุ ัน ยังไม่สามารถกระทาไดใ้ ห้ถูกต้องแม่นยา ทง้ั ด้านเวลาและสถานท่ี
ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ จึงยงั จาเปน็ ต้องมกี ารศึกษาวจิ ัยเพิม่ เติมอีกในอนาคต การ
ดาเนนิ การศึกษาเพ่ือการพยากรณแผ่นดนิ ไหวในปจั จบุ นั มีการรวบรวม และวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการตรวจวัด
ของคา่ พารามเิ ตอร์ต่างๆ ท่ีเปล่ยี นแปลงผดิ ปกติก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น วัดการเคลอ่ื นตัวของเปลือกโลก
วดั ค่าแรงเคน้ (Stress) และความเครยี ด (Strain) ของเปลือกโลก วดั ก๊าซเรดอน วัดสนามแม่เหล็กโลก วดั คา่
ความโน้มถ่วงในพื้นทต่ี ่างๆ วดั คลืน่ ความถี่วทิ ยุ รวมถึงการสังเกตสง่ิ ผดิ ปกติต่างๆ ก่อนเกดิ แผ่นดินไหว เชน่
น้าใต้ดนิ พฤตกิ รรมของสตั ว์ และอ่นื ๆ เป็นตน้

ประเทศไทย ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2506 จนถงึ ปัจจุบันกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาตรวจพบแผน่ ดินไหวท่ีมีขนาดสูงสดุ
ที่บรเิ วณอาเภอศรีสวสั ดิ์ จังหวัดกาญจนบรุ ี เมอ่ื วนั ท่ี 22 เมษายน 2526 ขนาด 5.9 ริกเตอร มคี วาม
สั่นสะเทอื นซึ่งประชาชน รูสึกถึงการส่นั สะเทอื น ไดเกือบทั้งประเทศ

คมู่ ือการป้องกนั ตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หน้าท่ี 20

นอกจากน้ีภาคเหนอื ส่วนมากจะเกิดแผน่ ดินไหวขนาด 3-4 ริกเตอร และเคยเกดิ ขนาดใหญส่ ุดท่ี

บันทกึ ได 5.6 รกิ เตอร ที่ อาเภอทา่ สองยาง จงั หวดั ตาก วันที่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2518

ขนาดแผ่นดินไหว ผลกระทบ จานวนครง้ั /ปี

ริกเตอร์ รศั มแี ละความลึกไมเกนิ 100 กม. รอบโลก

3.5-4.2 บางคนรูสกึ ส้ันสะเทอื น 30000

4.3-4.8 หลายคนรสู ึกส่ันสะเทือน 4800

4.9-5.4 เกอื บทกุ คนรสู ึกสน่ั สะเทอื น 1400

5.5-6.1 อาคารเสียหายเล็กน้อย 500

6.2-6.9 อาคารเสียหายปานกลาง 100

7.0-7.3 อาคารเสียหายรนุ แรง 15

ต้งั แต่ 7.4 อาคารเสียหายรุนแรง 4

การปฏิบัตติ นเมื่อเกิดแผ่นดนิ ไหว เมือ่ เกิดแผ่นดินไหวใหอ้ ยู่อยา่ งสงบ มสี ติ คดิ หาหนทางทปี่ ลอดภยั
หมอบอยูบริเวณทส่ี ามารถป้องกนั ส่งิ ของหลน่ ใส เช่น บรเิ วณใต้โตะ๊ ใต้เตยี ง หลีกเล่ียงให้ห่างจากหนา้ ต่าง หา
กอยูนอกอาคารให้อยู่ในที่โล่ง อยู่ให้ห่างจากสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันตนเองจากภัย
แผ่นดนิ ไหว เป็นตน้

ข้อควรปฏิบัติ ก่อน / ขณะ / หลังแผ่นดนิ ไหว
ก่อน - เตรยี มอปุ กรณป์ ฐมพยาบาล อุปโภค บรโิ ภค กรณีฉุกเฉนิ
- เตรียมพรอม สมาชกิ ในครอบครัว วางแผนอพยพหากจาเป็น
- ไมวางของหนักบนช้นั สูงๆ ยึดตูหนกั ไวกับผนงั ห้อง
ขณะ - อยู่ในอาคารสูง ควบคุมสติ หลบใต้โต๊ะแข็งแรง ไมวงิ่ ลงบันได ลงลฟิ ต์
- ขบั รถให้หยดุ รถ ควบคุมสติ อยูภ่ ายในรถจนการสน่ั สะเทือนหยุดลง
- อยนู่ อกอาคาร หา่ งจากอาคารสูง กาแพง เสาไฟฟ้า ไปอยู่ทโ่ี ล่งแจง้
หลงั - ออกจากอาคารสูง รถยนต์ สารวจผปู้ ระสบภัย ตรวจสอบความเสียหาย
- ปฐมพยาบาลผไู้ ดรับบาดเจ็บ ส่งแพทย์หากเจบ็ หนกั

(9) โรคระบาดหรือโรคติดต่อ หมายถงึ โรคทส่ี ามารถถ่าย ทอด หรอื ตดิ ต่อจากส่ิงมีชีวิตหนึ่งไป
ยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จากัดว่าส่ิงมีชีวิตน้ันจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจ สามารถแพร่ไปสู่
สงิ่ มีชวี ติ อน่ื ได้โดยการสัมผสั โดยตรง การสดู ดมหายใจเอาเชื้อโรคทีแ่ พร่จากผูป้ ว่ ย การรบั ประทานอาหารหรือ
น้าดื่มที่มีเช้ือปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางท่ีเรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อน้ันๆ มีการแพร่กระจายไปอย่าง
รวดเร็ว สู่ชุมชนท่ีมีประชากรจานวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด และโรคติดต่อที่ควรทราบมี
14 โรค ไดแ้ ก่ ไข้ทรพษิ กาฬโรค ไข้เหลือง โรคอหิวาตกโรค โรคบาดทะยกั โรคคอตบี โรคโปลิโอ โรคพษิ สนุ ัข
บา้ โรคไขส้ มองอักเสบ ไขร้ ากสาดใหญ่ โรคแอนแทรกซ์ โรคทรคิ ิโนซีส โรคไขก้ าฬหลังแอ่น โรคคดุ ทะราด
ระยะตดิ ต่อ จาก http://diseaseonebath.blogspot.com/

โรคติดต่อท่ีมากับภัยพิบัติทางธรรมชาติ จากการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติอันเน่ืองมาจาก
แผ่นดินไหวใต้น้าในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ทาใหเ้ กิดคลื่นยักษ์ทาลายหมู่เกาะและชายฝั่งทะเลของประเทศ
ต่างๆ รวมท้ังประเทศไทย ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่และ
นักท่องเท่ียว แม้ว่าในขณะนี้ภัยโดยตรงจากคลื่นยักษ์ได้สงบลงแล้วก็ตาม แต่ผลกระทบจากเหตุการณ์เศร้า

คูม่ ือการปอ้ งกนั ตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 21

สลดครั้งน้ียงั อาจกอ่ ให้เกิดการระบาดของโรคติดต่อตามมา เน่อื งจากการอยู่รว่ มกันของประชาชนที่อพยพหนี
ภัยเป็นจานวนมาก ซึง่ เปน็ สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ การแพรก่ ระจายของโรคติดตอ่ ไดง้ า่ ยขนึ้ โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มี
อาหารและน้าเป็นส่ือ และโรคตดิ ต่อท่ีนาโดยแมลง

ก. โรคติดต่อท่ีมีอาหารและน้าเป็นสื่อ ในกรณีท่ีมีการอพยพย้ายหนีของประชากรเน่ืองจาก
ภัยพิบตั ิโดยเฉพาะภัยจากน้านน้ั ทาให้ประชาชนมคี วามเสี่ยงต่อการตดิ เชอ้ื โรคทางเดินอาหารและน้าเพ่ิมขึ้น
เนื่องจากในภาวะฉุกเฉนิ จะมขี ้อจากัดท้ังสถานท่ีพกั พงิ และระบบสุขาภิบาล เช้อื โรคจากซากศพของผูเ้ สยี ชีวิต
และผู้รอดชีวิตท่ีเป็นพาหะของโรคมีโอกาสที่จะปนเป้ือนลงสู่แหล่งน้าสูงขึ้น โดยจะเห็นได้จากเหตุการณ์ใน
หลายประเทศทั่วโลกท่ีพบการระบาดของโรคติดต่อที่มีอาหารและน้าเป็นสื่อภายหลังการเกิดภัยพิบัติ
นอกจากน้ันแล้วแหล่งนา้ ท่ปี นเปือ้ นเชอื้ โรคนน้ั ยังเพิ่มความเส่ียงตอ่ การตดิ เช้ือที่กอ่ ให้เกิดแผลตดิ เชือ้ ผวิ หนัง
อกั เสบ (dermatitis) น้ากัดเท้า และโรคตาแดง ซึง่ เกิดจากการตดิ ต่อสัมผสั โดยตรงกับนา้ แต่โรคเหลา่ น้มี กั จะ
ไมม่ กี ารระบาดของโรคเปน็ วงกวา้ ง

