คำนำ
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครนายก ได้ดำเนินการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครนายก
พ.ศ. 2563 – 2565 (ฉบับทบทวน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องโดยเฉพาะด้านการศึกษา ทุกระดับ ตลอดจนบริบทของ
จังหวัดนครนายก รวมทั้งการรับฟังความคิดเห็นจากองค์คณะประชาคมการศึกษาจังหวัดนครนายก
ซึ่งประกอบด้วยหัวหน้าส่วนราชการทางการศึกษา องค์คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครนายก
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนภาคเอกชนและภาคประชาสังคม และการประชุมคณะทำงานจัดทำและทบทวน
แผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวดั นครนายก
แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2563 – 2565 (ฉบับทบทวน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
จัดทำขึ้นเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้เป็นกรอบ แนวทางในการจัดการศึกษาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนและ
ประชาชน จังห วัดน ครน ายกให้ เข้าถึงโอกาสทางการศึกษ าและได้ รับบ ริการการศึ กษา อย่างทั่ วถึงแล ะ
มีคุณภาพ รวมท้ังหน่วยงาน และภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องจะได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา
การศึกษาให้บรรลุเป้าหมายของแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล
นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ และการพฒั นาเชิงพ้นื ท่ีจังหวัดนครนายก
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครนายก ขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิง
นายณัฐพงศ์ ศิริชนะ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครนายก
ท่ีให้ความสำคัญ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2563 - 2565
(ฉบับทบทวน) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ฉบับนี้ และหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าแผนดังกล่าวจะเป็นประโยชนต์ อ่ การ
พัฒนาการศึกษาของจงั หวัดนครนายกต่อไป
สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั นครนายก
สารบัญ หน้า
คำนำ 1
บทสรปุ ผ้บู ริหาร 4
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสภาพท่ัวไปของจงั หวัดนครนายก 4
4
1.1 ข้อมูลสภาพทั่วไปของจงั หวดั นครนายก 7
1.2 บริบทที่เกีย่ วข้องกบั การศึกษาจงั หวดั นครนายก 8
1.3 กรอบแนวความคดิ ในการจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวดั นครนายก 12
15
ส่วนท่ี 2 นโยบายทเ่ี กีย่ วข้อง 19
23
2.1 พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา 23
ของพระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 10 24
25
2.2 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
2.3 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 26
2.4 แผนการปฏริ ปู ประเทศ
2.5 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ทีส่ ิบสอง พ.ศ. 2560-2564 32
2.6 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 33
2.7 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี)
2.8 นโยบายความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558-2564) 40
2.9 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค
2.10 ทศิ ทางการพัฒนาพ้ืนทร่ี ะดับภาคตะวนั ออก 46
2.11 นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
49
(รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ)
2.12 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั ท่ี ๑๒ 49
49
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) 49
2.13 ทิศทางการพัฒนาระดบั ภาคสำนักงานศกึ ษาธิการภาค 9 49
2.14 แผนพัฒนาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2561 – 2564 49
(ฉบบั ทบทวนปี พ.ศ. 2562)
2.15 เป้าหมายการพฒั นาท่ียั่งยืนของสหประชาชาติ
(Sustainable Development Goals: SDGs)
2.16 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มดา้ นการศึกษาจงั หวดั นครนายก
สว่ นที่ 3 สาระสำคญั ของแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวัดนครนายก
ฉบบั ทบทวน (พ.ศ. 2563-2565)
วิสยั ทัศน์
พันธกจิ
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
เปา้ ประสงค์
กลยุทธ์
สารบัญ (ตอ่ ) 51
56
ส่วนท่ี 4 โครงการ/แผนงาน และงบประมาณ ทสี่ นบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์
(โครงการหลกั /โครงการรอง)
สว่ นที่ 5 การขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาการศึกษาสู่การปฏิบัติ/
ปจั จยั และเงือ่ นไขความสำเร็จ
ภาคผนวก
คณะผู้จัดทำ
บทสรุปผบู้ รหิ าร
ความจำเปน็ ในการจัดทำแผนพฒั นาการศึกษาจังหวัด
เพ่ือนำมากำหนดแนวคิดของการจดั การศึกษาจังหวัด วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กล
ยุทธ์ รวมทั้งโครงการหลัก โครงการรอง ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์และขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติ โดยมี
สาระสำคญั สรุปไดด้ งั นี้
แนวคิดในการจัดการศึกษาจังหวัดนครนายก ยึดหลักการและนโยบาย ประกอบด้วย พระบรมรา
โชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.
2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายรัฐบาล (พล
เอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558-2564) ยทุ ธศาสตร์การ
พัฒนาภาค ทิศทางการพัฒนาพื้นท่ีระดับภาคตะวันออก นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ทิศ
ทางการพัฒนาระดับภาคสำนักงานศึกษาธิการภาค 9 แผนพัฒนาจังหวัดนครนายก พ.ศ. 2561 – 2564
เปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืนของสหประชาชาติ
วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ของแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครนายก แผนพัฒนาการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี ๑๒
วิสัยทศั น์
ประชาชนนครนายกได้รบั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ เทา่ เทียม และมีคุณภาพชวี ติ ทด่ี ี
แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวดั นครนายก กำหนดยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ ท่ีสอดคล้องกับแนวคิดการ
จดั การศึกษา ดงั นี้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิต และความม่ันคงทางสังคมด้วยความ
เทา่ เทียม มีกลยทุ ธ์ ดงั น้ี
1.1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข
1.2 ส่งเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม
จริยธรรม และความเป็นพลเมอื ง
1.3 ยกระดับคุณภาพส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาให้กับกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ
ศาสนา และวัฒนธรรม และแรงงานต่างดา้ ว
1.4 ส่งเสริม สนับสนุนและจัดการเรียนการสอนเพ่ือสร้างจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อมและ
น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวตั กรรม
มีกลยทุ ธ์ ดังน้ี
2.1 พัฒนาหลักสูตร เน้ือหาสาระ ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียนการสอน
การนิเทศ การวัดประเมินผลสอดคล้องกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ยุทธศาสตรแ์ ละทศิ ทางการพัฒนาประเทศ
2.2 สง่ เสริมกระบวนการเรียนรูเ้ ชงิ บูรณาการองคค์ วามรแู้ บบสหวิทยาการ
2.3 เสรมิ สรา้ งทกั ษะกำลังแรงงานทมี่ ีศกั ยภาพตรงกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
2.4 เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาศักยภาพ
ความสามารถในการแข่งขนั
2.5 เพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้ผูเ้ รียนสามารถเขา้ ถงึ โอกาสทางการเรียนร้ไู ด้อยา่ งหลากหลาย ครอบคลุมทกุ พืน้ ทแี่ ละกลมุ่ เป้าหมาย
2.6 พัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ
2.7 พัฒนาศกั ยภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาดว้ ยรูปแบบที่หลากหลาย
2.8 สง่ เสรมิ การวิจัยและพฒั นาเพอ่ื สร้างองค์ความรู้และนวตั กรรม
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา
3.1 พัฒนากลไกการบรหิ ารจัดการศกึ ษาให้มีประสิทธิภาพ มกี ลยทุ ธ์ ดงั น้ี
3.2 ป้องกันและแกไ้ ขปัญหาการทจุ ริต
3.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและทันต่อการ
ใชง้ าน
3.4 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้
ปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ ตามหลกั นติ ิธรรม ภายใตค้ วามโปร่งใส และตรวจสอบได้
เปา้ ประสงค์
1. ประชากรวัยเรยี นไดร้ บั การศึกษาอย่างมคี ุณภาพ เทา่ เทียม และทง่ั ถงึ
2. จัดการศึกษาเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
สร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีจิตสาธารณะ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
ในการดำเนินชีวติ
3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาสามารถบูรณาการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลและการมสี ่วนร่วม
4. ประชาชนมีศกั ยภาพตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน รองรับการพัฒนาประเทศ
5. ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ิตและทกั ษะชีวิตที่ดี อย่รู ่วมกันในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
การขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ัติ
ความสำเร็จของการขับเคล่ือนแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดนครนายก พ.ศ. ท2563-2565 สู่การ
ปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ประกอบด้วย สาระของแผนพัฒนาการศึกษาที่เชื่อมโยงนโยบายทุก
ระดับ การมีเครอื ข่ายความรว่ มมือในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของผู้เกีย่ วข้องทกุ ภาคส่วน และ
การสร้างการรับรู้ความเข้าใจให้กับผู้ปฏิบัติทุกหน่วยงาน ทุกระดับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาสังคม
เกีย่ วกับแผนพฒั นาการศึกษา และนำส่กู ารปฏบิ ัติ
๑
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลสภาพทั่วไป
1.1 ขอ้ มลู สภาพทั่วไปของจังหวดั นครนายก
ที่ต้ัง จังหวัดนครนายกมีเน้ือที่ ประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
1,326,250 ไร่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศไทย ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 14 องศาเหนือ และเส้นแวงท่ี
101 องศาตะวันออก มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 เลียบคลอง
รังสติ ผ่านอำเภอองครกั ษ์ถึงจังหวดั นครนายก ระยะทาง 105 กิโลเมตร
อาณาเขต
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั จังหวัดสระบุรี และจังหวัดนครราชสมี า
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา และจงั หวดั ปราจนี บุรี
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั จังหวัดนครราชสีมา และจงั หวดั ปราจนี บรุ ี
ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ จงั หวัดปทุมธานี
ภูมิประเทศ สภาพโดยท่ัวไปเป็นที่ราบทางตอนเหนือและตะวันออกเป็นภูเขาสูงชันในเขต
อำเภอบ้านนา อำเภอเมืองนครนายก และอำเภอปากพลี ส่วนหนึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ซึ่งเป็น
เขตรอยต่อกับอีก 3 จังหวัด ได้แก่ สระบุรี นครราชสีมา และปราจีนบุรี ซ่ึงมีเทือกเขาติดต่อกับเทือกเขา
ดงพญาเย็น มียอดเขาสูงที่สุดของจังหวัดคอื ยอดเขาเขียว มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,351 เมตร สว่ นทาง
ตอนกลางและตอนใต้เป็นท่ีราบกว้างใหญ่ เป็นส่วนหนึ่ งของท่ีราบสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่เรียกว่า “ท่ีราบกรุงเทพ” ลักษณะดินเป็นดินปนทรายและดินเหนียวเหมาะแก่การทำนา ทำสวนผลไม้ และ
การอย่อู าศัย ซง่ึ ตดิ กบั จงั หวดั ฉะเชงิ เทราและปทมุ ธานี
สภาพภูมิอากาศ จังหวัดนครนายกมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 21.70 – 37.30 องศา
เซลเซียส ปรมิ าณนำ้ ฝนวดั ได้เฉล่ยี ประมาณ 188.30 ม.ม.
เขตการปกครอง จังหวัดนครนายก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ 41 ตำบล
408 หมู่บ้าน 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลเมือง (เทศบาลเมืองนครนายก) ๕ เทศบาลตำบล
(เทศบาลตำบลท่าช้าง เทศบาลตำบลบา้ นนา เทศบาลตำบลองครักษ์ เทศบาลตำบลเกาะหวาย เทศบาลตำบล
พกิ ุลออก) และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล 39 แห่ง
๒
ประชากร จังหวัดนครนายกมีประชากรจำนวน 260,751 คน แยกเป็นชาย 129,046
คน หญงิ 131,705 คน
แหล่งข้อมลู กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถติ ิทางการทะเบียน
(http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php) ข้อมูล ณ เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2562
1.2 บริบททีเ่ ก่ียวข้องกับการศกึ ษาจังหวดั นครนายก
ขอ้ มูลพน้ื ฐานดา้ นการศึกษา
จังหวัดนครนายกจัดการศึกษาตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ข
เพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2545) โดยหนว่ ยงานและสถานศึกษาต่าง ๆ ดงั น้ี
1. สงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)
1.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) มีสถานศึกษาเปิดสอน
ระดับก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
ไดแ้ ก่
1.1.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก (สพป.)
มีสถานศกึ ษา จำนวน 132 แหง่
1.1.2 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 (สพม.) มีสถานศึกษา
จำนวน 11 แหง่
1.1.3 ศูนย์การศึกษาพิเศษมหาจักรีสิรินธร ประจำจังหวัดนครนายก จำนวน
1 แห่ง
1.2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จังหวัดนครนายกมี
สถานศึกษา เปิดสอนระดับกอ่ นประถมศกึ ษาถงึ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มสี ถานศกึ ษา จำนวน 15 แห่ง
1.3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.)
1.3.1 สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาภาครัฐ เปิดสอนระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบตั รชน้ั สงู (ปวส.) จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ วิทยาลยั เทคนิคนครนายก วิทยาลัย
การอาชีพนครนายก วิทยาลัยการอาชพี องครักษ์
1.3.2 สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาภาครัฐ เปิดสอนระดับอุดมศึกษา จำนวน
1 แหง่ ไดแ้ ก่ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคกลาง 3
1.3.3 สถานศึกษาระดับอาชีวศกึ ษาภาคเอกชน เปิดสอนระดบั ประกาศนยี บัตร
วิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรช้ันสูง (ปวส.) จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีวีรพัฒน์
วทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ณชิ ยการนครนายก วทิ ยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมและพาณชิ ยศาสตร์
1.4 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
นครนายก (สำนักงาน กศน.) เปิดสอนระดับประถมศึกษาถงึ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มีสถานศกึ ษา ได้แก่
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอ จำนวน 4 ศนู ย์
2. สงั กัดกระทรวงมหาดไทย (มท.)
2.1 สำนักงานเทศบาลเมืองนครนายก มสี ถานศึกษาในสงั กดั จำนวน 3 แหง่
2.2 สำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครนายก มีศูนย์พัฒนา
เดก็ เล็ก จำนวน 107 ศูนย์
3. สงั กดั กระทรวงกลาโหม (กห.)
3.1 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกลา้ จำนวน 1 แห่ง
3.2 โรงเรียนเตรยี มทหาร จำนวน 1 แห่ง
๓
4. สังกดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (อว.)
