The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธันว์พันธุ์ ใจเสมอ, 2023-10-19 10:37:44

E-book โครงงาน

E-book โครงงาน

การสำ รวจพืชพร ณวัดพระธาตุเจดีย์หลวงวรวิหาร เพื่อการบริหารจัดการภูมิทัศน์


จัดทำ โดย นายธันว์พัว์ พันธุ์ ใจเสมอ รหัส 6419101006 คณะสถาปัตยกรรมเเละการออกเเบบสิ่งเเวดล้อม สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ มหาวิทวิยาลัยเเม่โจ้ การสำ รวจพืชพรรณวัดวัพระธาตุเจดีย์หลวงวรวิหวิาร เพื่อการบริหริารจัดการภูมิทัศน์


บทคัดย่อ โครงงานวิชวิาชีพภูมิทัศน์เรื่อรื่ง การสำ รวจพืชพรรณวัดพระธาตุเจดีย์ หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำ รวจชนิดพืชพรรณ และตำ แหน่งของพืชพรรณ เพื่อประเมินสุขภาพของพืชพรรณและจัดทำ ผังพืชพรรณและวางแผนการจัดการในการส่งเสริมริภูมิทัศน์วัดพรธาตุ เจดีย์หลวง ตามสมมุติฐานการสำ รวจและตรวจสุขภาพพืชพรรณ ให้เกิด แนวทางที่เหมาะสมกับภูมิทัศน์และส่งเสริมริพื้นที่สีเขียวให้กับวัดได้ดีมาก ขึ้น โดยทำ การศึกษาระหว่างเดือน มีนาคม ถึงเดือน ตุลาคม พศ.2566 การศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ การประเมินสุขภาพพืชพรรณสุขภาพเพื่อ เสนอแผนการจัดการและจัดทำ ผังพืชพรรณ เพื่อการส่งเสริมริภูมิทัศน์ให้ กับวัดพระธาตุเจดีย์ลหลวงได้ดีขึ้น โดยทำ การประเมินสุขภาพ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้คลุมดิน ผลการศึกษาพบว่า การสำ รวจเก็บข้อมูลพื้นนฐาน ของพืชพรรณแต่ละชนิดในพื้นที่เขตวัดพระธาตุเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ พบไม้ยืนต้น 11 ชนิด เเละจากการประเมินต้นที่มีความ เสี่ยงสูง 3 ต้น ต้นที่ความเสี่ยงปานกลาง 10 ต้น และต้นที่มีความ เสี่ยงต่ำ 8 ต้น เเละยังพบไม้พุ่มอยู่ 8 ชนิด ได้แก่ โกสน ชาฮกเกี้ยน พุด กังหัด พลับพลึง ปรง เข็ม ต้อยติ่ง คริสริติน่า และไม้คลุมดิน 1 ชนิด คือ หญ้ามาเลเซีย ซึ่งส่วนใหญ่พบปัญหาที่บริเริวณ กิ่งและลำ ต้น นอกจากนั้น อยู่ในความเสี่ยงที่น้อย เช่น ใบแห้ง ต้นไม้ไม่เป็นทรงตามธรรมชาติ และ หญ้าแห้งตายบางจุดของพื้นที่ ก