ข. โรคติดต่อที่นาโดยแมลง ภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยเฉพาะน้าท่วมจะนาไปสู่การเพิ่มข้ึน
ของโรคติดต่อท่ีนาโดยแมลง โดยมีผลกระทบทางอ้อมต่อการแพร่กระจายและแหล่งที่อยู่อาศัยของแมลงที่
เป็นพาหะของโรค ในบริเวณแหล่งน้านิ่งท่ีมาเกิดจากฝนตกหนัก หรือการขังของน้าภายหลังน้าท่วมจะเป็น
แหล่งเพาะพันธ์ุของยุงซ่ึงเป็นพาหะของหลายโรคด้วยกันเช่น ไข้เลือดออก, ไข้มาเลเรีย และไข้สมองอักเสบ
(West Nile Virus) การระบาดของโรคที่นาโดยแมลงน้มี ักจะเกดิ ข้ึนภายหลงั เหตุการณภ์ ัยพิบัติประมาณ 6-8
สัปดาห์ เนื่องจากแหล่งท่ีอยู่อาศัยของแมลงจะถูกคล่ืนหรือน้าท่วมพัดพาออกไป แต่เมื่อภายหลังน้าลดหรือ
เหตกุ ารณ์สงบแล้วแมลงเหล่าน้ีจะกลับมาถิ่นท่ีอาศัยเดิม นอกจากนนั้ แลว้ ยังมีปัจจัยเสีย่ งอ่ืนๆท่ีทาใหเ้ กิดการ
ระบาดของโรคได้ง่ายขึ้น เช่น ประชาชนที่หลบหนีต้องหลับนอนนอกอาคารบ้านเรือนทาให้มีโอกาสถูกยุงกัด
ได้ง่ายขึ้น การหยุดกิจกรรมควบคุมโรคช่ัวคราว เช่นช่วงที่มีแผ่นดินถล่มหรือกรณีการทาลายป่าจะทาให้การ
สบื พนั ธุ์ในยุงมเี พ่ิมขึ้น โดยจะเห็นไดจ้ ากเหตุการณต์ ่างๆ ในหลายประเทศ ด

ค. โรคติดต่อท่ีเกิดจากซากศพยังไม่มีหลักฐานหรือเหตุการณ์ใดที่บ่งช้ีถึงการระบาดของโรค
ที่มีสาเหตุจากซากศพภายหลังภัยพิบัติทางธรรมชาติ เนื่องจากเชื้อส่วนใหญ่จะอยู่ในร่างกายของมนุษย์ท่ี
เสียชีวิตแลว้ ได้ไม่นานนัก ยกเวน้ เช้อื HIV อยไู่ ด้ถึง 6 วัน และแหล่งของการตดิ เชอ้ื ท่ีกอ่ ให้เกิดการระบาดส่วน
ใหญ่จะมาจากผู้รอดชีวิตมากกว่า อย่างไรก็ตามบุคลากรที่ทาหน้าที่กู้ศพหรือชันสูตรศพอาจเส่ียงต่อการติด
เชื้อวัณโรค ซึ่งสามารถติดต่อได้จากของเหลวในปอด หรือของเหลวท่ีออกจากจมูกและปากระหว่างการจับ
ต้องหรือขนย้ายซากศพ รวมทั้งโรคติดต่อทางเลือดที่มาจากเชื้อไวรัส เช่น ไวรัสตับอักเสบ B และC และเชื้อ
HIV ซึ่งบุคลากรสามารถสัมผัสเช้ือเหล่าน้ีได้จากการสัมผัสเลือด ของเหลว บาดแผลจากกระดูกหักของศพ
หรือการสมั ผัสกับเยอ่ื บภุ ายในของศพ นอกจากนนั้ แล้วยังมโี รคติดต่อทางเดินอาหาร เชน่ rotavirus, ท้องรว่ ง
, ซัลโมเนลโลซิส, E.coli, ไข้ไทฟอยด์/พาราไทฟอยด์, ไวรัสตับอักเสบ A, โรคบิด และอหิวาตกโรค สามารถ
ติดตอ่ ไดจ้ ากอจุ จาระของศพ ซ่งึ เชื้ออาจจะปนเป้อื นเคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ หรือแหลง่ นา้ ตา่ งๆได้

ง. โรคอื่นๆ ท่ีเป็นผลจากภัยพิบัติ บาดแผลท่ีได้รับจากการบาดเจ็บ เช่นเชื้อ Tetanus จะ
ก่อให้เกิดโรคบาดทะยักแต่พบได้ไม่บ่อยนัก จึงไม่มีความจาเป็นต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยักในหมู่คน
จานวนมาก แต่ควรให้การพิจารณาวัคซีนหรืออิมมูนโนโกลบูลินเป็นรายบุคคลท่ีมีบาดแผลสกปรกมาก
ประกอบกับประวัติการได้รับวัคซีนบาดทะยัก นอกจากนั้นแล้ว การท่ีร่างกายมีอุณหภูมิต่า (Hypothermia)
ก็พบไดบ้ ่อยในผู้ที่ต้องแช่นา้ เป็นเวลานาน ซึ่งเพิม่ ความเสยี่ งตอ่ การติดต่อโรคในกล่มุ ทางเดนิ หายใจ

คูม่ อื การป้องกนั ตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 22

จ. มาตรการป้องกันในระยะสน้ั การใส่สารคลอรีนในนา้ เพ่ือฆ่าเช้ือโรคในแหล่งน้าดื่มซึ่งเป็น
มาตรการป้องกันท่ีสาคัญท่ีสุดภายหลังเกิดภัยพิบัติ นอกจากสารคลอรีนจะช่วยลดความเส่ียงต่อการระบาด
ของโรคตดิ ตอ่ ท่ีน้าเปน็ ส่ือแล้ว ยังเปน็ สารทหี่ าได้ง่ายและมปี ระสทิ ธภิ าพดใี นการฆ่าเชื้อในแหล่งนา้ ดมื่ จานวน
ท่ีใช้ข้ึนอยู่กับสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนอยู่ในน้า และปริมาณของ active chlorine ในน้าควรจะอยู่ที่ปริมาณ
0.2-0.5 มิลลกิ รัมต่อลิตร ซ่งึ สามารถใช้ชุดตรวจสอบได้ง่าย การให้วัคซีนตับอักเสบ A ไม่แนะนาให้ใช้ในกลุ่ม
คนจานวนมาก แต่อาจจะพิจารณาให้ในกลุ่มบุคคลท่ีมีความเสี่ยงสูงเช่นผู้ท่ีดูแลจัดการแหล่งน้าดื่มน้าใช้
สาหรับกรณีที่มีการระบาดของโรคควรพิจารณาให้วัคซีนในกลุ่มผู้สัมผัส การป้องกันการระบาดของโรค
มาเลเรียยงั พอมีเวลาสาหรบั การดาเนินมาตรการควบคุม เนอื่ งมาจากภายหลงั ภัยพบิ ัติยงั ไมไ่ ด้ทาให้มีการเพ่ิม
จานวนของยุงอยา่ งทนั ทที ันใด ดงั นนั้ การปอ้ งกนั โดยการพ่นฉดี ยาฆา่ แมลงในบริเวณท่ีพกั ศนู ยอ์ พยพ เปน็ สิ่ง
ที่จาเป็น หรือการ retreatment/ distribution ของ ITNs ในพ้ืนท่ีจะมีผลต่อยุงที่เป็นพาหะของโรคติดต่อ
ทางแมลงอื่นๆ ด้วย

การตรวจจับการระบาดของโรคให้เร็วท่ีสดุ เปน็ ท่ีสาคญั อยา่ งยิ่งยวด โดยตรวจสอบจานวนผ้ปู ว่ ย
ที่มีอาการไข้ในแต่ละสัปดาห์ รวมท้ังทาการค้นหาเชิงรุกในผู้ป่วยท่ีมีอาการไข้เป็นส่ิงจาเป็นเพื่อลดอัตราการ
ตาย และต้องมีการเตรยี มพร้อมการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการในพ้ืนทีร่ ่วมด้วย

หน่วยสุขศึกษาต้องรณรงค์และให้ความรู้ด้านสุขลักษณะนิสัย ได้แก่การตระเตรียมอาหารต้อง
ปลอดภยั แหลง่ นา้ มีการใสค่ ลอรีนหรือรกั ษาปรมิ าณคลอรนี ให้ถกู ต้อง

แนวทางการป้องกันของบุคลากรท่ีทาหน้าที่กู้ศพหรือชันสูตรศพ ประกอบด้วยuniversal
precaution เม่ือสัมผัสกับเลือดและของเหลวจากร่างกายผู้เสียชีวิต ควรใช้ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง ใช้
ถงุ พลาสติกห่อศพ ล้างมือด้วยสบทู่ ุกครง้ั ภายหลังจบั ต้องศพและก่อนรับประทานอาหาร รวมท้ังการพจิ ารณา
การให้วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบ Bบริเวณท่ีวางศพควรจะห่างจากแหล่งน้าดื่มอย่างน้อย 30 เมตร ก้นของ
หลุมฝังศพต้องสูงกว่าผิวหน้าของระดับน้าใต้ดินอย่างน้อย 1.5 เมตร หรือ 0.7 เมตรในบริเวณท่ีไม่หนาแน่น
มากนัก และน้าจากบริเวณที่วางศพต้องไม่เข้าไปปะปนในแหล่งท่ีอยู่อาศัยหรือบริเวณท่ีพักพิง การก่อนเข้า
ออกพนื้ ที่บรเิ วณท่ีวางศพควรพ่นยาฆา่ เชื้อต่ออปุ กรณ์และพาหนะหมายเหตุ โรคต่างๆ ท่ีเน้นตัวอักษรดาและ
ขดี เสน้ ใตส้ ามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมไดจ้ ากเอกสารวชิ าการ (fact sheet)
ถอดความจาก WHO Communicable Diseases Working Group on Emergencies. Flooding and
Communicable Disease: risk assessment and preventive measures [online]. [cited 2004
ecember 29]. Available from URL: http://www.who.int/hac/techguidance/ems/en/
Floodingand CommunicableDiseasesfactsheet.pdf

2) สาธารณภัยทมี่ นุษย์ทาใหเ้ กิดขน้ึ เปน็ สาธารณภัยที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ โดยอาจเกิด
จากส่ิงประดิษฐ์ของมนุษย์ ท่ปี ระดิษฐเ์ พ่อื ความสุขสบาย หรือเพ่ือประหัตประหารกัน เช่น