4.1 ภาครัฐ ไดแ้ ก่
4.1.1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
4.1.2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อำเภอองครักษ์ จังหวัด
นครนายก
4.1.3 มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ศนู ยก์ ารศึกษานอกท่ตี ้ังจังหวัดนครนายก
4.1.4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (ละอออุทิศ) จังหวัด
นครนายก
4.1.5 ศนู ย์วทิ ยพฒั นา มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช จังหวัดนครนายก
4.2 ภาคเอกชน ได้แก่
4.2.1 วิทยาลัยนานาชาติเซนเทเรซา จงั หวัดนครนายก
5. สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มสี ถานศึกษาจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษาวัดสวุ รรณ
6. สังกัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (กท.) เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา มีสถานศกึ ษาจำนวน
1 แห่ง ไดแ้ ก่ โรงเรียนกีฬาจังหวัดนครนายก
1.3 กรอบแนวความคดิ ในการจดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวัดนครนายก
พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา
รัชกาลท่ี 10
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2560-2579
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ทสี่ ิบสอง พ.ศ. 2560-2564
ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนพฒั นาการศกึ ษาจงั หวัด ทิศทางการพฒั นาพืน้ ทีร่ ะดบั
(พ.ศ. 2561-2580) นครนายก (พ.ศ.2563-2565 ภาคตะวันออก
เป้าหมายการพฒั นา ฉบับทบทวน ปีงบประมาณ ทศิ ทางการพัฒนาระดบั ภาค
ท่ยี ัง่ ยนื ของ พ.ศ.2563 สำนักงานศึกษาธิการภาค 9
สหประชาชาติ
แผนพฒั นาจังหวัดนครนายก
พ.ศ. 2561 – 2564
(ฉบบั ทบทวนปี พ.ศ. 2562)
๔
ส่วนท่ี 2 นโยบายท่ีเก่ียวข้อง
2.1 พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10
การศึกษาตอ้ งมุง่ สรา้ งพนื้ ฐานให้แก่ผเู้ รียน 4 ดา้ น ดงั น้ี
1. มีทศั นคตทิ ่ถี กู ตอ้ งต่อบา้ นเมือง
1) ความรคู้ วามเขา้ ใจตอ่ ชาติบ้านเมอื ง
2) ยึดม่ันในศาสนา
3) มน่ั คงในสถาบันพระมหากษตั ริย์
4) มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชมุ ชนของตน
2. มพี ื้นฐานชวี ติ ท่ีมน่ั คง – มีคุณธรรม
1) รจู้ กั แยกแยะสงิ่ ที่ผิด - ชอบ/ ชวั่ - ดี
2) ปฏบิ ัตแิ ตส่ ่งิ ท่ีชอบ สงิ่ ท่ดี งี าม
3) ปฏิเสธส่งิ ทผี่ ิด ส่ิงทชี่ วั่
4) ชว่ ยกนั สร้างคนดใี หแ้ กบ่ า้ นเมือง
3. มงี านทำ - มีอาชพี
1) การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษา
ตอ้ งมงุ่ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนรกั งาน สงู้ าน ทำจนงานสำเรจ็
2) การฝึกฝนอบรมท้ังในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมาย
ให้ผู้เรียนทำงานเปน็ และมีงานทำในท่ีสดุ
3) ต้องสนับสนุนผู้สำเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลี้ยงตัวเอง
และครอบครวั
4. เป็นพลเมืองดี
1) การเป็นพลเมอื งดี เป็นหนา้ ทข่ี องทกุ คน
2) ครอบครัว - สถานศึกษา และสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมี
โอกาสทำหน้าที่เปน็ พลเมืองดี
3) การเป็นพลเมืองดี คือ "เห็นอะไรท่ีจะทำเพ่ือบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ" เช่น
งานอาสาสมคั ร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทำดว้ ยความมนี ้ำใจ และความเอื้ออาทร
2.2 ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ
20 ปี โดยกำหนดวสิ ัยทัศน์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี
วสิ ัยทศั น์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” หรือเป็นคติพจนป์ ระจำชาตวิ า่ “ม่นั คง มัง่ ค่ัง ยงั่ ยนื ”
ความม่ันคง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลง
ทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจก
บุคคล และมีความม่ันคงในทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการเมือง เช่น
ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
พระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจติ ใจ ของ
ประชาชน มีระบบการเมืองที่ม่ันคงเป็นกลไกท่ีนำไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตาม
หลักธรรมาภิบาล สังคม มีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมี
๕
ความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีมั่นคง พอเพียงกับ
การดำรงชีวิต มีการออมสำหรับวัยเกษียณ ความม่ันคงของอาหาร พลังงาน และน้ำ มีท่ีอยู่อาศัย และความ
ปลอดภัยในชีวติ ทรัพยส์ ิน
ความม่ังค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมีความ
ยั่งยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุข
ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน
มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจ
ในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ท้ังในตลาดโลก
และตลาดภายในประเทศเพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง
ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาท่ีเปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทย
มีบทบาทที่สำคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศ
ในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน
และการทำธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้าง
การพัฒนาต่อเน่ืองไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเคร่ืองมือเครื่องจักร
ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิต
ของประชาชนให้เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยู่บนหลักการใช้ การรักษา
และการฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อส่ิงแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภค
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม
สมบูรณ์มากข้ึนและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอ้ืออาทร เสียสละเพ่ือ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม รฐั บาลมนี โยบายทีม่ งุ่ ประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยนื และให้ความสำคญั กบั การมสี ว่ นร่วม
ของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพอ่ื การพฒั นาอย่างสมดลุ มเี สถยี รภาพและยงั่ ยนื
โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ
ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และ
ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และมีภาครัฐของ
ประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาส ตร์ชาติ
ประกอบดว้ ย
1) ความอยดู่ มี สี ุขของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศ
4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม และความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการเข้าถงึ การใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของ
สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช
๖
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ
เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้
ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงท่ีมีอยู่ใน
ปจั จบุ ัน และท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับสว่ นราชการ ภาคเอกชน
ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพื้นฐานข อง
หลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติด้านอ่ืน ๆ ให้สามารถ
ขบั เคลอื่ นไปไดต้ ามทิศทางและเป้าหมายท่ีกำหนด
2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา
ทม่ี ุ่งเนน้ การยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพน้ื ฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่
1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม
ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเดน่ ทางทรัพยากรธรรมชาติท่หี ลากหลาย รวมทั้งความไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทียบของ
ประเทศในด้านอื่น ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบทของ
เศรษฐกิจ และสังคมโลกสมยั ใหม่
2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ
ในมิตติ ่าง ๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และ
การปรบั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้อื ต่อการพัฒนาอตุ สาหกรรมและบริการอนาคต
3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคน
รุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์
ท่ีรองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุน
จากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้และการจา้ งงานใหม่ ขยายโอกาสทางการคา้ และการลงทุน
ในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมขึ้นของคนช้ันกลางและลดความ
เหล่อื มลำ้ ของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดียวกัน
3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมาย
การพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย
มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ
มหี ลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์
ภาษาท้องถิ่น มีนิสยั รักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มที ักษะสูง
เปน็ นวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และอืน่ ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง
4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย
การพัฒนาที่สำคัญที่ใหค้ วามสำคัญการดงึ เอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น
มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการร่วมคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม การกระจาย
อำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสร้าง ความเขม้ แขง็ ของ
ชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยท้ังในมิติ สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม
และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทำประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ
สังคมใหน้ านท่ีสดุ โดยรัฐให้หลักประกนั การเข้าถึงบริการและสวัสดิการทมี่ ีคุณภาพอย่างเปน็ ธรรมและทั่วถงึ
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม
เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอก
ประเทศอย่างบรู ณาการ ใช้พ้ืนท่ีเป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้
๗
เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้โดยเป็นการดำเนินการบนพ้ืนฐานการเ ติบโต
ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุล
ทั้ง 3 ดา้ น อันจะนำไปสูค่ วามยงั่ ยนื เพื่อคนรนุ่ ตอ่ ไปอย่างแทจ้ ริง
6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพ่ือปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และ
ประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดทเี่ หมาะสมกบั บทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรฐั ท่ี
ทำหน้าท่ีในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก
ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและพร้อม
ท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยี
ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ
มาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้อง
ร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริต
ประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็นมีความทันสมัย
มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหล่ือมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ
ยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอำนวยความยุติธรรมตามหลัก
นิตธิ รรม
2.3 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
ตามพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า เม่ือมี
พระบรมราชโองการ ประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ให้คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติแต่ละด้านจัดทำ
แผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ เสนอคณะกรรมการพิจารณาให้ความ
เห็นชอบ และเสนอตอ่ คณะรัฐมนตรใี ห้ความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมทั้งการจัดทำ
งบประมาณรายจ่ายประจำปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ประกอบดว้ ย 6 ดา้ น 23 ประเด็น (ข้อมูล : พฤศจิกายน 2561) ดงั น้ี
1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง
1. แผนแมบ่ ทประเดน็ ความม่ันคง
2. แผนแมบ่ ทประเด็นการตา่ งประเทศ
2. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
3. แผนแมบ่ ทประเดน็ การพฒั นาการเกษตร
4. แผนแม่บทประเดน็ อุตสาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต
5. แผนแมบ่ ทประเด็นการท่องเท่ียว
6. แผนแมบ่ ทประเด็นการพฒั นาพนื้ ทแี่ ละเมืองน่าอยอู่ จั ฉรยิ ะ
7. แผนแม่บทประเดน็ โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดิจิทัล
8. แผนแม่บทประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานผู้ประกอบการยุคใหม่และ
วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
9. แผนแมบ่ ทประเดน็ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
23. แผนแม่บทประเด็นวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม
๘
3. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
10. แผนแมบ่ ทประเด็นการปรบั เปล่ยี นคา่ นิยมและวฒั นธรรม
11. แผนแมบ่ ทประเดน็ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต
12. แผนแมบ่ ทประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้
13. แผนแม่บทประเดน็ การเสรมิ สร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะทีด่ ี
14.แผนแม่บทประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพการกีฬา
4. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
15. แผนแม่บทประเด็นการเสริมสร้างพลงั ทางสังคม
16. แผนแมบ่ ทประเดน็ การพฒั นาความเสมอภาค และส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก
17. แผนแม่บทประเด็นการสร้างหลักประกนั ทางสังคม
5. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งเติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
18. แผนแม่บทประเดน็ การสรา้ งการเติบโตอย่างย่ังยนื
19. แผนแม่บทประเด็นการบรหิ ารจดั การนำ้ ท้งั ระบบ
6. ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
20. แผนแม่บทประเด็นการพัฒนาการบริการประชาชนและการพัฒนา
ประสทิ ธิภาพภาครัฐ
21. แผนแม่บทประเด็นการตอ่ ต้านการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ
22. แผนแม่บทประเดน็ การพฒั นากฎหมายและการพัฒนากระบวนการยุติธรรม
2.4 แผนการปฏิรูปประเทศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เพื่อเป็นเป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259 กำหนดให้
ทำการปฏิรูปประเทศเพื่อวางรากฐานการพัฒนาไปสู่ประเทศท่ีมีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนา
อย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุล ประชาชนในสังคมมีโอกาสทัดเทียมกัน
และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยจะต้องดำเนินการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในช่วงห้าปีข้างหน้า
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการปฏิรูปแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหาร
ราชการแผน่ ดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุตธิ รรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้านสังคม
10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ มีประเด็นที่เกย่ี วขอ้ งกับ
ภารกจิ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จำนวน 7 ดา้ น ดังนี้
1. แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการเมือง
การธำรงไว้ซ่ึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ที่มีความม่ันคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประเทศชาติ
บ้านเมืองและประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม รู้จักยอมรับความเห็นที่แตกต่างกัน พรรคกา รเมือง
ดำเนินกิจกรรมโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้และพัฒนาเป็นสถาบันทางการ เมืองของประชาชน
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อประชาชนในการปฏิบัติ
หน้าที่ของตน และสร้างให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธี โดยมีเป้าหมาย
และประเด็นการปฏริ ูปทีเ่ กี่ยวข้องกับสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั นี้
เป้าหมายท่ี 1 ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง รวมตลอด
๙
ท้ังการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ รู้จักยอมรับในความเห็นทางการเมืองโดยสุจริตที่แตกต่างกัน และให้
ประชาชนใช้สทิ ธิเลือกตั้งและออกเสียงประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบงำไมว่ า่ ด้วยทางใด
ประเด็นปฏิรูปที่ 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
พันธกิจท่ี 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุขของพลเมอื ง
กลยุทธ์ที่ 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุขของพลเมือง
กลยุทธ์ที่ 2 จัดให้มีการให้ความรู้ทางด้านการเมืองการปกครอง (Political
Education) วัฒนธรรมทางการเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยฯ
2. แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
มุ่งสร้าง “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน” บนหลักธรรมาภิบาลเพ่ือให้ภาครัฐ
ได้รับความเช่ือถือไว้วางใจจากประชาชน (Public Trust) โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปท่ีเก่ียวข้อง
กบั สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี
เป้าหมายที่ 1 จัดองค์กรภาครฐั ให้เปิดกวา้ งและเชื่อมโยงขอ้ มลู กนั ดว้ ยระบบดจิ ิทลั
ประเด็นปฏิรูปท่ี 2 : ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่
รฐั บาลดจิ ทิ ลั
กลยุทธ์ท่ี 2 นำระบบดจิ ิทลั มาใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน และการบริหารราชการ
แผนงานที่ 1 การพัฒนาหรือนำระบบดจิ ทิ ัลมาใช้ปฏบิ ัติงานและการบริหารราชการ
- พัฒนาหรือนำระบบดจิ ิทัลเพ่อื รองรับทำงานตามภารกจิ เฉพาะของหน่วยงาน
- พัฒนาหรือนำระบบดิจิทัลเพ่ือรองรับงานพ้ืนฐานของหน่วยงาน เช่น งานสารบรรณ
งานแผนและงบประมาณ งานพสั ดุ งานบรหิ ารบคุ คล เปน็ ตน้
กลยทุ ธ์ที่ 3 บรู ณาการขอ้ มูลของหน่วยงานภาครฐั เพ่ือการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
แผนงานที่ 1 การปรับปรุงพัฒนา การจัดทำ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลดิจิทัล
ของหนว่ ยงานภาครฐั
กจิ กรรม
- จัดทำชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลท่ีเป็นไปตามมาตรฐาน
ทก่ี ำหนด
- เชอ่ื มโยงข้อมูลสำคัญของต้นเขา้ สู่ศูนย์ข้อมูลกลางภาครัฐเพอ่ื ให้ผู้บริหารระดับสูง
สามารถนำไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจและการบรหิ ารราชการแผ่นดินไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
เป้าหมายที่ 2 จัดโครงสร้างองค์กรภาครัฐเพียว กะทัดรัดแต่เข้มแข็ง สามารถบูรณาการ
ความรว่ มมือของทุกภาคสว่ น ในการทำงานเพ่อื ประชาชน โดยยดึ พื้นทเ่ี ป็นหลัก
ประเดน็ การปฏริ ูปที่ 3 โครงสรา้ งภาครฐั กะทัดรัด ปรบั ตวั ได้เร็วและระบบงานมีผลสมั ฤทธ์สิ งู
กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานของรัฐ และลด/
ละลายความเปน็ นติ บิ ุคคลของกรม
แผนงานท่ี 1 การดำเนนิ การจัดทำแผนปฏริ ปู องค์การ
กจิ กรรม การดำเนินการจดั ทำแผนปฏริ ปู องคก์ าร
แผนงานที่ 2 การปฏริ ูประบบราชการ (Government Reform)
กิจกรรม การปรับปรุงประสิทธิภาพการบรกิ ารภาครัฐ (Service Reform)
๑๐
เป้าหมายท่ี 3 จัดระบบบริหารและบริการประชาชนให้เป็นดิจิทัล เพ่ือความโปร่งใส
ทนั สมยั ปรบั ตวั ได้รวดเรว็ และเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนได้มสี ว่ นร่วมในการดำเนนิ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ประเด็นปฏิรูปท่ี 2 : ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่
