The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mywanwy4545, 2021-09-20 05:01:03

โครงการในพระราชดำริ

หน้าปก-ผสาน

โครงการกังหันนา้ ชัยพฒั นา

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว(ร.9)ทรงตระหนักถงึ ความ
รุนแรงของปัญหามลพษิ ทางนา้ ท่ีเกดิ ขนึ้ และทรงห่วงใยต่อพสกนิกร
ท่ีต้องเผชิญในเรื่องดงั กล่าวเม่ือวนั ที่ 24 ธันวาคม 2531
ได้พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาน้าเสีย ด้วยการใช้
เครื่องกลเติมอากาศ โดยพระราชทานรูปแบบสิ่งประดษิ ฐ์
ที่เรียบง่ายแต่มีประสิทธิภาพสูงในการบาบัดนา้ เสีย ซึ่งเป็ นท่ีรู้จักกนั
ดใี นชื่อ กงั หันนา้ ชัยพฒั นา และนามาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้า
ตามสถานทต่ี ่างๆ ท่ัวทุกภูมภิ าค

ท่ีมาของโครงการกังหันน้าชัยพฒั นา

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงห่วงใยในความเดือดร้อน
ทุกขย์ ากท่ีเกิดข้ึนน้ี ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนินทอดพระเนตรสภาพน้าเน่า
เสียในพ้ืนที่หลายแห่งหลายคร้ัง ท้งั ในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล
และต่างจงั หวดั พร้อมท้งั พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกบั การแกไ้ ขน้า
เน่าเสียในระยะแรกระหวา่ งปี พ.ศ. 2527-2530 ทรงแนะนาใหใ้ ชน้ ้าท่ีมี
คุณภาพดีช่วยบรรเทาน้าเสียและวธิ ีกรองน้าเสียดว้ ยผกั ตบชวาและ

พชื น้าต่างๆ ซ่ึงกส็ ามารถช่วยแกไ้ ขปัญหาไดผ้ ลในระดบั หน่ึงต่อมา
ในช่วงปี พ.ศ.2531 เป็นตน้ มา สภาพความเน่าเสียของน้าบริเวณต่างๆ มี
อตั ราแนวโนม้ รุนแรงมากยงิ่ ข้ึน การใชว้ ธิ ีธรรมชาติไม่อาจบรรเทาความ
เน่าเสียของน้าอยา่ งมีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จึงขอพระราชทานพระราชดาริ

ใหป้ ระดิษฐเ์ ครื่องกลเติมอากาศแบบประหยดั ค่าใชจ้ ่าย สามารถผลิตได้
เองในประเทศ ซ่ึงมีรูปแบบ "ไทยทาไทยใช”้ โดยทรงไดแ้ นวทางจาก
"หลุก" ซ่ึงเป็นอุปกรณ์วดิ น้าเขา้ นาอนั เป็นภมู ิปัญญาชาวบา้ นเป็นจุด
คิดคน้ เบ้ืองตน้ และทรงมุ่งหวงั ท่ีจะช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการ
บรรเทาน้าเน่าเสียไดอ้ ีกดว้ ย

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้

มลู นิธิชยั พฒั นาสนบั สนุนงบประมาณ เพ่อื การศึกษาและวจิ ยั
ส่ิงประดิษฐใ์ หม่น้ี โดยดาเนินการจดั สร้างเคร่ืองมือบาบดั น้าเสียร่วมกบั
กรมชลประทาน ซ่ึงไดม้ ีการผลิตเครื่องกลเติมอากาศข้ึนในเวลาต่อมา
และรู้จกั กนั อยา่ งแพร่หลายกค็ ือ "กงั หนั น้าชยั พฒั นา“ นน่ั เอง

เมื่อวนั ท่ี 24 ธนั วาคม พ.ศ. 2531 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ได้
พระราชทานรูปแบบและพระราชดาริ เรื่องการแกไ้ ขปัญหาน้าเสีย โดย
การเติมออกซิเจนในน้า มีสาระสาคญั คือ การเติมอากาศลงในน้าเสีย มี
2 วธิ ี วธิ ีหน่ึง ใชอ้ ากาศอดั เขา้ ไปตามทอ่ เป่ าลงไปใตผ้ วิ น้าแบบกระจาย
ฟอง และอีกวธิ ีหน่ึง น่าจะกระทาไดโ้ ดยกงั หนั วดิ น้า วดิ ตกั ข้ึนไปบนผวิ
น้า แลว้ ปล่อยใหต้ กลงไปยงั ผวิ น้าตามเดิม โดยท่ีกงั หนั น้าดงั กล่าวจะ
หมุนชา้ ดว้ ยกาลงั ของมอเตอร์ไฟฟ้ า ขนาดเลก็ ไม่เกิน 2 แรงมา้ หรือ
อาจจะใชพ้ ลงั น้าไหลกไ็ ด้ จึงสมควรพิจารณาสร้างตน้ แบบ แลว้ นาไป
ติดต้งั ทดลองใชบ้ าบดั น้าเสียที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้
และวดั บวรนิเวศวหิ าร

การศึกษาและการวิจัย

กรมชลประทานรับสนองพระราชดาริในการศึกษาและสร้าง
ตน้ แบบ โดยดดั แปลงเคร่ืองสูบน้าพลงั น้าจาก "กงั หนั น้าสูบน้าทุ่นลอย"
เปล่ียนเป็น "กงั หนั น้าชยั พฒั นา" และไดน้ าไปติดต้งั ใชใ้ น
กิจกรรมบาบดั น้าเสียท่ีโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ วนั ที่ 1 พฤษภาคม
2532 และท่ีวดั บวรนิเวศวหิ าร เม่ือวนั ที่ 3 พฤษภาคม 2532 เพ่อื ศึกษา
วจิ ยั และพฒั นา ระบบบาบดั น้าเสีย เป็นระยะเวลา 4-5 ปี

คณุ สมบตั ิ

กงั หนั น้าชยั พฒั นา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผวิ น้าหมุนชา้ แบบ
ทุ่นลอย (Chaipattana Low Speed Surface Aerator) ซ่ึงเป็น Model