(1) ภยั จากการจราจร ได้แก่ ทางอากาศ ทางบก ทางน้า ทางราง
(2) ภัยจากการประกอบอาชีพ ท้ังภาคเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม
(3) ภยั จากความไมส่ งบของประเทศ
(4) ภัยจากไฟฟ้า อัคคภี ยั
(5) ภยั จากวัตถอุ ันตราย
(6) ภัยจากความเจรญิ ทางเทคโนโลยี ความเจริญกา้ วหน้า

คมู่ อื การปอ้ งกันตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 23

(7) ภัยจากฝุ่นละออง เกิดมาจากการเผาไหม้ ท่ีไม่ว่าจะเป็นจากไอเสียของรถยนต์, การใช้
ฟืนถ่านหงุ ตม้ อาหาร, การเผาขยะและหญา้ รวมไปถงึ การเผาเชือ้ เพลงิ ในโรงงานและอุตสาหกรรม

บางชนดิ ของสาธารณภัยอาจเป็นได้ทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและทเ่ี กิดข้ึนจากการกระทาของมนษุ ย์
เชน่ อคั คีภยั ไฟไหมป้ า่ อทุ กภยั และการระบาดของโรค และมคี วามเส่ียงสงู มากข้ึน เมื่อเกดิ สาธารณภยั เช่น
เมื่อเกดิ ไฟไหมข้ องอาคารสงู ระบบการเคลื่อนยา้ ยยอ่ มชา้ และมีความยุง่ ยากซับซ้อนกว่าอาคารปกติ
ซี่งเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์โดยตั้งใจและไม่ตั้งใจก็ดี วิธีป้องกันท่ีดีที่สุดคือ การต้ังสติก่อน
ตัดสินใจกระทาการใด สาหรับการป้องกันภัยจากฝุ่นละออง ได้แก่ ใช้ Mask หรือหน้ากากปิดปากสวมไว้
เพ่ือป้องกันฝุ่นละอองก่อนออกจากบ้านทุกครั้ง , ทาความสะอาดบ้านทุกวัน และปลูกต้นไม้ จาก กรม
ควบคุมโรค

2. ภยั โซเชียล

โลกไซเบอร์ทุกวันน้ีก้าวหน้าอย่างรวดเร็วจนแทบตามไม่ทันขณะเดียวกันบรรดา มิจฉาชีพก็ฉวย

โอกาสเกาะขบวนรถไฟสายเทคโนโลยีขบวนนี้ด้วย โดยอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ บวกกับความ

รู้เท่าไม่ถึงการณ์และการละเลยในการศึกษาข้อแนะนาต่างๆ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเสมือนหนึ่งเปิด

ประตูต้อนรับโจรไซเบอร์เข้าโดยไม่รู้ตัว และด้วยหน้าท่ีการงานทุกวันนี้เราต่างก็เป็นคนหน่ึงท่ีได้ช่ือว่าเป็น

“ผู้ใช้คอมพิวเตอร์” ปจั จุบันเทคโนโลยไี ด้เป็นทีส่ นใจของคนทุกมมุ โลกทุกสาขา เทคโนโลยจี ึงเป็นทแี่ พร่หลาย

และนามาใช้ในการทางานและชีวิตประจาวัน การเรียนการศึกษาในสมัยนี้จึงมีหลักสูตรที่เก่ียวกับเทคโนโลยี

เข้าไปด้วย เทคโนโลยีท่ีล้าหน้าท่ีสุดท่ีคนท่ัวโลกให้ความสาคัญคือ เพราะปัจจุบันนี้อุปกรณ์หลายชนิดก็ต้อง

พง่ึ พาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมว่ ่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ มือถือ PDA GPS ดาวเทียม และไม่นานมาน้ี

มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ เป็นการบ่งบอกว่าสังคมให้

ความสาคัญแก่คอมพิวเตอร์ จึงได้มีการออก พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.

2550 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 18 มิถุนายน 2550 และมีผลบังคับใช้ในวันท่ี 19 กรกฎาคม

2550 กฎหมายนี้ เป็นกฎหมายที่กาหนดฐานความผิดและบทลงโทษสาหรับการกระทาความผิดทาง

คอมพิวเตอร์ในรูปแบบใหม่ ซ่ึงกฎหมายท่ีผ่านมายังไม่สามารถรองรับหรือครอบคลุมถึง เช่น การกระทาให้

ระบบคอมพวิ เตอร์ไมส่ ามารถ ทาตามคาส่ังท่กี าหนดไว้หรือทาให้การทา งานผิดพลาดไปจากคาสง่ั ทีก่ าหนดไว้

หรือใช้วิธีการใดๆ เขา้ ลว่ งรู้ข้อมลู แก้ไข หรอื ทาลายขอ้ มูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพวิ เตอรโ์ ดยมชิ อบฯลฯ

การกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร แบงออกเปน 2 ประเภท คือ การใชคอมพิวเตอรกระทา และ

คอมพิวเตอรถูกกระทา

ฐานความผิด โทษจำคก โทษปรบั

มาตรา 5 เขาถงึ คอมพิวเตอรโดยมิชอบ ไมเกิน 6 เดอื น ไมเกนิ 10,000 บาท

มาตรา 6 ลวงรูมาตรการปองกัน ไมเกิน 1 ป ไมเกิน 20,000 บาท

มาตรา 7 เขาถึงขอมลู คอมพิวเตอรโดยมิชอบ ไมเกิน 2 ป ไมเกนิ 40,000 บาท

มาตรา 8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไมเกิน 3 ป ไมเกนิ 60,000 บาท

มาตรา 9 การรบกวนข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ไมเกนิ 5 ป ไมเกนิ 100,000 บาท

มาตรา 10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร ไมเกนิ 5 ป ไมเกนิ 100,000 บาท

มาตรา 11 สแปมเมล์ ไมมี ไมเกิน 100,000 บาท

มาตรา 12 การกระทาตอความมั่นคง

คูม่ ือการปอ้ งกันตนเองจากคุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

ฐานความผิด โทษจำคก หนา้ ท่ี 24
(1) กอ่ ความเสยหายแกข่ อ้ มลู คอมพวิ เตอร์ ไมเกนิ 10 ป
(2) กระทบตอ่ ความม่นั คงปลอดภัย 3 ปี ถึง 15 ป โทษปรบั
ของประเทศ/เศรษฐกจิ วรรคทาย เปนเหตใุ หผูอ่นื ถงึ แกชีวิต 10 ปี ถงึ 20 ป + ไมเกนิ 200,000 บาท
มาตรา 13 การจาหน่าย/เผยแพรชุดคาสั่ง ไมเกนิ 1 ป 60,000-300,000 บาท
มาตรา 14 การเผยแพรเนื้อหาอันไมเ่ หมาะสม ไมเกิน 5 ปี
มาตรา 15 ความรบั ผดิ ของ ISP ไมเกนิ 5 ปี ไมมี
มาตรา 16 การตัดตอภาพผูอื่น (ถาสุจริต ไมมีความผดิ ) ไมเกิน 3 ปี ไมเกนิ 20,000 บาท
ไมเกนิ 100,000 บาท
ไมเกิน 100,000 บาท
ไมเกนิ 60,000 บาท

จากกลุมคอมพวิ เตอรพวิ เตอรและระบบเครือขาย ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

นอกจากนี้ยังมีเร่ืองดีๆ ของโซเซียลมีเดียหากใช้ไปในแง่ดี ย่อมก่อผลดีต่อผู้ใช้และคนในโลกโชเชียล

มีเดียอีกด้วย
 สง่ เสริมกระบวนการคิด
 ฝึกฝนทักษะการจดั เรียงลาดบั เรื่อราว การสอ่ื สารอย่าหนง่ึ
 สร้างชอ่ งการส่อื สารกบั ครอบครัว
 ตอ่ ยอดเร่ือการศึกษา
 ฝกึ ฝนการอา่ นการเขยี น มากขน้ึ ได้
 รักษาอาการซมึ เศรา้
 เก็ดไอเดยี ใหม่

ขอ้ ควรระวังเม่อื ใช้โซเซยี ลมีเดีย
 ต้องอยบู่ นพ้นื ฐานที่ไมส่ ่งผล ใหผ้ ้อู นื่ เส่อื มเสียช่ือเสียง
 ต้องไมใ่ ช้เพื่อการปลกุ ระดมให้ เกดิ การทะเลาะวิวาท
 ควรรับสารอย่ามสี ติ พิจารณาใหร้ อบคอบก่อน มกี ารส่งขา่ วต่อ
 ระวงั การส่งต่อขอ้ มลู ทีอ่ าจล่วงละเมดิ สทิ ธิผ์ ูอ้ นื่ ได้

เช็คพฤตกิ รรมของคุณก่อนทจี่ ะติดโชชียลมีเดีย
 เชด็ พืน้ ฐานความรู้ เก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีใช้
 ตระหนักถงึ การเคารพสิทธผิ ูอ้ ่นื
 ส่ือสารอยา่ ง อย่างเหมาะสม
 จากดั เวลาใชง้ านสุภาพสมอ
 ต้งั คา่ รหสั ผ่านท่ีปลอดภัย
 ควบคมุ อารมณ์ตนเอง
 รจู้ กั พิจารณาบุคคลก่อนรับเปน็ เพ่อื นในโลกโซเชยี ล
 ไมค่ วรเผยแพร่ข้อมลู ดา้ นการเงิน
 หลกี เส่ยี งการโพสต์ ข้อความและภาพทแ่ี สดงออกทางเพศ
 ทบทวนกอ่ นโพสตส์ ตสก่แี สดงข้อมลู สว่ นตวั

