The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปรียากานต์ เพชรคง, 2019-07-11 22:10:57

หน่วยที่ 3 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร

unit 3

Keywords: หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร

หนว่ ยท่ี 3 หลกั การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร

รายวิชาอตุ สาหกรรมเกษตรเบอ้ื งตน้

แผนกอตุ สาหกรรมเกษตร
สถาบันการอาชวี ศึกษาเกษตรภาคใต้ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

หน่วยท่ี 3

เรื่อง หลกั การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร

สาระสาคัญ
การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรมีหลกั การพ้ืนฐานเช่นเดียวกบั ธุรกิจอื่น คือการดาเนินงาน

จะตอ้ งไม่หยุดชะงกั และจะตอ้ งทาให้ธุรกิจที่ทามีความเจริญกา้ วหนา้ การดาเนินการอุตสาหกรรม
เกษตรมีหลกั การท่ีแตกต่างไปจากอุตสาหกรรมอ่ืนเกี่ยวกบั วตั ถุดิบ เคร่ืองจกั รกล การแปรรูป การเก็บ
รักษา และการจัดการควบคุมคุณภาพ อุตสาหกรรมเกษตรจึงมีการแบ่งส่วนของการดาเนินงาน
อุตสาหกรรมเกษตรออกเป็ น 4 ส่วน คือการจดั หาหรือผลิตวตั ถุดิบ การแปรรูปวตั ถุดิบ การจดั การ
ของเหลือและผลพลอยได้ การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ นอกจากน้ันยงั มีการจัดหน่วยงานของ
อุตสาหกรรมเกษตรข้ึน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานลุล่วงไดด้ ว้ ยดีสาเร็จตามเป้ าหมาย โดยอาศยั ปัจจยั ต่าง ๆ
ในการดาเนินการ เช่น วตั ถุดิบ เงินทุน แรงงาน เครื่องจกั รกล การตลาด และการจดั การ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกหลกั การพ้ืนฐานของการดาเนินงานอุตสาหกรรมได้
2. บอกหลกั การดาเนินงานของอุตสาหกรรมเกษตรได้
3. อธิบายการแบ่งส่วนของงานอุตสาหกรรมเกษตรได้
4. อธิบายการจดั หน่วยงานของอุตสาหกรรมเกษตรได้
5. บอกปัจจยั ที่ใชใ้ นการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตรได้

เนือ้ หา

1. หลกั การพนื้ ฐานของการดาเนินงานอตุ สาหกรรม
อุตสาหกรรมเกษตรจดั เป็ นธุรกิจการเกษตรประเภทการผลิต และการแปรรูป (production

and processing) ซ่ึงรวมถึงการจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ท่ีผลิตไดด้ ว้ ย การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร
จึงมีหลกั การพ้นื ฐานของการดาเนินงานเช่นเดียวกบั อุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ซ่ึงมีอยู่ 2 ประการ คือ

1. การดาเนินงานจะตอ้ งไม่เกิดการชะงกั กล่าวคือ อุตสาหกรรมเกษตรจะตอ้ งดาเนินการ
ผลิตผลิตภณั ฑไ์ ปตลอดของช่วงวนั ผลิตที่โรงงานวางแผนหรือกาหนดไว้ เพ่ือไดผ้ ลิตภณั ฑ์ตามจานวน
ที่ตอ้ งการ และสามารถจดั จาหน่ายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง โดยไมห่ ยดุ ชะงกั อนั เน่ืองจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น มี
วตั ถุดิบไม่เพียงพอป้ อนโรงงาน เครื่องมืออุปกรณ์หรือเครื่องจกั รกลชารุดเสียหายในระหว่างการผลิต
หรือการผลิตหยดุ ชะงกั เนื่องจากขาดแรงงาน เป็นตน้

2. การดาเนินงานจะตอ้ งทาใหธ้ ุรกิจมีความเจริญกา้ วหนา้ ผลิตภณั ฑท์ ี่ผลิตข้ึนจะตอ้ งขายได้
หมดเม่ือหกั ค่าใชจ้ ่ายในการผลิตและดาเนินงานแลว้ จะตอ้ งมีกาไร ย่งิ มีกาไรมากเท่าใดก็ย่งิ ทาให้ธุรกิจ
มีความเจริญกา้ วหนา้ มากข้ึน สามารถขยายธุรกิจใหเ้ ติบโตไดต้ ่อไปเรื่อย ๆ
2. หลกั การดาเนินงานอตุ สาหกรรมเกษตร

หลกั การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตรมีความแตกต่างจากการดาเนินงานอุตสาหกรรมอื่น ๆ
โดยทว่ั ไปสรุปไดด้ งั น้ี

1. การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร เป็ นการดาเนินการท่ีใชว้ ตั ถุดิบท้งั ไดม้ าจากธรรมชาติ
และผลิตข้ึนโดยการเกษตรกรรม ซ่ึงวตั ถุดิบเหล่าน้ีเป็ นปัจจยั ท่ีสาคญั ในการดาเนินงานและวตั ถุดิบ
เหล่าน้ีเป็นสิ่งชีวภาพ มีการเปล่ียนแปลงและเส่ือมเสียโดยธรรมชาติ เป็ นวตั ถุดิบที่มีเฉพาะทอ้ งถ่ินและ
ฤดูกาล รวมท้งั คุณภาพและปริมาณของวตั ถุดิบไม่คงที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดลอ้ มธรรมชาติ
และท่ีสาคญั ก็คือวตั ถุดิบเหล่าน้ีถูกแยกนาไปใช้ประโยชน์ไดห้ ลายทางด้วยกนั เช่น การบริโภคสด
หรือนาไปใชใ้ นโรงงานแปรรูปผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ เช่น การนาเอาผลไมไ้ ปแปรรูปเป็นผลไมก้ ระป๋ อง น้า
ผลไมเ้ ขม้ ขน้ น้าผลไมพ้ ร้อมด่ืม ดงั แสดงในภาพที่ 3.1 เป็ นเหตุให้ราคาของวตั ถุดิบไม่แน่นอน สิ่ง
ต่าง ๆ เหล่าน้ีเป็นส่วนทาใหร้ าคาและคุณภาพของผลิตภณั ฑเ์ ปล่ียนไป

ภาพท่ี 3.1 ผลิตภณั ฑจ์ ากผลไม้
ที่มา : http://www.server3.jobthai.com/special_img/doi_kham.gif, 12 พฤษภาคม 2551.

2. การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร เป็ นการดาเนินการผลิตผลิตภณั ฑจ์ านวนมากโดยใช้
เคร่ืองมืออุปกรณ์และเคร่ืองจกั รกลดว้ ยระบบอุตสาหกรรม คือจะตอ้ งทาการผลิตอยา่ งต่อเน่ือง ให้ได้
ผลิตภณั ฑ์ท่ีมีท้ังปริมาณ คุณภาพ และราคาตามท่ีต้องการ ภายในระยะเวลาที่กาหนด และได้
ประโยชนจ์ ากวตั ถุดิบมากที่สุดใหม้ ีการสูญเสียนอ้ ยที่สุด ดว้ ยการใชป้ ระโยชนจ์ ากผลพลอยไดแ้ ละของ
เหลือจากการแปรรูปผลิตภณั ฑห์ ลกั ใหค้ ุม้ ค่าการลงทุน ดงั แสดงในภาพที่ 3.2 การนาเอามนั สาปะหลงั
มาใชป้ ระโยชน์ ท้งั น้ีจะตอ้ งคงรักษาคุณภาพและราคาของผลิตภณั ฑ์เอาไวใ้ ห้คงท่ีตลอดเวลา และ
ดาเนินการควบคุมมลภาวะต่าง ๆ ที่เกิดจากการดาเนินการอุตสาหกรรมไม่ให้เกิดมลพิษกบั ธรรมชาติ
และรักษาส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย การนาเอามนั สาปะหลงั มาใชเ้ ป็ นวตั ถุดิบในอุตสาหกรรมการแปรรูปให้เป็ น
ผลิตภณั ฑ์ที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็ น อุตสาหกรรมผลิตผลิตภณั ฑ์อาหาร อุตสาหกรรมเภสัชกรรม
อุตสาหกรรมผลิตเอทธานอล อุตสาหกรรมอาหารสตั ว์ อุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ์ เป็นตน้

ภาพที่ 3.2 การนามนั สาปะหลงั ไปใชป้ ระโยชน์
ที่มา : ประภาพร ไกยราช. ดดั แปลงมาจาก วารสารเคหการเกษตร 32, 7 (กรกฎาคม 2551): 77.

3. การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร มีการจดั การในการแปรรูปและมีการจดั เก็บรักษา
ผลิตภณั ฑเ์ พื่อรอจดั ส่งจาหน่ายทยอยกนั ไป โดยธรรมชาติของอุตสาหกรรมเกษตรในการดาเนินการ
แปรรูปให้เป็ นผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ น้ันปริมาณการผลิตและช่วงเวลาของการผลิตผลิตภณั ฑ์ มีความ
แตกต่างกนั ดว้ ยเหตุหลายประการ เช่น เนื่องจากฤดูกาลของวตั ถุดิบผลิตผลเกษตร เน่ืองจากความ
ตอ้ งการของตลาด เนื่องจากกาหนดตารางการผลิตผลิตภณั ฑข์ องโรงงาน ทาให้ตอ้ งมีการแปรรูปซ้าอีก
คร้ังหน่ึง เช่น การดองเกลือแตงกวาและผกั ตา่ ง ๆ แลว้ นามาดองซ้าในสารปรุงแต่งใหเ้ ป็ นผกั ดองผสม
ในน้าปรุงรสบรรจุขวดแกว้ ดงั แสดงในภาพที่ 3.3 เป็นตน้

ภาพท่ี 3.3 แตงกวาและผกั ต่าง ๆ บรรจุขวดแกว้
ท่ีมา : ประภาพร ไกยราช. ดดั แปลงมาจาก วารสารเคหการเกษตร 32, 6 (มิถุนายน 2551): 171.

4. การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร มีการจดั การควบคุมคุณภาพ (Quality Control
management) ซ่ึงจะตอ้ งดาเนินการท้งั ระบบของหน่วยงานไม่เพียงแต่เฉพาะส่วนโรงงานหรือส่วนแปร
รูปเท่าน้นั โดยเฉพาะการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร จะตอ้ งจดั การควบคุมคุณภาพต้งั แต่การผลิต
วตั ถุดิบ การแปรรูปวตั ถุดิบ และการจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ เช่น อุตสาหกรรมแปรรูปขา้ วโพดฝักอ่อน
ในน้าเกลือบรรจุกระป๋ อง โรงงานจะกาหนดมาตรฐานขา้ วโพดฝักอ่อน เพ่ือจะผลิตขา้ วโพดฝักอ่อนท่ีมี
คุณภาพดี การผลิตวตั ถุดิบจากเกษตรกรน้นั เกษตรกรจะตอ้ งรู้มาตรฐานคุณภาพของขา้ วโพดฝักอ่อนท่ี
โรงงานตอ้ งการ เช่น การกาหนดขนาดของขา้ วโพดฝักอ่อนเพ่ือส่งโรงงานอุตสาหกรรม ขา้ วโพดฝัก
อ่อนถูกกาหนดใหจ้ าแนกเป็น 3 เกรด คือ 9-13 ซม.(size L) 7-9 ซม. (size M) และ 4-7 ซม. (size S)
ดงั แสดงในภาพที่ 3.4

ภาพที่ 3.4 ขนาดตา่ ง ๆ ของขา้ วโพดฝักออ่ น
ที่มา : http://web.ku.ac.th/agri/cornxx/corn12.html, 16 กุมภาพนั ธ์ 2551.

และลกั ษณะคุณภาพที่ตอ้ งการ คือ สีของฝัก มีสีเหลืองหรือครีม ฝักสมบูรณ์ การเรียงของไข่
ปลายตรง ไม่หกั เน่า หรือแก่เกินไป ฝักไม่มีรอยกรีด ไม่มีเศษไหมติด ฝักสด ไม่เหี่ยวแห้ง ไม่ผา่ น
การแช่น้า ตดั ข้นั และตดั แต่งระหวา่ งรอยข้นั กบั ฝักเรียบร้อย ดงั แสดงในภาพท่ี 3.5

ภาพที่ 3.5 แสดงลกั ษณะคุณภาพของขา้ วโพดฝักอ่อน
ที่มา : http://web.ku.ac.th/agri/cornxx/corn12.html, 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2551.

5. ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตรที่ผลิตข้ึนจะตอ้ งจดั จาหน่ายไปถึงผบู้ ริโภคอยา่ งต่อเนื่อง
สม่าเสมอ ไม่ให้ผลิตภณั ฑ์ขาดตลาดได้ ท้งั ยงั ตอ้ งตรวจสอบผลิตภณั ฑ์ท่ีวางจาหน่าย เพ่ือคดั เอา
ผลิตภณั ฑ์ที่จะหมดอายุการใช้กลบั คืน และนาผลิตภณั ฑ์ที่ผลิตข้ึนใหม่ ๆ ไปจาหน่ายแทน อีกท้งั
จะตอ้ งรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ เกี่ยวกบั ผลิตภณั ฑ์ เพื่อนามาวเิ คราะห์ใชใ้ นการควบคุมคุณภาพ การวจิ ยั
และพฒั นาผลิตภณั ฑ์

3. การแบ่งส่วนของการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
เพื่อให้การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตรมีประสิทธิภาพ จึงไดแ้ บ่งการดาเนินงานออกเป็ น

4 ส่วนดว้ ยกนั โดยแต่ละส่วนจะมีความสัมพนั ธ์เก่ียวขอ้ งกนั เพ่ือให้การผลิตผลิตภณั ฑ์สามารถ
ดาเนินการไปไดอ้ ยา่ งราบรื่นโดยไมห่ ยดุ ชะงกั ดงั น้ีคือ

ส่วนที่ 1. การดาเนินการจดั หาหรือผลิตวตั ถุดิบ เพ่ือป้ อนสายการแปรรูปใหไ้ ดต้ ามตอ้ งการ
(Mass production of raw materials) ตอ่ ไป

ส่วนที่ 2. การแปรรูปวตั ถุดิบให้เป็ นผลิตภณั ฑ์ด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ โดยอาศยั เครื่องมือ
อุปกรณ์ และเครื่องจกั รกล ให้ไดผ้ ลิตภณั ฑ์ตามจานวนท่ีกาหนด มีคุณภาพตามที่ตลาดตอ้ งการ มี
คุณภาพไม่ต่ากวา่ มาตรฐาน คุณภาพต่าสุดตามขอ้ กาหนดมาตรฐานคุณภาพของผลิตภณั ฑ์น้นั ๆ และ
ควบคุมตน้ ทุนการผลิตผลิตภณั ฑ์ (cost of production) ใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่สมควร เรียกข้นั ตอนน้ีวา่ การ
แปรรูประบบอุตสาหกรรม (manufacture)

ส่วนที่ 3. การนาเอาผลพลอยได้ (by products) และของเหลือ (wastes) ท่ีเกิดข้ึนจากการ
แปรรูประบบอุตสาหกรรมไปใชป้ ระโยชน์ ของเหลืออาจจะจาหน่ายโดยตรง หรือนาไปแปรรูปเป็ น
ผลิตภณั ฑ์ เช่น กากน้าตาล (molasses) ซ่ึงไดจ้ ากการแปรรูปออ้ ยเป็ นน้าตาล อาจขายเป็ นวตั ถุดิบใน
การผลิตผลิตภณั ฑอ์ ่ืน หรือนาไปแปรรูปเองก็ได้ ส่วนของเหลือน้นั จาเป็ นจะตอ้ งหาวิธีกาจดั เพ่ือไม่ให้
เกิดมลภาวะ

ส่วนที่ 4. การจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงรวมถึงการขนส่งผลิตภณั ฑไ์ ปยงั ตลาด หรือผบู้ ริโภค
การเก็บรักษาผลิตภณั ฑ์เพ่ือรอจาหน่าย การประกนั คุณภาพผลิตภณั ฑ์ และการให้คาแนะนาต่าง ๆ
เพ่ือให้ผบู้ ริโภคนาเอาผลิตภณั ฑ์ไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม นอกจากน้นั ยงั ตอ้ งหาข่าวสารขอ้ มูล
เก่ียวกับผลิตภัณฑ์เพ่ือนาไปใช้วิจยั พฒั นา หรือใช้ในการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์สนองความ
ตอ้ งการของผบู้ ริโภค

4. การจัดหน่วยงานอตุ สาหกรรมเกษตร
การจดั หน่วยงานอุตสาหกรรมเกษตรทวั่ ไป ประกอบไปดว้ ยฝ่ ายนโยบาย และฝ่ ายปฏิบตั ิ

เช่นเดียวกบั ธุรกิจอื่น ๆ ฝ่ ายปฏิบตั ิของอุตสาหกรรมทวั่ ไป ประกอบดว้ ย 4 สายงาน คือ จดั หา
จาหน่าย ผลิตหรือโรงงาน ควบคุมคุณภาพและคน้ ควา้ วจิ ยั สายงานท้งั สี่สายงานน้ีบางบริษทั หรือบาง

องค์การจะรวมไวใ้ นหน่วยงานเดียวกนั เช่น รวมจดั หากบั จาหน่ายไวใ้ นหน่วยเดียวกัน หรือรวม
โรงงานกบั ควบคุมคุณภาพและคน้ ควา้ วจิ ยั ไวใ้ นหน่วยเดียวกนั เป็นตน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 3.6

ภาพที่ 3.6 แสดงการจดั หน่วยงานอุตสาหกรรมเกษตร
ที่มา : http://www.storkfoodsystems.com/eCache/DEF/592.html, 1 พฤษจิกายน 2551.

อุตสาหกรรมเกษตรมีหน่วยงานท่ีทาหนา้ ที่จดั หาวตั ถุดิบผลิตผลเกษตรซ่ึงเป็ นวตั ถุดิบหลกั
ของการแปรรูปออกจากหน่วยจดั หาของบริษทั ที่ทาหน้าท่ีจดั หาวสั ดุส่ิงของที่ต้องการใช้ในการ
ดาเนินงานท้งั หมด หน่วยงานจดั หาวตั ถุดิบของอุตสาหกรรมเกษตรเรียกวา่ “ฝ่ ายไร่” ซ่ึงมีหนา้ ท่ี
รับผดิ ชอบจดั หาหรือผลิตวตั ถุดิบหลกั ป้ อนสายการแปรรูป ตามกาหนดการผลิตผลิตภณั ฑ์ของโรงงาน
และวตั ถุดิบเหล่าน้ีจะตอ้ งมีคุณภาพตามความต้องการของฝ่ ายโรงงานมีปริมาณของวตั ถุดิบและ
ระยะเวลาที่ส่งวตั ถุดิบ ตามกาหนดทยอยตอ่ เนื่องกนั พร้อมท้งั จะตอ้ งมีราคาพอสมควรดว้ ย

หน่วยงานฝ่ ายไร่ เป็ นหน่วยงานท่ีทาหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงและจะตอ้ งดาเนินการสร้าง
คุณภาพของวตั ถุดิบข้ึนต้งั แต่เร่ิมผลิตทางการเกษตร เพ่ือให้เกษตรกรเลือกผลิตผลิตผลที่มีคุณภาพ
ตามที่โรงงานประสงค์ เช่น การเลือกพนั ธุ์ท่ีมีปัจจยั คุณภาพ (quality factor) ที่ตอ้ งการ ตวั อยา่ งเช่น
เลือกแตงกวาพนั ธุ์ทีใชด้ อง (pickling cucumber) ซ่ึงเป็ นแตงกวาที่มีคุณลกั ษณะเหมาะกบั การนาไป
ดองเพราะมีเน้ือหนาไส้เลก็ บาง พนั ธุ์ไม่มีไส้เลย เปลือกสีเขียว เมื่อนาไปดองจะคงรูปไมเ่ หี่ยวยน่

สุเทวี ศุขปราการ (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 130 ; อา้ งอิงมาจาก สุเทวี ศุขปราการ. 2523)
ไดก้ ล่าวถึง หนา้ ที่ของฝ่ ายไร่จึงประกอบไปดว้ ยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เกษตรกรผผู้ ลิตวตั ถุดิบ และ
จดั หาวตั ถุดิบป้ อนโรงงานซ่ึงแบง่ ออกเป็นงานตา่ ง ๆ ไดด้ งั น้ี

