The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุกัญญา วันเดวา, 2021-01-29 14:43:05

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาาย

หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ ชุด กฎหมายในชวี ติ ประจาํ วนั เล่มที 1

Knowledge
of lawความรูเ้ บอื งต้นเกียวกับกฎหมาย

1ชนั มธั ยมศึกษาปที 5

นางสาวสกุ ัญญา วนั เดวา

โรงเรยี นวดั โสธรวรารามวรวหิ าร
สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 6

คาํ นํา

หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-BOOK) รายวชิ า สังคมศึกษา 4 ส 32103 ชดุ กฎหมาย
ในชวี ิตประจาํ วัน ชนั มธั ยมศึกษาปที 5 เล่มนี ผู้จัดทําได้สร้างจากกระบวนการจดั การเรียนรู้
พบวา่ นักเรียนยังขาดกระบวนการคดิ การวเิ คราะห์ การสืบค้น เกียวกับเรืองกฎหมาย จงึ ได้
สร้างหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ชุดกฎหมายในชีวติ ประจําวนั โดยไดจ้ ัดทาํ รปู เล่มประกอบภาพ
เพือเรา้ ความสนใจ และให้นักเรียนสามารถเรียนรไู้ ด้ด้วยตนเอง เพิมประสิทธิภาพในการ
เรียนรูข้ องนกั เรียนมากยิงขนึ ในหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์เลม่ นีนกั เรียนสามารถเรยี นรู้
จากเนือหาสาระ การฝกทาํ กจิ กรรม และทําแบบทดสอบหลงั เรียน นกั เรยี นควรศึกษา
เอกสารให้ครบถว้ น ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามลําดบั ขันตอนตามคาํ แนะนาํ โดยใหค้ รูเปนผู้ให้คํา
แนะนําทปี รกึ ษา เมอื นกั เรียนมีขอ้ สงสัย โดยหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-BOOK) ชุดกฎหมาย
ในชวี ติ ประจาํ วัน ประกอบด้วยเรอื งตา่ งๆ 5 เล่ม ดังนี

เลม่ ที 1 เรือง ความรูเ้ บืองต้นเกยี วกบั กฎหมาย
เลม่ ที 2 เรือง กฎหมายแพ่ง
เล่มที 3 เรอื ง กฎหมายอาญา
เลม่ ที 4 เรอื ง กฎหมายอนื ๆทีควรรู้
เลม่ ที 5 เรือง กฎหมายระหวา่ งประเทศทคี วรรู้

หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-BOOK) ชุดกฎหมายในชวี ติ ประจําวนั ได้รับพัฒนาและ
ปรับปรงุ ใหม้ ีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีวัดตามหลักสูตแกนกลางการ
ศึกษาขนั พืนฐาน พุทธศักราช 2551 และสามารถนํามาใช้ในการพัฒนาการเรียนรูข้ อง
นกั เรยี นได้ ขอขอบคณุ ผ้ทู มี ีส่วนร่วมในการจดั ทาํ เอกสารเล่มนีใหส้ มบูรณ์และสามารถนําไป
ใช้ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด

สุกญั ญา วันเดวา

สารบัญ หน้า

เรือง ข
คํานํา 1
สารบัญ 2
คาํ แนะนาํ สําหรับครู 3
คําชีแจงสําหรับนักเรียน 4
มาตรฐาน/ตัวชีวัด 6
ความหมายของกฎหมาย 7
ความสําคัญของกฎหมาย 8
ลักษณะของกฎหมาย 10
ระบบกฎหมาย 12
ประเภทกฎหมาย 14
ศักดิของกฎหมาย 15
การใช้บังคับกฎหมาย 17
กฎหมายกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าทีประชาชน 19
สรุป 20
กิจกรรมที 1 22
กิจกรรมที 2 25
แบบทดสอบหลังเรียน
บรรณานุกรม

คาํ ชแี จงสําหรับครู

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รายวิชา สังคมศึกษา 4 ส32103
เรือง กฎหมายในชีวิตประจําวัน