กิตกิติกติรรมประกาศ รายงานโครงานวิชวิาชีพชีภูมิภูทัมิศทัน์ไน์ด้สำด้สำเร็จร็ได้ด้ด้วด้ยผู้ศึผู้กศึษาได้รัด้บรัความช่วช่ยเหลือลืจากบุคบุคล ต่าต่งๆฝ่าฝ่ยซึ่งซึ่ไม่อม่าจนำ กล่วล่งได้ทั้ด้ง ทั้ หมด ในโอกาสนี้ ผู้ศึผู้กศึษาขอขอบคุณคุสำ หรับรัความช่วช่ย เหลือลืและการสนับนัสนุนนุจากทุกทุท่าท่น ขอขอบคุณคุผู้ช่ผู้วช่ยศาสตราจารย์ ดร. เยาวนิตนิย์ ธาราฉาย ที่ไที่ด้ใด้ห้คห้วามรู้ครู้วามช่วช่ยเหลือลืและตรวจสอบแก้ไก้ขข้อข้บกพร่อร่งต่าต่งๆพร้อร้มคำ แนะนำ ด้วด้ย ความเอาใจใส่ทุส่กทุขั้น ขั้ ตอน เพื่อพื่ให้กห้ารทำ โครงานวิชวิาชีพชีภูมิภูทัมิศทัน์นี้น์สำนี้สำเร็จร็สมบูรบูณ์ ขอขอบพระคุณคุอาจารย์คย์ณะสถาปัตปัยกรรมศาสตร์แร์ละการออกแบบสิ่งสิ่แวดล้อล้มทุกทุท่าท่น ที่ ให้คห้วามรู้แรู้ละให้กห้ารสนับนัสนุนนุข้อข้มูลมูต่าต่งๆ ที่เที่ป็นป็ประโยชน์แน์ก่ผู้ก่จัผู้ดจัทำ ท้าท้ยที่สุที่ดสุผู้จผู้ะทำ โครง งานวิชวิาชีพชีภูมิภูทัมิศทัน์ ขอขอบพระคุณคุผู้ที่ผู้ มีที่ส่มีวส่นเกี่ยกี่วข้อข้งทุกทุท่าท่นที่ไที่ม่ไม่ด้กด้ล่าล่วมาไว้ใว้นที่นี่ที่นี่ซึ่งซึ่ ขาดตกบกพร่อร่งหรือรืผิดผิพลาดประการใดผู้จัผู้ดจัทำ ขออภัยภัเป็นป็อย่าย่งสูงสู ธันว์พัว์ พันธ์ ใจเสมอ ข


ค สารบัญ หลักการและเหตุผล 1 ความสำ คัญของโครงการ 2 ผลการศึกษาและการอภิปรายผล 9 วิธีวิธีการจัดการ 47 สรุปการศึกษา 49 สารบัญ กิตติกรรมประกาศ คำ นำ ก ข ค การประเมินไม้ยืนต้น การประเมินไม้พุ่ม การประเมินไม้คลุมดิน 14 36 45


หลักการและเหตุผล ดังนั้นนั้จึงควรมีการจัดการให้เหมาะกับสถานที่ปฏิบัติธรรมให้เกิดความร่มรื่นรื่และปลอดภัยให้กับ ผู้เข้ามาใช้ในพื้นที่และผุ้ที่อาศัยในบริเริวณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ วัดพระธาตุเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งตั้อยู่ ณ กลางเมืองเชียงใหม่ ซึ่ง มีอาคารเเละบ้านเรือรืนรอบพื้นที่บริเริวณวัด เเละยังมีฝุ่นฝุ่ เเละมลพิษที่มากจากเครื่อรื่งยนต์ ขับขี่มากมายปัจปัจุบันพื้นที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร มีพื้นที่ทั้งทั้หมดโดยประมาณ 32 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา แต่มีพื้นที่สีเขียวค่อนข้างน้อย ทำ ให้มีประสิทธิภาพน้อยในการดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ การดักจับฝุ่นฝุ่ ละอองขนาดเล็กและการเพิ่มออกซิเจนที่น้อยมาก เเละการอนุรักษ์ดูแลสุขภาพของต้นไม้ เป็นวิธีวิธีการช่วยแก้ปัญปัหาสิ่งแวดล้อม และช่วย สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น แต่เนื่องจากพืชพรรณไม้ได้รับการดูแล จึงควรมีการตัดแต่ง ดูแลเพื่อความสวยงาม และเนื่องจากวัดเป็นป็พื้นที่ที่มีพืชพรรณไม้ต่าง ๆ 1