1. งานดา้ นจดั หาและควบคุมพนั ธุ์ที่ใชใ้ นการผลิต
2. งานดา้ นสนบั สนุนการผลิต และป้ องกนั กาจดั ศตั รู
3. งานตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลิตผลเกษตร
4. งานดา้ นมาตรฐานระดบั ช้นั ผลิตผลเกษตร
5. งานดา้ นสหกรณ์การเกษตร และสินเช่ือเกษตร
6. งานจดั หาและวางแผนผลิตวตั ถุดิบป้ อนโรงงาน
7. งานดา้ นกาหนดวนั เก็บเก่ียว และปฏิบตั ิหลงั การเก็บเก่ียว ดูแลการขนส่ง และขนถ่าย
วตั ถุดิบจากไร่ถึงโรงงาน
8. งานเกษตรกรสมั พนั ธ์และสงั คมชนบท
9. งานติดต่อประสานงานกบั เจา้ หนา้ ท่ีเกษตรของรัฐในทอ้ งถิ่น
10. จดั การฟาร์มของบริษทั (ถา้ มี)

จะเห็นได้วา่ หน้าที่และความรับผิดชอบของเจา้ หน้าที่ฝ่ ายไร่กวา้ งขวางกว่าเจา้ หน้าท่ีฝ่ าย
จดั หา และตอ้ งประสานงานท้งั กบั เกษตรกร และเจา้ หน้าท่ีของรัฐบาลในทอ้ งถิ่น ท้งั ยงั เป็ นตวั แทน
ของบริษทั ดา้ นประชาสัมพนั ธ์และสังคมชนบท เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจและร่วมพฒั นาสังคม โดย
โรงงานควรจะมีส่วนร่วมไม่แยกตวั ออก เพราะโรงงานยงั ตอ้ งใช้วตั ถุดิบส่วนใหญ่จากเกษตรกรใน
ทอ้ งถิ่น โรงงานไม่สามารถที่จะผลิตวตั ถุดิบได้เพียงพอท่ีจะป้ อนสายงานการแปรรูปของโรงงาน
ท้งั หมด

เถาวลั ย์ นนั ทาภิวฒั น์ (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 131 ; อา้ งอิงมาจาก เถาวลั ย์ นนั ทาภิวฒั น์.
2513) กล่าวถึง การจดั สายงานวา่ การจดั สายงานช่วยจดั ให้มีมาตรการท่ีคนสามารถทางานดว้ ยกนั
อยา่ งมีผล เพ่ือความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ทาให้เกิดการประสานงานในหน้าท่ีงานท่ี
เก่ียวขอ้ ง การจดั สายงานจะตอ้ งจดั ใหม้ ีปัจจยั และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิหนา้ ที่งาน
ส่วนยอ่ ย หรือหนา้ ที่ในหมวดงานหน่ึง ๆ ดว้ ย

ท้งั น้ีการดาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร การจดั หน่วยงานเป็นเร่ืองจาเป็ นที่ทาให้การบริหาร
จดั การอุตสาหกรรมเกษตรให้สามารถดาเนินไปได้อย่างราบร่ืนท้งั องค์กร แต่ละหน่วยงานสามารถ
บริหารจดั การภายในหน่วยเองในเบ้ืองตน้ ตามนโยบายเดียวกนั ไม่ให้เกิดปัญหาและสามารถทางาน
ภายในหน่วยใหบ้ รรลุตามจุดประสงคแ์ ละเป้ าหมายเดียวกนั ของบริษทั

บริหาร นโยบายและแผนงาน
การเงิน
ธุรการ
บุคลากร
โฆษณา
สวสั ดิการ

ไร่ ตลาด โรงงาน จดั หา Q.C R&D

ภาพท่ี 3.7 แผนภมู ิการจดั หน่วยงานอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่
ท่ีมา : นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 113

5. ปัจจัยทใ่ี ช้ในการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร
การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรจะตอ้ งมีองค์ประกอบของปัจจยั ที่สาคญั อยู่ 6 ปัจจยั

ดว้ ยกนั มีปัจจยั เพิ่มข้ึนจากการดาเนินธุรกิจอยู่ปัจจยั หน่ึง และเป็ นปัจจยั ที่สาคญั ของการดาเนินการ
อุตสาหกรรมเกษตรดว้ ย ปัจจยั น้ีก็คือ เครื่องจกั รอุปกรณ์ท่ีใชท้ าการผลิตหรือแปรรูปผลิตภณั ฑ์ระบบ
อุตสาหกรรม ท้งั น้ีเพราะจะตอ้ งทาการผลิตผลิตภณั ฑจ์ านวนมากและอยา่ งต่อเน่ือง ดงั น้นั ปัจจยั ในการ
ดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรจึงประกอบดว้ ย วตั ถุดิบ (raw materials) ตลาด ทุน กาลงั คน (man
power) การจดั การ (management) และเครื่องจกั รอุปกรณ์ (machine) ปัจจยั ท้งั หกน้ีมีความสาคญั เท่า
เทียมกนั และจะตอ้ งปฏิบตั ิงานประสานสอดคลอ้ งกนั ตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ จะขาดปัจจยั ใดปัจจยั
หน่ึงไปไมไ่ ด้ ปัจจยั ท่ีสาคญั ของอุตสาหกรรมท้งั 6 ปัจจยั มีดงั น้ี

5.1 วตั ถุดิบ (raw material) วตั ถุดิบคือสิ่งท่ีถูกนามาแปรรูป (process) เพ่ือให้เกิดผลิตภณั ฑ์
(products) ข้ึน ดงั น้ันถ้าไม่มีวตั ถุดิบ ก็ไม่สามารถจะผลิตผลิตภณั ฑ์ออกมาได้ การดาเนินการ
อุตสาหกรรมเกษตรน้นั วตั ถุดิบส่วนใหญ่ท่ีนามาใชแ้ ปรรูป คือผลผลิตเกษตรต่าง ๆ ซ่ึงตอ้ งการใช้
ปริมาณมาก และจะต้องมีคุณภาพตามข้อกาหนดหรือมาตรฐานของโรงงานอุตสาหกรรม เพ่ือให้
สามารถผลิตผลิตภณั ฑ์ที่มีคุณภาพตามความตอ้ งการของตลาดหรือผซู้ ้ือส่วนใหญ่ท้งั น้ีเพราะคุณภาพ
ของวตั ถุดิบจะส่งผลโดยตรงตอ่ คุณภาพของผลิตภณั ฑ์ หากวตั ถุดิบมีคุณภาพต่าก็ไม่สามารถจะนาแปร
รูปให้เป็ นผลิตภณั ฑ์ที่มีคุณภาพสูงได้ ดงั ตวั อยา่ ง ขา้ วเปลือกที่มีคุณภาพต่า เช่น เป็ นขา้ วเปลือกที่

เปลาะ ไมแ่ กร่ง เมื่อนาไปสีจะไม่สามารถสีเป็นขา้ วสารขนาด 100 เปอร์เซนต์ ได้ ท้งั น้ีเพราะเมล็ดขา้ ว
จะหักมากเมื่อผ่านเคร่ืองสีขดั ขา้ วเป็ นตน้ นอกจากปริมาณและคุณภาพของวตั ถุดิบแลว้ ราคาของ
วตั ถุดิบมีส่วนสาคญั ต่อตน้ ทุนการผลิตผลิตภณั ฑ์ อนั จะเกี่ยวโยงไปถึงราคาขายผลิตภณั ฑ์และการ
แข่งขนั ในการขายดว้ ย การดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ผลตอบแทนคุม้ ค่า ปัจจยั เร่ือง
วตั ถุดิบจึงเป็นปัจจยั แรกของการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร ซ่ึงจะตอ้ งพิจารณาโดยละเอียดเกี่ยวกบั
ปริมาณการใชป้ ระโยชนข์ องวตั ถุดิบที่มีอยแู่ ลว้ คุณภาพของวตั ถุดิบ ราคาของวตั ถุดิบ ความสามารถ
ในการผลิต การเพม่ิ ปริมาณผลผลิต

5.2 ตลาด (market) ตลาดเป็ นแหล่งที่จะจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ที่โรงงานอุตสาหกรรมผลิตข้ึน
การที่อุตสาหกรรมจะดาเนินไปไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพน้นั จาเป็ นจะตอ้ งมีการหาตลาดเพื่อจาหน่าย
ผลิตภณั ฑใ์ หไ้ ดม้ ากที่สุดและจะตอ้ งสามารถครองตลาดไวใ้ ห้ได้ ดว้ ยการสร้างความนิยมในผลิตภณั ฑ์
ข้ึนจนเป็ นท่ียอมรับของผูซ้ ้ือหรือผูบ้ ริโภค ลกั ษณะโครงสร้างของตลาดอุปสงค์ (demand) และ
อุปทาน (supply) ตลอดจนขอ้ มลู ต่าง ๆ ของผบู้ ริโภค (consumers) ความสามารถในการซ้ือ และการ
ดาเนินการกระจายผลิตภณั ฑ์ไปยงั ผบู้ ริโภคอย่างสม่าเสมอและทนั เวลา เป็ นเรื่องของการดาเนินการ
อุตสาหกรรมเกษตร การที่อุตสาหกรรมจะสามารถพฒั นาข้ึนไดน้ ้นั ตลาดเป็ นปัจจยั ท่ีมีส่วนช่วยอยา่ ง
สาคญั

การวางแผนการตลาดของผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตรแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ส่วนดว้ ยกนั คือ
การวางแผนเพื่อจาหน่ายภายในประเทศ หรือประเทศท่ีมีพรมแดนติดกนั กบั การวางแผนเพ่ือส่งออก
จาหน่ายต่างประเทศ การผลิตผลิตภณั ฑเ์ พ่ือการส่งออกน้นั จะตอ้ งผลิตผลิตภณั ฑใ์ หไ้ ดม้ าตรฐานสากล
และใหอ้ ยภู่ ายใตข้ อ้ กาหนดของประเทศท่ีจะส่งผลิตภณั ฑ์ไปจาหน่ายดว้ ยท้งั จะตอ้ งมีราคาพอสมควรที่
จะสามารถแข่งขนั จาหน่ายกบั ต่างประเทศผูผ้ ลิตอ่ืน ๆ และตอ้ งเตรียมรับสถานการณ์การผูกขาด การ
กีดกนั ทางการคา้ การเมืองระหวา่ งประเทศดว้ ย