RX-2 หมายถึง Royal Experiment แบบที่ 2 มีคุณสมบตั ิในการถ่ายเท
ออกซิเจนไดส้ ูงถึง 1.2 กิโลกรัมของออกซิเจน/แรงมา้ /ชว่ั โมง สามารถ
นาไปใชใ้ นกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพน้าไดอ้ ยา่ งอเนกประสงค์ ติดต้งั
ง่าย เหมาะสาหรับใชใ้ นแหล่งน้าธรรมชาติ ไดแ้ ก่ สระน้า หนองน้า
คลอง บึง ลาหว้ ย ฯลฯ ท่ีมีความลึกมากกวา่ 1.00 เมตร และมีความกวา้ ง
มากกวา่ 3.00 เมตร

หลักการและวิธีการทางานของกังหันน้าชัยพฒั นา

กงั หนั น้าชยั พฒั นาเป็นเครื่องกลเติมอากาศแบบทุ่นลอยสามารถปรับตวั
ข้ึนลงได้ ตามระดบั ข้ึนลงของผวิ น้า ในแหลง่ น้าเสีย

มีส่วนประกอบสาคญั คือ
- โครงกงั หนั น้ารูป 12 เหลี่ยม
- ซองบรรจุน้าติดต้งั โดยรอบ จานวน 6 ซอง รูซองน้าพรุนเพ่ือใหน้ ้าไหล
กระจายเป็ นฝอย
- ซองน้าจะถกู ขบั เคลื่อนใหห้ มุนโดยรอบดว้ ยเกียร์มอเตอร์ ซ่ึงทาใหก้ ารหมุน
เคล่ือนท่ีของซองน้า วิดตกั น้าดว้ ย ความเร็ว สามารถวิดน้าลึกลงไปจากใตผ้ วิ
น้าประมาณ 0.50 เมตร ยกน้าสาดข้ึนไปกระจายเป็นฝอยเหนือผวิ น้า ไดส้ ูงถึง 1
เมตร ทาใหม้ ีพ้ืนที่ผวิ สัมผสั ระหวา่ งน้ากบั อากาศมากและส่งผลใหอ้ อกซิเจน
สามารถละลายเขา้ ไปในน้าไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
- ในขณะท่ีน้าเสียถกู ยกข้ึนไปสาดกระจายสมั ผสั กบั อากาศแลว้ ตกลงไปยงั ผิว
น้าน้นั จะก่อใหเ้ กิดฟองอากาศ จมตามลงไปใตผ้ วิ น้าดว้ ย ในขณะท่ีซองน้า
กาลงั เคลื่อนท่ีลงสู่ผวิ น้าแลว้ กดลงไปใตผ้ ิวน้าน้นั จะเกิดการอดั อากาศภายใน
ซองน้า ภายใตผ้ วิ น้า จนกระทงั่ ซองน้าจมน้าเตม็ ที่ทาใหเ้ พิ่มประสิทธิภาพใน
การถ่ายเทออกซิเจนไดส้ ูงข้ึน หลงั จากน้นั น้าที่ไดร้ ับการเติมอากาศแลว้ จะเกิด
การถ่ายเทของน้าเคล่ือนท่ีออกไปดว้ ยการผลกั ดนั ของซองน้า

จดั ทาโดย

นายชานนท์ อรุณทรัพย์เจริญ 6410121204050 คณติ ศาสตร์(ค.บ.)

โครงการหญ้าแฝก
ในพระราชดำริพระราชดำริ

เนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงครอง
ราชย์ ๖๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึง
ได้จัดทำโครงการปลูกหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ ระหว่าง ปี
๒๕๔๘-๒๕๕๐

นางสาวทิฆัมพร บูรณวนิช
สาขาคณิตศาสตร์
6410121204054

โครงการหญ้าแฝก

เพื่อการรณรงค์ส่งเสริมและขยายผลให้ประชาชนปลูกหญ้าแฝก ในพื้นที่ทั่วประเทศ
เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ และนำหญ้าแฝกไปใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม กว้างขวาง
และต่อเนื่อง โดยการรวมใจของประชาชนคนไทยทั้งประเทศ เข้าร่วมโครงการปลูก
หญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ ภายใต้การสนับสนุนของ ๑๑ หน่วยงาน ที่ลงนามในบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ถนนราชดำเนินนอก
กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๘ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ (คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์) เป็นประธานในพิธี กรอบแห่งความร่วม
มือในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ คือ ทั้ง ๑๑ หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงพลังงาน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร กอง
บัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ได้ตกลงให้มีความร่วมมือกันปลูกหญ้าแฝก
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




เนื่องในมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติ ๖๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๙ เฉลิม
พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ มีระยะเวลาดำเนินงานโครงการ
ระหว่างปี ๒๕๔๘-๒๕๕๐ โดยเริ่มดำเนินการดีเดย์ตั้งแต่วันพืชมงคล คือวันที่ ๑๑
พฤษภาคม ๒๕๔๘ ถึงวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ โดยมี เป้าหมายที่จะปลูกหญ้าแฝก
จำนวนไม่ต่ำกว่า ๓๐๐ ล้านกล้า และจนเกิดผลสำเร็จในการใช้หญ้าแฝกปรับปรุงและ
รักษาหน้าดินจำนวนไม่ต่ำกว่า ๘๐๐,๐๐๐ จุด ทั่วประเทศ โดยกรมพัฒนาที่ดิน
สนับสนุนกล้าพันธุ์หญ้าแฝก และถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกหญ้าแฝก ในพื้นที่ลาด
ชันรอบแหล่งน้ำ บ่อน้ำ สองข้างทางลำเลียง และถนน รวมทั้งพื้นที่เกษตรกรรม โดย
มีการบำรุงดูแลรักษาหญ้าแฝกที่ปลูกอย่างต่อเนื่อง มีการติดตามและปลูกซ่อมแซม
ให้ครบถ้วน ซึ่งบันทึกข้อตกลงได้มีกำหนดระยะเวลาตั้งแต่วันที่ลงนามในบันทึกข้อ
ตกลง คือ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๘ จนถึง วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐

2

ลักษณะของหญ้าแฝก

หญ้าแฝก เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตระกูลหญ้าชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย
ซึ่งพบกระจายอยู่ทั่วไปหลายพื้นที่ตามธรรมชาติ จากการสำรวจพบว่า มีกระจายอยู่ทั่วโลก
ประมาณ ๑๒ ชนิด และสำรวจพบในประเทศไทย ๒ ชนิด ได้แก่
๑. กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกลุ่ม ได้แก่ พันธุ์สุราษฎร์ธานี กำแพงเพชร ๒ ศรีลังกา สงขลา ๓ และ
พระราชทาน ฯลฯ
๒. กลุ่มพันธุ์หญ้าแฝกดอน ได้แก่ พันธุ์ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยเอ็ด กำแพงเพชร ๑
นครสวรรค์ และเลย เป็นต้น
หญ้าแฝกเป็นหญ้าที่ขึ้นเป็นกอ หน่อเบียดกันแน่น ใบของหญ้าแฝกมีลักษณะ แคบยาว
ขอบขนานปลายสอบแหลม ด้านท้องใบจะมีสีจางกว่าด้านหลังใบ มีรากเป็นระบบรากฝอยที่
สานกันแน่นยาว หยั่งลึกในดิน มีช่อดอกตั้ง ประกอบด้วยดอกขนาดเล็กดอกจำนวนครึ่ง
หนึ่งเป็นหมัน

ลกั ษณะพิ เศษของหญ้าแฝก

การที่หญ้าแฝกถูกนำมาใช้ปลูกในการอนุรักษ์ดินและน้ำ เนื่องมาจากมีลักษณะเด่นหลาย
ประการ ดังนี้
๑. มีการแตกหน่อรวมเป็นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง
๒. มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ต้องดูแลมาก
๓. หญ้าแฝกมีข้อที่ลำต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี
๔. ส่วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ทำให้ควบคุมการแพร่ขยายได้
๕. มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย
๖. ระบบรากยาว สานกันแน่น และช่วยอุ้มน้ำ
๗. บริเวณรากเป็นที่อาศัยของจุลินทรีย์
๘. ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดี ทนทานต่อโรคพืชทั่วไป
๙. ส่วนที่เจริญต่ำกว่าผิวดิน ช่วยให้อยู่รอดได้ดีในสภาพต่าง ๆ

การปลูก ๒. การปลูกเพื่อควบคุมร่องน้ำและกระจาย
หญ้าแฝก น้ำ นำกล้าหญ้าแฝกในถุงพลาสติกที่มีการ
ในพื้ นที่ แตกกอและแข็งแรงดีแล้วไปปลูกในร่อง
การเกษตร น้ำ โดยขุดหลุมปลูกขวางร่องน้ำ เป็นแนว
ตรง หรือแนวหัวลูกศรชี้ย้อนไปทิศทางน้ำ
สำหรับการปลูกหญ้าแฝกใน ไหลอาจใช้กระสอบทรายหรือก้อนหิน ช่วย
พื้ นที่เกษตรกรรมมีจุด ทำคันเสริมฐานให้มั่นคงตามแนวปลูก
ประสงค์ที่สำคัญเพื่ อการฟื้ นฟู หญ้าแฝก ระยะห่างระหว่างต้น ๕
ทรัพยากรดินและการอนุรักษ์ เซนติเมตร สำหรับกล้ารากเปลือย และ ๑๐
ดินและน้ำ ซึ่งประกอบด้วย เซนติเมตร สำหรับกล้าถุง และระหว่างแนว
ปลูกหญ้าแฝกไม่เกิน ๒ เมตร ตามแนวตั้ง
หลังจากเกิดคันดินกั้นน้ำควรปลูกหญ้า
แฝกต่อจากแนวคันดินกั้นน้ำออกไปทั้ง
สองข้าง เพื่อเป็นการกระจายน้ำเข้าสู่พื้นที่
เพาะปลูก

๑. การปลูกหญ้าแฝกในพื้นทลี่ าดชัน ควร
ปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวตามแนวระดับขวาง
ความลาดเทในต้นฤดูฝน โดยการทำแนว
ร่องปลูกตามแนวระดับ ใช้ระยะระหว่างต้น
๕ เซนติเมตร สำหรับกล้ารากเปลือยและ
ระยะ ๑๐ เซนติเมตร สำหรับกล้าถุง ระยะ
ห่างแถวตามแนวดิ่งไม่เกิน ๒ เมตร หญ้า
แฝกจะเจริญเติบโตแตกกอชิดกันภายใน
๔-๖ เดือน

การปลูกหญ้าแฝก

ในพื้ นที่การเกษตร


โครงการนี้จะมีการวิจัย ๕. การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ราบหรือพื้นที่
ลุ่ม ในสภาพพื้นที่ราบหรือพื้นที่ลุ่มที่มีการ
การสำรวจ การว่าจ้างงาน การฝึก ปรับสภาพเป็นแปลงยกร่องเพื่อปลูกพืช
อบรมและการระดมทุน นั้น สามารถปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวรอบ
ขอบเขตพื้นที่ หรือปลูกที่ขอบแปลงยก
๓. การปลูกเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในสวน ร่องหญ้าแฝกจะช่วยยึดดินไม่ให้พังทลาย
ผลไม้ ควรปลูกหญ้าแฝกในสวนผลไม้ระยะ และรักษาความชื้นในดินเอาไว้
ที่ไม้ผลยังไม่โต หรือปลูกก่อนที่จะลง ไม้

ผล โดยปลูกแถวหญ้าแฝกขนานไปกับ

แถวของไม้ผลที่ระยะกึ่งกลางของแถวไม้ ๖. การปลูกรอบขอบสระเพื่อกรองตะกอน
ผล หรือปลูกเป็นรูปครึ่งวงกลมให้ห่างจาก ดิน ควรปลูกตามแนวที่ระดับน้ำสูงสุดท่วม
โคนต้นไม้ผล ๒.๕ เมตร เพื่อไม้ผลเจริญ ถึง ๑ แนว และปลูกเพิ่มขึ้นอีก ๑-๒ แนว
เติบโตขึ้นมาคลุมพื้นที่ หญ้าแฝกจะตายไป เหนือแนวแรก ซึ่งขึ้นอยู่กับความลึกของ
กลายเป็นอินทรียวัตถุในดินต่อไป ขอบสระ ระยะห่างระหว่างต้น ๕ เซนติเมตร