รฐั บาลดจิ ิทัล
กลยุทธ์ที่ 2 นำระบบดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงานและการบริหารราชการ การบูรณาการ
และยกระดบั โครงสรา้ งพนื้ ฐานรฐั บาลดิจิทัล
แผนงานที่ 1 การพฒั นาหรือนำระบบดิจิทลั มาใช้ในการปฏบิ ัติงานและการบริหารราชการ
กิจกรรม พฒั นาหรือนำระบบดิจทิ ลั เพอ่ื รองรับงานพน้ื ฐานของหน่วยงาน
เป้าหมายท่ี 4 จัดระบบบุคลากรภาครัฐให้มีมาตรฐานกลาง เพ่ือสรรหา และรักษาไว้ซึ่ง
กำลงั คนทมี่ ีคณุ ภาพสูง มีคุณธรรม และจริยธรรมในการทำงานอยา่ งมืออาชพี เปน็ ทไี่ วว้ างใจของประชาชน
กลยทุ ธท์ ่ี 3 บรู ณาการขอ้ มลู ของหน่วยงานภาครฐั เพอ่ื การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
แผนงานที่ 3 สนับสนุนให้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน
การบริการประชาชน และการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน
กิจกรรม พัฒนาสมรรถนะบุคลากรภาครัฐในด้านการบริหารจัดการข้อมูลการ
วเิ คราะห์และนำเสนอขอ้ มลู และการใชป้ ระโยชนร์ ่วมกัน
3. แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นกฎหมาย
ก ฎ ห ม าย เป็ น เค ร่ื อ งมื อ ส นั บ ส นุ น ก ารเพ่ิ ม ค ว าม ส าม าร ถ ใน ก ารแ ข่ งขั น ข อ งป ระ เท ศ
ให้ทันต่อการพัฒนาตามกระแสโลกาภิวัตน์ เป็นธรรม และขจัดความเหล่ือมล้ำในสังคม โดยมีเป้าหมาย
และประเด็นการปฏิรูปทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี
เป้าหมายท่ี 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จำเป็น รวมท้ัง
มกี ลไกในการทบทวนกฎหมายท่ีมีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของรฐั ธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย
ประเด็นการปฏิรูปท่ี 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จำเป็น
รวมท้ังมีกลไกในการทบทวนกฎหมาย ที่มีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77
ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย
กิจกรรม จัดทำกฎหมายเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทำร่างกฎหมาย
การกำหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการตรวจสอบความจำเป็นในการตรากฎหมาย การรับฟังความคิดเห็น
ของผู้เก่ียวข้อง การวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากกฎหมาย เพ่ือเป็นหลักเกณฑ์ประกอบการจัดทำ
ร่างกฎหมายรวมท้งั กำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลสมั ฤทธ์ิของกฎหมายที่มีผลใช้บงั คบั แลว้
6. แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการรักษา ฟื้นฟูให้สม บูรณ์และยั่งยืน
เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม มีการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม เกิดความสมดุลระหว่างการคุ้มครองรักษาและการใช้ประโยชน์
อย่างยั่งยืน รวมท้ังมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของ
ภาคสว่ นต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายและประเดน็ การปฏิรูปที่เก่ียวข้องกับสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ดังนี้
เป้าหมายท่ี 1 ระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งกำเนิดมีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพ
ส่ิงแวดล้อมและคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ีสำหรับประชาชน
ประเด็นการปฏริ ปู ที่ 1 เสรมิ สรา้ งระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งกำเนิดใหม้ ีประสิทธภิ าพ
กิจกรรมท่ี 2 ให้ความรู้และทักษะกับชุมชนและโรงเรียนในการคัดแยกขยะแต่ละ
ประเภท รวมทง้ั ผนวกความรเู้ รอ่ื งการคดั แยกขยะเขา้ ไปในหลักสูตรการเรียนการสอน
๑๑
8. แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นสอื่ สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ
ก ารส ร้างดุ ล ย ภ าพ ร ะ ห ว่ างเส รีภ า พ ข อ งก ารท ำห น้ า ท่ี ข อ งส่ื อ บ น ค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ
กบั การกำกบั ที่มีความชอบธรรม และการใช้พ้ืนทด่ี ิจิทลั เพื่อการสือ่ สารอยา่ งมีจรรยาบรรณ ดำรงรักษาเสรีภาพ
ของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเช่ือว่าเสรีภาพของการสื่อสาร คือ เสรีภาพ
ของประชาชนตามแนวทางของประชาธปิ ไตย ส่ือเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรแู้ กป่ ระชาชน ปลกู ฝัง
วัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝังทัศนคติที่ดี โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เก่ียวข้องกับสำนักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ดังนี้
เปา้ หมาย
1. การมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการทำหน้าท่ีของส่ือบนความ
รับผิดชอบกับการกำกับที่มีความชอบธรรม และการใช้พ้ืนที่ดิจิทัลเพ่ือการสื่อสารอย่างมีจรรยาบรรณ
ดำรงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเช่ือว่าเสรีภาพของการสื่อสาร
คอื เสรภี าพของประชาชนตามแนวทางของประชาธปิ ไตย
2. สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ
และปลกู ฝังทัศนคติที่ดี
ประเดน็ การปฏริ ูปที่ 1 การปฏิรปู การรูเ้ ทา่ ทนั สือ่ ของประชาชน
กิจกรรม การจัดสัมมนาเร่ือง “การรู้เท่าทันสื่อ” ในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัย
และในสถานที่สาธารณะสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่อยู่นอกสถานศึกษาในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
9. แผนการปฏิรูปประเทศด้านสงั คม
คนไทยมีหลักประกันทางรายได้ในวัยเกษียณที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ
และมีการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพิ่มข้นึ สังคมไทยเป็นสังคมแห่งโอกาสและไม่แบ่งแยก
ภาครฐั มีขอ้ มลู และสารสนเทศด้านสงั คมท่ีบูรณาการทุกหน่วยงานและเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้
และให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง โดยสามารถบริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง โดยมีเป้าหมายและ
ประเดน็ การปฏริ ูปท่เี ก่ียวขอ้ งกับสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
เป้าหมาย คนไทยมีการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การมจี ติ สาธารณะเพิ่มขนึ้
ประเด็นการปฏริ ปู ที่ 5 การมีส่วนรว่ ม การเรยี นรู้ การรบั รู้และการสง่ เสริมกิจกรรมทางสังคม
กิจกรรมที่ 2 สรา้ งพลังแผ่นดิน
11. แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
ประชาชนมีความร้เู กยี่ วกับการทจุ รติ มีมาตรการควบคุมการบริหารจัดการของหน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชน และยกระดับการบังคับใช้มาตรการทางวินัยและกฎหมายต่อเจ้าพนักงานของรัฐ
โดยมเี ป้าหมายและประเด็นการปฏริ ปู ท่ีเก่ียวข้องกับสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดังน้ี
เป้าหมาย ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions
Index : CPI) อยใู่ น 20 อันดับแรกของโลกในปี 2579
ประเดน็ การปฏริ ูปที่ 1 ดา้ นการปอ้ งกันและเฝ้าระวงั
กลยุทธ์ที่ 1 เร่งสร้างการรับรู้และจิตสำนึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต
ประพฤติมิชอบ โดยความร่วมมอื ระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม
กิจกรรมท่ี 1.9 สร้างทัศนคติ ความรู้และปลูกฝังเยาวชนในสถานศึกษาทุกระดับ
ใหร้ งั เกยี จการทจุ รติ และตระหนกั ถงึ โทษภยั ของการทุจริตคอรัปชัน่ ตอ่ ประเทศชาติ
๑๒
ประเด็นการปฏิรปู ท่ี 2 ดา้ นการป้องปราม
กลยุทธ์ท่ี 2 ให้หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือผู้บังคับบัญชา
มี ม าต รก ารเส ริ ม ส ร้า งวัฒ น ธ ร รม องค์ ก ร ใน ก าร ป้ อ งกั น แ ล ะป รา บ ป ร าม ก าร ทุ จ ริ ต แ ล ะป ร ะพ ฤ ติ มิ ช อ บ
และเป็นตัวอย่างในการบริหารงานด้วยความซื่อตรงและรับผิดชอบ กรณีปล่อยปละละเลยไม่ดำเนินการ
ใหถ้ ือเป็นความผดิ วินัยหรือความผดิ อาญา
กิจกรรมที่ 2.2 ปลุกจิตสำนึกให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีคุณธรรมความซื่อตรง (Integrity)
โดยเนน้ ความซื่อตรงต่อหนา้ ท่ี (ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ ตามเป้าหมายอย่างดีท่สี ุด) และซอ่ื ตรงตอ่ ประชาชน
กลยุทธ์ท่ี 3 เสริมสร้างหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นกลไกอิสระและมีการเฝ้าระวัง
การทจุ ริตในหน่วยงาน
กิจกรรมที่ 3.3 วางระบบการประเมินความเส่ียงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ
ในสว่ นราชการเป็นประจำทุกปี และรายงานผลการปฏิบัติต่อผบู้ ังคบั บัญชาเหนอื ตนตามระยะเวลาท่ีกำหนด
กลยุทธท์ ่ี 4 ทำใหก้ ารใหส้ นิ บนแกเ่ จา้ หน้าทขี่ องรัฐเป็นเรื่องทนี่ า่ รังเกียจไม่พงึ กระทำ
กิจกรรมท่ี 4.3 พัฒนาแนวทางการกำหนดมาตรการควบคุมภายในท่ีเหมาะสมเพ่ือใช้
ในองค์กรภาครัฐและเอกชนในการป้องกันการให้สินบนและการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าท่ีของรั ฐ
ในทุกรปู แบบ
2.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทีส่ ิบสอง พ.ศ. 2560-2564
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ
5 ปี ซึ่งเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอยา่ งเป็นรปู ธรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมและ
วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มคี วามม่นั คง มง่ั คั่ง ยัง่ ยืน ด้วยการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) มีหลกั การที่สำคญั คือ
1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพ่ือให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ
อย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมรี ะบบภมู ิคมุ้ กนั และการบริหารจัดการความเสยี่ งท่ีดี ซึ่งเปน็ เง่อื นไข
ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาท่ียั่งยืนซ่ึงมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนท่ีสมบูรณ์ สังคมไทยเป็นสังคม
คุณภาพ มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ดำเนินชีวิตท่ีดีมีความสุข และอยู่ร่วมกัน อย่าง
สมานฉันท์
2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”มุ่งสร้างคุณภาพชีวิต และสุขภาวะที่ดี สำหรับคนไทย
พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติท่ีดี
รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
อย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเก้ือกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู
ใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอย่างเหมาะสม
3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทย
ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยนื เป็น
ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “มั่นคง
มัง่ ค่งั ย่งั ยนื ”
4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ
20 ปี มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับ
กรอบเป้าหมายท่ียง่ั ยนื (SDGs)
๑๓
5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมล้าและขับเคล่ือนการเจริญเติบโต
จากการเพิม่ ผลติ ภาพการผลติ บนฐานของการใชภ้ มู ปิ ญั ญาและนวัตกรรม”
6) ยึด “หลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีท่ีต่อยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์
ท่เี ป็นเป้าหมายระยะยาว”
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยค่านิยมที่ดี
มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมีทักษะ
ความร้คู วามสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ
2. เพื่อให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมในการเข้าถึง
ทรัพยากรและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชุมชนมีความ
เข้มแขง็ พงึ่ พาตนเองได้
3. เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความย่ังยืน สร้างความเข้มแข็ง
ของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากข้ึน สร้างความเข้มแข็ง
ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสรา้ งความมั่นคงทางพลังงาน อาหาร และน้ำ
4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุน
การเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมและการมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ีของประชาชน
5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทำงาน
เชงิ บรู ณาการของภาคกี ารพฒั นา
6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับ
การพฒั นายกระดับฐานการผลติ และบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่
7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่าง ๆ ท้ังใน
ระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมท้ังให้ประเทศไทยมีบทบาท
นำและสร้างสรรค์ในด้านการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งในระดับ
อนุภมู ภิ าค ภมู ิภาค และโลก
เป้าหมายรวม เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ
แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบดว้ ย
1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัด
ฐานท่ีดี ของสังคม มีความเป็นพลเมืองต่ืนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความ
รบั ผิดชอบและทำประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม มีสขุ ภาพกายและใจทด่ี ี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมวี ถิ ีชีวิต
ทพ่ี อเพียง และมคี วามเปน็ ไทย
2. ความเหล่ือมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ
อยา่ งทว่ั ถงึ และเป็นธรรม
3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐาน
บริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด
เล็กท่ีเข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการมีระบบการ
ผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมท่ีมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้
ช้ันสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมท้ังกระจายฐานการผลิตและการให้บริการ
สู่ภูมิภาคเพอื่ ลดความเหลอื่ มลำ้ โดยเศรษฐกจิ ไทยมเี สถยี รภาพ
๑๔
4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดลอ้ ม มีความมน่ั คงทางอาหาร พลังงาน และนำ้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจของ
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 9 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสำคัญกับการ
วางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี
มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทย
ในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม
มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมี
สถาบันทางสังคมท่ีเข้มแข็งท้ังสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และ
ภาคเอกชนที่ร่วมกันพัฒนาทุนมนุษย์ให้มีคุณภาพสูง อีกท้ังยังเป็นทุนทางสังคมสำคัญในการขับเคล่ือน
การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ให้ความสำคัญกับ
การดำเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข
รวมทั้งการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการดำเนินงานต่อเนื่องจากที่ได้ขับเคลื่อน
และผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเรื่องการเพ่ิมทักษะแรงงานและการใช้
นโยบายแรงงานท่ีสนับสนุนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงข้ึน และการสร้างโอกาส
ทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเร่ืองการสร้างอาชีพ รายได้ และให้ความช่วยเหลือ
ที่เช่ือมโยง การเพิ่มผลิตภาพสำหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ำสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ
อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจเพื่อสังคม
การพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานรากและการเข้าถงึ เงินทุนเพอื่ สรา้ งอาชีพ และการสนบั สนุนการเข้าถงึ ปัจจัยการ
ผลิตคณุ ภาพดที ีร่ าคาเป็นธรรม เป็นตน้ และในขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งเพ่ิมประสิทธิภาพการใชง้ บประมาณเชงิ พน้ื ท่ี
และบูรณาการเพ่อื การลดความเหลอ่ื มล้ำ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน เน้นให้
เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไก
สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพ่ิมข้ึน การลงทุนภาครัฐและเอกชน
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมาจากความร่วมมือกันมากขึ้น ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษี
มากข้ึน และประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงข้ึน นอกจากน้ี ยังเน้นให้เศรษฐกิจ
รายสาขามีการเติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมยั่งยืนและให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้น
มกี ารพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ การทอ่ งเท่ยี วสามารถทารายไดแ้ ละแข่งขนั ไดม้ ากข้ึน วิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคการเงินมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และใช้วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นก้าวหน้าท่ีเข้มข้นมากขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและยกระดับ
คุณภาพของกำลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจใหม่และ
การพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการเข้ากับการค้าและการเตรียมความพร้อมของ
ภาคบรกิ าร ใหส้ ามารถรองรบั การแข่งขันท่ีเสรีขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็น
ท้าทายที่ต้องเร่งดำเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ได้แก่ การสร้างความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ
และยกระดับคุณภาพส่ิงแวดล้อม เพ่ือสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษท่ีเกิดจากการผลิต และการบริโภค พัฒนาระบบ
บริหารจัดการทโ่ี ปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้างมากข้ึน
๑๕
ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิ มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ
เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทงั้ บรหิ ารจดั การเพอื่ ลดความเสย่ี งด้านภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคั่ง
และย่ังยืน ให้ความสำคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความม่ันคงที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและ
อุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและการ
เตรยี มการรับมือกบั ภัยคุกคามขา้ มชาติซึง่ จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคญั ต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
ของประเทศในระยะ 20 ปขี ้างหนา้
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภบิ าลในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาสำคัญท่ีต้องเร่งปฏิรูปการบรหิ ารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่าง
จริงจัง เพ่ือให้เป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญท่ีจะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลสำเร็จ
บรรลุเปา้ หมาย ทงั้ การบรหิ ารจัดการภาครัฐให้โปรง่ ใส มีประสทิ ธิภาพ รบั ผิดชอบ ตรวจสอบไดอ้ ย่างเป็นธรรม
และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบท่ีเหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง
ภูมิภาค และท้องถ่ิน และวางพน้ื ฐานเพื่อใหบ้ รรลตุ ามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยาย
ขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นท่ีเศรษฐกิจหลัก
และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภู มิภาคและ
ในอาเซยี นอย่างเป็นระบบ โดยมโี ครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพื้นท่ีตามแนวระเบียง
เศรษฐกจิ ต่าง ๆ การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและการกำกบั ดูแลให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลเพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพ การดำเนินการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพื้นฐาน และการคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ และการพัฒนาผู้ประกอบการ