กฤช สมบตั ิศิริ (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 42 ; อา้ งอิงมาจาก กฤช สมบตั ิศิริ. 2529) กล่าว
ว่า ความตอ้ งการสินคา้ เพื่อการอุปโภคบริโภคจะเปลี่ยนแปลงไป อตั ราเงินเฟ้ อมีท่าท่ีจะสามารถ
ควบคุมอยใู่ นอตั ราท่ีกาหนดได้ ดงั น้นั จากการจาหน่ายสินคา้ เพ่ือการอุปโภคบริโภค ถา้ มีการปรับปรุง
คุณภาพให้ดีข้ึนและราคาถูก ก็สามารถยกระดบั การจาหน่ายให้สูงเร็วยงิ่ ข้ึน แต่ขอ้ ควรระวงั ในเร่ืองน้ี
ไดแ้ ก่ การขยายตลาด จาเป็ นตอ้ งเป็ นไปตามความตอ้ งการของตลาด แมว้ า่ ปริมาณจะเพ่ิมข้ึน แต่ราคา
ก็ตอ้ งลดลง เพราะอตั ราเงินเฟ้ อจะต่าลง

ปัจจยั เรื่องการตลาดเป็ นปัจจยั ที่สาคญั ของการดาเนินอุตสาหกรรมเกษตร หากผลิตภณั ฑไ์ ด้
จานวนมากแต่ไม่สามารถจะจาหน่ายออกไปได้ หรือไม่อาจแข่งขนั จาหน่ายในตลาดได้ จะทาให้มี
ผลิตภณั ฑเ์ หลือตกคา้ งอยเู่ ป็นเหตุใหผ้ ลิตภณั ฑม์ ีคุณภาพเปลี่ยนแปลงหรือลา้ สมยั หากเหลือคา้ งอยเู่ ป็ น
เวลานานซ่ึงจะทาใหต้ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการเกบ็ รักษาท้งั ยงั ทาให้เงินทุนค่าใชจ้ ่ายติดคา้ งอยู่ การดาเนิน
อุตสาหกรรมน้นั จะตอ้ งชะงกั หรืออาจตอ้ งเลิกลม้ ไปในท่ีสุด

5.3 เงินทุน (money) การอุตสาหกรรมตอ้ งใชเ้ งินทุนเป็ นจานวนมากไม่วา่ จะเป็น
อุตสาหกรรมขนาดเลก็ หรือขนาดใหญ่ เงินลงทุนน้นั แบง่ ออกไดเ้ ป็ น 2 ส่วน คือ

1) งบลงทุน ซ่ึงเป็ นเงินท่ีใช้จ่ายในการจดั หาอาคารสถานที่ อุปกรณ์เครื่องจกั รกล
เครื่องมือเคร่ืองใช้ ท้งั ในดา้ นการผลิต การขนส่ง การเกบ็ รักษา และการบริหารงาน

2) งบดาเนินงาน ซ่ึงเป็ นเงินที่จะต้องนามาใช้เป็ นทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน
อุตสาหกรรม เช่น ค่าจา้ งแรงงาน ค่าซ้ือวตั ถุดิบต่าง ๆ เพ่ือนามาผลิตผลิตภณั ฑ์ ค่าเช้ือเพลิง ค่า
โฆษณา รวมท้งั คา่ ใชจ้ ่ายตา่ ง ๆ ในการบริหารงาน ฯลฯ

การดาเนินการอุตสาหกรรม จึงตอ้ งมีเงินทุนเพียงพอท้งั งบลงทุนที่จะนาไปสร้างโรงงาน
อุตสาหกรรมท่ีสามารถดาเนินการผลิตผลิตภณั ฑ์ท่ีมีคุณภาพตามความตอ้ งการของตลาดได้ และงบ
หมุนเวียน ซ่ึงเป็ นค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการท่ีจะได้ผลิตภัณฑ์ออกมาจาหน่ายในปริมาณและเวลาที่
กาหนดไว้ การขาดเงินทุนไม่วา่ ในส่วนใดจะทาใหก้ ารดาเนินงานอุตสาหกรรมตอ้ งชะงกั ลง โดยเฉพาะ
เมื่อขาดเงินทุนหมุนเวียนหรือขาดเงินงบลงทุนเพื่อขยายหรือปรับปรุงโรงงาน การที่จะไดผ้ ลิตภณั ฑ์
ออกมาจาหน่ายในปริมาณและเวลาที่กาหนดไว้ การขาดเงินทุนไม่ว่าในส่วนใด จะทาให้การ
ดาเนินงานอุตสาหกรรมตอ้ งชะงกั ลง

ปัญหาเร่ืองเงินทุนมีความสาคญั ย่ิงสาหรับอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็ก ในเรื่องเงินลงทุน
ก่อสร้างอาคาร และจดั หาเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการผลิต ซ่ึงเป็ นเงินจานวนไม่นอ้ ย ท้งั ยงั จะตอ้ งมีเงิน
หมุนเวียนอีกจานวนหน่ึงสาหรับดาเนินงาน โรงงานอุตสาหกรรมน้นั ถึงแมว้ า่ จะเป็ นขนาดเล็ก แต่ก็
จะตอ้ งมีขนาดของโรงงานอุตสาหกรรมและปริมาณการผลิตต่าสุดท่ีจะสามารถดาเนินกิจการไดโ้ ดยไม่
ขาดทุนอยู่ ซ่ึงเป็ นเคร่ืองบังคบั ให้ต้องมีเงินทุนมากพอในการท่ีจะดาเนินกิจการแม้จะเป็ นเพียง
อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็กก็ตามและถา้ ยิง่ เป็ นอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ดว้ ยแลว้ ก็ยงิ่ ตอ้ งใช้
เงินทุนเป็ นจานวนมากทาให้เกิดการรวมกลุ่มของนกั ธุรกิจในการจดั ต้งั โรงงานอุตสาหกรรมข้ึนไดใ้ น
จานวนจากัดหรือร่วมทุนกบั นักธุรกิจต่างประเทศ ดาเนินงานในรูปของบริษทั ลงทุนขา้ มประเทศ
(multinational corporation) ดว้ ยการไดร้ ับการส่งเสริมการลงทุนจากรัฐบาลซ่ึงทาให้เกิดการผกู ขาดข้ึน
กล่าวอย่างกวา้ ง ๆ คาวา่ “ผกู ขาด” หมายถึง การจากดั ทางเลือกพฤติกรรมการผูกขาดแสดงออกดว้ ย
การกีดกนั ผอู้ ื่นดว้ ยกลวธิ ีต่าง ๆ ไมใ่ หเ้ ขา้ มาประกอบการแขง่ ขนั กบั ตนหรือใชก้ ลวธิ ีตา่ ง ๆ เขา้ ยึดครอง
ตลาดทาลายคูแ่ ขง่ ขนั หรือใชข้ อ้ ตกลงตา่ ง ๆ ของกลุ่มไปจากดั ทางเลือก จากดั การเลือกซ้ือเลือกขายของ
ผอู้ ่ืน

พรรณี บวั เล็ก (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 54 ; อา้ งอิงมาจาก พรรณี บวั เลก็ . 2529) กล่าววา่
นโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมของรัฐบาล และการเขา้ มาลงทุนของนายทุนจากต่างประเทศไทย ทาให้
เกิดนายทุนอุตสาหกรรมข้ึนในประเทศเป็ นจานวนมาก และถา้ เป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ที่ตอ้ ง
อาศยั การลงทุนมากและเทคโนโลยสี ูง จะเป็ นลกั ษณะความร่วมมือของนายทุนไทยกบั นายทุนต่างชาติ
หรือบางคร้ังก็เป็ นเพียงแต่นายหน้าจดั หาความสะดวกให้แก่บริษทั ต่างชาติเขา้ มาลงทุนอีกทีหน่ึง การ

จัดการและการบริ หารต่าง ๆ ล้วนอยู่ในมือของต่างชาติท้ังหมด และผูท้ ่ีเป็ นนายหน้าในด้าน
อุตสาหกรรมใหแ้ ก่ชาวตา่ งชาติที่สาคญั คือ กลุ่มนายทุนธนาคารพาณิชย์ เช่น “ล่าซา” เป็ นนายหนา้ ให้
บริษทั ของประเทศสหรัฐอเมริกา เขา้ มาต้งั โรงงานผลิตสับปะรดกระป๋ อง “โสภณพาณิชย”์ ร่วมกบั
“โพธิรัตนงั กรู ” เป็นนายหนา้ ใหบ้ ริษทั โรปูแลงคเ์ ทก็ ซ์ไทล์ แห่งฝร่ังเศส เขา้ มาลงทุนต้งั โรงงานทอผา้
ไทย-เมล่อนโปลีเอสเตอร์ กลุ่มศรีเฟ่ื องฟ้ ุง และ “เตชะไพบูลย”์ เป็ นนายหนา้ ใหก้ บั บริษทั อาซาอีแห่ง
ประเทศญี่ป่ ุน เข้ามาต้ังโรงงานผลิตกระจกและสารเคมีขนาดใหญ่ เป็ นต้น แหล่งเงินทุนของ
อุตสาหกรรมเกษตรอีกแห่งหน่ึงคือ เงินยืมอุดหนุนเพื่อประกอบการอุตสาหกรรมจากหน่วยงานของ
รัฐบาลและจากแหล่งเงินกูข้ องสหกรณ์ ซ่ึงมีจานวนไม่มากนกั และไม่เพียงพอ ดงั น้นั ผดู้ าเนินธุรกิจ
อุตสาหกรรมขนาดเล็กจึงจาเป็ นตอ้ งพ่ึงสถาบนั การเงินและอยู่ภายใตอ้ ิทธิพลของกลุ่มผูกขาดธุรกิจ
การเงิน

ยอดธง ทบั ทิวไม้ (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 55 ; อา้ งอิงมาจาก ยอดธง ทบั ทิวไม.้ 2529)
กล่าววา่ ธนาคารอาจจะเรียกวา่ เป็ นสถาบนั การเงินท่ีโดยช่ือและโดยความหมายของมนั น้นั เช่ือกนั ว่า
เป็ นสถาบนั ที่มีเกียรติ เป็ นสถาบนั ที่ทาหนา้ ที่ค้าประกนั ความกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจของบา้ นเมือง แต่
ในความเป็นจริงแลว้ มนั หาเป็นเช่นน้นั ไม่ แต่มนั เป็ นสรวงสวรรคอ์ นั ไม่มีวนั ที่จะสิ้นสุดการเสวยและ
ตกั ตวงเอาประโยชน์ เพราะฉะน้นั ใครหรือครอบครัวใดท่ีมีโอกาสกุมอานาจหรือเป็ นเจา้ ของมนั จะ
โดยวิธีการใดใคร ๆ ก็จะตอ้ งพยายามทากนั จะเห็นได้ว่าหลกั การท่ีเกี่ยวกบั การกระจายกรรมสิทธ์ิ
กิจการธนาคารพาณิชยอ์ อก เพ่ือมิให้ตกอยู่ในกามือของกลุ่มคน หรือครอบครัวใด เพราะจะทาให้
อิทธิพลทางการเงินท่ีตกอยใู่ นมือกลุ่มคนหรือครอบครัวทาความเสียหายใหแ้ ก่เศรษฐกิจได้