สำหรับกล้ารากเปลือย และ ๑๐ เซนติเมตร

สำหรับกล้าถุง โดยขุดหลุมปลูกต่อเนื่อง
๔. การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ดอนที่ปลูก กันไป ในระยะแรกควรดูแลปลูกซ่อมแซม
พืชไร่ การปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดับใน ให้แถวหญ้าแฝกเจริญเติบโตหนาแน่นเมื่อ
พื้นที่ดอนที่ปลูกพืชไร่ โดยการขุดร่องปลูก น้ำไหลบ่ามาลงสระตะกอนดินที่ถูกพัดพา
ตามแนวระดับ ระยะห่างระหว่างต้น 5 มากับน้ำ จะติดค้างอยู่กับแถวหญ้าแฝก
เซนติเมตร สำหรับกล้ารากเปลือย และ 10 ส่วนน้ำจะค่อย ๆ ไหลผ่านลงสู่สระและ
เซนติเมตร สำหรับกล้าถุง ควรใช้ปุ๋ยหมัก ระบบรากของหญ้าแฝกยังช่วยยึดติดดิน
รองพื้นก่อนปลูกหญ้าแฝก หรือปลูก รอบ ๆ ขอบสระไม่ให้เกิดการ พังทลาย
หญ้าแฝกเป็นแนวระหว่างแถวปลูกพืชไร่
และควรปลูกในสภาพดินที่มีความชุ่มชื้นใน
ช่วงต้นฤดูฝน

วัตถุประสงค์

การปลูกหญ้าแฝกเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อ
ไปนี้

1 เพื่ อการอนุรักษ์
ดินและน้ำ



2 เพื่ อป้องกันการ
กัดชะการพั ง
ทลายของดิน



3 เพื่ อปรับปรุง
สภาพพื้ นที่
เสื่อมโทรม



4

ชนิดพั นธุ์หญ้า

แฝก

หญา้ แฝกที่นิยมปลูกกันมากในประเทศมี
หลายสายพันธุ์ แต่ที่สามารถเจริญเติบได้
ดีบนพื้นที่สูง ที่พบตามหน่วยจัดการ
ต้นน้ำมี 6 สายพันธุ์ ได้แก่

1 พั นธุ์แม่ลาน้อย 5 พันธุ์สุราษฎร์ธานี




2 พั นธุ์ศรีลังกา



3 พั นธุ์อินเดีย 6 พั นธุ์เชยี งใหม่




4 พั นธุ์แม่ฮ่องสอน

ประโยชน์ของหญ้าแฝก

หญ้าแฝกเป็นพืชมหัศจรรย์ ทุกส่วนของลำต้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น

ต้นและใบ ราก


ดูดซับน้ำและช่วยรักษาความชุ่ม
ช่วยกรองเศษพืชและตะกอนดิน ชื้นในดิน






ใช้ทำวัสดุมุงหลังคา ดูดซับแร่ธาตุและอาหาร





ใช้ทำเชือก หมวก ตะกร้า ฯลฯ




ดูดซับสารพิษ


ใช้เป็นวัสดุคลุมดิน







ช่วยปรับปรุงสภาพดินทำให้คุณ
สมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น
ใช้ทำปุ๋ยหมัก





ใช้ทำเครื่องสมุนไพรและเครื่อง
ประทินผิว






ใช้กลั่นทำน้ำหอม
ใช้ป้องกันแมลงศัตรูพืช

นางสาวทิฆัมพร บูรณวนิช
สาขาคณิตศาสตร์
6410121204054

โครงการพระราชดำริ

โครงการฝายชะลอน้ำหรือแม้ว

“...ให้พิจารณาดำเนินการสร้างฝายแบบประหยัดโดยใช้วัสดุราคาถูกและ
หาง่ายในท้องถิ่น...โดยน้ำที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดิน ทำให้ความชุ่มชื้น

แผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง...”



พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
วันที่ 1 มีนาคม 2521

" ความเป็นมาของโครงการ "

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ได้เสด็จในท้องถิ่นชนบท ทั่วประเทศไทย ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความเสื่อมโทรมของ
ป่าไม้ ที่นำไปสู่ความแห้งแล้งของแผ่นดิน และได้ทรงห่วงใยทรัพยากรธรรมชาติ และ
พสกนิกรของพระองค์มาโดยตลอด ทรงอุทิศพระองค์ในการจัดหาแหล่งน้ำให้ราษฎร
ในท้องถิ่นชนบทที่ห่างไกล และทุรกันดารมาเป็นเวลานาน และทรงทอดพระเนตรเห็น
ความแห้งแล้งที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในภาคอีสาน ทรงวิตกว่าหากปล่อยไว้อย่างนี้
จะต้องกลายเป็นทะเลทรายอย่างแน่นอน พระองค์ทรงวินิจฉัยหาสาเหตุและทรงทราบ
ว่า สาเหตุหนึ่งของการตัดไม้ทำลายป่าก็คือการรู้เท่าไม่ถึงการณ์และความยากจน และ
ด้วยปณิธานของพระองค์ในการช่วยเหลือประชาชน พระองค์จึงมีพระราชดำริตั้ง
โครงการเพื่อเป็นการฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือของ
ประชาชน สถานีตำรวจภูธรเมืองลำปาง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่เป็นต้นน้ำ ลำธาร เพื่อให้คงอยู่และเป็นแหล่ง
อาหารของชุมชนเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ป้องกันการอพยพย้ายถิ่นฐานของ
ประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำ “โครงการสร้างฝายชะลอน้ำ (ฝายแม้ว) ” ขึ้น

" แนวทางการก่อสร้างฝายแม้ว "

1. การเลือกสถานที่ก่อสร้าง

ในการเลือกจุดที่ก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารปัจจัยสำคัญที่ควรคำนึงถึงคือ ประโยชน์ที่จะได้รับจาก
ฝาย ไม่ว่าจะเป็น ด้านการอนุรักษ์ต้นน้ำ ด้านนิเวศวิทยาป่าไม้ ด้านเกษตรกรรม ตลอด จนด้านชุมชน
นอกจากนี้การกำหนดพื้นที่ที่จะก่อสร้าง ยังต้องขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ความจำเป็น และความเหมาะสม
อื่น ๆ ประกอบอีกด้วย