โซเซยี ล มเี ดยี กับพฤติกรรมท่ีพึงหลกี เลย่ี งก่อนภยั มาถงึ ตวั

คูม่ ือการป้องกันตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 25

 ผใู้ ชง้ านโซเซียลรเู้ ทา่ ไม่ถงึ การณใ์ นการโพสต์ สเตตัสของตวั เอง
 ไม่รกู้ ารตั้งค่าปอ้ งกันความเปน็ สว่ นตัว
 ตง้ั ค่าความปลอดภัยต่า
 ตามไม่ทันเกย่ี วกับระบบไวรสั การขโมยข้อมูล
 ถูกโจมตดี ้วยเทคนคิ พเิ ศษ

ภยั รา้ ยใกลต้ ว้ อยา่ ง Cyber bullying ไมใ่ ช่เร่ืองใหม่แตผ่ ู้ปกครองต้องใส่ใจบตุ รหลานให้มากขึน้
 สอนลูกๆ วา่ อย่าไวใจ คนแปลกหนา้
 สอดส่องวา่ ลกู ไหน กับใคร
 สอนลกู ให้เก็บข้อมลู สว่ นตัวใหด้ ี
 กาหนดขอ้ ตกลงก่อนอนุญาตใช้เคร่ืองมือส่ือสาร
 สร้างความความสมั พันธก์ บั ลกู ให้ลูกไว้ใจ

เยาวชนในปัจจุบันต่างใช้อินเทอร์เน็ตมากข้ึน เช่นเดียวกับการกล่ันแกลงท่ีถูกนามาขึ้นสู่โลก

ออนไลนอ์ ยา่ งหลกี เลีย่ งไมไ่ ด้ ผูป้ กครองมีวธิ ปี อ้ งกนั ดังนี้
 สงั เกตพฤติกรรมไปเปลย่ี นของของลูก
 เฝ้าดพู ฤติกรรมการใช้เทคโนโลยขี องลกู
 ดแู ลและใหค้ วามรกั ความอบอนุ่ กบั ลกู

อาการทบ่ี ง่ บอกว่าลูกอาจถูก Cyber bullying
 มอี าการซมึ เศร้า เครียดหรือความวติ กกงั วล
 กลายเป็นคนชอบเก็บตวั ไมค่ ่อยพดู วันๆ เลน่ แต่มือถือหรือแทบ็ เล็ต

รแู ปบบการกลัน่ แกลง้ ทางไซเบอร์
 การโจมตีโดยใช้คาหยาบคาย
 การคุกความทางเพศแบบออนไลน์
 การแอบอา้ งตัวจัน
 การแบลค๊ แมลก์ ัน
 การหลอกลวง
 การสร้างกลุม่ เพื่อโจมตีในโซเซยี ลมีเดยี

10 รูปแบบอนั ตรายทพ่ี บเห็นได้บอ่ ยในโซเซียลเนต็ เวิร์ค
 E-Social Engineering Attack on Social Networ kม า ใ น รู ป แ บ บ เ ก ม

แอปพลิเคชน่ั เพื่อแลกของรางวัล
 Phishing Attack ส่ง URL ที่ส้ัน ๆ (URL Shorten)ล่อลวงให้คลิกข้าไปในลิงค์

ดังกลา่ ว
 Cross Site Scripting Attack อาชญากรฝงั โคด้ บนวบ็ ไซตท์ มี่ ชี ่องโหว่
 Clickjacking or Ul Redressing Attack เปน็ เทคนิคหลอกใหค้ ลกิ รปู โดยุมง่ ร้าย
 APT (Advance Persistent Threat) MitB(Man-in-The-Browser-Attack)

เทคนิคการโจมตขี น้ั สูงที่มุ่งเนน้ โจรกรรมข้อมลู ลับเกี่ยวกับการทาธุรกรรมและอืน่
 Your GPS Location Exposed การเปิดเผยตาแหน่งทอ่ี ยู่อาจสง่ ผลร้ายท่ีคาดไม่ถึง

คมู่ ือการป้องกนั ตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 26

 Drive-by Darrbad Attack ผู้ใช้งานอาจถูกโจมติด้วยโปรแกรมประสงค์ร้ายเพียงแค่
เยีย่ มชมเว็บไซต์

 Identity Theft เทคนคิ การดักจบั ขอ้ มลู ท่สี ง่ ไปมา
 Your Privacy Exposed การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดต่อสารารณะมีความเสี่ยง

สงู ต่อผู้ใช้
10 คาแนะนา เพื่อป้องกันภัยจากโซเซยี ลมเี ดยี

 ต้ังการแจง้ เตือนเมือ่ คลกิ ลงิ ก์เพอื่ ป้องกนั ไม่ให้คลิกลิงก์ทเี่ ปน็ อันตราย
 อยา่ เชอ่ื ว่าทกุ ขอ้ ความจากเพือ่ นของคณุ มาจากขาจริง ๆ
 พิมพ์ Web Address ของโชเขียลมีเดยี โดยตรงไมค่ ลิกผ่านลิงก์
 เลอื กใชโ้ ซเซียลมีเดียท่นี า่ เชื่อถอื
 นกึ อยเู่ สมอว่าทุกอย่างเมอ่ื โพสตล์ งอนิ เทอรเ์ นต็ ไม่ถูกลบไป
 เก็บคาตอบของคาถามเมื่อตอ้ งตอบวลาเปล่ยี นรหัสผา่ นให้เปน็ ความลับ
 ไม่อนุญาตให้โซเซียลมเี ดียสแกนบญั ชีรายชื่ออเี มลของคุณ
 ไมร่ ับทกุ คนในโชเชียลมีเดียเปน็ เพอื่ น
 ระมดั ระวงั การตดิ ตง้ั สว่ นขยาย(Extension)
 ปดิ ตวั เลือกระบุสถานทอ่ี ยขู่ องคณุ

3. ภัยยาเสพตดิ

ภัยยาเสพติดในที่นี่ หมายถึง ภัยท่ีเกิดจากยาเสพติด เช่น ภัยจากการเสพ หลงผิดเป็นผู้ค้าหรือเข้า
ร่วมกระบวนการ

ความหมายของยาเสพตดิ
ยาเสพติดหมายถึง สารใดก็ตามท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ข้ึนเม่ีอนาเข้าสู่ร่างกาย
ไมว่ ่าจะโดยวิธรี บั ประทาน ดม สูบ ฉดี หรือด้วยวธิ ีการใด ๆ แลว้ ทาให้เกิดผลตอ่ ร่างกายและจิตใจนอกจากนี้
ยงั จะทาให้เกิดการเสพติดได้หากใช้สารนั้นเป็นประจาทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ คร้ัง ลักษณะสาคัญของสาร
เสพติดจะทาใหเ้ กิดอาการ และอาการแสดงตอ่ ผเู้ สพดังนี้

ก. เกิดอาการดอ้ื ยา หรือต้านยา และเม่อื ตดิ แล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากข้นึ
ข. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรอื อยากยา เมอื่ ใชส้ ารนน้ั เท่าเดมิ ลดลง หรอื หยุดใช้
ค. มคี วามต้องการเสพทง้ั ทางร่างกายและจิตใจอยา่ งรนุ แรงตลอดเวลา
ง. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อ่ืน ตลอดจนสังคม และ

ประเทศชาติ
ความหมายของยาเสพตดิ ยาเสพติดให้โทษ หรือสิ่งเสพติดหมายถึง ยาหรือสารเคมหี รอื วัตถชุ นิดใดๆ
เม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใดก้ตาม ทาให้เกิดผลต่อร่างกายและ
จิตใจ ดังน้ี 1. ต้องการยาเสพติดตลอดเวลา แสดงออกทางร่างกายและจติ ใจ

2. ตอ้ งเพ่มิ ขนาดของยาเสพตดิ มากข้นึ
3. มีอาการหยากหรือหวิ ยาเม่อื ขาดยา (บางท่านจะมอี าการถอนยาเม่ือขาดยา)
4. สุขภาพท่วั ไปทรุดโทรม
ถ้าพบเหน็ บคุ คลทม่ี พี ฤติกรรม 4 ประการ ให้พึงสงั เกตวา่ อาจจะเปน็ คนท่ีใช้ยาเสติด

คูม่ ือการป้องกันตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 27

วธิ สี งั เกตผูต้ ิดยาหรือสารเสพติด
ก. การเปล่ยี นแปลงทางร่างกาย สุขภาพทรุดโทรม ผอมซดี ทางานหนักไม่ไหว ริมฝีปากเขยี ว
คล้าและแห้ง ร่างกายสกปรกมีกล่ินเหม็น ชอบใส่เส้ือแขนยาว กางเกงขายาว ใส่แว่นดา
เพ่อื ปกปดิ
ข. การเปล่ียนแปลงทางจติ ใจ อารมณห์ งดุ งิดงา่ ย พูดจารา้ วขาดความรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ มั่ว
สมุ กับคนที่มีพฤติกรรมเกีย่ วกับยาเสพติด สูบบุหรี่จัด มีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด หน้าตา
ซมึ เศรา้ ขาดความเชอื่ ม่นั จติ ใจอ่อนแอ ใชเ้ งนิ เปลอื ง ส่งิ ของภายในบา้ นสูญหายบอ่ ย
ค. แสดงอาการอยากยาเสพติด ตัวส่ัน กระตุก ชัก จาม น้ามูกไหล ท้องเดิน ถ่ายอุจจาระเป็น
เลือดท่เี รยี กว่า "ลงแดง" มไี ข้ปวดเมือ่ ยตามรา่ งกายอย่างรนแรงนอนไมห่ ลับ ทรุ นทุราย
ง. อาสัยเทคนิคทางการแพทย์ โดยการเก็บปัสสาวะบุคคลที่สงสัยว่าจะติดยาเสพตดิ ส่งตรวจ
ใช้ยาบางชนิดทสี่ ามารถลา้ งฤทธ์ขิ องยาเสพติด