5.4 คน (man power) ในการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร จะตอ้ งมีคนหน่ึงเป็ นผทู้ า
และผู้บริ หารที่มีความรู้และความสามารถในทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ รวมท้ัง
ประสบการณ์นามาประยุกต์ใช้เพ่ือให้เกิดผลผลิตท่ีตอ้ งการจากวตั ถุดิบ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ และ
เคร่ืองจกั รกลที่มีอยูข่ ีดความสามารถของคนผูท้ าและบริหารงานเหล่าน้ีจะมีผลกระทบถึงวิธีการผลิต
คุณภาพของผลผลิต ประสิทธิภาพในการผลิตและการจดั การดา้ นการตลาดของผลิตภณั ฑด์ ว้ ย นอกจาก

เจา้ หนา้ ท่ีเทคนิคและเจา้ หนา้ ที่บริการแลว้ ในการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรยงั ตอ้ งการคนงานเพื่อ
ช่วยในดา้ นการผลิต คนงานเหล่าน้ีจะตอ้ งมีความชานาญและมีประสบการณ์ที่สามารถทางานร่วมกบั
เครื่องจกั รกลได้ ทาใหเ้ กิดผลผลิตท้งั ดา้ นคุณภาพและปริมาณท้งั เจา้ หนา้ ที่เทคนิคและคนงาน จะกล่าว
ร่วมกนั ไดว้ า่ เป็นทรัพยากรมนุษยแ์ ละกาลงั คน (human resources and manpower) ซ่ึงเป็ นปัจจยั สาคญั
อนั หน่ึงของการผลิตผลิตภณั ฑ์ ถา้ จะพิจารณาถึงการผลิตในระบบเศรษฐกิจจะพบวา่ ปัจจยั การผลิตท้งั
ส่ีประการ กล่าวคือ ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ แรงงาน ทุน และผูป้ ระกอบการ มนุษย์เป็ น
องค์ประกอบของปัจจยั การผลิตสองในส่ีประการข้างต้น คือ เป็ นท้งั แรงงานและผูป้ ระกอบการ
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ส่วนท่ีสาคญั ที่สุดในการผลิตของระบบเศรษฐกิจ คือ แรงงานน้นั มีบทบาทสาคญั ย่งิ
ต่อการพฒั นาการเศรษฐกิจโดยตรง ดงั น้นั เมื่อพิจารณาในแง่อุปทานของปัจจยั การผลิตของระบบ

เศรษฐกิจ มนุษยจ์ ึงเป็ นอุปทานของปัจจยั การผลิตของระบบเศรษฐกิจดว้ ย เช่นเดียวกบั ทรัพยากรหรือ
ปัจจยั การผลิตอื่น ๆ ทรัพยากรมนุษยซ์ ่ึงเป็ นปัจจยั หน่ึงของการผลิตน้ี จึงตอ้ งไดร้ ับการปรับปรุงและ
พฒั นาให้ดีย่ิงข้ึน ท้งั ในดา้ นคุณภาพและปริมาณ เพ่ือเร่งประสิทธิภาพในการผลิตหรือเร่งเพิ่มปริมาณ
ผลผลิตของระบบเศรษฐกิจโดยเฉพาะในประเทศกาลงั พฒั นา เช่น ประเทศไทย

การที่จะมีทรัพยากรมนุษยท์ ่ีมีคุณภาพและปริมาณพอเพียงสาหรับการอุตสาหกรรมเกษตรน้นั
จาตอ้ งมีการวางแผนในการใหก้ ารศึกษาและฝึ กอบรมในระดบั ต่าง ๆ ท้งั ของรัฐบาลและของโรงงาน
อุตสาหกรรมเกษตรเอง รัฐบาลซ่ึงมีหนา้ ท่ีในการใหก้ ารศึกษาแก่ประชาชนอยแู่ ลว้ จึงมีหนา้ ที่วางแผน
การศึกษาในสาขาวิชาชีพที่สนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตรในระดบั ต่าง ๆ เพิ่มข้ึนจากการศึกษาภาค
บงั คบั สาหรับประชาชนทว่ั ไป โดยเฉพาะการให้การศึกษาในระดบั อุดมศึกษาและอาชีวศึกษา แต่
การศึกษาท่ีใหแ้ ก่ประชาชน เพื่อก่อใหเ้ กิดกาลงั คนท่ีมีคุณภาพน้นั จะตอ้ งจดั การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั
วตั ถุประสงค์ของการใช้กาลังคน ด้วยการจดั หลักสูตรการศึกษาให้เหมาะสมที่จะให้ท้ังความรู้
ประสบการณ์พอเพียง ที่จะนาไปใชง้ านได้ ส่วนในดา้ นฝึ กอบรมก็เพื่อจะให้เกิดแรงงานฝี มือ หรือ
คนงานฝี มือ สาหรับการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตรให้มีประสิทธิภาพ ซ่ึงเป็ นหนา้ ท่ีของรัฐบาล
และโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรเองที่จะดาเนินการฝึ กอบรมคนงานเหล่าน้ันในการดาเนินงาน
อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่ จะมีหน่วยงานที่ฝึ กอบรมคนงานและเจา้ หน้าที่ของโรงงานท้งั ดา้ น
วิธีการผลิต การควบคุมคุณภาพ และดา้ นการจัดจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ จะเกิดปัญหาด้านการฝึ กอบรม
คนงานเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดกลางท่ีไม่มีขีดความสามารถพอท่ีจะดาเนินการ
ฝึกอบรมคนงานและเจา้ หนา้ ท่ีของตนเอง จึงตอ้ งพ่ึงหน่วยงานของรัฐบาล หรือสถาบนั การศึกษา หรือ
สถาบนั การศึกษาวชิ าชีพเป็ นผดู้ าเนินการให้ตามแต่โอกาสจะอานวย ซ่ึงเป็ นปัญหาของโรงงานขนาด
เล็กและขนาดกลางในการท่ีจะมีคนงานฝี มือทดั เทียมโรงงานขนาดใหญ่ ตามปกติแลว้ การฝึ กอบรมน้นั
เป็ นที่หวงั ไดว้ า่ จะส่งผลในทางยกระดบั ประสิทธิภาพในการผลิตในอนาคต หรือยกระดบั คุณภาพของ
เจา้ หน้าท่ีหรือคนงานน้นั จึงเป็ นที่น่าสังเกตว่า เมื่อเจา้ หน้าที่หรือคนงานมีความรู้และทกั ษะหรือมี
คุณภาพสูงข้ึนจากการที่ไดร้ ับการฝึกอบรมแลว้ น้นั เจา้ หนา้ ท่ีและคนงานเหล่าน้นั จะทาประโยชน์ให้แก่
โรงงานดว้ ยการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไดม้ ากเพียงใดและนานเท่าใด และถา้ ปรากฏวา่ ภายหลงั
จากที่ รับการฝึ กอบรมแลว้ คนงานเหล่าน้ีลาออกไปทางานในโรงงานอื่นหรือหน่วยธุรกิจอื่น ทาให้
โรงงานเดิมหรือหน่วยธุรกิจเดิมไม่ไดร้ ับผลตอบแทนใด ๆ และกลบั เสียประโยชน์ไปอีกดว้ ย ดงั น้นั
เรื่องคน จึงมิใช่เพียงมีคนท่ีมีคุณภาพดา้ นวิชาการ เทคโนโลยี และประสบการณ์เท่าน้นั จะตอ้ งมีคนที่มี
คุณธรรมและความภกั ดีต่อหน่วยงานดว้ ย

เทียนฉาย กีระนนั ท์ (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 60 ; อา้ งอิงมาจาก ยอดธง ทบั ทิวไม.้ 2529)
กล่าวถึง คุณภาพของทรัพยากรมนุษยไ์ วว้ า่ นกั เศรษฐศาสตร์หลายท่านไดม้ องขา้ มความสาคญั ของ
คุณภาพของกาลงั คนน้ีไปเสีย ท้งั ๆท่ีคุณภาพของกาลงั คนน้ีจะยงั ผลโดยตรงต่อการผลิตของระบบ
เศรษฐกิจ ท้ังน้ีในทางเศรษฐศาสตร์จะนิยาม “คุณภาพของกาลังคน” เก่ียวถึงผลิตภาพหรื อ

ประสิทธิภาพในการผลิต การที่คุณภาพของกาลงั คนอยใู่ นระดบั ต่าจะหมายถึงส่งผลผลิตเฉล่ียต่อคน
น้นั อยใู่ นระดบั ต่ากว่าท่ีควร นกั เศรษฐศาสตร์หลายท่านกลบั มองขา้ มประเด็นน้ี และหนั ไปพิจารณา
การยกระดับประสิทธิภาพในการผลิต และเพ่ิมปริมาณผลผลิตด้วยการเร่งประสิทธิภาพของทุน
กายภาพ ที่ดิน และเทคนิคสมยั ใหมต่ ่าง ๆ การเพ่มิ ประสิทธิภาพในการผลิตของทุนกายภาพ ที่ดินและ
เทคโนโลยีต่าง ๆ น้ันจะเป็ นทางหน่ึงท่ีอาจส่งผลให้ผลิตผลเพิ่มข้ึนและประสิทธิภาพในการผลิต
โดยทวั่ ไปสูงข้ึนก็จริง แต่ก็ปรากฏในหลายกรณีและบ่อยคร้ังดว้ ย วา่ การผลิตน้นั ๆ ทาไปไดไ้ ม่เต็มท่ี
หรือทาการผลิตออกไม่ได้ เพราะเหตุวา่ แรงงานมีคุณภาพต่า ตวั อยา่ งเช่น ในเรื่องการใชเ้ ครื่องมือกล
และเครื่องจกั รต่าง ๆ กาลงั คนท่ีขาดคุณภาพไม่อาจใชป้ ระโยชน์จากส่ิงเหล่าน้นั ได้ เพราะเครื่องมือกล
และเคร่ืองจกั รเหล่าน้ันเป็ นความริเริ่มของประเทศพฒั นาแล้ว และไดน้ ามาใช้ในประเทศดว้ ยการ
พฒั นาในรูปของ “การยกเอาเทคโนโลยเี ขา้ ใชท้ ้งั ชุด” (imported technology) ท้งั ทีการบารุงรักษาและ
การแกไ้ ขเมื่อเคร่ืองมือกลและเครื่องจกั รน้นั ชารุดก็อาจจะทาเองไม่ได้ ตน้ ทุนที่อยนู่ อกการคาดคะเน
เหล่าน้ี ที่มีผลใหต้ น้ ทุนการผลิตสูงเกิดความจาเป็น และยงั ส่งผลใหก้ ารผลิตโดยเฉลี่ยตอ่ คนต่าลงดว้ ย