มีขันตอนดงั นี
1. ครูศึกษาหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ ตังแตห่ นา้ แรกถึงหนา้ สุดทา้ ย ทงั สารระ
การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้เข้าใจ
2. ครศู ึกษามกี จิ กรรมกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ดทคี รตุ ้องเปนผู้ให้คําแนะนาํ
หรือใหค้ าํ ปรึกษา
3. ชีแจงการใชห้ นังสือเสรมิ ประสบการณ์ให้นักเรียนเข้าใจ และปฏบิ ตั ติ าม
ทุกขนั ตอน
4. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาเนือหาในหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รายวชิ า สังคมศึกษา 4
ชุดกฎหมายในชวี ติ ประจําวนั แล้วปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพือใหน้ กั เรียนไดท้ บทวนและ
เกดิ ความเขา้ ใจทถี ูกตอ้ ง
5. การทํากิจกรรมควรใหน้ ักเรยี นมีส่วนรว่ มมากทสี ุด เชน่ การมีส่วนรว่ มในการ
ทาํ กิจกรรม การตรวจแบบฝกด้วยตนเอง การเปลยี นกันตรวจคาํ ตอบกับเพือน
6. ครใู ห้นักเรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรียน เพือดูวา่ นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจ
หลงั เรียนมากนอ้ ยเพียงใด
7. ครสู ังเกตพฤตกิ รรม สมรรถนะหลักของนักเรียนและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
แลว้ บนั ทึกผล
8. ถ้านกั เรียนศึกษาบทเรียนแลว้ ยงั ไม่เข้าใจ ครูควรชแี นะและส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียน
ไดฝ้ กปฏิบัติ ทงั ทบี า้ นและทีโรงเรียน จะทาํ ใหเ้ ข้าใจบทเรียนมากยิงขนึ
9. ครูชีแจงคะแนนให้นักเรยี นทราบและชมเชยนกั เรียนพรอ้ มให้คําปรึกษา

1

คาํ ชแี จงสําหรบั นกั เรียน

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ รายวิชา สังคมศึกษา 4 ส32103
เรือง กฎหมายในชีวิตประจาํ วัน

มขี นั ตอนดังนี
กอ่ นทีจะศึกษาหนังสือเสริมประสบการณ์ เรอื ง การเงนิ เรืองนา่ รู้ นกั เรยี นควร
ทาํ ความเข้าใจเกยี วกบั ขนั ตอนการใชห้ นงั สือเสริมประสบการณ์ เพือจะได้ปฏบิ ตั ิได้
ถูกต้อง และเกดิ ประโยชน์สูงสุดตามจดุ มงุ่ หมาย โดยให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิตามคํา
แนะนาํ ดังนี

1. ศึกษาจดุ ประสงค์การเรียนรู้เพือใหท้ ราบว่า เมอื ศึกษาจบแล้วจะไดเ้ รยี นรู้
อะไรบา้ ง

2. ศึกษาและทําความเข้าใจในเนือหา ในระหว่างทศี ึกษาให้นักเรียนตอบคําถาม
กระตุ้นความคดิ เพือให้นักเรียนมคี วามเขา้ ใจมากยงิ ขึน เมอื เกิดปญหาไม่เขา้ ใจ
ขอ้ ความใด สามารถถามครูได้

3. นักเรยี นทํากจิ กรรมเพือทบทวนความเข้าใจ
4. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนจํานวน 10 ขอ้
5. ตรวจคาํ ตอบแบบทดสอบหลังเรยี น แลว้ สรุปผลการเรียน
6. ข้อสําคญั นักเรยี นตอ้ งซือสัตย์ต่อตนเอง และเชือมันในศักยภาพตนเองวา่
ตนเองสามารถเรียนรู้ได้ ห้ามลอกเพือน เพราะนักเรยี นจะบรรลวุ ตั ถุประสงคใ์ นการ
เรยี นจากเอกสารฉบบั นี

2

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี ัด
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัตติ นตามหน้าทีของการเปนพลเมืองดี มีค่านยิ ม

ทีดงี ามและธาํ รงรักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูร่ ว่ มกันในสังคม
ไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข

ม.4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายทีเกยี วกบั ตนเอง ครอบครวั
ชมุ ชน ประเทศชาติ และสังคมโลก

สาระสําคัญ
กฎหมายเปนกฎระเบยี บ กตกิ ารว่ มกันของสังคมให้ยดึ ถือเปนแนวปฏิบตั ิ

เดียวกนั เพือปองกนั บุคคลทีคอยเอาเปรยี บหรือลว่ งละเมิดบคุ คลอนื โดยไมม่ ีเกรง
กลวั ต่อการทําความผิดการล่วงละเมิดบุคคลอืนยอ่ มไดร้ บั โทษตามลกั ษณะความผิด
การบังคบั ใช้กฎหมายจึงก่อให้เกดิ ความสงบเรยี บรอ้ ยและสรา้ งความเปนธรรมใน
สังคม

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของกฎหมาย
2. ความสําคัญของกฎหมาย
3. ลกั ษณะของกฎหมาย
4. ทีมาของกฎหมาย
5. ประเภทของกฎหมาย

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. ร้แู ละเขา้ ใจเกยี วกบั ความรูพ้ ืนฐานเกยี วกบั กฎหมาย
2. วเิ คราะหค์ วามสําคญั ของกฎหมายได้
3. เหน็ คุณค่าและความสําคญั ของการปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย

3

Meaning Of The Law

ความหมายของกฎหมาย

ความหมายของกฎหมายนันได้มี

นักปรชั ญาและนักกฎหมายให้คํานิยามไวต้ ่างกัน

จอห์น ออสติน (John Austin) ปรัชญา
เมธีทาง กฎหมายชาวอังกฤษ อธิบายว่า
“กฎหมาย คือ คําสัง คําบัญชาของรัฏฐาธิปตย์
ซึงบังคับใช้กับกฎหมาย ทังหลายถ้าผู้ใดไม่
ปฏิบัติตาม โดยปกติแล้วผู้นันต้อง รับโทษ”

หลวงจํารูญเนติศาสตร์ อธิบายว่า
“กฎหมาย คือ กฎข้อบังคับว่าด้วยการปฏิบัติซึง

ผู้มีอํานาจของกฎหมายเปนข้อบังคับของรัฐ
ทีคนในสังคมควร ประเทศได้บัญญัติขึน

และบังคับให้ผู้ทีอยู่ในสังกัดของประเทศนัน
ถือปฏิบัติตาม

4

ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย
นักกฎหมาย อธิบายว่า “กฎหมาย ต้องแยกออกเปน
กฎหมายตามเนือความและกฎหมายตามแบบพิธี โดย
กฎหมายตามเนือความ คือ กฎหมายทีบัญญัติมีลักษณะ
เปนกฎหมายแท้ ได้แก่ ข้อบังคับของรัฐซึงกําหนดความ
ประพฤติของมนุษย์ ถ้าฝาฝนจะได้รับผลร้าย หรือถูก
ลงโทษ และกฎหมายตามแบบพิธี คือ กฎหมายทีออกมา
โดยวิธีบัญญัติกฎหมายไม่ต้องคํานึงว่ากฎหมายนันเข้า
ลักษณะเปนกฎหมายตามเนือความหรือไม่ เช่น
พระราชบัญญัติ งบประมาณประจําป

กล่าวโดยสรุปกฎหมาย
คือ ฏฎเกณฑ์ คาํ สังข้อบังคับหรือ
ข้อกาํ หนดทีตราขึนโดยผู้มีอํานาจสูงสุด
ของรัฐเพือใช้เปนเครืองมือควบคุมของ
สังคมและมีสภาพบังคับให้บุคคลใน

สังคมต้องปฏิบัติตามเท่านัน

5

Importance Of Law

ความสําคญั ของกฎหมาย

กฎหมายมีความสําคัญและจําเปนทีรัฐต้องมีไว้เพือเปน
ประโยชน์ในการปกครองประเทศให้ เกิดความเปน