โทษและพิษภัยของสารเสพติด เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสาร
เหล่าน้ีเขา้ ซง่ึ เป็นโทษท่ีมองไม่เห็นชดั เปรยี บเสมือนเป็นฆาตกรเงยี บ ท่ที าลายชีวิตบุคคลเหล่าน้ันลงไปทุกวัน
ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ กอ่ ความเส่ือมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่างร้ายแรง เพราะสาร
เสพติดทุกประเภทท่ีมีฤทธ์ิเป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการ
ของร่างกายและชีวิตมนษุ ย์ การติดสารเสพตดิ เหล่านน้ั จึงไมม่ ีประโยชนอ์ ะไรเกดิ ข้นึ แก่รา่ งกายเลย แตก่ ลบั จะ
เกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจทาให้เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพ่ือนบ้าน สังคม
และชมุ ชนต่างๆ ต่อไปได้อกี มาก

โทษทางรา่ งกาย และจติ ใจ
ก. สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าท่ี ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเสื่อมโทรม

พิษภัยของสารเสพย์ติดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเส่ือมลง มีอารมณ์ จิตใจไม่
ปกติ เกิดการเปลี่ยนแปลงไดง้ ่าย เช่น วติ กกงั วล เล่อื นลอยหรือฟงุ้ ซา่ น ทางานไม่ได้ อย่ใู นภาวะ
มึนเมาตลอดเวลา อาจเปน็ โรคจติ ไดง้ ่าย
ข. ด้านบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทั้งความประพฤติความสะอาดและ
สตสิ มั ปชัญญะ มอี ากปั กิริยาแปลกๆ เปล่ียนไปจากเดมิ
ค. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเรี่ยวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจ
คร้าน เฉ่ือยชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเน้ือ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของ
ร่างกายและกลา้ มเนื้อตา่ งๆ ผดิ ปกติ
ง. ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรดุ โทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ของร่างกาย
ถกู พษิ ยาทาใหเ้ ส่ือมลง น้าหนกั ตวั ลด ผวิ คล้าซดี เลือดจางผอมลงทกุ วนั
จ. เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติ ทาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย
และเมอ่ื เกดิ แล้วจะมคี วามรนุ แรงมาก รกั ษาหายได้ยาก
ฉ. อาจประสบอุบัติเหตุได้ง่าย สาเหตุเพราะระบบการควบคุมกล้ามเนื้อและประสาทบกพร่อง ใจ
ลอย ทางานด้วยความประมาท และเสย่ี งตอ่ อบุ ตั ิเหตตุ ลอดเวลา
ช. เกิดโทษท่ีรุนแรงมาก คอื จะเกิดอาการคลุ้มคล่ัง ถึงขั้นอาละวาด เม่ือหิวยาเสพติดและหายาไม่
ทัน เริ่มด้วยอาการนอนไม่หลับ น้าตาไหล เหง่ือออก ท้องเดิน อาเจียน กล้ามเนื้อกระตุก
กระวนกระวาย และในทสี่ ุดจะมีอาการเหมือนคนบา้ เปน็ บ่อเกิดแห่งอาชญากรรม

คมู่ ือการปอ้ งกันตนเองจากคกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 28

โทษพษิ ภยั ตอ่ ครอบครวั
ก. ความรับผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั และญาติพีน่ ้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครวั
ข. ทาให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ท่ีจะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอ่ืน และ

ตอ้ งเสียเงินรักษาตวั เอง
ค. ทางานไม่ไดข้ าดหลกั ประกนั ของครอบครวั และนายจ้างหมดความไว้วางใจ
ง. สญู เสยี สมรรถภาพในการหาเล้ยี งครอบครัว นาความหายนะมาส่คู รอบครวั และญาติพน่ี ้อง
การป้องกันการติดยาเสพติดในโรงเรียน หรือสถานศึกษา ภัยอันน่ากลัวของยาเสพติดได้ขยายตัว
ลุกลามเข้าไป ในร้ัวโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นทุกที จนเป็นท่ีน่าหวั่นเกรงว่า หากไม่ดาเนินการแก้ปัญหาอย่าง
เร่งด่วน อาจสายเกินไปสาหรับเยาวชนและกลายเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ในการ
ที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการกาหนดมาตรการต่างๆ ข้ึนมาเพื่อแก้ไขปัญหา โดยได้แบ่งการแนว
ทางการดาเนนิ งานออกเป็นกลุม่ เปา้ หมายตา่ งๆ ดังนี้

1. กลุ่มนักเรียนท่ีไม่เคยใช้หรือไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เป็นการดาเนินงานป้องกันยา
เสพติด แก่กลุ่มนักเรียนท่ีไม่มีประสบการณ์ ในการใช้ยาเสพตดิ เป็นการดาเนินการในด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน
ยาเสพตดิ ในระยะยาว โดยมีมาตรการดาเนินงานต่างๆ เช่น

– การให้ความรหู้ รอื ผนวกเนอื้ หาเกีย่ วกับยาเสพติดเข้าไว้ ในวิชาตา่ งๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง
– การจัดนทิ รรศการ การจดั เสยี งตามสายในโรงเรยี น
– การจดั กจิ กรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในโรงเรยี น
– การฝึกทักษะชีวติ เพอ่ื ให้รู้จกั ปฏเิ สธยาเสพคดิ
– การใช้กิจกรรมกล่มุ เพอ่ื น
2. กลุ่มนักเรียนท่ีมีประสบการณ์ในการใช้ หรือเริ่มทดลองใช้ยาเสพติดบางชนิด แต่ยังไม่ถึงขั้น
เสพติดการดาเนินงานในกลุ่มนี้เป็นความจาเป็นเร่งด่วนท่ีต้องรีบดาเนินการก่อนที่นักเรียนจะใช้ยาเสพติดที่
รนุ แรงขน้ึ ซ่งึ การหยดุ พฤตกิ รรมดงั กลา่ วควรให้ความช่วยเหลอื แกน่ กั เรียน ดังน้ี
– จัดใหม้ มี มุ บรกิ ารปรึกษาแนะแนวหรอื ใหก้ ารปรกึ ษาปญั หาต่างๆ แกน่ ักเรยี นทีม่ ปี ัญหา
– ใชก้ ิจกรรมกล่มุ เพอ่ื นเพ่ือปรับพฤติกรรมให้อย่ใู นกรอบท่เี หมาะสม
– จัดค่ายกจิ กรรมในโรงเรียนโดยมีครอู าจารย์คอยดูแลอยา่ งใกล้ชิด
– ประสานงานกับผูป้ กครองอยา่ งใกลช้ ดิ เพ่อื รว่ มกนั แก่ไขปญั หา
3. กลุ่มนักเรียนที่ติดยาเสพติดกลุ่มน้ีโรงเรียนควรประสานให้ผู้ปกครองส่งตัวเข้ารับการ
บาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพ โดยควรทาความเข้าใจท้ังกับตัวผู้ ปกครองและตัวเด็กเอง ให้เข้ารับการ
บาบัดรักษาด้วยความสมคั รใจ ซ่ึงเม่ือรักษาหายแลว้ เด็กสามารถท่จี ะกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติกลุ่ม
นักเรียนท่ีมีพฤติกรรมค้ายาเสพติดสาหรับกลุ่มนี้ ทางโรงเรียนควรประสานงานกับเจ้าหน้าท่ีตารวจในการ
ดาเนินการปราบปราม ก่อนทีก่ ารแพร่ระบาดจะขยายตัวมากข้ึน หากเป็นนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมเสพด้วยและ
ค้าดว้ ย ควรประสานกบั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งเพ่อื ให้การบาบดั รักษาและดาเนินการไปตามกฎหมาย
วิธกี ารหลีกเล่ยี งยาเสพตดิ
1. ไมพ่ ดู คุยกบั ผูเ้ สพยาในท่ีลบั ตาหรอื ร่วมวงสนทนากบั กล่มุ ผู้ใช้ยาเสพตดิ
2. ไม่กระทาตนเปน็ ผู้รับฝาก นาส่งหรือหยบิ ยนื่ ยาเสพตดิ ให้กบั ผู้อน่ื
3. เลอื กคบเพ่ือนท่ีดี หากิจกรรมที่มปี ระโยชน์ทาในเวลาว่าง แนะนาเพ่ือนให้เลกิ ยาเสพติด ถ้า
หากเพื่อนหลงผิดควรแจ้งให้ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ทราบ