คุณภาพของคนจึงเป็ นส่ิงสาคัญ ซ่ึงเกี่ยวโยงไปถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่คนต้องมีส่วนร่วม
โดยเฉพาะคนท่ีจะตอ้ งทาหนา้ ที่บริหารงาน อุทยั หิรัญโต (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 61 ; อา้ งอิงมาจาก
อุทยั หิรัญโต. 2525) ไดก้ ล่าวถึงลกั ษณะของคนที่มีคุณภาพไวด้ งั น้ี

ลกั ษณะคนท่ีมีคุณภาพตอ้ งมีองค์ประกอบ 9 ประการ ซ่ึงถือว่าเป็ นลกั ษณะของคนที่โลก
ตอ้ งการ ประเทศชาติถา้ มีประชากรท่ีมีลกั ษณะครบเช่นน้ี จะสามารถพฒั นาประเทศไดอ้ ย่างรวดเร็ว
คนที่มีคุณภาพควรตอ้ งมีลกั ษณะเด่นดงั น้ี

1. รู้จกั ใชค้ วามคิดอยา่ งมีจุดหมายปลายทาง รู้จกั ใชส้ มองในการทางาน มีความคิดริเริ่ม
ท่ีแปลกและใหม่อยเู่ สมอ การรู้จกั คิดน้นั จะตอ้ งมีจุดหมายดว้ ย เพราะหากไม่มีจุดหมายก็จะกลายเป็ น
คนสร้างวมิ านในอากาศ หรือเฟ้ อฝันลม ๆ แลง้ ๆ ซ่ึงเป็นลกั ษณะของคนดอ้ ยคุณภาพ

2. เป็นคนที่สามารถคาดคะเนเหตุการณ์ภายหนา้ ได้ ซ่ึงหมายความวา่ เม่ือไดพ้ ิจารณาตาม
สภาพขอ้ เทจ็ จริง ประกอบกบั ความรู้และประสบการณ์แลว้ กจ็ ะสามารถคาดคะเนเหตุการณ์ภายหนา้ ได้
อยา่ งถูกตอ้ งหรือใกลค้ วามจริงมาก นอกจากน้ียงั หมายความรวมถึงความสามารถในการวางแผนและ
ปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามแผนดว้ ย

3. เป็นผทู้ ่ีสามารถดาเนินกิจการท่ียงุ่ ยากสลบั ซบั ซอ้ นได้ คือเป็นผมู้ ีความสามารถในการ
ทางานใหญ่ ซ่ึงโดยทว่ั ไปผทู้ างานชนิดน้ีได้ จะตอ้ งเป็นผมู้ ีสติปัญญาดี

4. เป็ นคนซ่ึงพร้อมจะรับฟังและพยายามทาความเขา้ ใจความคิดเห็นของผอู้ ่ืน คือ เป็ น
คนที่มีใจเปิ ดกวา้ ง และมีทรรศนะกวา้ งไกล ไม่สาคญั วา่ ตนมีความรู้ดีกวา่ ผอู้ ื่น

5. เป็นผมู้ ีความชานาญในการติดตอ่ สมั พนั ธ์กบั คนอ่ืน ทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
และเขา้ กบั คนอ่ืนได้

6. เป็ นผมู้ ีระเบียบวนิ ยั มีพฤติกรรมอยใู่ นระเบียบแบบแผน และกฎขอ้ บงั คบั ของสังคม
ปฏิกิริยาที่แสดงออกอยใู่ นเกณฑส์ ังคมไวว้ างใจและยอมรับ

7. เป็ นผมู้ ีความรับผิดชอบสูง เม่ือไดร้ ับมอบหมายให้ทางานหรือรับผิดชอบในเร่ืองท่ี
มอบหมาย จะมีความสานึกในภาระหนา้ ท่ี และรับผดิ ชอบต่อการกระทาของตนเองโดยไม่ตอ้ งให้ผใู้ ด
มาควบคุมบงการซ่ึงตรงกนั ขา้ มกบั คนท่ีดอ้ ยคุณภาพ ซ่ึงนอกจากไม่ตอ้ งการรับผิดชอบ ยงั โยนความ
รับผดิ ชอบของตนไปใหผ้ อู้ ื่น

8. เป็ นคนเช่ือมนั่ ตนเอง พ่ึงพาตนเอง และมีจิตใจมนั่ คง ตอ้ งการไดร้ ับความสาเร็จใน
การงานจากการกระทาของตนเอง

9. เป็นผแู้ สวงหาความรู้และรู้จกั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ คนมีคุณภาพ มกั ชอบอ่าน
หนงั สือ ชอบทางาน และชอบดดั แปลงแกไ้ ข

ทุกหน่วยงานตอ้ งการคนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมกบั งานที่ทาซ่ึงทาให้มุ่งคดั เลือกรับเฉพาะคน
เก่งเท่าน้นั ซ่ึงยงั ไมเ่ พยี งพอ คนที่มีคุณภาพเหมาะสมงานจะตอ้ งเป็นท้งั คนเก่งและคนดี ลกั ษณะของคน
เก่งและคนดีมีดงั น้ี

คนเก่ง คือคนท่ีเป็นเลิศทางวชิ าการซ่ึงไมเ่ ห็นแก่ตวั ไมน่ าความรู้ไปใชใ้ นทางท่ีผดิ
เอารัดเอาเปรียบคดโกง หรือประกอบกิจกรรมท่ีเป็ นภยั แก่สังคมแก่ประเทศชาติ คนเก่งจะตอ้ งมีความ
โอบออ้ มอารี มีความเห็นอกเห็นใจกนั

คนดี คือคนท่ีไม่เบียดเบียนตวั เอง ไม่เบียดเบียนผอู้ ื่น รักกนั ช่วยเหลือกนั ให้ทุกคนหมด
ทุกข์ หมดปัญหาโดยประการท้งั ปวง คนดีจะตอ้ งรู้จกั ข่มใจตนเอง มีความอดทนอดกล้นั และอดออม
มีความกตญั ญูกตเวที และจะตอ้ งรู้จกั ละวางความชวั่

5.5 การจดั การ (Management) การจดั การหรือการบริหารงาน เป็ นอีกปัจจยั ท่ีสาคญั
ปัจจยั หน่ึงของการดาเนินการอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร ซ่ึงมีวิธีการ
บริหารงานหรือการจดั การที่แตกต่างไปจากอุตสาหกรรมชนิดอื่นๆ อยหู่ ลายประการ เช่นการจดั การ
เก่ียวกบั วตั ถุดิบ ต้งั แต่การวางแผนการผลิตวตั ถุดิบให้ไดป้ ริมาณและมีคุณภาพตามที่ตอ้ งการ การ
กาหนดวนั ปลูกวนั เก็บเกี่ยว กาหนดเน้ือท่ีสาหรับการเก็บเก่ียวให้ไดว้ ตั ถุดิบปริมาณพอป้ อนโรงงาน
ตอ่ เนื่องกนั ไปใหน้ านท่ีสุดเทา่ ท่ีฤดูกาลผลิตวตั ถุดิบจะอานวยให้ การกาหนดวธิ ีการปฏิบตั ิหลงั การเก็บ
เก่ียวของวตั ถุดิบ และการเก็บเกี่ยววตั ถุดิบก่อนนาเขา้ แปรรูป โดยให้สัมพนั ธ์กบั การวางแผนการผลิต
ของโรงงาน ฯลฯ การจดั การหรือการบริหารงานยงั เก่ียวโยงไปถึงเรื่องการจดั ระเบียบ และกาหนด
รูปแบบงาน การควบคุมการผลิต การคดั เลือกบุคคลเขา้ ประจาหนา้ ท่ีใหถ้ ูกตอ้ ง และการเก็บรักษาไว้
ซ่ึงความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างคนงานและนายจ้าง การสวสั ดิการ ฯลฯ อันจะช่วยให้การผลิตมี
ประสิทธิภาพสูงข้ึนโดยประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย รวมท้งั การหาตลาดจาหน่ายผลิตภณั ฑด์ ว้ ย