ความสำ คัญของ โครงการ วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดทางประวัติศาสตร์ วัดเจดีย์หลวง เป็นพระอารามหลวงแบบโบราณ มีการบูรณะมาหลายสมัย โดยเฉพาะพระเจดีย์ที่ ปัจจุบันมีขนาดความกว้างด้านละ 60 เมตร เป็นองค์พระเจดีย์ที่มีความสำ คัญที่สุด องค์หนึ่งใน จังหวัดเชียงใหม่ วัดเจดีย์หลวง แต่เดิมถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการ ปกครองของอาณาจักรล้านนา ปัจจุบันบริเริวณ วัดเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ มี สิ่งที่น่าสนใจ ได้แก่ เจดีย์หลวง อินทขีล ต้นยาง กุมภัณฑ์ พระฤษี ปัจจุบันสภาพแวดล้อมของวัดมีพรรณไม้ที่ค่อนข้างน้อยและมีต้นไม้ที่ได้รับ การดูแลที่น้อย จึงทำ ให้สภาพอากาศของบริเริวณวัดมีอากาศที่ร้อน การดักจับ ฝุ่นละลองที่ค่อนข้างน้อยจึงทำ ให้อากาศของภายในวัดมีอากาศที่ร้อนและมี การเข้าออกของรถและผู้ที่เข้ามาใช้พื้นตลอดในช่างทั้งวัน 2


วัต วั ถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อสำ รวจพืชพรรณในพื้นที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อวิเวิคราะห์สภาพพืชพรรณและจัดทำ ผังต้นไม้ในพื้นที่วัดเจดีย์หลวง วรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อจัดทำ แผนการดูแลจัดการพืชพรรณในบริเริวณพื้นที่โครงการ 1. 2. 3. ขอบเขตเชิงพื้นที่ พื้นที่สีเขียวบริเริวณโดยรอบพระธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิารจังหวัด เชียงใหม่ มีพื้นที่ภายในวัดประมาณ 32 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา ตั้งตั้อยู่ เลขที่ 103 ถนนพระปกเกล้า ตำ บลพระสิงห์ อำ เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ ได้ทราบข้อมูลชนิดพืชพรรณในพื้นที่วัดวัเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดวัเชียงใหม่ ได้ทราบสภาพของพืชพรรณและตำ แหน่งพืชพรรณในพื้นที่โครง งาน ทราบแนวทางในการจัดการดูแลพืชพรรณในพื้นที่วัดวัเจดีย์หลวง วรวิหวิาร จังหวัดวัเชียงใหม่ 1. 2. 3. ผลที่คาดว่าว่จะได้รับ 3


ใบวินิวินิจฉัยสภาพต้นไม้ ประกอบด้วด้ยข้อข้มูลมูวันวั/เดือดืน/ปี พิกัพิดกัทาง GPS ชื่อชื่ต้นต้ไม้ ชนิดนิวงศ์ ชื่อชื่วิทวิยาศาสตร์ ชื่อชื่ผู้ วินิวิจนิฉัยฉัชื่อชื่สภานที่ เลขลาดับดัต้นต้ไม้ สภาพแวดล้อล้มการในการเจริญริเติบติโต สภาพภูมิภูปมิระเทศ ลักลัษณะเป็นป็แบบได้ อยู่ทิยู่ ศทิทางไหน เขียขีนบรรยายโดยสังสัเขป มีผมีลกระทบกับกัทรัพรัย์สิย์นสิหรือรื ไม่ ร่อร่งรอยความเสียสีหายเดิมดิ ประเมินมิรูปรูทรงของต้นต้ไม้สม้ภาพปัจปัจุบัจุนบับริเริวณรอบต้นต้ไม้ ( ความสูงสูเส้นส้รอบวงลำ ต้นต้เส้นส้ผ่าผ่นศูนศูย์กย์ลาง เส้นส้รอบวงโคนต้นต้กิ่งกิ่ล่าล่ง ระยะใกล้อล้าคาร ทิศทิทางของกิ่งกิ่ไม้ ) บอกเป็นป็หน่วน่ยเมตร การประเมินมิสภาพปัจปัจุบัจุนบัของต้นต้ไม้ ลำ ต้นต้แตก เป็นป็นางหรือรืไม่ มีน้ำมีน้ำายางเหลวออกจากเปลือลืก แผลที่ต้ที่นต้เปลือลืกแห้งห้มีปุ่มีมปุ่ ปมหรือรืเปลือลืก เปลี่ยลี่นสีผิสีดผิปกติหติรือรืไม่ เนื้อนื้ไม้มีม้ร่มีอร่งรอยเสียสีหาย มีเมีชื้อชื้ราร่อร่งรอย โรคแมลงลักลัษณะลำ ต้นต้ เอียอีงหรือรืไม่ 4