คูม่ อื การป้องกันตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 29

4. อย่าคิดวา่ ตนเองเลิกยาเสพติดไดแ้ ลว้ หากจะใชน้ ิดหนอ่ ยคงไม่ตดิ อีก
5. ไมเ่ ขา้ ไปในแหล่งท่ีมีการซือ้ ขายยาเสพติด พยายามนกึ ถึงผลเสียของการใช้ยาเสพติด
6. หมัน่ ใหก้ าลงั ใจตนเองในการกระทาความดีท่ีทามาอยา่ งสม่าเสมอ
7. มองโลกในแงด่ ี มีความหวังในชวี ติ ไมท่ อ้ ถอย
8. เมอื่ มีปญั หาก็ควรปรกึ ษาพอ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื บุคคลทไี่ วว้ างใจ
การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชมุ ชน ปัจจุบันปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาท่ีกาลังทาลายเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศแม้ว่าทุกฝ่ายจะพยายามปอ้ งกันแก้ไขปัญหายาเสพติดมาโดยตลอดจากการสารวจของ
สถาบนั วิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในปี 2536 ประมาณว่ามีผู้ติดยาเสพติดทว่ั ประเทศ 1.26 ล้าน
คน โดยแพร่กระจายไปถึงระดับหมู่บ้านชุมชนซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของสังคมและแพร่กระจายเข้าไปในกลุ่ม
นกั เรียน นักศึกษาและเยาวชนซึ่งเป็นพลังสาคัญของประเทศชาติในอนาคต
สถานการณ์ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาจากการศึกษาผลการดาเนินการที่ผ่านมา สถานการณ์
ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาพิจารณาปัจจัยภายในชุมชนวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของชุมชน พิจารณาปัจจัย
ภายนอกชุมชนวิเคราะห์โอกาส ข้อจากัดและภัยคุกคามสามารถนาปไส่การวิเคราะห์เพื่อการแก้ไขปัญหา
ดงั ตอ่ ไปนี้
จุดแข็ง
1. ชุมชนสงั คมรวมทั้งสื่อมวลชนตระหนักในความรนุ แรงของปัญหายาเสพติดและผลกระทบ จึงให้มี
การแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนและจริงจังโดยได้มีการรวมตัวกันเพ่ือหาทางป้องกัน ซึงปรากฏว่ามีหลายแห่ง
ประสบผลสาเรจ็ เปน็ ท่ีนา่ พอใจ
2. หน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องโดยเฉพาะสถาบันธัญญารักษ์และศูนย์บาบัดรักษายาเสพติดประจา
ภูมิภาคมีการพัฒนาศักยภาพ ให้มีความพร้อมครอบคลุมและเพียงพอต่อการแก้ปัญหา และประสานงาน
พร้อมถงึ ระดบั ชมุ ชน
3. มีการกระจายอานาจโดยให้องค์กรปกครองท้องถิ่น ซ่ึงจะมีส่วนช่วยให้ท้องถิ่นและชุมชนมีขีด
ความสามารถในการจัดการแก้ไขปญั หาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
จดุ ออ่ น
1. โครงสร้างของปัญหายาเสพติดเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากตัวปัญหาเองมีความสลับซับซ้อนนับวัน
จะขยายตัวเพ่ิมขึ้น และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ยากแก่การแก้ไขเพราะรากเหง้าของปัญหาเกิดจาก
ปัจจยั ภายในตัวบคุ ลและความไร้จิตสานกึ
2. ปัญหาสังคมไทยในเชิงโครงสร้างยังขยายตัวและส่งผลทาให้ปัญหายาเสพติดเพิ่มขึ้น ทาให้
ประชาชนประสบปัญหาด้านจิตใจ ด้านอาชีพและรายได้บางส่วนหันไปใช้ยาเสพติดและค้ายาเสพติดรวมทั้ง
ปญั หาค่านยิ มเร่ืองวตั ถุนิยมบริโภคนิยม และอทิ ธิพลในระดบั ตา่ งๆ
3. ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องขาดความถูกต้องและความน่าเชื่อถือทาให้ไม่สามารถวางแผนและปรับเปล่ียน
การดาเนนิ งานไดอ้ ยา่ งทนั เหตุการณ์
นอกจากน้ียังมีโครงการที่ชว่ ยสง่ เสริมให้ห่างไกลยาเสพตดิ และภยั ท่ีเกิดจากการหลงผิดเปน็ ผ้คู ้าหรือ
เขา้ ร่วมกระบวนการ ได้แก่
1. โครงการ D.A.R.E.ประเทศไทย หลักการสาคัญ คือการให้ข้อมูลและทักษะท่ีจาเป็นแก่เด็ก
เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้โดยปราศจากยาเสพติดและความรุนแรง สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างตารวจ เด็ก
นักเรยี น ครู บดิ ามารดา และสมาชกิ ในชมุ ชน

คูม่ อื การปอ้ งกนั ตนเองจากคกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หนา้ ที่ 30

2. โครงการ TO BE NUMBER ONE พระปณิธานทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา
พรรณวดี องค์ประธานโครงการ TO BE NUMBER ONE "การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดจาก
สังคมไทย ไม่สามารถดาเนินงานให้สาเร็จได้ด้วยการทางานขององค์กรใดองค์กรหน่ึง แต่ทุกองค์กรทุกฝ่าย
ต้องช่วยกันและการรวมตัวกันของผู้ท่ีมีความต้ังใจที่จะไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จะทาให้เกิดพลังในการ
ร่วมกันป้องกนั ปัญหายาเสพตดิ อยา่ งเขม้ แข็ง"

4. ภัยบุคคล ได้แก่ แก๊งตกทอง หลอกให้โอนเงิน แก๊งคอลเซ็นเตอร์ เปน็ ภัยใกล้ตัวตามที่ได้ข่าวโทรทัศน์

วิทยุ สังคมโซเซียล จากแก๊งมิจฉาชีพทางานกันเป็นทีมบ้าง ใช้วิธีการป้ายยาทาให้มีอาการทาให้ซึมเศร้า
เบลอ และจะทาตามส่ิงที่บอก สุดท้ายก็โดนปลดทรัพย์สินหมด หรือ ถูกชวนให้ลงทุน หรือหลอกใช้เช่ือจน
ต้องโอนเงินแกง๊ มจิ ฉาชพี

วิธีการป้องกนั
1) ต้ังสติ ปรกึ ษาคนท่ไี วใ้ จ
2) ไมใ่ ส่ทรัพย์สินมีค่า และไม่เดนิ ทางไปทางทีไ่ มค่ ้นุ เคยตามลาพัง

ยกตวั อย่างขา่ วแก๊งตกทอง
25 ก.พ. 62 (14:42 น.) จาก Sanook พาดหัวข่าว “อย่าให้ความโลภเข้าครอบงา แก๊งตกทองออก

อาละวาด” โดยมีเนอื้ หาดังน้ี แก๊งตกทอง ระบาดอีก สาวโรงงาน เสียรู้กลางตลาดนัด มึน งงหลงเชื่อ ยอม
ปลดสรอ้ ยคอ 1 บาท แหวน 1 สลึง เงินสด 700 บาท ให้ไม่รู้ตัว ในคืนวันท่ี 23 ก.พ. 62 ทผี่ ่านมา พ.ต.ต.สุ
พจน์ สวนสอน รอง สว.สอบสวน สภ.บ้านฉาง รับแจ้งจาก น.ส.ศิริพร อายุ 24 ปี ชาว จ.อุตรดติ ถ์ ทางานอยู่
บริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอมตะซิตี้ พักอยู่ห้องเช่าใน อ.บ้านฉาง ระยอง แจ้งว่าตนเองถูกกลุ่มมิจฉาชีพ 3 คน
หลอกเอาทรัพย์สินมคี ่าในตัวเป็นเงินสด 700 บาท สร้อยคอทองคาหนัก 1บาท แหวนทองหนกั หนึ่งสลึง เหตุ
เกดิ ตลาดนัดไทยทนุ

โดยผู้เสียหายเล่าว่าขณะตนเองไปจ่ายตลาดกับแฟนโดยท่ีแฟนนัง่ รอในร้านขนมจีนส่วนตนไดแ้ ยกไป
ซื้อปีกไก่ทอด ระหว่างทางพบกับหญิงสาวอายุประมาณ 22 ปีรูปร่างเตี้ยผมยาวมัดผมสวมเส้ือสีดา กางเกง
ยนี ส์ พบั ขาใสร่ องเท้าแตะธรรมดาเข้ามาทา่ ทางลุกล้ลี กุ ลนกาลังหากระเป๋าเงนิ ทตี่ กหลน่

ต่อมามีหญิงสาววัยกลางอายุประมาณ 40 ปี เข้ามาหาตนแล้วบอกว่าสงสารน้องเขาเห็นหามาพัก
หนงึ่ แลว้ ขอให้ตนไปช่วยกนั หาหนอ่ ยตนจงึ ใจออ่ นไปชว่ ยหา

ต่อมามีหญิงสาวอายุประมาณ 40-45 ปี เพิ่มมาอีกคนบอกว่าเจอของมีค่าในกระเป๋าใบเล็กแต่ยังไม่
เปิดให้ดู ตนก็รู้สึกมึนงงอยใู่ นขณะนน้ั จนกระทง่ั มหี ญิงคนที่ 1 และคนท่ี 2 ก็เดินเข้ามาดูพร้อมกัน จากนัน้ จึง
ชวนตนไปในท่ีลับตาคนพรอ้ มเปิดกระเปา๋ ใบเลก็ ดูพบว่ามีสรอ้ ยทอง 1 เสน้ ซ่งึ ตนก็ไม่ทราบว่าราคาเทา่ ไหร่

ต่อมาหญิงคนท่ี 2 จึงบอกกับตนว่าจะเอาสร้อยไปขายจะได้ราคาประมาณ 9 หม่ืนบาท พร้อมออก
อุบายว่าจะเอาเงินมาแบ่งกันแต่ต้องให้ทุกคนนาทรัพย์สินท่ีมีมาแลกไว้ เป็นประกันและให้ตนถอดสร้อยที่คอ
แหวน และเงนิ สดอกี 700 บาทใส่ไว้ในถุงเทา้ ดา พรอ้ มกบั ของคนอน่ื แลว้ ตนกท็ าตามทงั้ หมดโดยทีไ่ มร่ ู้สึกตวั

จนกระท่ังหญิงคนท่ี 2 ยื่นถุงเท้าดาให้ตนถือเป็นประกัน แล้วท้ังสามคนก็บอกว่าให้คอยอยู่ท่ีนี่จะนา
สร้อยไปขายก่อนแล้วจะนาเงินมาแบ่งกันจากน้ันหญิงท้ัง 3 ก็แยกย้ายหายไปในท่ีสุดแต่ตนไม่ได้เอะใจว่ามี
อะไรอยใู่ นถุงเทา้ ยนื ถือถงุ ดาอยูด่ ้วยความมนึ งง