อุตสาหกรรมเป็ นเร่ืองของการผลิตท่ีเกี่ยวข้องด้วยวสั ดุที่ใช้ในการผลิต การทาให้เป็ น
ผลิตภณั ฑ์สาเร็จรูป การใช้เคร่ืองจกั รโดยมีคนงานเป็ นผคู้ วบคุมและมีนายงานที่สัมพนั ธ์กบั คนงานท้งั
ในการส่งั การ และในการควบคุมการผลิตใหเ้ ป็นไปตามเป้ าหมาย หรือนโยบายที่ไดก้ าหนดไว้
อุตสาหกรรมจะเจริญกา้ วหนา้ และดารงอยไู่ ดโ้ ดยมีกาไรข้ึนอยกู่ บั ประสิทธิภาพของการผลิต คือจะตอ้ ง
ผลิตใหไ้ ดผ้ ลิตภณั ฑต์ ามปริมาณ และระยะเวลาท่ีกาหนด ผลิตภณั ฑ์ท่ีไดม้ ีคุณภาพตามที่ตลาดตอ้ งการ
ตน้ ทุนการผลิตต่า สามารถแขง่ ขนั กบั เวลา ตลาดไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง อุตสาหกรรมน้นั ก็เป็ นธุรกิจอยา่ ง
หน่ึง ตอ้ งดาเนินการโดยเส่ียงกบั การไดก้ าไร และการแข่งขนั กบั ราคาในตลาด ตอ้ งดาเนินการติดต่อ
สัมพนั ธ์กับธุรกิจอ่ืน ๆ ธุรกิจท้งั หลายยึดเหนี่ยวซ่ึงกันและกัน โดยการซ้ือกันบ้างขายกันบ้าง
แลกเปล่ียนกนั บา้ ง อุตสาหกรรมมิใช่มีหน้าที่แต่เพียงอยา่ งเดียวจะตอ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกิจอ่ืน ๆ ดว้ ย
เช่น ตอ้ งจดั ซ้ือวตั ถุดิบเพอื่ มาทาการผลิต ตอ้ งจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตไดใ้ หแ้ ก่ผบู้ ริโภค หรือธุรกิจ
อ่ืน ตอ้ งมีการติดตอ่ กบั สถาบนั การเงินในการดาเนินงานหรือเพ่ือการกูย้ ืมมาลงทุน มีการใชบ้ ริการเพ่ือ
การติดต่อส่ือสาร และตอ้ งพ่ึงสาธารณูปโภคต่าง ๆ เพ่ือการดาเนินงาน ดงั น้นั จึงจาตอ้ งวางนโยบาย
และมีแผนงานกาหนดไวล้ ่วงหน้าอย่างละเอียดถูกตอ้ ง และจดั การให้ช่วงการผลิตตามระยะต่าง ๆ
ดาเนินไปโดยไม่ติดขดั เป็นระเบียบ ต่อเนื่องกนั โดยไม่มีการหยดุ ชะงกั ทาใหเ้ สียเวลา

ฝ่ ายจดั การหรือฝ่ ายบริหาร มีหนา้ ท่ีในการจะสั่งการใหป้ ฏิบตั ิตามแผนงานที่กาหนดไว้ และ
ควบคุมการปฏิบตั ิงานให้มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน แก้ไขปัญหา
ขอ้ ขดั ขอ้ งต่าง ๆ ของการดาเนินงาน ฝ่ ายจดั การจึงจะตอ้ งมีท้งั ความรู้มีประสบการณ์หลายดา้ นและมี
ความสามารถในการบริหารงาน ท้งั ในดา้ นการใช้หลกั การทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการ
บริหารงานและในดา้ นการบริหารงานบุคคล

การบริหารงานแบบน้ีก่อใหเ้ กิดผลแก่อุตสาหกรรมตา่ ง ๆ มาก ทาใหส้ ามารถเพิม่ ปริมาณการ
ผลิตไดส้ ูงข้ึนและลดค่าใชจ้ ่ายในการผลิตลง ท้งั ยงั สามารถจา่ ยค่าแรงคนงานไดส้ ูงกวา่ เดิม ทาให้งานมี
ความเต็มใจทางานและสนใจในงานที่ทา ท้ังยงั สร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างฝ่ ายบริหารกับ
ผปู้ ฏิบตั ิงาน เพราะสามารถตกลงในเร่ืองค่าจา้ งแรงงานได้อย่างยุติธรรมจากวิธีการปฏิบตั ิงานที่ได้
กาหนดมาตรฐานไวแ้ ลว้ ผลดีเกิดข้ึนท้งั ฝ่ ายโรงงานและฝ่ ายคนงาน ฝ่ ายโรงงานหรือฝ่ ายนายจา้ ง จะ
ไดผ้ ลิตผลมากข้ึนและแน่นอนทาให้มีกาไรเพ่ิมข้ึน ท้งั ยงั สามารถตดั ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการผลิตท่ีไม่
จาเป็ นทาให้สามารถนาค่าใชจ้ ่ายส่วนน้ีไปเพิ่มเป็ นค่าแรงให้แก่คนงานดี สามารถลดการควบคุมการ
ปฏิบตั ิงานลงเพราะมีวธิ ีการปฏิบตั ิเป็นมาตรฐานไวแ้ ลว้ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนงานและนายจา้ งดีข้ึน
การขดั แยง้ ต่าง ๆ นอ้ ยลง คนงานมีความพอใจและเต็มใจทางานให้เต็มที่ ไดค้ นงานท่ีมีความชานาญ
เพราะมีการเปล่ียนงานนอ้ ย สามารถควบคุมความประพฤติในการทางานของคนงานไดเ้ พราะมีประวตั ิ
การทางานท่ีแน่นอน ทางฝ่ ายคนงานมีผลดีในการที่ทาให้การเคล่ือนไหวร่างกายต่าง ๆ ท่ีทาให้การ
เคล่ือนไหวร่างกายต่าง ๆ ที่ทาให้ความเหน็ดเหน่ือยน้อยลง ไม่ต้องทางานที่เกินกาลังและขีด
ความสามารถของตน ทาให้สุขภาพไม่เส่ือม ไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการทางาน มีวิธีปฏิบตั ิงาน

ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระเบียบ ไมต่ อ้ งรับภาระมากเกินไป เกิดความชานาญในงานที่ทาอยู่ เพราะทาแต่เพียง
ส่วนเดียวเป็ นประจา ทาให้งานที่ทามีคุณภาพสูง มีการผิดพลาดตาหนิน้อยหรือไม่มีเลย ทางานได้
ผลงานมากข้ึน และได้รับค่าตอบแทนเพ่ิมข้ึนตามคุณภาพและปริมาณของงานที่ตนทา ทาให้
เสถียรภาพในการทางาน ยงิ่ ทางานนานเขา้ ก็ยงิ่ มีความชานาญมากข้ึนจนกลายเป็ นคนงานฝี มือ (Skilled
Worker)

สมภพ เจริญกุล (นฤดม บุญ-หลง. 2532 : 66 ; อา้ งอิงมาจาก ยอดธง ทบั ทิวไม.้ 2529)
กล่าววา่ การเพม่ิ ผลผลิตอุตสาหกรรม ตอ้ งผลิตใหไ้ ดเ้ ร็วเพ่ือครองตลาดใหไ้ ดก้ ่อน ตอ้ งผลิตให้ไดม้ าก
เพื่อให้ตน้ ทุนต่า ต้องขายออกไปได้มากและเร็ว เพื่อเอากาไรจากการหมุนเวียน ฝ่ ายจดั การจึงมี
บทบาทมาก ตอ้ งเพิ่มผลผลิตในทรัพยากรทุกอยา่ งของกิจการให้มากและดีที่สุด เร่ิมต้งั แต่การจดั ซ้ือ
การผลิต การจดั จาหน่าย การต้งั ราคาและการรักษาตลาด การที่จะเพ่ิมผลผลิตให้ไดอ้ ย่างรวดเร็วและ
จริงจงั จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับความช่วยเหลือจากทุก ๆ ฝ่ ายท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น การเพ่ิมผลผลิตในโรงงานจะ
ไดผ้ ล ตอ้ งให้เจา้ ของ ผบู้ ริหารทุกระดบั และคนงานทุกคน มีความสานึกและตื่นตวั ท่ีจะร่วมมือกนั
เพิ่มผลผลิตอยา่ งจริงจงั การเพ่ิมผลผลิตจะเป็นเคร่ืองวดั ความเจริญและกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจและสังคม
ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ในโลกน้ีทุกคนและทุกประเทศจะตอ้ งแข่งขนั กนั ในการเพิ่มประสิทธิผลในธุรกิจทุก
อยา่ ง เพอื่ เอาชนะกนั และเพ่ือความมงั่ คงั่ และความยิ่งใหญ่ของตน ธุรกิจจะอยรู่ อดไดจ้ าเป็ นตอ้ งพฒั นา
คาสองคาใหเ้ กิดข้ึน นน่ั คือ “ฝีมือ” และ “คุณภาพ” ส่ิงเหล่าน้ีจะแสดงออกมาในรูปการเพ่มิ ผลผลิต

จะเห็นวา่ การจดั การหรือการบริหารงานของการอุตสาหกรรมเกษตรเป็ นสิ่งท่ีจะตอ้ งเรียนรู้ มี
ประสบการณ์และมีความสามารถ มิฉะน้นั จะทาใหก้ ารดาเนินงานไมม่ ีประสิทธิภาพ เป็ นผลให้เกิดการ
ขาดทุน ดงั ตวั อยา่ งการบริหารงานของรัฐวสิ าหกิจของรัฐบาลในปัจจุบนั ความหมายของรัฐวสิ าหกิจมี
บญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ.2502 หมายถึง องคก์ ารของรัฐบาลหรือหน่วยงาน
ธุรกิจท่ีรัฐบาลเป็ นเจ้าของรวมท้งั บริษัทจากัดและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีส่วนราชการและหรือ
รัฐวิสาหกิจมีหุ้นอยู่ด้วยเกินร้อยละ 50 รัฐวิสาหกิจของรัฐบาลในปัจจุบนั มีอยู่ 74 แห่ง มีท้ัง
รัฐวสิ าหกิจประเภทผกู ขาด เช่น โรงงานยาสูบ องคก์ ารสุรา และโรงงานไพ่ เป็ นตน้ มีท้งั รัฐวิสาหกิจ
ประเภทก่ึงผกู ขาด เช่น องคก์ ารอุตสาหกรรมป่ าไม้ องคก์ ารเช้ือเพลิง ซ่ึงไดร้ วมเขา้ กบั องคก์ ารปิ โต
เลียมแห่งชาติ รัฐวสิ าหกิจประเภทสาธารณูปโภค เช่น การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย การรถไฟ
แห่งประเทศไทย องค์การสื่อสารและโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย เป็ นตน้ รัฐวิสาหกิจประเภท
บริษทั จากดั ซ่ึงเสียภาษีการคา้ และภาษีเงินไดน้ ิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร เช่น บริษทั เดินอากาศไทย
บริษทั การบินไทย และรัฐวิสาหกิจประเภทอุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่น องค์การทอผา้ องค์การแก้ว
องคก์ ารส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย ฯลฯ

5.6 เครื่องจกั รอุปกรณ์ (Machinery) ในการดาเนินการแปรรูปวตั ถุดิบเกษตรจานวนมาก
เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลิตภณั ฑท์ ี่มีคุณภาพ ราคา และปริมาณตามกาหนดน้นั จาเป็ นตอ้ งใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์หรือ
เครื่องจกั รกลช่วย เพ่ือให้ไดผ้ ลิตภณั ฑ์ตามตอ้ งการภายในระยะเวลากาหนด เครื่องมืออุปกรณ์หรือ