ในสาขาโลจสิ ติกส์และหนว่ ยงานทม่ี ีศักยภาพเพ่ือไปทำธุรกิจในต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้ความสำคัญ
กับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและ
ความคิดสร้างสรรค์อย่างเข้มข้นท้ังในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมท้ังให้ความสำคัญกับการ
พฒั นาสภาวะแวดลอ้ มหรอื ปัจจัยพื้นฐานทเ่ี อือ้ อำนวยท้ังการลงทุนด้านการวจิ ัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร
วิจัย โครงสร้างพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพ่ือช่วยขับเคล่ือนการพัฒนา
ประเทศใหก้ า้ วสเู่ ป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ประโยชน์
จากศกั ยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นท่ี และการดำเนินยทุ ธศาสตร์เชิงรกุ เพื่อเสรมิ จุดเด่นในระดบั ภาคและ
จังหวัดในการเป็นฐานการผลิตและบริการท่ีสำคัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากรในเขตเมือง
จะเป็นโอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมือ ง
น่าอยู่และมีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมทั้งลดแรงกดดันจากการกระจุกตัวของการพัฒนา
ในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้ การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยังเป็น
โอกาสในการเปิดพื้นท่ีเศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเชื่อมโยงการค้าการลงทุนในภูมิ ภาคของไทยกับประเทศ
เพอื่ นบ้านอกี ด้วย
2.6 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วางกรอบเป้าหมายและทิศทางการ
จัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค
ในการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะในการ
๑๖
ทำงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม
แผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสำคัญในการจัดการศึกษาประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน
(Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียม และทั่วถึง (Inclusive Education)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For
Education) อีกท้ังยึดตามเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs
2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้าง
ประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ และวิกฤติด้านส่ิงแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์
ชาตมิ าเปน็ กรอบความคดิ สำคัญในการจดั ทำแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีสาระสำคัญ ดงั น้ี
วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิต
อยา่ งเป็นสุข สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ
2. เพ่ือพฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลกั ษณะ ทกั ษะและสมรรถนะทสี่ อดคล้องกับ
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม ร้รู ักสามัคคี
และรว่ มมอื ผนกึ กำลังมุ่งสู่การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. เพ่ือนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ
ภายในประเทศลดลง
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเก่ียวข้องกับภารกิจของสำนักงานปลัด
กระทรวงศกึ ษาธิการทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษ
ไดร้ บั การศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ
3. คนทุกช่วงวยั ไดร้ บั การศึกษา การดแู ลและป้องกนั จากภยั คุกคามในชีวติ รปู แบบใหม่
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาการจัดการศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมน่ั คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้
3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้ืนที่พิเศษ (พ้ืนท่ีสูง
พ้ืนที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพ้ืนท่ีเกาะแก่ง ชายฝงั่ ทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเชอื้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
กลมุ่ ชน-ชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว)
4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่
อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่
ภยั จากไซเบอร์ เปน็ ตน้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพฒั นากำลงั คน การวิจัย และนวตั กรรมเพอื่ สรา้ ง
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
๑๗
เปา้ หมาย
1. กำลังคนมที ักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ
การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญและ
เป็นเลิศเฉพาะด้าน
3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและ
มูลคา่ เพิม่ ทางเศรษฐกิจ
แนวทางการพฒั นา
1. ผลติ และพัฒนากำลังคนใหม้ ีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการของตลาด
งานและการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. ส่งเสริมการผลิตและพฒั นากำลังคนท่ีมคี วามเช่ียวชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น
3. ส่งเสรมิ การวิจัยและพฒั นาเพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้และนวัตกรรมทสี่ รา้ งผลผลิตและ
มลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
เปา้ หมาย
1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ
คณุ ลักษณะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21
2. คนทกุ ช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา
และมาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตได้ตามศกั ยภาพ
3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้
ตามหลกั สตู รได้อย่างมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน
และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยไม่จำกดั เวลาและสถานที่
5. ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาไดม้ าตรฐานระดบั สากล
7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
แนวทางการพฒั นา
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา
คณุ ภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละชว่ งวยั
2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่ือตำราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มี
คณุ ภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรูไ้ ดโ้ ดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
3. สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และ
พฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค์
4. พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
5. พฒั นาคลงั ข้อมลู สอื่ และนวตั กรรมการเรียนรู้ ทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน
6. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
7. พัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศกึ ษา
เปา้ หมาย
1. ผเู้ รยี นทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ
๑๘
2. การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสำหรับคนทกุ ช่วงวยั
3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง
เป็นปจั จบุ ัน เพอ่ื การวางแผนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพม่ิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาที่มคี ุณภาพ
2. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื การศึกษาสำหรบั คนทกุ ช่วงวยั
3. พัฒนาฐานขอ้ มลู ด้านการศกึ ษาที่มมี าตรฐาน เชือ่ มโยงและเข้าถึงได้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิด
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ
2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม คณุ ธรรม จริยธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิ
3. การวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต
ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
แนวทางการพฒั นา
1. สง่ เสริม สนบั สนนุ การสร้างจิตสำนึกรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม มคี ุณธรรม จริยธรรม และ
นำแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัตใิ นการดำเนนิ ชีวิต
2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อ
การเรียนรู้ต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต
ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจัดการศึกษา
เป้าหมาย
1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน
และสามารถตรวจสอบได้
2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสง่ ผลตอ่ คุณภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษา
3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและพืน้ ท่ี
4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ
ทแี่ ตกตา่ งกนั ของผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกำลงั แรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม
สรา้ งขวัญกำลงั ใจ และสง่ เสริมให้ปฏบิ ัติงานได้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
แนวทางการพฒั นา
1. ปรบั ปรุงโครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศึกษา
2. เพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
3. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการจดั การศกึ ษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษา
๑๙
5. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
2.7 นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี)
นายกรฐั มนตรีไดแ้ ถลงนโยบายรัฐบาลตอ่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เม่ือวันที่ 12 กันยายน 2557
โดยไดก้ ำหนดนโยบายไว้ 11 ด้าน โดยมีนโยบายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ภารกจิ กระทรวงศึกษาธิการ 9 นโยบาย ดงั นี้
นโยบายท่ี 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็น
องค์ประกอบสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรัฐบาล จึงถือเป็นหน้าที่สำคัญยิ่งยวดในอันท่ีจะ
เชิดชูสถาบันนี้ไว้ด้วยความจงรักภักดี และปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
ท่ีถูกต้องและเป็นจริงเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ทั้งจะสนับสนุน
โครงการท้ังหลายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานท้ังหลาย
ของรัฐเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถนำหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการและ
การพัฒนา ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการและแบบอย่างทท่ี รงวางรากฐานไวใ้ หแ้ พร่หลาย
นโยบายท่ี 2 การรักษาความมั่นคงของรัฐและการต่างประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการใช้
ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนำยุทธศาสตร์เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา มาใช้ตามแนวทาง
กัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเช่ือมั่น
ในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมท่ีสอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชนในพ้นื ทซ่ี ึ่งเป็นพหสุ ังคม ขจดั การฉวยโอกาสก่อ
ความรนุ แรงแทรกซ้อนเพอ่ื ซ้ำเตมิ ปญั หาไมว่ า่ จากผู้มีอิทธิพลในท้องถนิ่ หรือเจ้าหน้าทีฝ่ ่ายบา้ นเมอื ง ทั้งจะเพ่ิม
ระดับปฏิสัมพนั ธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศท่ีอาจช่วยคล่คี ลายปัญหาได้ รวมท้ัง เสริมสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศ เช่น การคุ้มครองดูแลคนไทยและ ผลประโยชน์ของคนไทย
ในต่างแดนการแลกเปล่ียนทางการศึกษา วัฒนธรรม การค้า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเปิด
โลกทัศน์ใหม้ ีลักษณะสากล เปน็ ตน้
2.1 ในระยะเร่งด่วน รัฐบาลให้ความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม
การเมือง และความมั่นคงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการชายแดน การสร้างความมั่นคง
ทางทะเล การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ การสร้างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้าน และการ
เสริมสร้างศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารร่วมกันของอาเซียน โดยเน้นความร่วมมือเพ่ือป้องกัน แก้ไข
ข้อพิพาทต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไก ทั้งระดับทวิภาคีและพหุภาคี ทั้งจะจัดระเบียบ
การพัฒนาตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการบริหารจัดการพื้นท่ีชายแดนทั้งทางบกและ
ทางทะเล รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดน โดยใช้ระบบเฝ้าตรวจท่ีมีเทคโนโลยีทันสมัย
กำหนดให้ปัญหายาเสพติด การค้าอาวุธ การค้ามนุษย์ การกระทำอันเป็นโจรสลัด การก่อการร้ายสากลและ
อาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาเฉพาะหน้าท่ีต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดยการบังคับใช้กฎหมาย
ที่เข้มงวด และจัดการปัญหาอ่ืน ๆ ที่เช่ือมโยงต่อเน่ืองให้เบ็ดเสร็จ เช่น ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล
การปรบั ปรุงระบบ การเข้าเมือง การจดั ระเบียบแรงงานต่างด้าว เปน็ ต้น
2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนำยุทธศาสตร์
เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี ส่งเสริมการพูดคุย สันติสุขกับผู้มีความ
คิดเห็นต่างจากรัฐ สร้างความเช่ือม่ันในกระบวนการยุติธรรมตามหลักนิติธรรมและหลักสิทธิมนุษยชนโดย
ไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมที่สอดคล้องกบั ความต้องการของประชาชน ในพนื้ ท่ีซึ่ง
เป็นพหุสังคม ขจัดการฉวยโอกาสก่อความรุนแรงแทรกซ้อน เพ่ือซ้ำเติมปัญหาไม่ว่าจากผู้มีอิท ธิพล
ในท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง ท้ังจะเพ่ิมระดับปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ และองค์การระหว่าง
ประเทศทอ่ี าจช่วยคลีค่ ลายปญั หาได้
๒๐
2.4 เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบายการ
ต่างประเทศเป็นส่วนประกอบสำคัญของนโยบายองค์รวมทั้งหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ว่าในด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะนำกลไกทางการทูตแบบบูรณาการมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แก่ประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การคุ้มครองดูแลคนไทยและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างแดน
การแลกเปลีย่ นทางการศกึ ษา วัฒนธรรม การค้าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการเปิดโลกทัศนใ์ ห้มลี ักษณะ
สากล เป็นตน้
นโยบายที่ 3 การลดความเหล่ือมลำ้ ของสงั คม และการสรา้ งโอกาสเขา้ ถงึ บรกิ ารของรัฐ
3.1 ในระยะเฉพาะหน้าจะเร่งสร้างโอกาสอาชีพและการมีรายได้ที่มั่นคงแก่ผู้ท่ีเข้าสู่
ตลาดแรงงาน รวมทั้งสตรี ผู้ด้อยโอกาสและแรงงานขา้ มชาติท่ีถูกกฎหมาย พร้อมทั้งยกระดับคณุ ภาพแรงงาน
โดยให้แรงงานท้งั ระบบมโี อกาสเขา้ ถึงการเรียนรแู้ ละพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในทุกระดับอยา่ งมีมาตรฐาน ทั้ง
จะเชอื่ มโยงข้อมูลและการดำเนนิ การระหว่างหน่วยงานของรฐั กับเอกชน เพ่ือใหต้ รงกับความต้องการของพืน้ ท่ี
และของประเทศโดยรวม นอกจากน้ีจะส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบเข้าสรู่ ะบบทีถ่ ูกกฎหมายมากข้ึน
3.4 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือ
กิจกรรมที่เหมาะสม เพ่ือสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคม ในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแล ในบ้าน
สถานพักฟ้ืน และโรงพยาบาล ที่เป็นความรว่ มมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมท้ังพฒั นา
ระบบการเงนิ การคลงั สำหรบั การดูแลผู้สงู อายุ
3.5 เตรยี มความพร้อมเข้าสสู่ งั คมทม่ี คี วามหลากหลาย เน่ืองจากการเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซียน
โดยสรา้ งความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพฒั นาระบบความคุม้ ครองทางสงั คมของแรงงานอาเซียน
3.6 จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่
เจา้ หน้าท่ีของรัฐและประชาชนทั่วไป โดยใช้คา่ นยิ มหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรกั ษาความสงบ
แห่งชาติทไ่ี ดป้ ระกาศไว้แลว้
นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรยี นรู้ การทะนบุ ำรงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม
4.1 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสำคัญทั้งการศึกษาในระบบและ
การศึกษาทางเลือกไปพร้อมกัน เพ่ือสรา้ งคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ
ประกอบอาชีพและดำรงชีวิตได้โดยมีความใฝ่รู้และทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคุณธรรม สร้างเสรมิ คุณภาพการ
เรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพ้ืนที่ ลดความเหล่ือมล้ำ และพัฒนากำลังคนให้เป็นท่ีต้องการ
เหมาะสมกบั พ้นื ท่ี ทงั้ ในดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรม และธรุ กจิ บรกิ าร
4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปล่ียนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา
ให้สอดคล้องกับความจำเป็นของผู้เรียนและลกั ษณะพื้นท่ีของสถานศึกษา และปรับปรงุ และบูรณาการระบบการกยู้ ืม
เงินเพือ่ การศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื เพิ่มโอกาสแก่ผ้ยู ากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุนใหเ้ ยาวชน
และประชาชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษา ท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะพิจารณา
จัดให้มคี ปู องการศกึ ษาเปน็ แนวทางหนงึ่
4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ประชาชนท่ัวไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษา ท่ีมีคุณภาพ ท่ัวถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษา การเรียนรู้
กระจายอำนาจการบรหิ ารจัดการศกึ ษาสู่สถานศึกษา เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ตามศกั ยภาพ
และความพรอ้ ม โดยให้สถานศกึ ษาสามารถเปน็ นติ ิบคุ คล และบริหารจัดการได้อย่างอิสระและคล่องตวั ข้ึน
4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้มีความรู้และทักษะ
ใหม่ท่ีสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และ
หลกั สตู รใหเ้ ชื่อมโยงกับภมู ิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคณุ ธรรมเข้าดว้ ยกนั เพอ่ื ใหเ้ อื้อต่อการพฒั นาผู้เรียน
๒๑
ทงั้ ในดา้ นความรู้ ทกั ษะ การใฝ่เรยี นรู้ การแก้ปัญหา การรับฟังความเห็นผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม และความ
เป็นพลเมืองดี โดยเนน้ ความรว่ มมอื ระหวา่ งผู้เกี่ยวข้องทง้ั ในและนอกโรงเรียน
4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นครู
เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตามวิชาท่ีสอน นำเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเรียน
การสอน เพ่ือเป็นเคร่ืองมือช่วยครูหรือเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน
การสอนและการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนเป็นสำคญั
นโยบายท่ี 6 การเพม่ิ ศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ
6.6 ชักจูงให้นักท่องเท่ียวต่างชาติเข้ามาเที่ยวในประเทศไทย โดยพิจารณามาตรการ
ลดผลกระทบจากการประกาศใช้กฎอัยการศึกในบางพ้ืนท่ีที่มีต่อการท่องเท่ียวในโอกาสแรกที่จะทำได้ และ
สร้างสิ่งจูงใจและส่ิงอำนวยความสะดวกท่ีเก้ือกูลต่อบรรยากาศการท่องเที่ยว ส่งเสริมการท่องเท่ียว
ท่ีครอบคลุมแหล่งท่องเท่ียวอนั มีลักษณะโดดเด่นร่วมกันหรือจัดเป็นกลุ่มได้ เช่น กลุ่มธรรมชาติ ประวัติศาสตร์
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสุขภาพ เช่น น้ำพุร้อนธรรมชาติ ท้ังจะให้ เชื่อมโยงกับผลิตภัณฑ์ท่ี
พัฒนาจากวิถีชีวิตชุมชน รวมทั้งพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวในประเทศท้ังที่เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเดิมและแหล่ง