จนแฟนเดินมาพบ จึงแกะถงุ เท้าออกมาพบว่ามเี ศษเหรียญบาทประมาณ 20 บาทอยู่ในถุงเทา้ จึงรู้ว่า
สูญทรพั ยส์ ินมคี ่าใหก้ ับมจิ ฉาชีพไปแล้วจงึ เดนิ ทางเขา้ แจง้ ความเพอ่ื ดาเนนิ คดีกับ แกง็ ตกทอง

คมู่ อื การปอ้ งกนั ตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 31
เบื้องต้นเจ้าหน้าท่ีได้สอบปากคาผู้เสียหายอย่างละเอียด โดยจดจารูปพรรณคนร้ายจากผู้เสียหายซ่ึง
ระบุว่าเป็นผู้หลอกลวงและเชิดทรัพย์สินหลบหนีไปหากผู้ใดทราบพฤติกรรมแก็งคนร้ายสามารถแจ้งเบาะแส
ไดท้ ่ี เลข 038-601111 สภ.บ้านฉางเพอ่ื ติดตามตวั มาดาเนินคดีต่อไป
จาก https://www.sanook.com/news/7691574/

ยกตัวอยา่ งข่าวแก๊งคอลเซ็นเตอร์
6 ธ.ค.60 จาก Workpiont NEWS “เตือนภัยกลโกง ! แก๊งคอลเซ็นเตอร์ระบาดหนัก แฉฐาน

ปฏบิ ตั กิ ารต้งั อยูน่ อกประเทศ” มีเนื้อหาดังน้ี
ประเด็นคือ – แฉกลโกงแกง๊ คอลเซน็ เตอร์ หลังสาวธนาคารดงั ไลฟส์ ดแฉพฤติกรรมโทรลวงให้โอนเงิน

สาวขบวนบวนการมเี ครอื ข่ายอยูต่ ่างประเทศ
แกง๊ มิจฉาชีพมาหลายรูปแบบ ลา่ สุดเป็นขา่ วกแ็ ก๊งคลาสสิคอย่าง Call Center กวาดลา้ งไมห่ มดสักที

จับตัวก็ยาก เพราะฐานปฏิบัติการตั้งอยู่นอกประเทศ เพ่ือรู้เท่าทัน วันน้ีมาดูลักษณะพฤติกรรมของมิจฉาชีพ
ประเภทนี้ รวมไปถึงลักษณะขบวนการหลอกลวง ท่ีจัดสรรคนทางานกันอย่างกับบริษัท ห้างร้าน แบ่งหน้าที่
เป็นแผนกๆไป พฤติกรรมการหลอกลวงก็จะมาหลายรูปแบบ เช่น หลอกเหย่ือว่าโทรจากแบงค์ชาติ – คุณมี
หนบี้ ตั รเครดิต เงินกู้ ตา่ งๆ หลอกเหย่อื วา่ พวั พนั คดียาเสพตดิ และฟอกเงนิ ใหโ้ อนเงินในบัญชีมาตรวจสอบ

นอกเหนือจากนี้ก็ยังมี หลอกเหยื่อว่าเป็นสรรพากร – อ้างว่าคุณมีภาษีคืน (ต้นๆปีมาเยอะ) ต้องไป
กดยืนยันรับเงินที่ตู้ ATM หลอกเหย่ือว่าเป็นบริษัทเอกชนชื่อดัง – คุณถูกรางวัลใหญ่ แต่ต้องโอนเงิน
คา่ ธรรมเนียมรับรางวัล หลอกเหย่ือว่าโทรจากศาล – คุณมีหมายศาล เคยมีถึงขั้นหลอกเหยือ่ ว่าจับลกู ไปเรียก
คา่ ไถ่ ใหร้ บี โอนเงิน ทงั้ ทีล่ กู อยู่ทที่ างาน สบายดี อารามตกใจและเปน็ หว่ ง เลยโอนเงนิ ให้

แก๊ง call center ข้ามชาติ ทากันเป็นขบวนการแบบย่ิงใหญ่ในแก๊งจะมีหลายฝ่าย ทาหน้าที่ต่างกัน
1. Boss ท่ีถูกพบขณะนกี้ ็มีทัง้ ไทย จนี ไตห้ วัน อินโดนเี ซีย ฟลิ ิปินส์

หัวหน้าแกงค์นาคนไทยไปทางานต้ังศนู ย์โทร.ตุ๋นเงนิ ในต่างประเทศ ทาหน้าท่ีควบคุมสัง่ การ 2. กลุ่ม
ผดู้ าเนนิ การระดับบรหิ ารทงั้ คนไทยและคนต่างชาติ 3. หัวหนา้ กลุ่มรวบรวมและกระจายเงิน (ฟอกเงนิ ) – จะ
ทาหน้าทเี่ ก็บสมุดบัญชี บัตรเอทีเอ็ม จากผู้รับเปิดบญั ชี และนาไปแจกจ่ายต่อให้คนวิ่งกดเงิน 4. คนว่ิงกดเงิน
: โดยสว่ นใหญ่ใช้บัญชใี นการรบั เงินจานวน 1- 3 บญั ชี เม่อื กดแลว้ ก็สง่ ตอ่ ใหค้ นรวบรวม 5. ผเู้ ปดิ บญั ชีรับโอน
เงิน : เปน็ หัวใจสาคญั ของการกอ่ เหตุ จะได้รับค่าตอบแทนคนละ 500 – 5,000 บาท 6. Call center : คนที่
โทรหาผู้เสยี หายต่าง ๆ จะใชก้ ารโทรศัพท์ผา่ นอินเทอร์เน็ต หรอื Voip ท่ีสามารถกาหนดหมายเลขโทรเข้าให้
เป็นหมายเลขจากหน่วยงานราชการได้ มาหลอกลวงว่าผู้เสียหายทาความผิดต่าง ๆศูนย์ call center
ส่วนมากจะต้งั นอกเขตประเทศไทย หรือ แนวตะเข็บชายแดน 7.กลุ่มผสู้ นับสนุน ส่วนมาจะเป็นคนไทย ที่ให้
ความชว่ ยเหลือในส่วนตา่ งๆ

พ.ต.อ.ธงชัย อยู่เกษ ผกก.1 บก.ป. เคยให้ข้อมูลว่า จากการท่ีติดตามจับกุมจากหลายๆ กลุ่มพบว่า
แหล่งข้อมูลทั้งชอ่ื นามสกุล และเบอร์โทรศัพท์ ที่พวกมิจฉาชีพมี มาจากหลายทาง บางกลุ่มมีการซื้อขายกับ
เจ้าหน้าท่ีในองค์กร ห้างร้าน บริษัทต่าง ๆ ท่ีเก็บข้อมูลลูกค้าไว้ ได้ท้ังเบอร์โทรศัพท์พร้อม ช่ือ นามสกุลของ
เจา้ ของเบอร์ เป็นการแอบเอามาขาย หรอื จะเปน็ การค้นหาข้อมูลในโลกอินเทอร์เนต็ ไม่ว่าจะเป็นเฟซบุก๊ ท่ีใส่
ช่ือและเบอร์โทรไว้ หรือการซือ้ ของออนไลน์ท่ีเคยไปใหข้ อ้ มูลทิง้ ไวห้ น้าเวบ็ สาธารณะหรอื อย่างล่าสุดก็เว็บไซต์
เทศบาลนครนนทบุรี โพสตร์ ายชื่อรบั เบี้ยผู้สูงอายุขน้ึ เวบ็ ทาให้มิจฉาชพี ได้ข้อมลู ไปหลอกเงนิ คนเฒ่าคนแก่
จาก https://workpointnews.com/2017/12/06/เตอื นภยั กลโกง-แก๊งคอลเ/

คมู่ อื การป้องกนั ตนเองจากคุกคามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หนา้ ท่ี 32

บทท่ี 3
ขน้ั ตอนการดาเนินงาน

การจัดทาคู่มือการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้สาหรับ
สถานศึกษาและนักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้ใชศ้ ึกษาเพื่อ
ป้องกันภยั คุกคามรูปแบบใหม่ ประกอบด้วย สาธารณภัย , ภัยโซเชียล , ภัยยาเสพติด และ ภัยบุคคล
มีขั้นตอนการดาเนนิ การงานดังน้ี

1. แตง่ ต้งั คณะทางานจดั ทาคมู่ อื การป้องกันภัยคกุ คามรูปแบบใหม่
2. จัดประชุมคณะทางานจัดทาคู่มือการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เพื่อออกแบบ
นาเสนอวิธีการป้องกันคุกคามรูปแบบใหม่ ให้นักเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 3 เพ่ือให้นักเรียนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้ใช้
ศึกษาผ่านการจัดทาส่ือวดิ ีโอบรรยายสัน้ ความยาวไม่เกิน 5 นาที และสอื่ ภาพยนตร์สั้น รายละเอยี ดดังน้ี

- สาธารณภัย (ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ และภัยที่เกิดจากมนุษย์) นาเสนอเป็นบรรยายสรุป
พร้อมภาพประกอบ และวิธปี ้องกันภัยเบ้ืองตน้

- ภัยโซเซยี ล นาเสนอในรปู แบบสอ่ื ภาพยนตร์สน้ั
- ภัยยาเสพตดิ นาเสนอในรปู แบบส่ือภาพยนตร์ส้ัน
- ภัยบคุ คล นาเสนอในรูปแบบสือ่ ภาพยนตร์ส้ัน
3. การจัดสือ่ VTR และส่ือภาพยนตร์สั้น ได้นาเสนอเพื่อให้ที่ประชุมลงมติเห็นชอบ เพื่อดาเนนิ การ
ถ่ายทา ตดั เน้ือหาท่ีล่อแหลม ความหมายกากวม การเสยี ดสี ตคี วามหมายได้มากกวา่ 1 อยา่ ง เน้นสาระ
เข้าใจง่าย เกดิ ขอ้ คิดทด่ี ีและนาไปใช้ในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหมไ่ ด้ ตามบริบทพื้นทข่ี อง
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3
- สอ่ื ภาพยนตรส์ น้ั ทนี่ าเสนอ ไดแ้ ก่

o ภัยโซเชียล ไดแ้ ก่
• สวยออนไลน์
• บอลออนไลน์
• รกั โดนบล๊อค

o ภัยบคุ คล ไดแ้ ก่
• ปลอม
• สวยใสไรโ้ รค

o ภยั ยาเสพตดิ ไดแ้ ก่
• ฮีโรน่ มสด
• หล่อไรย้ า

- นักแสดงส่ือภาพยนตร์ส้ัน ได้แก่ คณะทางาน นักเรียนโรงเรียนบ้านราหุล และบุคลากร
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3