การประเมินสภาพปัจจุบันของต้นไม การประเมินสภาพปัจจุบันของต้นไม้ต่อจากส่วนที่ 1 ใบสภาพไปปกติการผลัดไป การเปลี่ยนสีของใบใบร่วงใบแห้งนับเป็นเปอร์เซ็นต์ความหนาของใบมีโรคพืชสิ่ง เช่น โรคแมลง โรคเพื่อสิ่งไม่มีชีวิตวิเช่น วัตถุวัสดุปลูก ที่ขัดขวางการเจริญริของ ราก เรือรืนยอดกิ่งดอกและผล ขนาดเรือรืนยอดสัมพันธ์กันหรือรืไม่ ความหนาของ เรือรืนยอด มีกาฝากหรือรืเถาวัลย์ ปริมริาณเรือรืนยอดความสมดุล เรือรืนยอดการรับ ลมเป็นอุโมงค์หรือรืเต็มที่ กิ่งแห้งตายกลิ่นหักแผลมีรอยแผลที่กิ่งมี เชื้อรา โพรง รู กิ่งเน่า การแตกกิ่ง สภาพการติดต่อสภาพการออกดอก ประเมินชั้นดิน โค่นต้น ถูกฝังกลบหรือรืไม่ รากพันรอบลำ ต้นรากกัดงัดลอย มีเชื้อราน้ำ าแช่ขัง 5


ใบวินิวินิจฉัยระดับความทรุดโทรม ใบวินิวินิจฉัยระดับความทรุดโทรมของส่วนที่อยู่บนดิน มาตรฐานการประเมิน โดย จะมีคะแนนทั้งหมด 90 คะแนน นับจากคะแนนแต่ละช่องจากประเมินสภาพ ต้นไม้ รูปร่างของต้นไม้ ปริมริาณการแผ่ของกิ่งก้าน ความเสียหายของกิ่งก้าน และลาต้น มีบาดแผลเหรือรืไม่สีเปลือกไม้ เมื่อนาผลรับความทรุดโทรม=รวมค่า ประเมินในแต่ละหัวข้อทั้งหมดแล้วหารด้วย 9 จำ นวนหัวข้อการประเมิน ผลที่ได้ จะมีระดับความทรุดโทรม 6


สีเขียว อยู่ในเกณฑ์ ความเสี่ยงต่า ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในระดับนี้อาจต้องได้รับการบารุง รักษา แต่ไม่ได้จำ เป็นต้องเร่งด่วน ซึ่งอาจต้อง มีการรักษาและเฝ้าติดตาม ความเร่ง ด่วนในการจัดการดูแลอยู่ภายใน 6-12 เดือน สีเหลือง อยู่ในเกณฑ์ ความเสี่ยงปานกลาง ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในระดับนี้อาจต้องได้รับ การบำ รุงรักษา และจัดการปัญหาเร่งด่วน ไม่ปล่อยให้อาการแย่ลง จนเพิ่มระดับ ความเสี่ยงในอนาคต ซึ่งต้องเฝ้าติดตามเป็นระยะอย่างใกล้ชิด ความเร่งด่วนในการ จัดการดูแลอยู่ภายใน 3-5 เดือน สีส้ม อยู่ในเกณฑ์ ความเสี่ยงสูง ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในระดับนี้ควรได้รับการบารุงรักษา และจัดการปัญหาอย่างเร่งด่วนมาก ความเร่งด่วนในการจัดการดูแลอยู่ภายใน 1 เดือน สีแดง อยู่ในเกณฑ์ สูงที่สุด ความเสี่ยงขั้นร้ายแรง ต้นไม้ใหญ่ที่อยู่ในระดับนี้ควรได้ รับการจัดการปัญหาอย่างทันทีทันใด เร็วเท่าที่จะสามารถเร็วได้ เนื่องจากมี สัญญาณการความเสียหายต้นไม้ในภาพรวมไปแล้วส่วนหนึ่งและความทรุดโทรมที่ เกิดขึ้นก็มีสูง ประเมินสภาพความเสียหายต้นไม้ในภาพรวม ประเมินตามลักษณะสีอยู่ในเกณฑ์ ประเมินความเป็นไปได้ระดับ ความเสียหายต้นไม้ในภาพรวมความอันตรายของ ปัญหาต่อส่วนต่างๆ ของต้นไม้ใหญ่ ซึ่ง ความเร่งด่วนในการจัดการดูแลอยู่ แบ่งได้เป็น 5 ระดับ ได้แก่ ดี , ไม่ค่อยดี , ไม่ดี , ไม่ดีอย่างมาก ,อยู่ในระยะ เฉาตาย 7