ระเบียบเรียบร้อยประชาชนมีความสงบสุข ดังต่อไปนี

1. กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม

2. กฎหมายเปนเกณฑ์กติกาของการอยู่ร่วมกันในสังคม
กฎหมายมีสภาพบังคับทีเปนบรรทัดฐานเดียวกันกับผู้ฝาฝน
หรือกระทําผิดต้องมีบทลงโทษทีมีความเปนธรรม

3. กฏหมายมีส่วนผลักดันให้ประชาชนรู้จักสิทธิและ
หน้าทีหากประชาชนรู้จักหน้าทีทีตนเองทีต้องปฏิบัติ
จะปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง

4. การรู้กฎหมายและปฏิบัติตามข้อบัญญัติของ
กฎหมายถือเปนสิงสําคัญและจาํ เปนยิง เพราะการอยู่
ในชาติใด เกิดในประเทศใดหรือแม้ต่างชาติทีเดินทาง
เข้าไปในประเทศอืนต้องรู้และเคารพกฎหมายของ
ประเทศนัน

6

Nature Of The Law

ลักษณะของกฎหมาย

ลักษณะของกฎหมายแบ่งออกได้เปน 5 ประการ ดังนี
1.กฎหมายต้องเปนคําสังหรือข้อบังคับ บังคับให้ทําและห้ามทาํ
2.กฎหมายต้องมาจากรัฏฐาธิปปตย์หรือผู้ทีมีกฎหมายให้อาํ นาจไว้
3.กฎหมายต้อใช้บังคับได้โดยทัวไป คือเมือมีการประกาศ
ใช้แล้วบุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
4.กฎหมายต้องใช้บังคับได้จนกว่าจะมีการยกเลิกหรือเปลียนแปลง
5.กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ คือการดําเนินการลงโทษ
หรือกระทาํ การอย่างอย่างหนึงต่อผู้ฝาฝนกฎหมาย

7

Legal System

ระบบกฎหมาย

ระบบกฎหมาย แบ่งเปน 2 ระบบดังนี

Common Law
กฎหมายไม่เปนลายลักษณ์อักษร

เกิดขึนครังในประเทศอังกฤษ

มีทีมาจากจารีต ประเพณี

ใช้ระบบลูกขุนทาํ หน้าทีวินิจฉัยส่วนผู้พิพากษา
ทําหน้าทีชีขาดปญหาข้อกฎหมาย

วิธีพิจารณาคดี ใช้คําพิพากษาจากคดีก่อน
มาวินิจฉัยคดีย้อนหลังทีมีข้อเท็จจริงคล้ายกัน
และตัดสินไปในแนวทางเดียวกันกับคดีก่อน

ประเทศทีใช้ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เครือจักรภพอังกฤษ

8

Legal System

ระบบกฎหมาย
กฎหมายปนลายลกั ษณ์อักษร (Civil Law)

เกิดขึนครังแรกในอาราจักรโรมัน

มีทีมาจากกฎหมายโรมันและกฎหมายของ
จักรพรรดิจัสติเนียน

มีลักษณะเปนระบบประมวลกฎหมาย
(รวมกฎหมายหลายบท)

ผู้พิพากษาใช่ไตร่สวนข้อเท็จจริง
เพือวินิจฉัยและชีขาดปญหาข้อกฎหมาย

สามารถใช้หลักเกณฑ์ใหม่หรือเหตุผลใหม่
มาหักล้างคาํ พิพากษาเดิมได้

ประเทศทีใช้ เช่น ไทย เยอรมนี ฝรังเศส
สวิตเซอร์แลนด์ สเปน

9

Type Of Law

ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายแบง่ ออกเปน 3 ประเภท

Private Law

กฎหมายเอกชน

กฎหมายระหว่างแอกชนกับเอกชน
ประมวลกฎหมายเพ่งและพาณิชย์

กฎหมายทีมีลักษณะพิเศษ
ประมวลกฎหมายทีดิน
พระราชบัญญัติค่าเช่าทีนา

10

Public law

กฎหมายมหาชน

กฎหมายระหว่างรัฐกับเอกชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายอาญา

กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา

กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่ง

International Law

กฎหมายระหวา่ งประเทศ

กฎหมายระหว่างรัฐกับรัฐ
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

กฎหมายระหว่างประเทศแผนกอาญา

11

Hierarchy Of Law

ศักดิของกฎหมาย

การจัดแบ่งลาํ ดับชันของกฎหมายไทยสามารถจัดแบ่งลาํ ดับชัน
แบ่งออกเปน 7 ประเภท ดังนี

รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ กฎหมายใดขัดแย้งไม่ได้
1 โดยจะมีเนือหาเกียวกับการใช้อาํ นาจอธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่าง

สถาบันการเมือง สิทธิเสรีภาพของประชาชน

2 พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย เปนกฎหมายทีรัฐสภาตราขึน

พระราชกาํ หนด เปนกฎหมายทีพระมหากษัตริย์ทรงตราขึนตาม
3 คําแนะนําของคณะรัฐมนตรีตามบท บัญญัติในรัฐธรรมนูญใช้ในกรณี

จําเปนรีบด่วนหรือเรืองทีจะรักษาความมันคงในทางเศรษฐกิจ
ความปลอดภัยของประเทศ แต่ต้องเสนอต่อรัฐสภาโดยเร็ว
พระราชกฤษฎีกา เปนกฎหมายทีตราขึนโดยพระมหากษัตริย์ตามคาํ
4 แนะนําของคณะรัฐมนตรี เพือกาํ หนดรายละเอียดตามพระราชบัญญัติ
ทีกําหนดไว้
กฎกระทรวง เปนกฎหมายทีรัฐมนตรีตราขึนผ่านคณะรัฐมนตรี
5 เพือดาํ เนินการให้เปนไปตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนด

12

Hierarchy Of Law

ศักดขิ องกฎหมาย

ข้อบังคับหรือข้อบัญญัติ เปนกฎหมายขององค์กรปกครองท้องถิน
6 เช่น เทศบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เปนต้น

ประกาศคําสัง เปนกฎหมายเฉพาะกิจ เช่น พระบรมราชโองการ
7 ประกาศคณะปฎิวัติ คําสังหน่วยงานราชการ เปนต้น

ภาพแสดงลําดับศักดิของกฎหมาย

13

Law Enforcement

การใช้บงั คับกฎหมาย

การจะนาํ กฎหมายมาใช้บังคับนันมีหลักพิจารณาอยู่ 3 ประการ

1 การใช้กฎหมายเกียวกับเวลา
วันเริมใช้บังคับแห่งกฎหมาย ในทางปฏิบัติกําหนดไว้ดังนี
กรณีปกติ จะประกาศใน “ราชกิจจานุเบกษา” และเริมใช่ใน
วันถัดจากวันทีประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนต้นไป เมือมีการ
ประกาศแล้วให้ถือว่าประชาชนทุกคนทราบโดยถ้วนหน้ากัน
กรณีรีบด่วน อาจจะกําหนดให้ใช้บังคับในวันทีประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เปนต้น
พระราชบัญญัติหรือกฎหมายอืน อาจกําหนดวันใช้บังคับลงไว้ใน
พระราชบัญญัติแล้ว
พระราชบัญญัติ อาจกําหนดให้ใช้บังคับพระราขบัญญัตินัน
ในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาการมีผลย้อนหลัง
ของกฎหมาย โดยทัวไปแล้วกฎหมายจะไม่มีผลย้อนหลัง
การยกเลิกกฎหมายซึงมีหลักเกณฑ์ดังนี
การยกเลิกกฎหมายโดยตรง
การยกเลิกกฎหมายโดยปริยาย
การยกเลิกกฎหมายโดยศาลรัฐธรรมนูญ

2 การใช้กฎหมายเกียวกับสถานที
กฎหมายไทยจะใช้บังคับแก่เหตุการณ์หรือการกระทาํ ทีเกิดขึนภายใน
ราชอาณาจักรไทยเท่านัน เว้นแต่จะมีบทบัญญัติเปนการเฉพาะว่า
กฎหมายใดให้ใช้เฉพาะในท้องถินใด หรือให้ใช้บังคับแก่การกระทาํ
หรือเหตุการณ์ทีเกิดขึนนอกราชอาณาจักร