ท่องเท่ียวใหม่ โดยเน้นการให้ความรู้และเพ่ิมมาตรฐานความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินการควบคุมสินค้า
และบริการใหม้ คี ณุ ภาพ ราคาเปน็ ธรรม ตลอดจนการอำนวยความสะดวก ในดา้ นต่าง ๆ แกน่ ักท่องเทย่ี ว
6.16 ด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพ
พื้นฐานของประเทศ เช่น ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ต้ังแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ
โดยการพัฒนาวัตถุดิบและกระบวนการผลิตให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่งเสริม
การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่อาหารไทยบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา
ส่งเสริมการวิจัยเกษตรแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร และแก้ไขปัญหาท่ีสำคัญของประเทศ เป็นต้น
ส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีข้ันสูง ส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีใช้การออกแบบและสร้างสรรค์ และส่งเสริม
อตุ สาหกรรมเครอ่ื งจกั รกลเทคโนโลยีข้ันสงู เพ่ือปรับกระบวนการผลิตสู่ระบบอตั โนมตั ิ และก่ึงอตั โนมัติ
6.18 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ให้เร่ิม
ขับเคลื่อนได้อย่างจริงจังซ่ึงจะทำให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้
ซึ่งหมายรวมถึงการผลิตและการค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรงทั้งผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์อุปกรณ์
ส่อื สารดิจิทัล อปุ กรณโ์ ทรคมนาคมดจิ ทิ ลั และการใช้ดจิ ิทัลรองรับการใหบ้ ริการของภาคธรุ กิจการเงินและธุรกิจ
บริการอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงภาคส่ือสารและบันเทิง ตลอดจนการใช้ดิจิทัลรองรับการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
และการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปรับปรุงบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงให้ดูแลและ
ผลกั ดนั งานสำคญั ของประเทศชาตใิ นเร่อื งนีแ้ ละจะจดั ให้มีคณะกรรมการระดับชาตเิ พ่ือขับเคลือ่ นอยา่ งจรงิ จงั
นโยบายที่ 7 การส่งเสริมบทบาทและการใชโ้ อกาสในประชาคมอาเซียน
7.3 พัฒนาแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ท้ัง
แรงงานวิชาชีพ แรงงานมีทักษะ และแรงงานไม่มีทกั ษะ โดยการเรง่ รัดและขยายผลการใช้ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ
ให้เกดิ ผลในทางปฏิบัติ โดยคำนงึ ถึงความเป็นเอกภาพกับระบบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานวิชาชีพใน
8 กลุ่มที่มีข้อตกลงการเปิดเสรีในอาเซียนควบคู่ไปกับการวางแผนด้านการผลิตให้เพียงพอ การยกระดับฝีมือ
แรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น การส่งเสริมการพัฒนาระบบ
การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานเพ่อื ใชใ้ นการประเมินคา่ จ้างแรงงาน
นโยบายท่ี 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การวิจยั และพฒั นา และนวตั กรรม
๒๒
8.2 เร่งเสริมสร้างสังคมนวัตกรรม โดยส่งเสริมระบบการเรียนการสอนที่เชื่อมโยง
ระหวา่ งวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ การผลิตกำลังคนในสาขาท่ีขาดแคลน การ
เช่ือมโยงระหว่างการเรียนรู้กับการทำงาน การให้บุคลากรด้านการวิจัยของภาครัฐสามารถไปทำงาน
ในภาคเอกชน และการใหอ้ ุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมมีช่องทางได้เทคโนโลยี โดยความร่วมมือจาก
หนว่ ยงานและสถานศึกษาภาครฐั
นโยบายท่ี 9 การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการ
อนรุ ักษ์กบั การใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยง่ั ยนื
9.5 เร่งรัดการควบคุมมลพิษท้ังทางอากาศ ขยะ และน้ำเสีย ที่เกิดจากการผลิต และ
บริโภค เพ่ือสร้างคุณภาพส่ิงแวดล้อมท่ีดีให้แก่ประชาชน โดยให้ความสำคัญในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาการ
จัดการขยะเป็นลำดับแรก ส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพ่ือนำกลับมาใช้ใหม่ให้มากท่ีสุดเร่งกำจัดขยะ
มลู ฝอยตกคา้ งสะสมในสถานที่กำจัดขยะในพน้ื ท่ีวิกฤติซ่ึงจะใช้ท่ีดินของรัฐเป็นหลักในพื้นทใี่ ดที่สามารถจัดการ
ขยะมูลฝอยโดยการแปรรูปเปน็ พลงั งาน ก็จะสนับสนนุ ให้ดำเนินการ ส่วนขยะอุตสาหกรรมน้นั จะวางระเบียบ
มาตรการการบริหารจัดการเป็นพิเศษ โดยกำหนดให้ท้ิงในบ่อขยะอุตสาหกรรมท่ีสร้างขึ้นอย่างถูกต้องตาม
มาตรฐานและให้แยกเป็นสัดส่วนจากบ่อขยะชุมชน สำหรับขยะของเสียอันตรายขยะอิเล็กทรอนิกส์ และขยะ
ติดเชื้อ จะพัฒนาระบบกำกับติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวังไม่ให้มีการลักลอบทิ้ง รวมท้ังจัดการสารเคมีโดย
ลดความเส่ียงและอันตรายท่ีเกิดจากการร่ัวไหล และการเกิดอุบัติเหตุให้ความสำคัญในการจัดการอย่างครบ
วงจรและใช้มาตรการทางกฎหมายและการบงั คบั ใช้กฎหมายอย่างเดด็ ขาด
นโยบายที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีธรรมาภิบาล และการป้องกัน
ปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั
10.1 ปรบั ปรุงระบบราชการในด้านองคก์ รหรือหน่วยงานภาครัฐท้ังในระดับ ประเทศ
ภูมิภาค และท้องถ่ิน ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอำนาจหน้าที่ซ้ำซ้อนหรือ
ลักล่ันกันหรือมีเส้นทางการปฏิบัติงานที่ยืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัย โดยนำเทคโนโลยีมาใช้
แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบ
อัตรากำลังและปรับปรุงค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการ
บ้านเมืองท่ีดี การบริหารจัดการภาครัฐแบบใหม่การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะที่เป็น
ศูนย์กลาง และการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพ่ือสร้างความเชื่อม่ันวางใจในระบบราชการลดต้นทุน
ดำเนินการของภาคธุรกิจเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐที่มี
ประสิทธภิ าพไวใ้ นระบบราชการ โดยจะดำเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหนา้ ไปตามลำดับความจำเป็น และตามที่
กฎหมายเอ้ือให้สามารถดำเนินการได้
10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝงั คา่ นิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึก
ในการรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐที่มี
ประสิทธิภาพ เพ่ือป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤ ติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ทุกระดับอย่างเคร่งครัด ยกเลิก หรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็น สร้างภาระ
แก่ประชาชนเกินควร หรือเปิดช่องโอกาสการทุจริต เช่น ระเบียบการจัดซ้ือ จัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และ
การขอรับบริการจากรัฐ ซึ่งมีขั้นตอนยืดยาวใช้เวลานาน ซ้ำซ้อน และเสียค่าใช้จ่ายท้ังของภาครัฐและ
ประชาชน
10.6 ปรับปรุงและจัดให้มีกฎหมายเพื่อให้ครอบคลุมการป้องกันและปราบปราม
การทุจริตประพฤติมิชอบ และการมีผลประโยชน์ทับซ้อนในภาครัฐทุกระดับ โดยถือว่าเรื่องน้ีเป็นวาระ
สำคัญเร่งด่วนแห่งชาติและเป็นเร่ืองที่ต้องแทรกอยู่ในการปฏิรูปทุกด้านท้ังจะเร่งรัดการดำเนนิ การต่อผู้กระทำ
การทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในด้านวินัยและคดี รวมท้ังให้ผู้ใช้บริการมีโอกาสประเมินระดับ
๒๓
ความน่าเชื่อถือของหน่วยงานของรัฐ และเปิดเผยผลการประเมินต่อประชาชน ทั้งจะนำกรณีศึกษาท่ีเคยเป็น
ปัญหา เช่น การจัดซ้ือจัดจ้าง การร่วมทุน การใช้จ่ายเงินภาครัฐ การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ
การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ การมีผลประโยชน์ขัดแย้งหรือทับซ้อน ซึ่งได้มีคำวินิจฉัยขององค์กรต่าง ๆ
เปน็ บรรทัดฐานแล้วมาเปน็ บทเรียนให้ความรู้แก่เจ้าหน้าทขี่ องรฐั และประมวลเป็นกฎระเบียบหรือคู่มอื ในการ
ปฏิบตั ิราชการ
2.8 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2558-2564)
นโยบายความม่ันคงแห่งชาติกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินการด้านความม่ันคง
ของภาครฐั ในระยะ 7 ปี แบ่งเป็น 2 ส่วน คอื ส่วนท่ี 1 นโยบายเสรมิ สร้างความมน่ั คงที่เป็นแกน่ หลักของชาติ
และ ส่วนท่ี 2 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติทั่วไป โดยกำหนดกรอบความคิดหลักจากการกำหนดนโยบายได้
คำนงึ ถึงค่านยิ มหลักของชาติ 12 ประการ ดงั น้ี
วิสัยทัศน์ “ชาติมีเสถียรภาพและเป็นปึกแผ่น ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต ประเทศมีการ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง ปลอดภัยจากภัยคุกคามข้ามพรมแดน พร้อมเผชิญวิกฤติการณ์ มีบทบาทเชิงรุก
ในประชาคมอาเซียนและดำเนินความสัมพันธ์กบั นานาประเทศอยา่ งมดี ลุ ยภาพ”
นโยบายความมัน่ คงทเ่ี ก่ียวข้องกบั ภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการมีดังน้ี
นโยบายสำคัญเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงท่ีเป็นแก่นหลักของชาติ (ศธ. เป็นหน่วยหลัก)
เกยี่ วข้องใน 3 นโยบาย ดงั นี้
นโยบายที่ 1 เสริมสรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลกั ของชาติ และการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.1) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
นโยบายท่ี 2 สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ
2.4) ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชาติ อยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข มีความรัก
ความภาคภูมิใจในความเปน็ ชาติและเป็นสังคมพหุวฒั นธรรมที่เข้มแขง็
นโยบายท่ี 3 ป้องกันและแกไ้ ขการก่อความไม่สงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้3.3) เสรมิ สร้าง
สนั ตสิ ขุ และการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื โดยใชก้ ระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเปน็ พลังในการเข้าถงึ ประชาชน
2.9 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาค
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค มี 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคใตช้ ายแดน มีเป้าหมายทิศทางการพฒั นาภาคทง้ั 6 ภาค ดังน้ี
ภาคเหนือ : ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เช่ือมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาค
ลมุ่ แมน่ ้ำโขง
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ : ศนู ยก์ ลางเศรษฐกจิ ของอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ้ โขง
ภาคกลางและพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร : พัฒนากรุงเทพมหานครสู่มหานครทันสมัย และภาคกลาง
เป็นฐานการผลิตสินค้าและบรกิ ารทมี่ มี ลู ค่าสูง
ภาคตะวนั ออก : ฐานเศรษฐกิจช้นั นำของอาเซยี น โดย
1. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของฐานอุตสาหกรรมเดิม และส่งเสริมการพัฒนา
อตุ สาหกรรมแห่งอนาคต
2. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตอาหารและสนิ ค้าเกษตร
3. ปรบั ปรุงมาตรฐานสินค้าและธรุ กจิ บรกิ ารดา้ นการท่องเที่ยว
4. พัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองสำคัญของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่ เอ้ือต่อการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและสงั คมอยา่ งมสี มดุล
๒๔
ภาคใต้ : ภาคใต้เป็นเมืองท่องเที่ยวพักผ่อนตากอากาศระดับโลกเป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์
ยางพาราและปาลม์ น้ำมันของประเทศและเมืองเศรษฐกจิ เชอ่ื มโยงการค้าการลงทุนกบั ภูมิภาคอน่ื ของโลก
ภาคใต้ชายแดน : เป็นแหล่งผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สำคัญของประเทศ
และเป็นเมืองชายแดนเชื่อมโยงการค้าและการท่องเที่ยวกับพ้ืนท่ีภาคใต้และการพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซีย
และสงิ คโปร์
2.10 ทิศทางการพฒั นาพืน้ ทร่ี ะดบั ภาคตะวนั ออก
ภาคตะวันออกมีบทบาทสำคัญในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากเป็นพื้นที่
ฐานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมหลัก (Industrial Heartland) และเป็นที่ตั้งของท่าเรือน้ำลกึ และทา่ อากาศยานนานาชาติ
นอกจากน้ี ยังเป็นพ้ืนท่ีในแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Southern Economic Corridor
และ Southern Coastal Economic Corridor) ท่ีเชื่อมโยงเมียนมา-ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม ซ่ึงเป็นเส้นทางลัด
โลจิสติกส์ (Land bridge) เช่ือมโยงภูมิภาคอาเซยี นกับโลกตะวันตก และโลกตะวันออก นอกจากน้ี ภาคตะวันออก
ยงั เป็นแหล่งผลิตอาหารสำคัญของประเทศ ได้แก่ สุกร กุ้ง ไก่ ข้าว และผลไม้ รวมถึงเป็นแหล่งท่องเท่ียวระดับ
นานาชาติ เน่ืองจากมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ดังนั้น การพัฒนาภาคตะวันออกระยะต่อไป จะต้อง
พัฒนาต่อยอดฐานเศรษฐกิจที่มีอยู่ของพน้ื ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยี
และความคิดสร้างสรรค์และการค้าบริการควบคู่ไปกับการใช้ศักยภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ำและ
ความพร้อมของสถาบันการศกึ ษาวิจยั ยกระดบั สนิ ค้าการเกษตรและบรกิ ารใหม้ ีมลู ค่าสูง เพือ่ ใหภ้ าคตะวนั ออก
เป็นพ้นื ท่ียทุ ธศาสตรใ์ นการขบั เคลอ่ื นการ พฒั นาประเทศใหห้ ลดุ พ้นกบั ดัก “ประเทศรายได้ปานกลาง”
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งพัฒนาเป็นฐานเศรษฐกิจช้ันนำของอาเซียน โดยรักษา
ฐานเศรษฐกิจเดิมท่ีมีอยู่ให้เติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แข่งขันและสนับสนุนให้ประเทศเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ โดยเน้นการพัฒนาพ้ืนที่ที่มีศักยภาพสูง ได้แก่ พื้นที่
ฐานการผลิตและบริการ เมืองศูนยก์ ลางความเจรญิ ในภมู ิภาคและพืน้ ท่ีเศรษฐกิจชายแดน
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ กระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกจิ ไปสภู่ มู ภิ าคอย่างท่ัวถงึ มากข้ึน
2. เพ่ือพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนนุ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการ
พฒั นาในพื้นที่อย่างยง่ั ยืน
3. เพ่ือพัฒนาเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่สำหรับคนทุกกลุ่มในสังคม โดยมี
ความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองมีมาตรฐาน บริการสาธารณะมีคุณภาพ และมีระบบขนส่ง
สาธารณะในเขตเมืองอยา่ งท่วั ถึง
4. เพื่อฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และสรา้ งความสมดลุ ของระบบนิเวศ
เป้าหมาย
1. อัตราการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของภาคตะวนั ออกขยายตัวเพม่ิ ขึน้
2. สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) ในการกระจายรายได้ของภาคตะวันออก
ลดลง
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระดบั ภาค
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษที่มี
ความทันสมยั ทส่ี ดุ ในภมู ภิ าคอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาภาคตะวันออกให้เป็นแหล่งผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพและได้
มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปรบั ปรงุ มาตรฐานสินคา้ และธุรกจิ บริการดา้ นการท่องเทยี่ ว
๒๕
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับ ประเทศ
เพอื่ นบ้าน ใหเ้ จรญิ เติบโตอย่างย่งั ยืน
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 แก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและจัดระบบการบริหารจัดการ มลพิษให้มี
ประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ข้นึ
2.11 นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ นายณฏั ฐพล ทีปสุวรรณ) มีสาระสำคัญ ดงั นี้
หลกั การ
1. ให้ความสำคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ทั้งผู้เรียน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเกทและเป็น
การศกึ ษาตลอดชีวิต
2. บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกำกับของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการให้มีความคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่
ภูมิภาคให้สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพ่ือดำเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค
ประชาชน ตามนโยบายประชารฐั
ระดับกอ่ นอนุบาล
เน้นประสานงานกับส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพร้อมผู้เรียน ในด้านสุขภาพ
และโภชนาการ และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่เี ชอ่ื มโยงกับระบบโรงเรยี นปกติ
ระดับอนุบาล
เน้นสร้างความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพ่ือออกแบบกิจกรรมการพัฒนา
ทักษะที่สำคัญด้านต่าง ๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการ
ร้จู ักและประเมินตนเอง
ระดบั ประถมศึกษา
มุ่งคำนึงถงึ พหปุ ัญญาของผูเ้ รยี นรายบุคคลทห่ี ลากหลายตามศักยภาพ ดว้ ยจุดเน้น ดังนี้
1. ปลกู ฝังความมรี ะเบยี บวินัยทัศนคตทิ ถี่ ูกต้อง โดยใช้กระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด
2. เรียนภาษาไทย เนน้ เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการเรยี นรู้วชิ าอืน่
3. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพนื้ ถิน่ (ภาษาแม่) เนน้ เพ่ือการสอ่ื สาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ จากประสบการณ์
จริงหรือจากสถานการณ์จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครูด้วย
การจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นให้มากข้ึน
5. สร้างแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพ่อื การเรยี นรู้ และใชด้ ิจทิ ลั เป็นเคร่ืองมอื การเรยี นรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพอื่ ฝึกทกั ษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding)
7. พัฒนาครูให้มีความชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพวิ เตอร์ (Coding)
8. จดั ใหม้ ีโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ โดยเน้นปรบั สภาพแวดล้อมทงั้ ภายใน และ
ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นใหเ้ อ้ือต่อการสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ
ระดับมัธยมศึกษา
มุ่งต่อยอดระดับประถมศึกษา ด้วยจดุ เน้น ดงั น้ี
1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM)
และภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาท่สี าม)
2. จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพ้นื ฐานที่เช่ือมโยงสู่การสร้างอาชีพ และการมี
งานทำ เช่น ทกั ษะดา้ นกฬี าทีส่ ามารถพฒั นาไปสู่นักกีฬาอาชพี ทักษะภาษาเพอื่ เป็นมัคคเุ ทศก์
๒๖
ระดับอาชีวศกึ ษา
มุ่งจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทำและสร้างนวัตกรรมตามความต้องการของพ้ืนท่ีชุมชน
ภูมิภาคหรือประเทศ รวมทัง้ การเปน็ ผูป้ ระกอบการเอง ด้วยจดุ เนน้ ดังนี้
1. จัดการศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ให้ผู้เรยี นมีทักษะและความเชยี่ วชาญเฉพาะด้าน
2. เรยี นภาษาอังกฤษ เพือ่ เพม่ิ ทักษะสำหรับใชใ้ นการประกอบอาชพี
3. เรยี นรกู้ ารใช้ดิจิทัล เพือ่ ใชเ้ ป็นเครื่องมือสำหรับในการสร้างอาชีพ
4. จดั ตง้ั ศูนยป์ ระสานงานการผลิตและพัฒนากำลงั คนอาชีวศึกษาในภูมภิ าค
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
มงุ่ สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนผู้เรียนท่สี ำเรจ็ หลกั สตู ร สามารถมีงานทำ ด้วยจดุ เนน้ ดงั นี้
1. เรยี นรกู้ ารใช้ดิจิทัล เพอ่ื ใช้เป็นเครอ่ื งมือสำหรบั หาชอ่ งทางในการสร้างอาชพี
2. จัดทำหลักสูตรพฒั นาอาชีพท่เี หมาะสมสำหรบั ผ้ทู ่ีเขา้ สสู่ งั คมสูงวยั
การขับเคลอื่ นสูก่ ารปฏิบัติ
1. ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้อง
กับนโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใช้งบประมาณเป็นรายไตรมาส รวมท้ังใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไป
ตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
2. จดั ทำฐานข้อมูล (Big Data) ของกระทรวงศึกษาธิการ ใหค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั
3. ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนางานทั้งระบบ เน้นการเรียนรู้และ
บริหารจัดการ
4. ปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการให้เกิดความคล่องตัว หากติดขัดในเร่ือง
ข้อกฎหมาย ใหผ้ ูบ้ รหิ ารระดับสงู ร่วมหาแนวทางการแกไ้ ขร่วมกนั
5. ให้หน่วยงานระดับกรมกำหนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร งบประมาณ อัตรากำลังตาม
ความต้องการ จำเปน็ ใหแ้ ก่หน่วยงานในพืน้ ท่ีภมู ภิ าค
6. ใช้กลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ
หน่วยจดั การศึกษา
7. เร่งทบทวน (ร่าง) พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. .... โดยปรับปรุงสาระสำคัญให้
เอื้อตอ่ การขบั เคลือ่ นนโยบายของรัฐบาล
8. ในระดับพ้ืนท่ีหากเกิดปัญหาข้อติดขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษาตรวจสอบข้อมูล
ข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึน เช่น จำนวนเด็กในพ้ืนที่น้อยลง ซึ่งจำเป็นต้องมีการควบรวมโรงเรียน ให้พิจารณาส่ือสาร
อธบิ ายทำความเข้าใจทช่ี ดั เจนกับชุมชน
9. วางแผนการใช้อัตรากำลังครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ และจัดทำแผนการประเมินครูอย่างเป็นระบบรวมทั้งจัดทำหลักสูตรการพัฒนาครูให้มีองค์
ความรู้และทกั ษะในด้านพหปุ ญั ญาของผู้เรยี น
10. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัด นำเสนอต่อ
คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และขับเคลอื่ นส่กู ารปฏิบตั ิอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
11. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหน้าที่ตรวจ
ราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจดั ทำรายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
2.12 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) กำหนด
เป้าหมายหลักและตัวชี้วัด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ของยุทธศาสตร์ ตัวช้ีวัด ภายใต้
ยทุ ธศาสตร์ และกลยุทธ์ ไดด้ งั น้ี
๒๗
๑. เป้าหมายหลกั ของแผนพัฒนาการศกึ ษาฯ
๑. คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้ึน คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลย่ี นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต
๒. กำลงั คนได้รบั การผลติ และพัฒนา เพือ่ เสรมิ สร้างศกั ยภาพการแข่งขันของประเทศ
๓. มอี งค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอย่างยงั่ ยนื
๔. คนไทยไดร้ ับโอกาสในเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต
๕. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีส่วนร่วม
จากทกุ ภาคส่วน
๒. ตัวชวี้ ัดตามเปา้ หมายหลัก
๑. ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวชิ า **
๒. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน จากการทดสอบระดบั ชาติ
๓. รอ้ ยละคะแนนเฉลย่ี ของผูเ้ รียนทม่ี ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม (1)
๔. รอ้ ยละคะแนนเฉลยี่ ของผูเ้ รยี นทุกระดบั การศึกษามีความเป็นพลเมอื งและพลโลก (2)
๕. สดั ส่วนผเู้ รยี นระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชวี ศกึ ษาต่อสายสามญั (3)
๖. ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างผู้ประกอบการท่ีมีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับ
อาชวี ศกึ ษา และระดับอดุ มศึกษาท่ีทำงานให้ (4)
๗. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาได้งานทำ หรือ
ประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี (5)
๘. รอ้ ยละของผลงานวจิ ัย นวตั กรรม งานสรา้ งสรรค์ สงิ่ ประดิษฐไ์ ด้รับการเผยแพร่/ตีพมิ พ์ (6)
๙. ร้อยละขององค์ความรู้และส่ิงประดิษฐ์ทน่ี ำไปใช้ประโยชน์ หรอื แก้ไขปัญหาชมุ ชนท้องถิ่น (7)
๑๐. จำนวนปีการศกึ ษาเฉลยี่ ของคนไทยอายุ ๑๕ - ๕๙ ปี (8)
๑๑. ร้อยละของกำลังแรงงานทส่ี ำเรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ขน้ึ ไป (9)
๑๒. ร้อยละของนักเรียนต่อประชากรวัยเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย อายุ ๑๕–๑๗ ปี (10)
๑๓. สดั สว่ นผ้เู รียนในสถานศกึ ษาทุกระดับของรัฐตอ่ เอกชน (11)
๑๔. จำนวนภาคเี ครือขา่ ยที่เข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั /พัฒนาและส่งเสรมิ การศึกษา (12)
๓. วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม”
“ผู้เรียน” หมายถึง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ที่ได้รับบริการจาก
กระทรวงศึกษาธิการ
“มีความรู้คู่คุณธรรม” หมายถึง รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน
สตปิ ัญญา แบง่ ปนั ซึ่งเป็น ๒ เง่อื นไขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
“มีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี” หมายถงึ มีอาชีพ มคี วามม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยนื ในการดำรงชวี ติ
“มีความสุข” หมายถึง ความอยู่ดีมีสุข สามารถอยู่ร่วมกันอย่างเอ้ืออาทร มีความสามัคคี
ปรองดอง
“สังคม” หมายถึง สงั คมไทย ภมู ภิ าคอาเซียน และสังคมโลก
๔. พนั ธกิจ
๑. ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทสสู่ ากล
๒. เสริมสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาของประชาชนอยา่ งทัว่ ถึง เทา่ เทียม
๓. พฒั นาระบบบริหารจดั การการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล
๒๘
๕. ยุทธศาสตร์
๑. ยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล
๒. ยุทธศาสตรผ์ ลติ พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๓. ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากำลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของ
การพฒั นาประเทศ
๔. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดชวี ิต
๕. ยุทธศาสตร์สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การศกึ ษา
๖. ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา
๖. ผลผลติ /ผลลัพธ์ ตวั ชว้ี ัด และกลยุทธภ์ ายใต้ยทุ ธศาสตร์
๖.๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ผลผลติ /ผลลพั ธ์
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงข้ึน สามารถท่องจำและนำสิ่งที่จำไปฝึกคิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดในเชิงสร้างสรรค์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
สอดคลอ้ งกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มคี ุณธรรมจริยธรรม ผสู้ ำเร็จการศึกษาทุกระดับ/ประเภทได้รับ
การศกึ ษาทีม่ ี คุณภาพมาตรฐาน มจี ิตสำนึกประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ รวมทง้ั สามารถ
อยู่ในสงั คมได้ อยา่ งมคี วามสามัคคปี รองดอง
ตวั ช้วี ดั ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์
๑. ร้อยละของโรงเรียนที่ผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการคิด
วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดแกป้ ญั หา และคิดสรา้ งสรรค์
๒. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนากิจกรรมเสริมทักษะและมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นสงู ขึน้
๓. ร้อยละคะแนนเฉลีย่ ของผู้เรยี นทมี่ คี ุณธรรมจรยิ ธรรม (1)
๔. ร้อยละคะแนนเฉลย่ี ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษามีความเป็นพลเมืองและพลโลก (2)
กลยุทธ์
๑. พัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่ีมีคณุ ภาพ และจดั กจิ กรรมเสริมทักษะพฒั นา
ผู้เรยี นในรูปแบบทห่ี ลากหลาย สอดคลอ้ งกับทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑
๒. พฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตร การวดั และประเมินผลการศกึ ษาทุกระดับ/ประเภท
การศึกษาใหท้ นั สมยั สอดคล้องกบั ความก้าวหนา้ ทางวิทยาการและการเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลก
๓. ส่งเสริมการพัฒนาเน้ือหาสาระท่ที นั สมัยในทกุ ระดับ/ประเภทการศกึ ษา เพือ่ การ
ผลิตสอ่ื การเรียนการสอน ตำราเรยี นท่ีมีคุณภาพ รวมท้งั ตำราเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์
๔. ปรับปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติให้สอดคล้องกับหลักสูตรและ
กระบวนการ จดั การเรียนการสอน
๕. ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองและพลโลก ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งในระบบการศึกษาอยา่ งเข้มขน้
๖.๒ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ ผลิต พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผลผลติ /ผลลพั ธ์
มีการผลติ ครูไดส้ อดคล้องกับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
มีครู ครบตามเกณฑ์ มีครูประจำชั้นครบทุกหอ้ ง และมีครทู ี่จบตรงวุฒิตามสาขาวิชาที่สอน ผู้มีใบอนุญาตประกอบ
๒๙
วิชาชีพครูมีจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งมีคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีสมรรถนะตาม
มาตรฐานวชิ าชพี สามารถใชศ้ ักยภาพในการสอนได้อย่างเต็มท่ีและขวญั กำลงั ใจท่ีดีในการปฏิบตั หิ น้าที่
ตวั ชี้วัดภายใต้ยุทธศาสตร์
๑. ร้อยละของครูตามแผนการผลิต มคี ณุ ภาพตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด
๒. รอ้ ยละของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาตามแผนการพัฒนา ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่
กำหนด
๓. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาที่ไดร้ ับการพฒั นาตามมาตรฐานวิชาชีพ
ในหลักสตู รท่ีคุรสุ ภาให้การรบั รอง และผ่านการประเมนิ เพอื่ ต่ออายใุ บประกอบวิชาชพี
๔. จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับสวัสดิการ สวัสดิภาพ และการพัฒนา
คุณภาพชีวิตท่ีดี
๕. ร้อยละความพึงพอใจของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ีมีต่อการ
บรหิ ารงานบคุ คลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
กลยุทธ์
๑. วางแผนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ อยา่ งเป็นระบบให้สอดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการในการจัดการศกึ ษาทกุ ระดับ /ประเภทการศกึ ษา
๒. ปรบั ระบบการผลติ ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพ
๓. เร่งรัดพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา รวมท้ังครูประจำการท่ีสอนไม่ตรงวุฒิ ครูที่สอน
คละชั้นและครูในสาขาวชิ าท่ขี าดแคลน
๔. สรา้ งขวัญกำลังใจ สร้างแรงจงู ใจให้กับครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
๕. พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษาให้มี
ประสทิ ธิภาพ
๖.๓ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ผลิตและพัฒนากำลังคน รวมท้ังงานวิจยั ทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการ
ของการพัฒนาประเทศ
ผลผลิต /ผลลัพธ์
มีการผลิตและพัฒนากำลงั คนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีมี
คุณภาพ เพิ่มจำนวนบัณฑิตในสาขาวิชาชีพที่ขาดแคลน มีสมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน
ตามมาตรฐานวิชาชีพ และสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล ประชาชนได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัดและ
ความสนใจ รวมท้ังมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์ การให้การ
รักษาพยาบาล และการพฒั นาความเปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ นการศึกษาของภูมภิ าค
ตวั ชี้วัดภายใต้ยุทธศาสตร์
๑. สดั สว่ นผู้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชวี ศึกษาต่อสายสามัญ (3)
๒. ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างผู้ประกอบการท่ีมีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับ
อาชวี ศกึ ษาและระดบั อุดมศกึ ษา (4)
๓. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาได้งานทำ
หรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน ๑ ปี (5)
๔. ร้อยละของผลงานวจิ ัย นวัตกรรม งานสรา้ งสรรค์ สงิ่ ประดษิ ฐ์ได้รบั การเผยแพร่/
ตีพมิ พ์ (6)
๕. ร้อยละขององค์ความรู้และสิ่งประดิษฐ์ท่ีนำไปใช้ประโยชน์ หรือแก้ไขปัญหา
ชุมชน ท้องถิน่ (7)
๓๐
๖. จำนวนเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนกับองค์กร /หน่วยงานทั้งในและ
ต่างประเทศ
๗. รอ้ ยละเฉล่ยี ของผูเ้ รียนในระบบทวภิ าคที ่เี พ่ิมขนึ้ ตอ่ ป*ี *
๘. ร้อยละของผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ในสถาบันอุดมศึกษาระดับ
อนปุ รญิ ญา ถึงปริญญาตรี
๙. ร้อยละของผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และด้านอื่นๆ
ทไ่ี ด้รับการพฒั นาเพ่ิมขน้ึ
กลยุทธ์
๑. เร่งผลติ และพัฒนากำลงั คนสาขาทจ่ี ำเป็นตอ่ การพัฒนาประเทศ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี แพทย์ และพยาบาล
๒. เร่งผลิตและพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้ทันกับความเปล่ียนแปลง
ของเทคโนโลยี และรองรับพืน้ ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
๓. ส่งเสรมิ ภาพลักษณ์การอาชวี ศกึ ษา เร่งปรับค่านิยม และวางรากฐานทกั ษะอาชีพ
ให้แกผ่ ู้เรยี นต้งั แตว่ ัยการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
๔. ส่งเสริม สนบั สนนุ การพัฒนาผ้มู ีความสามารถพิเศษอย่างต่อเน่อื งทุกระดับ
๕. เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการผลิตและพัฒนากำลังคน โดยสร้าง
เครอื ขา่ ยความร่วมมอื ตามรูปแบบประชารฐั ทัง้ ระหว่างองคก์ รภายในและต่างประเทศ
๖. สง่ เสริมงานวจิ ยั และนวัตกรรมทสี่ ามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง
๖.๔ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง
ตลอดชวี ิต
ผลผลิต /ผลลัพธ์
ผ้เู รียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภท
การศึกษา ได้รับการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสามารถเรียนรูจ้ าก
แหล่งเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สถานศึกษาในภูมิภาค/ชนบท ได้รับการยกระดับคุณภาพในการ
ให้บริการ เด็กพิการและด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
รวมทัง้ สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นและทกั ษะประสบการณ์เพ่ือขอรับวฒุ ิการศกึ ษาเพิ่มขนึ้ ได้
ตัวช้วี ัดภายใต้ยทุ ธศาสตร์
๑. จำนวนปีการศกึ ษาเฉล่ียของคนไทยอายุ ๑๕ - ๕๙ ปี (8)
๒. ร้อยละของกำลังแรงงานทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขน้ึ ไป (9)
๓. รอ้ ยละของนกั เรียนตอ่ ประชากรวยั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย อายุ ๑๕- ๑๗ ปี(10)
๔. ร้อยละของผู้เรียนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือ
บรกิ ารทางการศึกษา
๕. ร้อยละของผ้ผู ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทกั ษะอาชพี ระยะสน้ั สามารถนำความรไู้ ป
ใช้ ในการประกอบอาชพี หรือพฒั นางานได้
๖. จำนวนผรู้ บั บริการจากแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน
กลยุทธ์
๑. ประกันโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้แก่
ผู้เรยี นในทกุ พื้นที่ ครอบคลมุ ถงึ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผมู้ ีความต้องการพิเศษ
๒. ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ และการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
ความสนใจ และวิถีชวี ิตของผเู้ รยี นทุกกล่มุ เปา้ หมาย
๓๑
๓. เรง่ สร้างความเข้มแข็งของระบบการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ให้เกิดผล
เปน็ รูปธรรมอย่างกวา้ งขวาง
๔. จัดหาทุนและแหลง่ ทนุ ทางการศกึ ษา
๕. เร่งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คุณภาพ มีความหลากหลาย และสามารถให้บริการได้อย่างทว่ั ถึง
๖.๕ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่อื การศกึ ษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้เรียน สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษา
เข้าถึงทรัพยากร และระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ มีองค์ความรู้
เทคโนโลยี เพือ่ การศึกษาเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น รวมทั้งมีศนู ย์กลางในการจัดเก็บรวบรวมส่ือ
การเรยี น การสอนแบบดิจทิ ัลที่ทันสมัย และระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศท่ีถกู ตอ้ งและเป็น
ปัจจุบนั
ตัวชวี้ ดั ภายใตย้ ุทธศาสตร์
๑. ร้อยละของผู้เรียนในสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกลด้วยระบบ
DLIT, DLTV, ETV มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเฉลย่ี สูงขนึ้
๒. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่ได้รับบริการอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วไม่ตำ่ กวา่ ๓๐ Mbps
๓. จำนวนระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาของประเทศที่ทนั สมยั /เปน็ ปจั จบุ นั
กลยทุ ธ์
๑. พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการท่ี
ทันสมยั และไมซ่ ำ้ ซ้อน ให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงได้อยา่ งทั่วถงึ และมปี ระสิทธิภาพ
๒. พัฒนากระบวนการจดั ทำระบบฐานขอ้ มลู กลางทางการศึกษาของประเทศ ระบบ
การรายงานผลของฐานข้อมูลโดยเชื่อมโยงข้อมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา ให้เป็นเอกภาพ เป็น
ปจั จบุ ัน และมมี าตรฐานเดียวกนั
๓. ผลิตและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ให้ผู้เรียน
สถานศึกษา และหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา นำมาใช้เพิ่มคุณภาพการเรียนรู้อย่าง
เปน็ ระบบ
๔. จัดหาอุปกรณ์ /ทรัพยากรพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับผู้เรียนอย่าง
เพยี งพอ ท่ัวถงึ และเหมาะสมกบั การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
๖.๖ ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
ในการจัดการศกึ ษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์
ระบบบริหารจัดการมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากย่ิงขึ้น มีความ
โปร่งใส และเป็นที่ยอมรับของผู้รบั บริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับการปรับปรงุ ให้มีประสทิ ธภิ าพโดยการ
กระจายอำนาจลงไปสู่ส่วนภูมิภาคและสถานศึกษา และมีกลไกการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีสนับสนุน
ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา สถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทมีธรรมาภิบาลในการบริหาร รวมทั้งผู้เรียนในพื้นท่ี
จังหวดั ชายแดนภาคใต้มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นทีส่ ูงขึ้น มีศักยภาพเพือ่ ไปประกอบอาชพี ในทอ้ งถิ่นได้
ตัวชีว้ ัดภายใตย้ ุทธศาสตร์
๑. สัดสว่ นผู้เรยี นในสถานศึกษาทุกระดบั ของรัฐตอ่ เอกชน (11)
๒. ร้อยละของผู้เรียน เยาวชนและประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีได้รับ
การพฒั นาศักยภาพหรอื ทกั ษะด้านอาชพี สามารถมีงานทำหรอื นำไปประกอบอาชีพในท้องถิน่ ได้
๓๒
๓. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใตจ้ ากการทดสอบระดบั ชาติเพ่ิมขนึ้
๔. จำนวนภาคเี ครอื ข่ายท่ีเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัด/พัฒนาและสง่ เสรมิ การศึกษา (12)
๕. รอ้ ยละของคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ
หน่วยงาน
๖. จำนวนโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีได้รับการบริหารจัดการเพื่อเข้าสู่ระบบโรงเรียนเครือข่าย
กลยุทธ์
๑. ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการการศึกษาให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
โดยเน้นดา้ นคุณธรรม ความโปร่งใส ทั้งในระดบั สว่ นกลาง และในพ้ืนที่ระดับภาค/จงั หวดั
๒. พัฒนาระบบบรหิ ารงานงบประมาณ/การเงนิ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
๓. ยกระดับคุณภาพการศึกษาตอบสนองการสร้างอาชีพและเพ่ิมคุณภาพชีวิต
ลดความเหลอ่ื มล้ำ สรา้ งความสมานฉนั ท์ และเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
๔. เร่งส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรับผิดรับชอบในการจัดการศึกษา รวมท้ัง
สนบั สนุนทรัพยากรเพอื่ การศกึ ษา
๕. เสริมสร้างภาพลักษณ์หน่วยงานให้เกิดความร่วมมือ และสร้างเครือข่าย/