2. การเลือกวัสดุสำหรับก่อสร้าง

รูปแบบของฝายต้นน้ำลำธาร สามารถแบ่งแยกออกตามวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างเป็น2 แบบ
ด้วยกัน คือ วัสดุที่หาได้จากธรรมชาติ เช่น เศษไม้ ปลายไม้ และเศษวัชพืช หินขนาดต่าง ๆ ที่หา
ได้ในพื้นที่ และวัสดุที่จะต้องจัดซื้อ เช่น ปูนซีเมนต์ เหล็กเส้น กรวด ทราย การเลือกวัสดุแต่ละ
ชนิดขึ้นอยู่กับชนิด ขนาดและวัตถุประสงค์ รวมทั้งสภาพพื้นที่ ปริมาณน้ำ และปัจจัยต่างๆ ใน
แต่ละจุด

3. การกำหนดขนาดของฝาย

ขนาดของฝายไม่มีการกำหนดขนาดตายตัว ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- พื้นที่รับน้ำของแต่ละลำห้วย
- ความลาดชันของพื้นที่
- สภาพของดินและการชะล้างพังทลายของดิน
- ความกว้าง-ลึกของลำห้วย
- ปริมาณน้ำฝน
- วัตถุประสงค์ของการก่อสร้าง

4. วิธีการก่อสร้าง

การก่อสร้างฝายแต่ละฝายขึ้นอยู่กับชนิดและวัสดุที่ใช้ ถ้าเป็นฝายผสมผสาน เช่น ฝายเศษ
ไม้ และฝายกระสอบทราย เป็นเพียงการนำวัสดุดังกล่าวมาวางกองรวมกันเพื่อขวางร่องห้วย
โดยใช้หลักเสาไม้ หรือเสาคอนกรีตปักยึดให้ลึกพอสมควรก็เพียงพอ เนื่องจากฝายดังกล่าวส่วน
ใหญ่จะอยู่ในระดับต้น ๆ ของลำห้วย ซึ่งมีปริมาณน้ำและความรุนแรงของการไหลไม่มาก จึงไม่
จำเป็นต้องการความแข็งแรงนัก ประกอบกับฝายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อกรองตะกอน
ไว้เพียงบางส่วนเท่านั้น ไม่มีการเก็บกักน้ำ จึงสามารถสร้างได้ทั่ว ๆ ไปไม่มีข้อกำหนดมากนัก

" วัตถุประสงค์และวิธีการก่อสร้าง "

1. ฝายที่เราสร้างขึ้นมาเป็นฝายแบบไม่ถาวร ให้วัสดุจากธรรมชาติเป็นหลัก สำหรับชะลอน้ำใน
หน้าแล้งเท่านั้น ไม่ได้สร้างเพื่อกักเก็บน้ำ การไหลของน้ำที่หน้าฝายยังมีน้ำไหลอยู่ตลอดเวลา ไม่
ว่าจะซึมผ่านฝายหรือน้ำล้นข้ามฝาย
2. ระดับความสูงของตัวฝาย ไม่สูงมากนัก ระดับความสูงประมาณ 40 % ของความสูงของ
ระดับน้ำสูงสุด ในลำคลองหรือลำห้วย สายน้ำยังสามารถไหลล้นผ่านฝายได้ ตลอดเวลา เพื่อยัง
รักษาระบบนิเวศน์หน้าฝายไว้
3. ตัวฝายควรมีระดับความลาดชัน ประมาณ 20 - 45 องศา ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ไม่ควร
สร้างฝาย ที่มีหน้าตัด 90 องศา
4. การก่อสร้างจะสร้างเป็นช่วง ๆ แบบ ขั้นบันไดเป็นช่วง ๆ ระยะขึ้นอยู่กับพื้นที่ ประมาณ 50 -
200 เมตร 4 งบประมาณการก่อสร้างเราแทบจะไม่มี เพียงช่วยกันขนหิน ที่ระเกะระกะอยุ่ตาม
ลำคลอง มาจัดเรียงใหม่เท่านั้น เป็นการออกกำลังกายไปในตัว หากไม่มีหิน เราก็จะใช้กระสอบ
ทราย
5. หากหน้าน้ำ มีน้ำมา ฝายนี้ก็จะพังทลายลง (ช่วยลดความเร็วของกระแสน้ำป่าลงได้) หินที่ก่อ
เรียงตัวไว้ ก็จะพังและไหลลงมาสู่ตัวฝายด้านล่างต่อไป
6. พอหมดหน้าน้ำป่าน้ำเกือบจะใกล้แห้ง เราก็หาเวลามาออกกำลังกาย มายกก้อนหินกลับไป
เรียง เป็นฝายชะลอน้ำตามเดิม (ส่วนใหญ่แล้วจะยังหลงเหลือโครงสร้างเดิมอยู่บ้าง) ใช้เวลา
ก่อสร้าง ประมาณ 1-2 ชม. ต่อฝายเท่านั้น
7. ควรคำนึงถึงสัตว์น้ำที่อาศัยในลำคลองด้วยว่า สามารถเดินทางไปยังต้นน้ำได้หรือไม่ เพราะ
เราตั้งใจว่า "ในน้ำต้องมีปลา ในป่าต้องมีน้ำ"

" ประโยชน์ของฝายชะลอน้ำ "

1. ช่วยเก็บกักน้ำ
2. ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่า
3. ช่วยลดการพังทลายของหน้าดิน และลดความรุนแรงของกระแสน้ำในลำห้วย
4. ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่างๆ ที่ไหลลงมากับน้ำในลำห้วย
5. ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
6. เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ และใช้เป็นแหล่งน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภค

นางสาวกัญชพร พรบัวลา
รหัสนักศึกษา 6410121204056
สาขาคณิตศาสตร์

โ ค ร ง ก า ร ชั่ง หั ว มั น
ตามพระราชดำริ

เมื่ อปลายปี พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร ทรงซื้อที่ดินจากราษฎร พื้ นที่ประมาณ 120 ไร่ ณ บริเวณอ่าง
เก็บน้ำหนองเสือ บ้านหนองคอไก่ หมู่ที่ 5 ตำบลเขากระปุก อำเภอท่ายาง
จังหวัดเพชรบุรี ต่อมา ปี พ.ศ. 2552 ทรงซื้อแปลงติดกันเพิ่มอีก 130 ไร่ รวม
พื้ นที่ทั้งหมด 250 ไร่ และทรงมีดำริให้ทำเป็นโครงการตัวอย่างด้านการเกษตร
รวบรวมพันธุ์พืชเศรษกิจในพื้ นที่จังหวัดเพชรบุรีและพื้ นที่ใกล้เคียง มาปลูกไว้ที่
นี่ โดยเริ่มดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 13 กรกฏาคม 2552 เป็นต้นมา

สภาพพื้ นที่โดยทั่ว ๆ ไป แห้งแล้ง ดินปนทรายและหินลูกรัง เจ้าของที่ดินเดิม
ปลูกต้นยูคาลิปไว้และตัดไม้ขายไปแล้ว มีแต่ต้นยูคาลิปที่งอกมาจากต้นตอเดิม
เต็มพื้ นที่ มีแปลงมะนาวเดิมอยู่ประมาณ 35 ไร่ และแปลงปลูกอ้อย 30 ไร่ จึงได้
พัฒนาพื้ นที่ ให้เป็นแปลงปลูกพืชเศรฐกิจ ซึ่งมีทั้งพืชผักสวนครัว นาข้าว สวน
ไม้ผล ยางพารา มะพร้าว สับปะรด พืชไร่ ฯลฯ กองงานส่วนพระองค์ ขอความ
ร่วมมือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้เข้ามาช่วยกันปรับปรุงพัฒนาพื้ นที่
เช่น การทำถนนเข้าโครงการ ขุดสระเก็บน้ำ ทำรั้วรอบโครงการ ก่อสร้างอาคาร
และสาธารณูปโภค ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล ทำระบบ
ชลประทาน ทำให้พื้ นที่โครงการ และหมู่บ้านใกล้เคียงมีความเจริญขึ้นอย่าง
ร ว ด เ ร็ ว

เมื่ อปี พ.ศ. 2551 เกิดเหตุการความคิดเห็นต่างกันทางการเมืองทำให้มีกลุ่ม
บุคคลออกมาแสดงความคิดเห็น สร้างความไม่สงบขึ้น พระบาทสมเด็จพระปรมิ
นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเอาหัวมันเทศ
วางบนตาชั่งตั้งไว้บนโต้ะทรงงาน เพื่ อเป็นคติเตือนใจ “ชั่งหัวมัน” หัวมันเทศ
เมื่ องวางอยู่นานเข้าก็จะแตกใบ
มีต้นงอกออกมา ก็ทรงให้เอาต้นมันนั้นไปเพาะเลี้ยงไว้ในเรือนเพาะชำ แล้วนำ
มันเทศหัวใหม่มาวางไว้บนตาชั่งแทน ทำเช่นนี้เรื่ อยไป ในเรือนเพาะชำก็มีแต่ต้น
มันเทศ ทรงมีดำริว่า หัวมันเทศวางไว้บนตาชั่งไม่มีดินและน้ำยังงอกได้ที่ดิน
แปลงนี้ มีดินและพอมีน้ำอยู่บ้างก็น่าจะปลูกมันเทศได้ จึงทรงพระราชทานต้น
มันเทศจากเรือนเพาะชำมาปลูกไว้ที่นี่ และพระราชทานชื่อโครงการนี้ว่า
“โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดำริ”

วันที่ 1 สิงหาคม 2552 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม
นาถบพิตร ทรงขับรถยนต์พระที่นั่งจากศาลาเก้าเหลี่ยม ริมอ่างเก็บน้ำหนองเสือ
เสด็จมาเปิดป้ายโครงการชั่งหัวมัน ด้วยพระองค์เอง โดยมีสมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และคุณ
ทองแดง ร่วมตามเสด็จมาในรถพระที่นั่ง เมื่ อเสด็จมาถึง ทรงเปิดป้ายโครงการ
ชั่งหัวมัน โดยวางถุงใส่หัวมันเทศลงบนตาชั่ง เปิดแพรคลุมป้ายชื่อโครงการ มี
ข้าราชการ ข้าราชบริพาร พสกนิกรที่ปฏิบัติงานในโครงการ และชาวบ้านในพื้ นที่
ใกล้เคียง มาร่วมกันเป็นสักขีพยาน หลังจากเปิดป้ายโครงการแล้ว ทรงมีพระราช
ปฏิสันถารกับข้าราชการ ที่มาปฏิบัติงาน และราชทานวโรกาสให้ผู้ร่วมปฏิบัติงาน
ทุกคนได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทอย่างใกล้ชิด นายชาย พานิชพรพันธุ์ ผู้ว่า
ราชการจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2552) ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมาลา
(หมวก) ที่ทำจากป่านศรนารายณ์ ประดับด้วยตราประจำจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็น
ผลิตภัณฑ์จากสมาชิกในโครงการสหกรณ์หุบกะพง หลังจากนั้น ทรงขับรถยนต์
พระที่นั่งทอดพระเนตรรอบพื้ นที่โครงการ ก่อนเสด็จกลับวังไกลกังวล

ท ร ง ใ ห้ โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ข อ ง ค ว า ม สำ เ ร็ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ค ว า ม ส า มั ค คี
ร่วมมือกันของหลายฝ่าย ดังพระราชดำรัส ที่ทรงพระราชทานให้แก่คณะผู้เข้าเฝ้า
ถวายสิทธิบัตรฝนหลวง ณ พระตำหนักเปี่ ยมสุข วังไกลกังวล เมื่ อวันที่ 21
สิงหาคม 2551 ความว่า...