3 การใช้กฎหมายเกียวกับบุคคล
กฎหมายของรัฐมีผลใช้บังคับแก่บุคคลทุกคนทีอยู่ในราชอาณาจักร
ไม่ว่าคนคนนันจะเปนไทยหรือคนต่างด้าว

14

กฎหมายกับสทิ ธิ เสรภี าพ
และ หนา้ ทีของประชาชน

กฎหมายมิได้เพียงแตก่ าํ หนดหน้าทใี ห้ประชาชนประพฤติตามเท่านัน
แตย่ งั ชว่ ยคุ้มครองประโยชนต์ ่างๆ ของประชาชน ด้วยการรับรองสิทธิ
และเสรภี าพของคนในสังคมด้วย โดยกฎหมายสูงสุดทีเปนหลกั ประกนั
สิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทยโดยกฎหมายอืนจะขดั หรือแย้งมิได้
ได้แก่ รฐั ธรรมนญู ซงึ ไดใ้ หค้ วามคุ้มครอง และชว่ ยส่งเสริมสิทธเิ สรภี าพ
ของประชาชนในดา้ นตา่ งๆ ไวอ้ ย่างชัดเจน รวมทังไดจ้ าํ แนกเนอื หาออก
เปนส่วนต่างๆ เพือให้เข้าใจไดง้ า่ ยมากยิงขนึ โดยมที ังส่วนทเี กยี วข้องกบั
ความเสมอภาค หรือความเทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งชนชาวไทย รวมทงั ส่วนที
เกียวข้องกับสิทธแิ ละเสรีภาพของบคุ คลดว้ ย เช่น สิทธิในชีวติ และ
ร่างกาย สิทธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรม สิทธใิ นทรัพย์สิน เสรีภาพในการ
แสดงความคดิ เหน็ สิทธิและเสรภี าพในการศึกษาการได้รบั บริการ
สาธารณสุขและสวสั ดิการจากรฐั สิทธิการไดร้ บั ขอ้ มูลขา่ วสารและการ
รอ้ งเรียน เสรีภาพในการชุมนมุ และการสมาคม สิทธิ พิทกั ษ์รัฐธรรมนญู
เปนต้น

15

รัฐธรรมนูญยังได้บัญญัติเกียวกับหน้าทีของชนชาวไทย
ไว้ด้วยอันได้แก่ หน้าทีในการพิทักษ์รักษาชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปนประมุข หน้าทีในการปองกันประเทศ
และรักษาผลประโยชน์ของชาติ หน้าทีในการปฏิบัติตาม
กฎหมาย หน้าทีในการไปใช้สิทธิเลือกตัง รับราชการทหาร
ช่วยเหลือราชการ ช่วยปองกันภัย สาธารณะ ตลอิติจินเข้ารับ
การศึกษาและอบรม เปนต้น สิทธิและหน้าทีต่างๆ เหล่านี
จะต้องได้รับการ เคารพและคุ้มครองจากรัฐ ดังนัน หากผู้ใด
ถูกละเมิดสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ผู้นันก็สามารถใช้สิทธิ
ในทางศาล เพือบังคับผู้ทําการละเมิดได้

16

Summary

สรุป

สมาชิกในสังคมทุกคนมีหน้าทีทีจะต้องปฏิบัติตนเปน
พลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติ ซึงการปฏิบัติตน
ตามกฎหมายถือเปนสิงสําคัญประการหนึง เพราะกฎหมาย
คือกฏกติกาทีสังคมกําหนดขึนมาเพือใช้เปนเครืองมือ
ควบคุมหรือจัดระเบียบทางสังคมโดยกฎหมายได้วาง
แนวทาง สําหรับการอยู่ร่วมกันและได้กําหนดบทบาท
สิทธิ และหน้าทีของแต่ละคนในสังคมไว้ตังแต่เกิดจนตาย
ดังนันในฐานะสมาชิกของสังคมจึงมีความจําเปนต้อง
ศึกษาและทําความเข้าใจในกระบวนการตรากฎหมาย และ
กฎหมายสําคัญต่างๆ เพือนําความรู้และความเข้าใจเกียว
กับกฎหมายมาใช้ในชีวิตประจําวัน และเพือการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมให้เปนไปอย่างปกติสุข