คู่มือการป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 3

หน้าที่ 33

- นายสมหมาย ถาวรกูล รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา

เพชรบูรณ์ เขต 3 ที่ปรึกษาการถ่ายทาส่ือภาพยนตร์สั้นและสื่อ VTR โดยมีหัวหน้าคณะทางาน

ประกอบด้วย นางปาริชาติ เข่งแก้ว ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล และ นางสาวพรรณ

ทิพย์ พิมพ์ภูเขียว ผู้อานวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา คณะทางานถ่ายทาส่ือภาพยนตร์สั้นและสื่อ

VTR พร้อมเผยแพร่ ไดแ้ ก่

1) นางกัญจนา มีศิริ ศกึ ษานิเทศก์

2) นางสปุ ัญญา โพธห์ิ า ศึกษานิเทศก์

3) นายสุระศกั ดิ์ สืบสุด นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์

4) นายอนวฒั น์ แกว้ ขุนทด นกั วิชาการศึกษา

5) นางจฑุ ารัตน์ ศรีเอี่ยม เจา้ หน้าที่อตั ราจา้ ง

6) นายสิทธกิ ร บวั ทอง เจ้าหนา้ ที่อัตราจ้าง

7) นายสารชั ดวี ัน เจา้ หนา้ ทอ่ี ัตราจ้าง

8) นางสาวประภาพร หล่อปัญญากจิ การ ครูโรงเรียนบ้านคลองทราย

9) นายชนิ ดนยั โสดา ครูโรงเรยี นบ้านเนินสะอาด

10) นางสาวศวิ พร ประสทิ ธิ์นอก ครูโรงเรียนบา้ นราหุล

11) นายปยิ ะพงศ์ คงกระพนั ธ์ ครโู รงเรยี นอนบุ าลศรีเทพ(สว่างวัฒนา)

12) นายณัฐวตั ร รอดน้อย ครูโรงเรียนบา้ นนาไรเ่ ดียว

13) นายธรี สิทธ์ิ สมงาม ครบู า้ นโรงเรียนบ้านโคกสะแกลาด

14) นางสาวองั ศณา ราศี ครโู รงเรยี นบ้านหนองยา่ งทอย

15) นางสาวเจนจิรา โพธิ์ชัย ครูโรงเรยี นบ้านปากตก

- คณะทางานถ่ายทาส่อื ภาพยนตร์สั้นและสื่อ VTR ร่วมการตรวจสอบและถ่ายทาส่ือภาพยนตร์สั้น

ทีย่ ังเรียบรอ้ ย ก่อนเผยแพร่ นาเสนอผา่ นท่ปี รึกษาการถา่ ยทาส่ือภาพยนตร์สนั้ และสอ่ื VTR

3. เผยแพร่ คู่มือการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับ

สื่อวิดีโอ (VRT) และภาพยนตร์สั้น เก่ียวกับวิธีการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ผ่าน You tube

โดยสง่ ลงิ ค์ /ควิ อาร์โคด้ แบบให้ขอ้ คิดดๆี

4. ติดตามผลการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินการดังกล่าว สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 หวังให้
นักเรียนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้รู้วิธีการป้องกันตนจากภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ ที่เพิ่มเติมจากหลักสูตรท่ีได้เรียนในห้องเรียน ท่ีเป็นส่วนหน่ึงของสาระวิชาภูมิศาสตร์
สงั คม , วิทยาศาสตร์ และยังมีหลักสูตร E-Training สาหรบั ครู เร่ืองการลดความเสยี่ งภัยพิบัติธรรมชาติ
และการปรับตัวรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (National Safe School Online Training for
Teacher) ซึ่ง ก.ค.ศ รบั รองเปน็ หลักสตู รพิจารณาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาสายงานสอน และ
เปดิ ระบบใหล้ งทะเบียนเรยี นแล้ว

คูม่ ือการปอ้ งกันตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หน้าท่ี 34

คณะทางาน

ทป่ี รกึ ษา ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3
1) นายสมศักด์ิ ภูมิกอง รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3
2) นายสนั ติชัย บวั ทอง รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3
3) นายสมหมาย ถาวรกูล ผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานบุคคล
4) นางสุนนั ท์ บัวเทศ ผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรัพย์
5) นางสาวก่งิ กาญจน์ ยศปัญญา ผอู้ านวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน
6) นางสาวนวลจนั ทร์ ศกั ดส์ิ มวาส ผูอ้ านวยการกลุม่ อานวยการ
7) นางปารชิ าติ กา้ นสนั เทียะ ผู้อานวยการกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลฯ
8) นางปาริชาติ เข่งแกว้ ผอู้ านวยการกลุม่ นโยบายและแผน
9) นางคนงึ คุ้มตระกูล ผู้อานวยการกลมุ่ สง่ เสริมการจดั การศึกษา
10 นางสาวพรรณทิพย์ พิมพ์ภเู ขียว

คณะทางานในการจัดทาคมู่ อื ป้องกนั ภัยตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ VTR และสื่อภาพยนตร์ส้ัน

1) นายสมหมาย ถาวรกลู รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา หวั หน้าคณะทางาน

ประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 3

2) นางปาริชาติ เข่งแกว้ ผู้อานวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลฯ รองหัวหน้าคณะทางาน

3) นางกัญจนา มศี ิริ ศึกษานเิ ทศก์ คณะทางาน

4) นางปยิ ะวรรณ์ เชญิ ทอง ศึกษานเิ ทศก์ คณะทางาน

5) นางสาวพชั รินทร์ วาวงศ์มูล ศึกษานเิ ทศก์ คณะทางาน

6) นางรงั สิมา บัวทอง ศึกษานิเทศก์ คณะทางาน

7) นางสุปัญญา โพธหิ์ า ศกึ ษานิเทศก์ คณะทางาน

8) นางสาวประภาพร หลอ่ ปัญญากิจการ ครู โรงเรยี นบา้ นคลองทราย คณะทางาน

9) นางสาวศิวพร ประสทิ ธิน์ อก ครู โรงเรียนบ้านราหุล คณะทางาน

10) นายปยิ ะพงศ์ คงกระพันธ์ ครู โรงเรียนอนุบาลศรเี ทพ(สวา่ งวัฒนา) คณะทางาน

11) นายณฐั วัตร รอดนอ้ ย ครู โรงเรยี นบา้ นนาไรเ่ ดียว คณะทางาน

12) นายธรี สิทธิ์ สมงาม ครู โรงเรยี นบา้ นโคกสะแกลาด คณะทางาน

13) นายชนิ ดนยั โสดา ครู โรงเรียนบ้านเนินสะอาด คณะทางาน

14) นางสาวเจนจริ า โพธชิ์ ยั ครู โรงเรยี นบ้านปากตก คณะทางาน

15) นางสาวอังศณา ราศี ครู โรงเรยี นบา้ นหนองยา่ งทอย คณะทางาน

16) นายสรุ ะศักดิ์ สบื สดุ นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ คณะทางาน

17) นางสาวปวงอร เบ้าสิน นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน คณะทางาน

18) นางสุภสั สรา ทองหาญ เจา้ พนักงานธุรการ คณะทางาน

คู่มอื การป้องกนั ตนเองจากภยั คกุ คามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3

หน้าที่ 35

19) นางจุฑารตั น์ ศรีเอ่ยี ม เจ้าหน้าที่อัตราจ้าง คณะทางาน

20) นายสิทธิกร บวั ทอง เจ้าหน้าทอ่ี ตั ราจา้ ง คณะทางาน

21) นายสารัช ดวี นั เจ้าหนา้ ท่ีอัตราจา้ ง คณะทางาน

22) นายณัฐพงษ์ นนทะพา เจา้ หน้าท่อี ตั ราจา้ ง คณะทางาน

23) นางสาวกญั ญารัตน์ ทองจนั ดา เจา้ หนา้ ทอี่ ัตราจา้ ง คณะทางาน

24) นางอุมาพร อัครางกูร นกั วิชาการศกึ ษา คณะทางาน

25) นางกิตติกาญจน์ แต้มทอง นักวชิ าการศึกษา คณะทางาน

26) นางสาวจฑุ ารตั น์ เนียมถนอม นกั วิชาการศกึ ษา คณะทางาน

27) นางอรพรรณ กนึ สี นักวชิ าการศกึ ษา คณะทางาน

28) นางสาวอภริ ดี บวั สาลี เจ้าพนักงานธรุ การ คณะทางาน

29) นางชลุ ีพร ศรีสงั ข์ เจ้าหนา้ ทอ่ี ัตราจา้ ง คณะทางาน

30) นางสาวพรรณทิพย์ พมิ พภ์ เู ขียว ผู้อานวยการกล่มุ สง่ เสริมการจดั การศึกษา คณะทางาน/เลขานกุ าร

31) นายอนวฒั น์ แก้วขนุ ทด นักวิชาการศกึ ษา คณะทางาน/ผู้ช่วยเลขานกุ าร

คู่มอื การป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3


Click to View FlipBook Version