เคร่ืองจกั รกลท่ีใช้จะตอ้ งสามารถทางานได้ตามท่ีตอ้ งการ โดยสูญเสียท้งั ปริมาณและคุณภาพของ
วตั ถุดิบนอ้ ยท่ีสุด ท้งั จะตอ้ งปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิทธิภาพดว้ ย เครื่องมืออุปกรณ์หรือเคร่ืองจกั รกล
เหล่าน้ี มนุษยเ์ ป็นผปู้ ระดิษฐค์ ิดคน้ ข้ึนมา และเป็นผคู้ วบคุมการปฏิบตั ิงานผลงานที่เกิดข้ึนจะดีหรือเลว
เพียงใดยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณ์ส่วนหน่ึงและอีกส่วนหน่ึงอยูก่ บั การควบคุม
ในการปฏิบตั ิงาน

การจะใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์หรือเคร่ืองจกั รกลชนิดไหนอยา่ งไรเพื่อแปรรูปวตั ถุดิบน้นั ข้ึนอยู่
กบั กรรมวิธีในการแปรรูป (Methods of Processing) และจุดประสงค์ของการผลิตผลิตภณั ฑ์และ
จะตอ้ งคานึงถึงตน้ ทุนในการผลิตดว้ ย เพราะจะเกี่ยวขอ้ งไปถึงราคาจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ เช่นตอ้ งการจะ
ทาผลิตภณั ฑก์ ลว้ ยตาก อาจทาการแปรรูปไดห้ ลายวธิ ี เช่นการตากแดด (Sun Drying) ใชต้ ูอ้ บแสงแดด
(Solar Dehydration) การใช้ลมร้อนเป่ า (Mechanical Drying) หรืออาจใช้วิธีอื่น ๆ อีก เมื่อเลือก
กรรมวิธีในการแปรรูปท่ีเหมาะสมไดแ้ ลว้ ตอ้ งเลือกเครื่องมือและอุปกรณ์ในการแปรรูปให้ถูกตอ้ ง
นามาจดั ต้งั ต่อเนื่องกนั ตามลาดบั การปฏิบตั ิงานเพ่ือให้วตั ถุผา่ น (Flow) ไปตามลาดบั ของกรรมวิธีการ
แปรรูปโดยไม่เกิดการชะงกั งนั จนสุดทา้ ยจะไดผ้ ลิตภณั ฑ์ที่การแปรรูปเสร็จแลว้ (Finished Products)
นาไปจดั จาหน่ายต่อไป ดงั แสดงในภาพท่ี 3.8

ภาพที่ 3.8 Corn-Flakes-Making-Machine
ท่ีมา : http://www.made-in-china.com/image/2f0j00PBMQFirmAGuyM/Corn-Flakes-Making-

Machine.jpg, วนั ท่ี 6 มีนาคม 2552.

นอกจากจะใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์หรือเคร่ืองจกั รกลไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพแลว้ ยงั จะตอ้ งรู้จกั
การบารุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณ์เหล่าน้นั ดว้ ย โดยเฉพาะอุปกรณ์พวก
มาตรวดั ต่าง ๆ เช่น มาตรวดั ความดนั ไอน้า เครื่องช่ัง เครื่องวดั อุณหภูมิ เป็ นต้น ชิ้นส่วนของ
เครื่องมืออุปกรณ์การแปรรูปที่มีอายุการใช้งาน จะต้องตรวจสอบและเปล่ียนชิ้นส่วนอะไหล่ตาม
กาหนด เครื่องมือและอุปกรณ์หรือเครื่องกลในการแปรรูปท่ีใชอ้ ยูใ่ นปัจจุบนั จะเป็ นชนิดก่ึงอตั โนมตั ิ

หรือชนิดอตั โนมตั ิ เช่น เคร่ืองผนึกกระป๋ องอาหาร (Can Seamer) จะเกิดปัญหาในการผลิตอยเู่ สมอ
เนื่องจากความไม่สม่าเสมอของวตั ถุดิบและมกั จะทาใหก้ ารผลิตเกิดการชะงกั งนั ข้ึนได้

การจดั หาเคร่ืองมืออุปกรณ์หรือเครื่องจกั รกลในการแปรรูปวตั ถุดิบเกษตรทาไดย้ ากและตอ้ ง
ใชเ้ วลา เพราะเคร่ืองมือและอุปกรณ์เหล่าน้ีจะตอ้ งถูกส่ังสร้างข้ึนมาใหม่ให้ตรงกบั ความตอ้ งการใชง้ าน
ตอ้ งใช้เวลาและจะตอ้ งมีความรู้ซ่ึงเป็ นขอ้ จากดั ของผูบ้ ริหารงานอุตสาหกรรมเกษตร หรือนักธุรกิจ
อุตสาหกรรม จะเห็นไดว้ ่าในตอนเริ่มแรกดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรของรัฐบาล ด้วยการจดั ต้งั
โรงงานน้าตาลทรายข้ึนที่เกาะคา จงั หวดั ลาปาง และที่จงั หวดั อุตรดิษฐ์น้นั ไดซ้ ้ือโรงงานเก่ามาติดต้งั
ผลิตใหม่ และวธิ ีเช่นน้ีก็ยงั เป็ นที่นิยมปฏิบตั ิของนกั ธุรกิจอุตสาหกรรมเพราะสามารถตรวจสอบไดว้ ่า
เครื่องมืออุปกรณ์เหล่าน้นั สามารถให้ผลิตไดจ้ ริง ๆ แทนที่จะส่ังสร้างเคร่ืองมืออุปกรณ์ใหม่ตามความ
ตอ้ งการซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีทนั สมยั มีประสิทธิภาพสูงกวา่ เพราะไมม่ น่ั ใจวา่ เครื่องมืออุปกรณ์จะสามารถ
ผลผลิตภณั ฑ์ได้ตามต้องการ เคร่ืองมืออุปกรณ์หรือเคร่ืองจกั รกลเหล่าน้ีมีราคาแพงและไม่มีผลิต
ออกวางจาหน่ายจะสร้างข้ึนเฉพาะตามที่มีผสู้ ง่ั จองเท่าน้นั ทาใหผ้ ปู้ ระกอบธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ไม่สามารถจะจดั หามาใชไ้ ดจ้ ึงจาเป็ นตอ้ งจดั สร้างข้ึนเองโดยช่างในทอ้ งถ่ิน และดดั แปลงใชอ้ ุปกรณ์
หรือเครื่องมืออะไหล่ต่าง ๆ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงจะเป็ นทางให้เกิดการพฒั นาการสร้างเครื่องมือ
อุปกรณ์การแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตรข้ึนได้

สรุป
การดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตรมีหลกั การพ้นื ฐานเช่นเดียวกบั ธุรกิจอ่ืนอยู่ 2 ประการ คือ

การดาเนินงานจาตอ้ งไม่หยุดชะงกั และจะตอ้ ทาให้ธุรกิจท่ีทามีความเจริญกา้ วหน้า การดาเนินการ
อุตสาหกรรมเกษตรมีหลกั การที่แตกต่างไปจากอุตสาหกรรมอื่นเกี่ยวกบั วตั ถุดิบ เครื่องจกั รกล การ
แปรรูปและเก็บรักษา การจดั การควบคุมคุณภาพ อุตสาหกรรมเกษตรจึงแบ่งส่วนของการดาเนินงาน
อุตสาหกรรมเกษตรออกเป็ น 4 ส่วน คือการจดั หาหรือผลิตวตั ถุดิบ การแปรรูปวตั ถุดิบ การจดั การ
ของเหลือและผลพลอยได้ การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ นอกจากน้ันยังมีการจัดหน่วยงานของ
อุตสาหกรรมเกษตรข้ึน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานลุล่วงไดด้ ว้ ยดีสาเร็จตามเป้ าหมาย โดยอาศยั ปัจจยั ต่าง ๆ
ในการดาเนินการ เช่นวตั ถุดิบ เงินทุน แรงงาน เคร่ืองจกั รกล การตลาด และการจดั การ

เอกสารอ้างองิ

กรมอาชีวศึกษา. การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบนั พฒั นาครูอาชีวศึกษาร่วมกบั ภาควชิ า
พฒั นาผลิตภณั ฑ์ คณะวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2545.

ชาติประชา สอนกล่ิน. “แนวโนม้ ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตแตงกวาดองแปรรูปในตลาดโลก.”
เคหการเกษตร 32, 6 (มิถุนายน 2551): 167-171.

นฤดม บุญหลง. หลกั การอุตสาหกรรมเกษตร. กรุงเทพฯ: คณะวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั -
เกษตรศาสตร์, 2525.

นฤดม บุญหลง. รายงานสถานการณ์อตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑ์จาก เนือ้ ปลา และผลติ ภณั ฑ์ทะเล.
กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2532.

“มาตรฐานขา้ วโพดฝักอ่อน.” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://web.ku.ac.th/agri/cornxx/corn12.html
2008. (16 February 2009)

วรรณภา เสนาดีและคณะ. “ถอดรหสั มนั สาปะหลงั พืชทองคาใตด้ ิน.” เคหการเกษตร 32, 7
(กรกฎาคม 2551): 71-104.

อทิพฒั น์ บุญเพม่ิ ราศรีและคณะ. “ผกั ผลไมท้ ่ีผคู้ า้ และผบู้ ริโภคตอ้ งการ.” เคหการเกษตร 32, 9
(กนั ยายน 2551): 73-109.

“Machine.” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.made-in-
china.com/image/2f0j00PBMQFirmAGuyM/Corn-Flakes-Making-Machine.jpg
2008. (16 February 2009)

“Portioning system for 8 & 9 piece cutting.” ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
http://www.storkfoodsystems.com/eCache/DEF/592.html. 2008. (19 November 2008)

แบบฝึ กหัดท้ายบท
1. หลกั การดาเนินงานอุตสาหกรรมทว่ั ไปประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง อธิบายประกอบ

……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

2. หลกั การดาเนินงานของอุตสาหกรรมเกษตรมีกี่ขอ้ อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

3. จงบอกจุดประสงคข์ องการแบง่ ส่วนการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

4. จงเขียนแผนภูมิการจดั หน่วยงานอุตสาหกรรมเกษตร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

5. จงบอกปัจจยั ท่ีใชใ้ นการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร พร้อมอธิบายประกอบ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version