17

Learning Activities

กิจกรรมทบทวนความเข้าใจ

18

Activity 1

ใหน้ กั เรยี นแสดงความคิดเหน็ เกียวกับความสาํ คัญ
ของกฎหมายทีมตี ่อสงั คมในแผนผงั ความคิด

ความสําคัญ
ของกฎหมาย

19

Activity 2

อ่านขอ้ ความทีกําหนดให้ แล้วพจิ ารณาวา่ ถกู หรอื ผดิ
หากผดิ แก้ไขขอ้ ความใหถ้ กู ต้อง

1. เมือพระราชบัญญตั ิผา่ นมติในรัฐสภาก็จะมผี ลบงั คบั ใชท้ ันที
ถกู ผดิ

แกไ้ ข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................
2. พระราชกําหนด พระราชกฤษฎกี า และกฎกระทรวง เปนกฎหมายทจี ดั ทํา
โดยฝายบรหิ าร

ถกู ผดิ
แก้ไข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................
3. รัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ

ถูก ผดิ
แก้ไข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................
4. กฎหมายเอกชนเปนกฎหมายทีกําหนดความสัมพันธร์ ะหวา่ งรัฐกบั รฐั

ถูก ผิด
แก้ไข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................

20

5. พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู และพระราชบัญญตั เิ ปนกฎหมาย
ทอี อกโดยฝายนติ ิบญั ญัติ

ถูก ผดิ
แกไ้ ข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................

6. กฎหมายระหวา่ งประเทศเปนกฎหมายทอี อกโดยรัฐใดรฐั หนงึ
ถูก ผดิ

แก้ไข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................

7. กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน และกฎหมายระหวา่ งประเทศ เปนการแบง่
ประเภทตามลักษณะความสัมพันธข์ องคู่กรณี

ถกู ผดิ
แกไ้ ข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................

8. ระบบกฎหมายทใี ช้อยู่ในประเทศไทย คือ ระบบประมวลกฎหมาย
ถกู ผดิ

แก้ไข ...............................................................................................................
..........................................................................................................................

21

แบบทดสอบหลงั เรียน เรอื ง ความรเู้ บอื งตน้ เกียวกบั กฎหมาย

คําชแี จง : 1. แบบทดสอบทังหมดมี 10 ขอ้ ใหเ้ วลาทํา 10 นาที
2. ใหน้ กั เรียนเลือกขอ้ ทถี กู ต้องทสี ุดเพียงคําตอบเดยี ว

1. ความหมายโดยทัวไปของกฎหมายคือข้อใด
ก. ข้อบังคับของรัฐ
ข. บรรทัดฐานในสังคม
ค. จารีตประเพณี
ง. บรรทัดฐานทีศาลใช้ในการตัดสินคดี

2. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของกฎหมาย
ก. กฎหมายเปนข้อบังคับของรัฐ
ข. กฎหมายมีบทลงโทษ
ค. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
ง. กฎหมายเปนข้อกาํ หนดความประพฤติและจิตใจมนุษย์

3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทัวไปของกฎหมาย
ก. ข้อบังคับซึงมาจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้มีอาํ นาจในบ้านเมือง
ข. ข้อบังคับซึงถ้าผู้ใดไม่ประพฤติตามย่อมได้รับผลร้ายอย่างใดอย่างหนึง
ค. ข้อบังคับซึงใช้ควบคุมการกระทาํ ของมนุษย์ ไม่ครอบคลุมการกระทาํ
ของสัตว์
ง. ข้อบังคับซึงมีวัตถุประสงค์ในการกล่อมเกลาจิตใจ และมีบทลงโทษ
เมือคิดทีจะฝาฝน