ตัวอย่างแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล ข้อมูลแบบสำ รวจได้จาก การสำ รวจและเก็บข้อมูลพืชพรรณ ในการ สำ รวจและเก็บข้อมูลพืชพรรณในเขต วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ ในการสำ รวจและเก็บข้อมูลครั้งนี้ผู้วิจัวิจัยได้ทำ การสำ รวจและเก็บข้อมูลเบื้องต้น ผ่านโปรแกรม Google Earth และโปรแกรม Google Map ซึ่งในการ สำ รวจเบื้องต้นเพื่อจดบันทึก พิกัดทางภูมิศาสตร์ของตำ แหน่งที่พบพืชพรรณ 8


ผลการศึกษาและการอภิปรายผล การศึกษาโครงานวิชวิาภูมิทัศน์เรื่อรื่ง การสำ รวจพืชพรรณวัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร เพื่อการจัดการภูมิทัศน์ เพื่อประเมินสุขภาพของพืชพพรรณในวัดเจดีย์หลวง เพื่อการ เสนอแนวทางการจัดการในการส่งเสริมริภูมิทัศน์ ตามสมมุติฐานการสำ รวจและสุขภาพ ของพืชพรรณในพื้นที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ จะทำ ให้เกิดแนวทางส่ง เสริมริภูมิทัศน์วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ ให้ดียิ่งขึ้น การศึกษาการสำ รวจพืชพรรณวัดเจดีย์หลวงวรวิหวิารเพื่อการจัดการภูมิทัศน์ มีเนื้อหา เกี่ยวกับการประเมินสุขภาพของพืชพรรณ การดูแลรักษา การฟื้นฟื้ ฟู พืชพรรณ ณ วัดเจดีย์ หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ ขั้นขั้ตอน วิธีวิธีการการดำ เนินการส่งเสริมริการ ดูแลรักษา ฟื้นฟื้ ฟู มุ่งเน้นศึกษาผลการจัดการพืชพรรณเพื่อส่งเสริมริภูมิทัศน์วัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัด เชียงใหม่ โดยทำ งานประเมินสุขภาพของพืชพรรณ ผลการศึกษาพบว่าว่การประเมินพบว่าว่ พืชพรรณภายในวัดเจดีย์หลวงวรวิหวิาร จังหวัดเชียงใหม่ การดูแล การฟื้นฟื้ ฟู ความทรุดโทรม มีต้นไม้ที่ประเมินจำ นวน 21 ต้น ผลการศึกษา ลักษณะกายภาพและสภาพอากาศวัดวัเจดีย์หลวง จังหวัดวัเชียงใหม่ วัดวัเจดีย์หลวงสร้างอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่ ในปัจจุบันมีสิ่งก่อสร้างอาคาร บ้านเมืองอยู่รอบบริเริวณวัดวัเจดีย์หลวง เช่น กุฏิพระสงฆ์ โบสถ์วัดวั โรงเรียรีนอยู่ ข้างบริเริวณของวัดวัเเละอาคารร้านค้า เป็นต้น 9


ผลการสำ รวจพืชพรรณในพื้นที่ศึกษา ข้อมูลไม้ยืนต้นที่เเละพิกัด GPS 10


ขอบเขตเเละจุดตำ เเหน่งไม้ยืนต้น ผังไม้ยืนต้น 11


ข้อมูลการสำ รวจไม้พุ่ม ข้อมูลการสำ รวจพืชคลุมดิน 12


ผังพรรณไม้พุ่ม ผังพรรณไม้คลุมดิน 13


การประเมินไม้ยืนต้น 14


15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


33


34


35


การประเมินไม้พุ่ม 36


37


38


39


40


41


42


43


44


การประเมินพืชคลุมดิน 45


Click to View FlipBook Version