“...คนที่ไปดูก็เห็นได้ว่า เริ่มต้นด้วยไม่มีอะไรเลย แต่ว่าต่อมาภายในวันเดียว ทุก
คนในท้องที่นั้นก็เข้าใจว่าต้องช่วยกัน และยิ่งในสมัยนี้ในระยะนี้ เราต้องร่วมมือกัน
ทำเพราะว่าถ้าไม่มีการร่วมมือกันก็ไม่ก้าวหน้า ไม่มีความก้าวหน้า ฉะนั้นการที่ท่าน
ได้ทำแล้วมีความก้าวหน้านี้ เป็นสิ่งที่ดีมาก หลักการก็อยู่ที่ทุกคนต้องช่วยกันเสีย
สละ เพื่ อให้กิจการในท้องที่ก้าวหน้าไปด้วยดี ก้าวหน้าได้อย่างไร ก็ด้วยการช่วย
เหลือกัน แต่ก่อนนั้นเคยเห็นว่ากิจการที่ทำ มีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งทำ แล้วก็ทำให้
ก้าวหน้า แต่อันนี้มันไม่ใช่กลุ่มหนึ่งมันทั้งหมด ร่วมกันทำและก็มีความก้าวหน้า
แน่นอน อันนี้เป็นสิ่งที่มหัศจรรย์ และเป็นสิ่งที่ทำให้มีความหวัง มีความหวังว่า
ประเทศชาติจะก้าวหน้า ประเทศชาติจะมีความสำเร็จ...”

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์
1. เพื่ อให้เป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจ พืชพันธุ์ดีของอำเภอท่ายาง และ
ข อ ง จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี
2. เพื่ อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรแก่เกษตรกร
3. เพื่ อให้ประชาชนในพื้ นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแปลงหรือมาช่วยงาน
พ ร ะ อ ง ค์

เ ป้ า ห ม า ย
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ มีเป้าหมายในการสนองพระราชประสงค์และ
พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ให้เป็นศูนย์รวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจของอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี และพื้ นที่ใกล้
เคียงรวมทั้งการจัดการฟาร์มโคนม และโรงเลี้ยงไก่ไข่ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์
นม ซึ่งมีผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ไรส์ และสเตอริไรส์ ตลอดจนมีหน่วยทดลอง
พลังงานทดแทน เช่น ทุ่งกันหันลม พลังงานแสงอาทิตย์ และไบโอดีเซล ทั้งนี้
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงชาวบ้านที่อยู่พื้ นที่ใกล้เคียงได้เข้ามาร่วม
กันบำรุงดูแลรักษา และแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นตามวิถีการดำรงชีวิต
เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง

“...โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ ได้ดำเนินการผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรที่
ปลอดภัยจากสารพิษ ภายใต้การควบคุมกำกับดูแลขั้นตอนการผลิตอย่างใกล้ชิด
โดยนักวิชาการเกษตรที่มีความชำนาญเพื่ อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพผ่านการเก็บ
เกี่ยวรวบรวมผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ การคัดเลือก คัดแยก และ
บรรจุ เพื่ อส่งถึงผู้บริโภค ให้มั่นใจได้ว่า ผู้บริโภคจะได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ...”

แ น ว ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร ง า น
1. บริหารทรัพยากรแบบบูรณาการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้ม
ค่า ได้แก่ การพัฒนาอ่างเก็บน้ำหนองเสือเพื่ อส่งน้ำไปใช้ในโครงการ โดยมีสัตว์
เก็บกักน้ำไว้ 2 สระ ไว้รองรับและกระจายนำเข้าสู่ระบบการเพาะปลูก ฟาร์มปศุสัตว์
และโรงงานแปรรูปนม รวมทั้งการขุดเอาเจาะน้ำบาดาลเพื่ อนำมาใช้ในการอุ ปโภค
ด้ ว ย
2. ใช้ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรของโครงการฯ ผ่านร้านโกลเด้น
เพลส (Golden Place) ภายใต้การดำเนินงานของ บริษัท สุวรรณชาด จำกัด ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ เพื่ อควบคุมผลผลิตให้มีคุณภาพและจำหน่ายถึงผู้บริโภค
โดยตรง
3. เป็นแหล่งเรียนรู้ ในการนำพลังงานสะอาดจากธรรมชาติมาใช้เป็นพลังงาน
ทดแทนเพื่ อผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น ทุ่งกังหันลม (Wind Farm) และแผงพลังงาน
แสงอาทิตย์ (Solar cells) สามารถจำหน่ายกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้เข้าสู่ระบบของ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งนอกจากเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่โครงการฯ แล้ว ยัง
ช่วยให้ราษฎรในหมู่บ้านต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้เคียง มีกระแสไฟฟ้าใช้ได้อย่างพอเพียง
แ ล ะ ทั่ ว ถึ ง
4. เป็นแหล่งสาธิตทางการเกษตรของภาคเอกชนและวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่ อให้
โครงการนี้มีประโยชน์แก่เกษตรกรและประชาชนเพิ่มมากขึ้น เช่น บริษัทเครือ
เจริญโภคภัณฑ์ จัดทำแปลงสาธิตการปลูกยางพาราที่ทันสมัย และนาข้าวทดลอง
แบบใช้นำบังคับให้ได้ผลผลิตสูง และลดต้นทุนการผลิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้นำ
เ ส น อ แ ป ล ง ส า ธิ ต ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น สำ ห รั บ ก า ร ดำ เ นิ น ชี วิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง พ อ
เพียงในพื้ นที่จำกัด เพียง 1 ไร่ และเงินลงทุน 100,000 บาท รวมทั้งการเพาะเลี้ยง
ไส้เดือน เพื่ อประโยชน์ในการผลิตปุ๋ยบำรุงดินและเป็นรายได้เสริมของเกษตรกรที่
สนใจ เป็นต้น

ในปี 2556 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
ทรงมอบหมายให้โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
สนับสนุนกิจการของโครงการฯ โดยจะส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพัฒนาและปฏิบัติงาน
ร่วมกับกองงานส่วนพระองค์ เช่น การเลี้ยงโคนม การเลี้ยงไก่ไข่ การผลิตน้ำนม
พาสเจอไรซ์และสเตอริไรส์ หน่วยพลังงานทดแทน ไบโอดีเซล รวมทั้งการเผย
แ พ ร่ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์