ความเปน็ ภาคีหนุ้ ส่วนกบั องค์กรทงั้ ภายในและต่างประเทศ
๖. ส่งเสริมและขยายผลให้สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่มีความพร้อม
พฒั นา เป็นสถานศึกษานิติบคุ คลในกำกับ
หมายเหตุ : ๑. (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) หมายถงึ ตวั ชว้ี ัดทป่ี รากฏทัง้ ในเปา้ หมายหลกั ของแผนฯ
และปรากฏในระดบั ยทุ ธศาสตร์
๒. ** หมายถงึ ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมาย ทน่ี ำมาจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. 2560 – 2564)
2.13 ทิศทางการพัฒนาระดับภาคสำนักงานศึกษาธิการภาค 9
วิสัยทศั น์
สำนักงานศึกษาธิการภาค 9 “สร้างเอกภาพเชิงยุทธศาสตร์เสริมบทบาทการมีส่วนร่วม
เพื่อความเสมอภาคและเท่าเทยี มทางการศึกษา”
คา่ นิยมองค์กร “รกั องคก์ ร ซือ่ สัตยส์ ุจริต อทุ ิศเวลา”
วัฒนธรรมองค์กร “ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ใหเ้ กยี รติ เป็นมติ ร จติ อาสา”
วิสัยทัศนแ์ ผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2563 - 2565
“ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างมีคุณภาพ มีงานทำ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
พันธกิจ
1. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชนอยู่ร่วมกันในสังคม
พหุวัฒนธรรม ได้อย่างมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีความภาคภมู ิใจในความเป็นชาติไทย
2. พัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของผู้เรียน ให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21
สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษและพน้ื ทชี่ ายแดน
3. ยกระดบั คุณภาพ ประสทิ ธภิ าพของการจดั การศกึ ษาทกุ ช่วงวัย
4. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางการศึกษา
๓๓
5. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ
ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษาทกุ ภาคสว่ น
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. การจัดการศึกษาเพื่อความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ
แขง่ ขันของประเทศ
3. การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้
4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา
5. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม
6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
เป้าประสงค์
1. นักเรียน นักศึกษาและประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
ไดอ้ ย่างมีความสขุ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีความภาคภมู ิใจในความเป็นชาติไทย
2. ผู้เรียนมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานรองรับเศรษฐกิจและพื้นที่
ชายแดน
3. หน่วยงานทางการศึกษาสามารถบูรณาการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4. ประชาชนในพืน้ ท่ีได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่วั ถงึ ครอบคลมุ และเป็นธรรม
5. จัดทำและพัฒนาหลักสูตรเพ่ือส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม และสง่ เสริมการนำแนวคิดตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัตใิ นการดำเนนิ ชวี ิต
6. หนว่ ยงานทางการศึกษามีระบบบริหารจัดการทม่ี ีประสิทธภิ าพ ตามหลักธรรมาภิบาลและ
การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาทกุ ภาคสว่ น
โครงการหลกั
1. โครงการส่งเสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือการมงี านทำ
2. โครงการสนองพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลที่ 10
3. โครงการสง่ เสริมเทคโนโลยีเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน
4. โครงการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
2.14 แผนพฒั นาจังหวดั นครนายก พ.ศ. 2561 – 2564 (ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2562)
จังหวัดนครนายกได้นำทิศทางการพัฒนาประเทศ แผนบริหารราชการแผ่นดิน นโยบาย
รัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ภาค แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ข้อมูลพ้ืนฐานท่ีสำคัญของจังหวัดและนำข้อมูลต่าง ๆ มากำหนดวิสัยทัศน์การ
พัฒนาจังหวดั นครนายก เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและยทุ ธศาสตร์ชาติ รวมทัง้ ศักยภาพของจงั หวัด
นครนายก ดงั น้ี
1. ตำแหน่งทางยทุ ธศาสตร์
1.1 แหล่งเกษตรกรรมที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ และแปรรูปเกษตรอุตสาหกรรมท่ี
เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมเพ่อื ตอบสนองความเปน็ ครวั โลก และความมั่นคงทางอาหาร
1.2 แหล่งท่องเท่ียวท่ีตอบสนองความต้องการของทุกคนในครอบครัวอย่างคุ้มค่าที่
อยู่ใกล้กรงุ เทพมหานคร และ EEC
๓๔
1.3 เมืองน่าอยู่ที่คนกรุงเทพมหานครและ EEC ต้องการมาพักผ่อนและเพิ่มพลัง
ทางกาย ทางจิตใจ ความคิดและเป็นเมืองท่ีทุกคนใฝ่ฝันใช้ชีวิตและอยู่อาศัย เมืองที่ตอบโจทย์วัยทำงาน
GEN y-z (Work Place) “เป้าหมายเพ่ือให้คนจังหวัดนครนายกธำรงรักษาและใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรมอย่างชาญฉลาด การให้ความสำคัญในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยแ์ ละการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
2. เป้าหมายการพฒั นาจังหวดั นครนายก “นครนายกเมืองน่าอยู่”
3. ค่านิยามของ “เมอื งนา่ อย”ู่
3.1 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้กำหนดลักษณะของ
เมืองน่าอย่ไู ว้ 11 ประการ
1. การรักษาความสะอาดด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อมท่ีมีคุณภาพรวมท้ัง
คณุ ภาพของทอ่ี ยอู่ าศัย
2. ระบบนิเวศน์ที่ยึดโยงการอยู่ร่วมกันระหว่างพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อมที่
สามารถอยู่ร่วมกนั อยา่ งสมดุลอยา่ งยั่งยืนนาน
3. ชุมชนมคี วามเกื้อกลู และไมเ่ อารดั เอาเปรยี บซ่งึ กันและกัน
4. ประชาชนมีส่วนรว่ มอย่างกว้างขวางในการกำหนดควบคุมและตัดสินใจ
เก่ยี วกับเร่ืองท่มี ผี ลกระทบต่อคณุ ภาพชวี ิต สขุ ภาพอนามัย และการกินดอี ยู่ดี
5. การสนองตอบความจำเป็นพื้นฐาน (อาหาร, น้ำ, ท่ีพักอาศัย, รายได้, ความ
ปลอดภยั และการมงี านทำ)
6. มีกลไกการระดมความคิด ประสบการณ์ และทรัพยากรอันหลากหลาย
จากการประสานงาน การตดิ ต่อและการทำงานรว่ มกับชมุ ชน
7. เป็นเมอื งที่มรี ะบบเศรษฐกิจท่ีหลากหลาย มีชีวิตชีวาและมีนวตั กรรมอยู่เสมอ
8. เสริมสร้างการเช่ือมโยงมรดกทางวฒั นธรรม สภาพทางชีวภาพอันดีงาม
รวมทัง้ เอกลักษณข์ องกลมุ่ ชนในชมุ ชนของแตล่ ะชุมชน
9. ให้มีรูปแบบการดำเนินงานท่ีสามารถขับเคลื่อนโครงการให้บรรลุ
เป้าหมายโดยใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยใู่ ห้เกิดประโยชน์สงู สดุ
10. ให้มีระบบการให้บริการดูแลความเจ็บป่วยที่เหมาะสมสำหรับประชาชน
ทกุ คน
11. มีสภาวะสุขภาพของประชาชนในระดับดีมาก คือ มีสุขภาพอนามัยใน
ระดบั สูง และมอี ตั ราการเจบ็ ปว่ ยในระดับต่ำ
3.2 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กำหนดกรอบ
ความคดิ ในการพัฒนาเมอื งนา่ อยไู่ ว้ 5 ด้าน ดงั น้ี
1. ด้านเศรษฐกจิ
1.1 มีบรรยากาศทด่ี สี ำหรับกิจกรรมทางเศรษฐกจิ
1.2 คา่ ครองชีพไม่สูง ประชาชนมีงานทำและมกี ารประกอบสัมมา
อาชีพทีด่ ี
2. ดา้ นสังคม
2.1 ประชาชนได้รับการศึกษา ความรู้ การฝึกอบรม ข้อมูลข่าวสาร
อย่างกว้างขวางและรวดเรว็
2.2 มีบริการสาธารณสุขและบริการสาธารณะอ่ืน ๆ ที่พอเพียง
และสะดวก
๓๕
2.3 มีความปลอดภัยในการดำรงชวี ติ และรักษาทรัพยส์ นิ
2.4 มคี ดอี าชญากรรม ยาเสพตดิ จำนวนนอ้ ย
2.5 ภาคีการพัฒนาทุกระดบั มีส่วนรว่ มในการวางแผนการพฒั นาเมอื ง
2.6 สทิ ธขิ องประชาชนและความยตุ ธิ รรมได้รับการคุ้มครอง
3. ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
3.1 สามารถควบคมุ มลภาวะทางน้ำ อากาศ ดนิ และเสยี ง
3.2 เมืองมีจิตวิญญาณและความสุนทรีท่ีประชาชนมีความ
ภาคภมู ิใจ และชว่ ยกันบำรงุ รักษาไว้ซึ่งมรดกทางประวัตศิ าสตร์ ศลิ ปกรรมและวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ
3.3 ประชาชนมีที่อยู่อาศัยที่ได้มาตรฐานเพียงพอและค่าใช้จ่ายไม่แพง
4. ด้านกายภาพ
4.1 เป็นเมืองที่มีระเบียบด้วยการวางผังเมืองที่มีข้อกำหนดการใช้
ประโยชน์ทด่ี นิ อยา่ งชดั เจน
4.2 มีการวางแผนและจัดบริการโครงสร้างพื้นฐานได้ทันต่อความ
ต้องการของประชาชน
4.3 มรี ะบบคมนาคมขนสง่ ทีส่ ะดวก ปลอดภัยและไม่สิ้นเปลอื ง
4.4 มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียวและท่ี
ว่างโลง่ อยา่ งพอเพยี ง
4.5 มีระบบบำบัดน้ำเสยี กำจัดขยะอยา่ งเหมาะสม
5. ดา้ นการบริหารและการจดั การ
5.1 มคี วามโปร่งใสและยุติธรรม
5.2 มปี ระสทิ ธภิ าพและยึดผลประโยชน์ของประชาชนเปน็ หลัก
5.3 ประชาชนมีสว่ นร่วมในการพฒั นาทกุ ขั้นตอน
3.3 จังหวัดนครนายก ได้นำแนวคิด “เมืองน่าอยู่”ขององค์การอนามัยโลก (World
Health Organization) และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มาเป็นกรอบแนว
ทางการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดนครนายก โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและ
ปัจจัยสนับสนุนด้านต่าง ๆ ให้ จังหวัดเป็น “นครนายกเมืองน่าอยู่” ของคนจังหวัดนครนายก และระดับภาค
รวมทัง้ ระดบั ประเทศ
1. ดา้ นเศรษฐกิจ
1.1 ดา้ นการเกษตร
1) เกษตรกรผลิตพืชผลการเกษตร ผัก ผลไม้สด สมุนไพร ที่ปลอดภัย
(Food safely) ปลอดสารพิษ Organic ได้คุณภาพ ภายใต้แนวคิดปลอดภัยตั้งแต่จากฟาร์มจนถึงส้อมเขา้ ปาก
(From the Farm to the Fork) โดยยึดหลักความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศเป็นหลัก
การใช้วิชาการและ เทคโนโลยีท่ีทันสมัยให้ได้พันธุ์พืชท่ีสอดคล้องกับสภาพของดิน การใช้น้ ำอย่างมี
ประสิทธิภาพ การเก็บเกยี่ วท่ีมคี ุณภาพ เพ่ือลดตน้ ทนุ และเพิม่ ปรมิ าณผลผลติ ต่อไร่
2) แปรรูปเกษตรอุตสาหกรรมท่ีได้มาตรฐานและปริมาณ เพื่อเพ่ิม
มูลคา่ โดยการเชื่อมโยงกับความตอ้ งการ ของตลาด และห่วงโซอ่ ุปทานของตลาดโลก (Global Supply Chain)
3) กลไกลประชารัฐบูรณาการด้านการตลาดในประเทศและ
ตา่ งประเทศ (เกษตร พาณิชย์ เอกชน) เพอ่ื ชเ้ี ปา้ ใหเ้ กษตรกรผลติ
1.2 ดา้ นการทอ่ งเที่ยวและบริการ
๓๖
1) พัฒนาการท่องเที่ยวกลางแจ้ง (Outdoor) และผจญภัย
(Adventure) การท่องเท่ียวเชิงนิเวศ สุขภาพวิถีชุมชน วัฒนธรรม สำหรับคนทุกวัย ท่ีได้คุณภาพและ
มาตรฐาน
2) เป็นแหล่งพักผ่อนและเพิ่มพลัง (Fresh up) ที่ได้คุณภาพและ
มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการจากการพัฒนาโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวนั ออก (EEC) กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
3) การตอบสนองความต้องการของตลาดนักท่องเท่ียวท่ีมีการ
เปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวท่ีเป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการและวัยทำงาน เช่น การสืบค้นข้อมูล
การท่องเท่ียวจาก อนิ เตอรเ์ น็ต คู่มือแนะนำการท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่งโดยสารสาธารณะระหว่างแหล่ง
ท่องเท่ียว สินค้าของที่ระลึก อาหาร ท่ีได้คุณภาพท้ังปริมาณและราคา ความปลอดภัย บริการพื้นฐาน ไฟฟ้า
ประปาทไ่ี ด้มาตรฐาน
1.3 ดา้ นการพัฒนาและยกระดับรายได้
1) ส่งเสรมิ และพัฒนาให้มีการประกอบสัมมาอาชพี ท่ีดี
2) การขยายผลโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริและการนำ
หลกั การทรงงานมาปรับใช้
3) การพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ตรงกบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการและโครงการระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC)
4) การพัฒนากลุ่มรัฐวิสาหกิจการเกษตร OTOP MEs/CLUSTER
รว่ มกบั บริษัท ประชารฐั รักสามัคคี เพอ่ื ใหก้ ลุ่มต่าง ๆ มีความเข้มแขง็
5) การข้ึนทะเบียนสิ่งบ่งช้ีท างภูมิศาสตร์ (Geographical
Indication) สำหรับสินคา้ ท่ีมแี หล่งกำเนดิ ในจังหวัด
6) บูรณาการและเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนต่าง ๆ
ที่มีอยู่ให้สามารถพัฒนา และยกระดับรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี
รวมทัง้ การพฒั นาสหกรณ์ต่าง ๆ
1.4 ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือสนองตอบต่อ Life Style ของคนรุ่นใหม่
ซ่งึ สามารถทำงานไดท้ กุ ที่ทีม่ อี ินเตอร์เน็ต (Smart Life)
1) การพัฒนาระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการ GEN Y และ GEN Z ในการทำธรุ กิจ Online
2) การจัดหาพื้นที่ทำงาน (Work Space) ท่ีตอบโจทย์ life style
ของคนรนุ่ ใหม่ อาทิ พ้นื ท่ีทำงานรว่ ม (Co-Worker Space)
3 ) ห าโอกาสให้ คนรุ่น ให ม่ได้ท ำงานท่ี เป็น อิสระมากขึ้น
(Independent Working Style)
2. ด้านสงั คมความม่นั คงและการบรกิ าร
2.1 ดา้ นสุขอนามยั
1) ให้ความสำคัญกับการป้องกันโรคโดยการส่งเสริมให้ออกกำลัง
กายในคนทกุ วัย และการระมัดระวังการบริโภค เช่น อ้วน หวาน มนั เค็ม
2) พัฒนาระบบการให้บริการสาธารณสุขพื้นฐานให้ได้คุณภาพ
และมาตรฐาน โดยเฉพาะบคุ ลากรทางการแพทย์ และอุปกรณเ์ ครือ่ งมอื แพทย์
3) พัฒนาศนู ย์การแพทย์สมเด็จพระเทพราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ใหเ้ ปน็ ศูนย์รักษาโรคเฉพาะทางที่สำคัญ คือ โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหัวใจ โรคไต และโรคมะเร็ง เพื่อเปน็ การ
๓๗
กระจายโอกาสให้คนในภาคตะวันออกได้รับโอกาสในการรักษาโรคเฉพาะทางท่ีสำคัญโดยไม่ต้องเข้าไปใน
กรงุ เทพมหานคร
4) การดูแลผสู้ งู ผปู้ ว่ ยติดเตียงผพู้ กิ าร
2.2 ด้านการศึกษา
1) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาทุกช่วงวัยท้ังในระบบ
นอกระบบ และ เครื่องจักรใช้งานแทนมนุษย์ (Robot) โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ท่ีมี
คุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ท้งั ภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการบรกิ าร
2) พฒั นาการศกึ ษาเพ่ือเข้าสู่ยคุ การทำงานร่วมกบั หุ่นยนต์ (Robot)
3) การทำให้ประชาชนหมู่บ้านเข้มแข็งสามารถเข้าถึงและใช้งาน
เทคโนโลยีได้อย่างดี และได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีทันสมัยและสิ่งท่ีรัฐบาลได้ลงทุนให้แล้วอย่างคุ้มค่า เช่น
Agri MAP อินเตอรเ์ นต็ ตำบล เปน็ ต้น
2.3 ดา้ นความมน่ั คง
1) ประชาชนและหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันและมีส่วน
ร่วมในการรกั ษาความปลอดภยั ในชีวิต ทรัพยส์ นิ อาชญากรรมและยาเสพติด
2) ประชาชน และหมู่บ้านมีความรู้รักสามัคคีปรองดอง การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นวิถีชีวิต
(Way of life) มภี มู ิคุ้มกัน เพยี งพอตอ่ สถานการณ์ท่มี กี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
3) ประชาชนหมู่บ้านมีระเบียบวนิ ัย พงึ่ ตนเอง ยึดม่ันความซ้ือสัตย์
สจุ รติ ยึดถอื ผลประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ว่ นตน
4) ประชาชนมีความมั่นคงในปัจจัย 4 ที่จำเป็นต่อการดำรงชีพ
คอื ทีอ่ ย่อู าศัย ยา รกั ษาโรค อาหาร เคร่อื งนุง่ หม่
2.4 ดา้ นศิลปวัฒนธรรม
1) ประชาชน หมู่บ้าน/ชุมชน มีความภาคภูมิใจ บำรุงรักษา
ต่อยอดและใชป้ ระโยชนจ์ ากมรดกทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน
2) ประชาชนหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถรักษาอัตลักษณ์ของตนเอง
และสามารถอยู่ร่วมกนั ทา่ มกลางความหลากหลายทางวฒั นธรรมด้วยความภาคภมู ใิ จ
3) ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนด้วย
เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร เพ่ือกา้ วเข้าสกู่ ารเป็นจงั หวัด 4.0 ต่อไป
2.5 ด้านการบรหิ ารจัดการ
1) ปัญหาด้านความต้องการของประชาชนพ้ืนฐานส่วนรวม จาก
หม่บู า้ น ชุมชน ตำบล อำเภอ จะได้รบั การแกไ้ ขผา่ นแผนหมบู่ ้าน ชมุ ชน ตำบล อำเภอ
2) การบริหารจัดการจะให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทุกภาค
สว่ นในรูปแบบภาคี เครือขา่ ยท้ังภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาควชิ าการ ภาคเอกชน และผูม้ สี ว่ นได้ส่วน
เสีย ต้งั แตก่ ารวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน การติดตามประเมนิ ผล
3) ภาครฐั จะตอ้ งปรับเปลี่ยนวิธคี ิด Mind Set ในการรับฟังปัญหา
ความต้องการของประชาชน การนำนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ การยึดประโยชน์ของประชาชน และ
ประเทศชาติเปน็ หลกั
4) ประชาชนต้องปรับเปลี่ยนวิธีคิด Mind Set จากการเป็นผู้รับ
ความช่วยเหลือแบบให้เปล่า เป็นการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบทั้งในลักษณะการร่วมแรงกาย การสมทบ
คา่ ใช้จ่ายบางส่วน การเรียก เกบ็ คา่ บริการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกประชาชนเป็นเจา้ ของ
๓๘
3 ด้านการพัฒนาเมอื ง
3.1 มีการวางแผนแม่บทพัฒ นาเมือง (Provincial Development
Master Plan) บนพ้ืนฐานของการมีสว่ นร่วมของประชาชนชาวนครนายกทุกภาคส่วน โดยยึดเสียงข้างมากแต่
ต้องคำนึงถึงความต้องการความต้องการของเสียงข้าง (Majority Rule Minority Rights) ภายใต้แนวทางทุก
ฝ่ายชนะ (win-win situation)
3.2 วางแผนและบริหารจัดการ บริการโครงสร้างพื้นฐานท้ังด้านการ
คมนาคมขนส่ง บริการทางด้านไฟฟ้า ประปา โครงข่ายคมนาคม ทั้งระยะสั้น กลาง ยาว โดยใช้แนวคิดการ
พัฒนาเมืองท่ียึดการขนส่งเป็นศูนย์กลาง หรือ Transit Oriented Development รองรับความต้องการของ
ประชาชน และนกั ทอ่ งเท่ยี วผู้มาเยอื น
3.3 การพัฒนาเมืองต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นเมืองท่ีน่าอยู่ สีเขียว
เมืองสะอาด เมืองประหยัดพลังงาน เมืองแห่งโอกาสและความเสมอภาคของคนไม่ว่าจนหรือรวย เมืองที่มี
ปลอดภัย และทันสมยั (Slow Life Organic Green Clean Equity Safety and Smart City)
4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
4.1 ประชาชนมีความภาคภูมิใจและช่วยกันบำรุงรักษาความเป็นเมืองที่มี
อากาศดีที่สุดติดอันดับ 7 ของโลกและเป็นส่วนหน่ึงของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ที่เป็นมรดกโลกอย่างย่ังยืน
ขณะเดียวกันก็ไม่เป็นอุปสรรคขัดขวางการพัฒนาแต่เป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริม นำมาซ่ึงรายได้และการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ดว้ ยการบริหารจัดการทีม่ ีประสทิ ธิภาพอยา่ งย่ังยนื
4.2 ประชาชนและหมู่บ้านให้ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการรักษา
ปกป้องและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน มีกติกาของหมู่บ้านตำบล อำเภอ
จังหวัด เพ่ือให้คนในจังหวัด และผู้มาเยือนได้ยึดถือเป็นบรรทัดฐานหรือมาตรฐานความเป็น “นครนายกเมือง
น่าอย”ู่
4.3 ประชาชนและทุกภาคสว่ นใหค้ วามสำคัญกับการประหยัดพลังงานการ
ใช้พลังงานสะอาด เพ่อื การพัฒนาการนำของเสยี ทางการเกษตรมาทำเป็นพลงั เป็นพลงั งานทดแทน
4.4 มกี ารใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งคมุ้ ค่าและชาญฉลาด
4. พนั ธกจิ
จังหวัดนครนายกมุ่งไปสู่เป้าหมายการพัฒนา “นครนายกเมืองน่าอยู่” โดยกำหนด
พันธกิจจังหวดั ดงั นี้
4.1 สง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรใหม้ ีศักยภาพและมลู คา่ เพ่มิ สงู ขน้ึ
4.2 สง่ เสรมิ และพฒั นาการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและรักษาส่ิงแวดล้อม
4.3 พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อสร้างความสะดวกสบายและน่าอยู่
ใหแ้ ก่สงั คม
4.4 ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมคี ุณภาพชีวิตทดี่ ี มีอาชีพมีรายได้ มีความปลอดภยั ในชีวิต
และทรพั ยส์ ิน
5. เปา้ ประสงคร์ วม
การพัฒนาจังหวัดนครนายกในระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) กำหนด
เปา้ ประสงค์รวมของการพัฒนา ดงั น้ี
5.1 เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและม่ันคง ประชาชนมีงานทำและมี
การประกอบสมั มาอาชีพทดี่ ี
๓๙
5.๒ ประชาชนมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต โดยได้รับการศึกษา ความรู้ การฝึกอบรม
ข้อมูล ข่าวสารอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว มีบริการสาธารณสุขและบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่พอเพียงและ
สะดวก รวมท้งั มีความปลอดภัยในการดำรงชีวติ และรกั ษาทรัพย์สนิ
5.๓ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสมดุลและย่ังยืน โดยมีสถานที่
พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว และที่ว่างโล่งอย่างพอเพียง ตลอดจนมีระบบบำบัดน้ำเสียและ
กำจัดขยะอยา่ งเหมาะสม
6. ตัวชวี้ ัด ตัวชวี้ ัดความสำเร็จตามเป้าหมายการพฒั นา
“เมืองท่ที ุกคน ใชช้ วี ติ และอยู่อาศยั ด้วยความสงบสุข”
7. ประเด็นการพัฒนา วตั ถุประสงค์ แนวทางการพัฒนา เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ัด และกลยทุ ธ์
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูปให้มีความ
ตรงกับความตอ้ งการของตลาด
วตั ถปุ ระสงค์
1. การผลผลิตสินค้าเกษตรตัวใหม่ๆ ตามความต้องการของ ตลาดในลักษณะเป็น
ตลาดเฉพาะกลมุ่ (Niche Market) (เชงิ รกุ )
2. การผลิตสินค้าเกษตร พ้ืนฐานตามศักยภาพของพ้ืนท่ี แต่สามารถทำให้เกษตรกร
สามารถอย่รู อดไดด้ ว้ ยการลดตน้ ทุนและเพ่ิมผลิตต่อไร่ (เชิงรับ)
3. การปรับเปลี่ยนพื้นที่การเกษตรท่ีให้ผลต่อแทนไม่คุ้มค่าไปทำเกษตรแบบทฤษฎใี หม่
การทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร การปศุสัตว์ ฯลฯ
4. การแปรรูปเกษตร อุตสาหกรรมเพ่ือสร้างมลู คา่ เพิ่ม
5. นำระบบข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม มาใช้ในข้ันตอนการผลิต การแปรรูป
การตลาด เพิ่มขนึ้
แนวทางการพัฒนา (กลยุทธ์)
1. พฒั นาโครงสรา้ ง พน้ื ฐานทางการผลติ เกษตร (ดนิ เปร้ียว ดนิ จดื /ระบบบรหิ ารจัดการน้ำ
นำ้ แลง้ น้ำท่วม ระบบกระจายน้ำ/พันธ์ุพืช/เครื่องจกั รกลการเกษตร) โดยใชข้ อ้ มลู สารสนเทศ นวตั กรรม สนับสนุน
2. นำนวัตกรรมมาใช้ในการสร้างมูลค่าการแปรรูปเกษตรอุตสาหกรรม (โรงบรรจุภัณฑ์,
บรรจุภัณฑ์ , Logistic) การแปรรูป (From farm to table)
3. บูรณาการการตลาด โดยกลไกประชารฐั
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 : ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ สุขภาพ วัฒนธรรม
และการประชมุ ทไี่ ด้มาตรฐาน
วตั ถปุ ระสงค์
1. พัฒนาการท่องเท่ียวกลางแจ้ง การผจญภัยเชิง นิเวศ สุขภาพ วิถีชุมชน
วฒั นธรรม สำหรบั คนทกุ วัยทไี่ ดม้ าตรฐาน
2. เพิ่มแหล่งพักผ่อน เพ่ิมพลังตามความต้องการของ ผู้ประกอบการเขตพัฒนา
เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก กรงุ เทพมหานคร และปรมิ ณฑล
3. สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเท่ียวท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
4. นักท่องเท่ียวจะกลับมาท่องเท่ียวนครนายกซ้ำและเพ่ิมจำนวนวันในการพักและ
ค่าใชจ้ ่าย รวมทั้งมีการกระจายรายไดก้ ารทอ่ งเทีย่ วสชู่ ุมชน
แนวทางการพฒั นา (กลยทุ ธ์)
1. พัฒนาโครงข่ายเส้นทางท่องเที่ยว ภูมิทัศน์ แหล่งท่องเที่ยว สิ่งอำนวยความ
สะดวก และผลติ ภัณฑใ์ ห้มีคุณภาพ
๔๐
2. ส่งเสริมและสนับสนุนการรักษาและฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญา
ทอ้ งถิน่ ไดร้ ับการอนุรกั ษ์และฟื้นฟู
3. นำระบบสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาประชาสัมพันธ์ ข้อมูล การตลาด และ
ความปลอดภัยของนกั ทอ่ งเท่ียว
4. พัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน สินค้า OTOP SMEs และ Cluster เพ่ือเพิ่มมูลค่า
ผลผลติ
ประเด็นการพัฒนาท่ี 3 : พัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพของประชาชน
รวมถึงจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานให้บริการประชาชนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง รวมท้ัง
เสริมสร้างความม่ันคงในสงั คมให้มคี วามสุข
วัตถปุ ระสงค์
1. มีระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และสาธารณูปโภคและมาตรฐาน
2. ประชาชนมีสุขภาพดีและมีความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สนิ
3. ประชาชนมีความรู้และทกั ษะในการประอาชีพ
แนวทางการพฒั นา (กลยุทธ)์
1. จัดทำระบบโครงข่ายบริการ พ้ืนฐาน ด้านถนน ไฟฟ้า ประปา เพื่อให้บริการ
ประชาชนได้ครอบคลมุและเพยี งพอต่อประชาชน เพอื่ สรา้ งความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สนิ
2. พัฒนาระบบให้การบริการสาธารณสุข สังคม ท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐาน
ครอบคลุม ประชาชนทุกกลุ่มโดยเฉพาะผู้ดอยโอกาส และผู้สูงอายุเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งให้พ้ืนท่ี
หมบู่ ้านและชุมชน
3. เพิ่มโอกาสให้ประชาชนได้เข้าถึงแหล่งพัฒนาความรู้ในระบบ นอกระบบ และ
เพ่มิ ทักษะเฉพาะดา้ นในการ ประกอบอาชพี
ประเด็นการพัฒนาท่ี ๔ : อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ ม ใหเ้ กดิ ความสมดุลตอ่ ระบบนิเวศ โดยประชาชนมสี ว่ นร่วม
เป้าประสงค์
1. ประชาชนมีส่วนรว่ มในการรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง ย่ังยืน
2. ประชาชนทุกภาคส่วนให้ความสำคัญกับการประหยัด พลังงาน การใช้พลังงาน
สะอาด และการนำของเสยี ด้านการเกษตรมาเป็นพลังงานทดแทน
แนวทางการพัฒนา (กลยุทธ์)
1. พัฒนาปรับปรุงแหลง่ นำ้ ใหม้ ีความเพียงพอตอ่ ความต้องการของประชาชน
2. สร้างการมมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
อย่างต่อเน่ืองและยง่ั ยืน
3. พฒั นาคณุ ภาพดินให้สามารถทำการเกษตรไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ
4. ปลกู ปา่ เพม่ิ เติมเพอ่ื รกั ษาความสมดุลของระบบนิเวศให้ยงั่ ยืน
5. พัฒนาระบบกำจดั ขยะและบำบัดนำ้ เสีย
2.15 เปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals:
SDGs)
SDGs เป็นเป้าหมายการพฒั นาทอ่ี ยู่ บนฐานของแนวคิด ดังน้ี
Inclusive Development คือ การพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้เบ้ืองหลัง การพัฒนาที่คนยากจน
คนเปราะบาง คนชายขอบจะต้องมสี ว่ นรว่ มและไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพฒั นา
๔๑
Universal Development คือ ไม่ได้เป็นการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นเฉพาะประเทศยากจนเท่านั้น
แต่ทุกประเทศก็อยู่ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนและต้องร่วมกันบรรลุเป้าหมายนี้เพ่ือสร้างโลกที่ยั่งยืน
ให้กับคนรุ่นหลัง
Integrated Development คือ การพัฒนาที่บูรณาการ หมายถึงว่า การบรรลุเป้าหมาย
SDGs จะทำเพียง 1 เป้าหมายหรือ 1 เป้าประสงค์โดด ๆ ไม่ได้ เป้าหมาย SDGs มีความเชื่อมโยงกันอย่าง
แนบแน่นใน ระดบั เปา้ ประสงค์ (Targets) การบรรลุ SDGs จะตอ้ งดำเนนิ ไปพร้อม ๆ กันอยา่ งเปน็ ระบบ
Locally-focused Development คือ การพัฒนาที่ต้องเร่ิมจากระดับท้องถ่ิน หรือ
bottom-up ด้วยเหตุผลท่ีว่า บริบทของท้องถิ่น ท้ังชนบทและในเมืองน้ัน เป็นบริบทที่ใกล้กับตัวผู้คนท่ีสุด
และองค์กร ที่บริหารจัดการเมืองหรือท้องถ่ินในชนบทเป็นผู้มีบทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินการที่จะเป็น
ประโยชน์ต่อ ผู้คนในพื้นที่ การบรรลุ SDGs จึงต้องถูกนำไปพิจารณาในระดับท้องถิ่นให้ได้และดำเนินการใน
ระดบั ท้องถน่ิ ให้ได้
Technology-driven Development คือ การพัฒนาที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีในการบรรลุ
ท้ังเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร (ICT) และเทคโนโลยีจากการปฏิวัติด้านข้อมูล (Data Revolution) เพื่อทำให้
ผลของการพฒั นาถูกเผยแพรแ่ ละถกู ตดิ ตามได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
SDGs มีเป้าหมายหลัก 17 ข้อ ครอบคลุม 3 เสาหลักด้านการพัฒนาท่ียั่งยืน คือ เศรษฐกิจ
สงั คม และส่งิ แวดล้อม ดงั นี้
เป้าหมายท่ี 1 ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นท่ี (End poverty in all its forms
everywhere)
เป้าหมายท่ี 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการและ
ส่งเสริมเกษตรกรรมที่ย่ังยืน (End hunger, achieve food security and improved nutrition and
promote sustainable agriculture)
เปา้ หมายที่ 3 สรา้ งหลกั ประกันวา่ คนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรบั ทุกคน
ในทุกวัย (Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages)
เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่า
เทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชีวติ (Ensure inclusive and equitable quality education
and promote lifelong learning opportunities for all)
เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและ
เด็กหญิง (Achieve gender equality and empower all women and girls)
เป้าหมายท่ี 6 สร้างหลักประกนั ว่าจะมกี ารจัดให้มีน้ำและสุขอนามยั สำหรับทุกคนและมีการ
บริหารจัดการ ท่ียั่งยืน (Ensure availability and sustainable management of water and sanitation
for all)
เป้าหมายท่ี 7 สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ท่ียั่งยืนในราคาที่
ย่อมเยา (Ensure access to affordable, reliable, sustainable and modern energy for all)
เป้าหมายที่ 8 สง่ เสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีต่อเนื่อง ครอบคลุม และย่ังยืน การจ้างงาน
เต็มที่มีผลิตภาพ และการมีงานที่เหมาะสมสำหรับทุกคน (Promote sustained, inclusive and sustainable
economic growth, full and productive employment and decent work for all)
เป้าหมายท่ี 9 สร้างโครงสร้างพ้ืนฐานที่มีความทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ี
ครอบคลุม และย่ังยืน และส่งเสริมนวัตกรรม (Build resilient infrastructure, promote inclusive and
sustainable industrialization and foster innovation)
๔๒
เป้าหมายที่ 10 ลดความไม่เสมอภาคภายในประเทศและระหว่างประเทศ (Reduce inequality
within and among countries)
เป้าหมายท่ี 11 ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย
มภี มู ติ า้ นทานและยั่งยืน (Make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable)
เป้าหมายที่ 12 สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคท่ีย่ังยืน (Ensure
sustainable consumption and production patterns)
เป้าหมายท่ี 13 เร่งต่อสู้กับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน (Take
urgent action to combat climate change and its impacts)
เปา้ หมายท่ี 14 อนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนจ์ ากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอยา่ ง
ยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน (Conserve and sustainably use the oceans, seas and marine resources
for sustainable development)
เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างย่ังยืน จัดการ
ป่าไม้อย่างย่ังยืน ต่อสู้กับการกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเส่ือมโทรมของท่ีดินและฟ้ืนฟูสภาพกลับมา
ใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Protect, restore and promote sustainable use
of terrestrial ecosystems, sustainably manage forests, combat desertification, and halt and
reverse land degradation and halt biodiversity loss)
เปา้ หมายที่ 16 ส่งเสริมสังคมท่ีสงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาท่ยี ั่งยืน ให้ทกุ คนเข้าถึง
ความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ (Promote peaceful
and inclusive societies for sustainable development, provide access to justice for all and
build effective, accountable and inclusive institutions at all levels)
เป้าหมายที่ 17 เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดำเนินงานและฟ้ืนฟูสภาพหุ้นส่วนความ
รว่ มมือระดับโลก สำหรบั การพัฒนาที่ย่ังยืน Strengthen the means of implementation and revitalize
the global partnership for sustainable development)
สหประชาชาติไดแ้ บ่งเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืนทั้ง 17 เปา้ หมายเป็น 5 กลมุ่ ประกอบดว้ ย
กลุ่ม People หรือกลุ่มด้านสังคม/ความเป็นอยู่ของผู้คน: ประกอบด้วยเป้าหมาย (1) การ
ลดความยากจน (2) การขจัดความหิวโหย (3) สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (4) การศึกษาที่มีคุณภาพ และ
(5) ความเท่าเทยี ม กนั ทางเพศ
กลุ่ม Prosperity หรือกลุ่มด้านเศรษฐกิจและความมั่งค่ัง: ประกอบด้วยเป้าหมาย (7)
พลังงานท่ีสะอาด และราคาท่ีย่อมเยา (8) งานท่ีมีคุณค่าและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (9) อุตสาหกรรม
นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน (10) ลดความเหลือ่ มลำ้ และ (11) เมืองและชมุ ชนยั่งยนื
กลุ่ม Planet หรือกลุ่มด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม: ประกอบดว้ ย เป้าหมาย (6)
นำ้ และสขุ าภิบาล (12) การผลิตและบรโิ ภคทรี่ ับผิดชอบและย่ังยืน (13) การรบั มือกับการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมอิ ากาศ (14) ระบบนเิ วศทางทะเลและมหาสมทุ ร และ (15) ระบบนเิ วศบนบก
กลุ่ม Peace หรือกลุ่มด้านสันติภาพ: ประกอบด้วยเป้าหมาย (16) สันติภาพและสถาบันที่
เขม้ แขง็
กลุ่ม Partnership หรือกลุ่มหุ้นส่วนเพ่ือการพัฒนา: ประกอบด้วยเป้าหมาย (17) หุ้นส่วน
เพื่อการพฒั นา
กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักใน เป้าหมายท่ี 4
สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียมและสนับสนุนโอกาส ใน
การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ประกอบด้วย 10 เป้าประสงค์ ดงั นี้
๔๓
4.1 สร้างหลกั ประกันว่าเดก็ หญิงและเด็กชายทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียมและไม่มีค่าใช้จ่าย นำไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียนท่ีมีประสิทธิผลภายในปี
2573
มาตรการสำคัญ
1. สง่ เสริมและสนบั สนุนให้ประชากรวัยเรียน ได้รบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานทม่ี ีคุณภาพ
อย่างครอบคลุม และทว่ั ถึง
2. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียนใน
รปู แบบ ท่หี ลากหลายอยา่ งมีคุณภาพและมาตรฐาน
3. พัฒนามาตรฐานการศึกษา การวัด และประเมินผลการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และ
มาตรฐานเทยี บเทา่ นานาชาติ
4.2 สร้างหลักประกันว่าเด็กหญิงและเด็กชายทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัด
การศึกษาระดับกอ่ นประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยทม่ี ีคุณภาพ ภายในปี 2573 เพื่อให้เดก็ เหล่านั้นมีความ
พร้อมสำหรบั การศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา
มาตรการสำคญั
1. สง่ เสรมิ การดูแลให้เดก็ ปฐมวัยมพี ัฒนาการทส่ี มวัยรอบด้านอย่างมคี ุณภาพ
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียน ได้รับการศึกษาปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ
อย่างครอบคลุม และทวั่ ถงึ
3. สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบกลไกความร่วมมือในการส่งเสริมและตดิ ตามพัฒนาการ
เด็กปฐมวยั เพ่ือเฝา้ ระวัง คัดกรอง และการเข้าถงึ ระบบบรกิ ารอยา่ งครอบคลมุ เท่าเทียม
4.3 สร้างหลักประกันให้หญิงและชายทุกคนเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา
รวมถึงมหาวทิ ยาลัยทม่ี ีคณุ ภาพ ในราคาทสี่ ามารถจา่ ยได้ ภายในปี 2573
มาตรการสำคญั
1. เร่งผลิตและพัฒนาผู้เรียนระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษาให้มีปริมาณ
และคณุ ภาพ สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และสาขาทเ่ี ป็นความต้องการของประเทศ
2. เสริมสร้างและขยายโอกาสทางการศึกษาระดับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
3. เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการผลิต และพัฒนา โดยเครือข่ายความ
รว่ มมือในการผลิต และยกระดับกำลงั คนระดับอาชีวศึกษา และอดุ มศึกษาทั้งองคก์ รภายในและต่างประเทศ
4.4 เพ่ิมจำนวนเยาวชนและผู้ใหญ่ท่ีมีทักษะท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงทักษะทางด้านเทคนิคและ
อาชพี สำหรับการจา้ งงาน การมีงานทีม่ คี ณุ ค่า และการเป็นผปู้ ระกอบการ ภายในปี 2573
มาตรการสำคญั
1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ และจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนา
ผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลาย เพ่ือสร้างทักษะความรู้ที่จำเป็นต่อการทำงาน การประกอบอาชีพอิสระ
การเป็นผู้ประกอบการ
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงการฝึกอาชีพและการอบรมท่ีมีคุณภาพ
ตอบสนองการสรา้ งอาชีพและเพมิ่ คุณภาพชีวติ
3. ส่งเสริมสนับสนนุ การสร้างความรู้ทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ท่ีจำเป็นต่อการประกอบอาชพี และการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแ้ กป่ ระชาชนวยั แรงงาน
4. พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชนเพ่อื การเรยี นรู้ตลอดชีวติ
๔๔
4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มท่ีเปราะบาง
ซึ่งรวมถึงผพู้ ิการ ชนพื้นเมอื ง และเด็กเขา้ ถงึ การศึกษาและการฝกึ อาชีพทุกระดบั อย่างเทา่ เทียม ภายในปี 2573
มาตรการสำคญั
1. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ให้ประชาชนทุกช่วงวัย
โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส กลุ่มเปราะบาง และกลุ่มที่มีความจำเป็นต้องการพิเศษ เข้าถึงการศึกษาท่ีมี
คุณภาพ
2. พัฒนาระบบการติดตามประชากรวัยเรียนท่ีขาดโอกาสทางการศึกษาหรือไม่
ได้รับการศึกษา รวมท้ังผู้ท่ีมีแนวโน้มจะออกกลางคันเพื่อให้ได้รับการศึกษาอย่างน้อยในระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน้
3. จดั การศึกษาทางไกลให้ครอบคลุมทกุ พ้ืนที่เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครแู ละ
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและเสรมิ สร้างโอกาสให้ผเู้ รยี นมีการเรียนร้ทู ่หี ลากหลายและมีคุณภาพ
4.6 สร้างหลักประกันว่าเยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูง ท้ังหญิงและชายสามารถอา่ น
ออกเขยี นไดแ้ ละคำนวณได้ ภายในปี 2573
มาตรการสำคัญ
1. ส่งเสริมและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา เพ่ือเพ่ิมคุณภาพการศึกษาและ
ทกั ษะการอา่ นออก เขียนได้ และการคดิ คำนวณ
2. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน หลากหลาย สอดคล้องกับความสนใจและวิถี
ชวี ิตของ กลุ่มเปา้ หมายได้อยา่ งทัว่ ถึง
3. ส่งเสริมการพัฒนาสื่อความรู้ สื่อฝึกทักษะที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ในรูปแบบที่
หลากหลาย เชอื่ มโยงผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทลั ทที่ นั สมยั และเข้าถงึ ได้
4.7 สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับส่งเสริมการ
พัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนษุยชน
ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขและไม่ใช้ความรุนแรง การเป็นพลเมือง
ของโลกและความนิยมในความ หลากหลายทางวัฒนธรรมและในสว่ นร่วมของวัฒนธรรมต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภายในปี 2573
มาตรการสำคญั
1. ผลักดันให้จัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน เป็นวาระสำคัญในหลักสูตร
และมาตรฐานทางคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
2. ส่งเสริมและสร้างคุณลักษณะและค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และความเป็น
พลเมอื ง และพลโลก ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในระบบการศกึ ษา
4.A สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาท่ีอ่อนไหวต่อเด็กผู้พิการ และ
เพศภาวะและใหม้ ีสภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรู้ที่ปลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลมุ และมปี ระสทิ ธิผล
สำหรับทุกคน
มาตรการสำคัญ
1. ส่งเสริมจดั การเรียนรูใ้ นรปู แบบทเ่ี หมาะสม และมีคุณภาพ สำหรับผเู้ รียนกลุ่มท่มี ี
ความต้องการจำเปน็ พิเศษ ทั้งกลมุ่ ความสามารถพิเศษ และกล่มุ ด้อยโอกาส
4.B ขยายจำนวนทุนการศึกษาในท่ัวโลกท่ีให้สำหรบั ประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศ
พัฒนาน้อยท่ีสุด รัฐกำลังพัฒนาท่ีเป็นเกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟริกาในการสมัครเข้าศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษา รวมถึง การฝึกอาชีพและโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านเทคนิค
วศิ วกรรม และวทิ ยาศาสตร์ ในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนาอ่ืน ๆ ภายในปี 2563