ปัจจุ บัน โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดำริ ได้ก้าวเข้าสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้
ทางการเกษตรอีกแห่งหนึ่ง ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้ผู้
ที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน และเปิดให้เข้าชมได้จากจุ ดเริ่มต้นที่มาจากพื้ นที่ที่แห้งแล้ง
และเสื่ อมโทรม กลับกลายเป็นพื้ นที่สีเขียว ที่สามารถเพาะปลูกพืชสวนครัวและ
พันธุ์พืชต่าง ๆ รวมทั้งการปศุสัตว์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์นม และหน่วยพลังงาน
ทดแทน ซึ่งได้มีนักเรียน นิสิต นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไป รวมทั้ง
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ภิกษุ สามเณรตลอดจนชาวต่างชาติ เข้า
เยี่ยมชมกิจกรรมของโครงการฯ เพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ

กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร
• การใช้กังหันลมผลิตไฟฟ้าเพื่ อเป็นพลังงานทดแทน
• การผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษ
• การสาธิตการปลูกสบู่ดำ
• การปลูกข้าวสายพันธุ์ต่าง ๆ
• แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตชมพู่เพชรสายรุ้ง
• แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตหน่อไม้ฝรั่ง
• การทำปุ๋ยหมัก
• การปลูกไม้ผล พืชไร่ ประกอบด้วย แก้วมังกร กล้วยน้ำว้า กล้วยหักมุก มะละกอ
มะนาว ฟักทอง กล้วย อ้อย มะพร้าวน้ำหอม มะพร้าวห้าว ฯลฯ
• การปลูกพืชผัก ประกอบด้วย มันเทศ กระเพรา โหระพา พริกพันธุ์ซูปเปอร์ฮอต
มะเขือเทศราชินี กระเจี๊ยบเขียว วอเตอร์เครส มะระขี้นก ผักหวานบ้าน ฯลฯ

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดำริ ได้ดำเนินการผลิต ผลิตภัณฑ์เกษตรที่
ป ล อ ด ภั ย จ า ก ส า ร พิ ษ
ภายใต้การควบคุมกำกับดูแลขั้นตอนการผลิตอย่างใกล้ชิด โดยนักวิชาการเกษตร
ที่มีความชำนาญ เพื่ อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเก็บเกี่ยวรวบรวม
ผลิตภัณฑ์ ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ การคัดเลือก คัดแยก และบรรจุ เพื่ อส่งถึงผู้
บริโภคให้มั่นใจได้ว่า ผู้บริโภคจะได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ โดยผลิตภัณฑ์จาก
โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ จะมีวางจำหน่ายเฉพาะที่ร้านโกลเด้น เพลซ
เ ท่ า นั้ น

จัดทำโดย
นายวรดร อินจุ้มสาย
รหัสประจำตัว 6410121204047

สาขาคณิตศาสตร์

บรรณานุกรม




โครงการอันเนื่องมาจาก แหล่งข้อมูล
ลำดับ พระราชดำริ

1 โครงการแก้มลิง HTTPS://WWW.ROYALPARKRAJAPRUEK.ORG
/KNOWLEDGE/VIEW/210

HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/10KHORNG
KARPHRARACHDAARI/10-KHORNGKAR-THI-
2 โครงการฝนหลวง DOD-DEN/6

HTTP://WWW.TSDF.NIDA.AC.TH/TH/ROYALLY-
INITIATED-PROJECTS/10779-แกล้งดิน-
3 โครงการแกล้งดิน พศ-2522/

4 โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ HTTP://WWW.RDPB.GO.TH/UPLOADNEW/DOCU
MENTS/เกษตรทฤษฎีใหม่5.PDF

HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/KHORN
5 โครงการอินทนนท์ GKARHLWNG2016/STHANI-KESTR-
HLWNG-XIN-THN-NTH
HTTPS://WWW.EGAT.CO.TH/INDEX.PHP?
OPTION=COM_CONTENT&VIEW=ARTICLE&ID
6 โครงการเขื่อป่าสักชลสิทธิ์ =2608&ITEMID=117

HTTP://WWW.DOH.GO.TH/CONTENT/PAGE/PAG
7 โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา E/8034



8 โครงการหญ้าแฝก HTTPS://LIBRARY.MWIT.AC.TH/KINGIX/CH
ECKD:AM/
HTTPS://LIBRARY.MWIT.AC.TH/KINGIX/CHEC
9 โครงการฝายแม้ว KDAM/

HTTP://WWW.TSDF.NIDA.AC.TH/TH/ROYALLY-
10 โครงการชั่งหัวมัน INITIATED-PROJECTS/10756-โครงการชั่งหัวมัน-
ตามพระราชดำริ-พศ-2552/

ภาคผนวก

1.นางสาว วรกานต์ บุญคำพา รหัสนักศึกษา 6410121204051 โครงการแก้มลิง (1-10)

2.นางสาวณัฐกมล น้ อยคำ รหัสนักศึกษา 6410121204053 โครงการฝนหลวง (11-23)

3.นางสาวอริศรา สุยะระ รหัสนักศึกษา 6410121204055 โครงการแกล้งดิน (24-31)

4.นางสาวอาแอเซ๊าะ สาเมาะ รหัสนักศึกษา 6410121204045 โครงการเกษตรทฤษฎีใ​หม่ (​32-38)

5.นางสาวไซตน หัดขะเจ รหัสนักศึกษา 6410121204046 โครงการเกษตรหลวงอินทนนท์ (39-42)

6.นางสาวนิธินุช กลับชม รหัสนักศึกษา 6410121204052 โครงการเขื่อนป่าสัก (43-47)

7.นายชานนท์ อรุณทรัพย์เจริญ รหัสนักศึกษา 6410121204050 โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา (48-52)

8.นางสาวทิฆัมพร บูรณวนิช รหัสนักศึกษา 6410121204054 โคงการหญ้าแฝก (53-61)

9.นางสาวกัญชพร พรบัวลา รหัสนักศึกษา 6410121204056 โครงการฝายแม้ว (62-68)

10.นายวรดร อินจุ้มสาย รหัสนักศึกษา 6410121204047 โครงการชั่งหัวมัน (69-78)


Click to View FlipBook Version