4. คํากล่าวทวี า่ “ความไม่รูก้ ฎหมาย ไมเ่ ปนข้อแก้ตวั ” หมายความวา่ อย่างไร
ก. ทกุ คนจาํ เปนต้องรู้กฎหมาย
ข. กฎหมายบงั คับให้ทุกคนรูก้ ฎหมาย
ค. ถึงไมร่ กู้ ฎหมายก็ไมเ่ ปนไร แต่อยา่ ทาํ ผิดกฎหมายก็แล้วกัน
ง. เมือมีการทาํ ผดิ กฎหมาย จะอ้างว่าไม่รวู้ ่ามกี ฎหมายบัญญตั ไิ ว้
เช่นนันไมไ่ ด้

22

5. “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย และได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมายเท่าเทียมกัน” ข้อใดมีความหมายใกล้เคียงกับข้อความข้างต้น
มากทีสุด

ก. ลูกชายและลูกสาวจะต้องได้รับเงินค่าขนมไปโรงเรียนเท่าๆกัน
และได้รับความคุ้มครองจากพ่อแม่เท่าๆกัน

ข. บุคคลทุกคนมีสิทธิเปนทหารได้ ถ้าได้รับการตรวจคัดเลือก
ค. แดงมีสิทธินังรถรับส่งของโรงเรียนได้เท่าๆกับขาว
ง. รัฐจะใช้กฎหมายแก่บุคคลทุกคนเท่าเทียมกัน

6. ระบบกฎหมายทีใช้อยู่ในประเทศไทย คือข้อใด
ก. ระบบกฎหมายมหาชน
ข. ระบบประมวลกฎหมาย
ค. ระบบกฎหมายจารีตประเพณี
ง. ระบบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทัวไปของกฎหมาย Common Law
ก. ผู้พิพากษาเปนผู้สร้างกฏหมาย
ข. เปนระบบกฎหมายทีเปนลายลักษณ์อักษร
ค. ประเทศทีเปนต้นกําเนิดของระบบนีคืดประเทศอังกฤษ
ง. จารีตประเพณีและคาํ พิพากษาของศาลเปนทีมาของกฎหมาย

8. กฎหมายทีกําหนดความสัมพันธ์ระหว่างพลเมืองกับพลเมืองด้วยกัน
คือข้อใด

ก. กฎหมายเอกชน
ข. กฎหมายพลเรือน
ค. กฎหมายมหาชน
ง. กฎหมายระหว่างประเทศ

23

9. พฤติกรรมใดไม่ได้เกียวข้องกับกฎหมายมหาชน
ก. นาย ก ถูกศาลตัดสินจําคุกโทษฐานลักทรัพย์
ข. รัฐสภาได้ร่วมกันบัญญัติกฎหมายว่าด้วยการเลือกตังซ่อม
ค. นาย ค ได้ฟองร้องต่อศาลในกรณีทีถูกเจ้าหน้าทีกักขังโดยมิได้
ทาํ ผิดใดๆ
ง. รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ขอให้ไทยส่งชาวอเมริกันทีค้ายาเสพติด
ไปรับโทษในประเทศนัน

10. ข้อใดจัดลําดับความสําคัญของกฎหมายลายลักษณ์อักษรของไทย
ได้ถูกต้อง

ก. รัฐธรรมนูญ พระราชกาํ หนด พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ
เทศบัญญัติ

ข. รัฐธรรมนูญ พระราชกฤษฎีกา พระราชกําหนด พระราชบัญญัติ
เทศบัญญัติ

ค. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา
เทศบัญญัติ

ง. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา พระราชกาํ หนด
เทศบัญญัติ

24

บรรณานุกรรม

กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ. หนังสือเรีบน รายวิชาพืนฐาน หนา้ ทพี ลเมอื ง
วฒั นธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์,
2562
ครวญศิริ ประยงค์ และคณะ. Short Note สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม.
กรุงเทพมหานคร : เอ็มไอเอส, 2562
ชัย ลาภเพิมทว.ี คลังข้อสอบสังคม O-NET ฉบับ KEY สังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม. กรงุ เทพมหานคร : ธนเชษฐ์, 2555
ปุณยา จนั ทมาตย์. Lacture สรปุ เข้ม สังคม ม.ปลาย. กรงุ เทพมหานคร : คารเ์ ป
เดียมเมอร์, 2561
วสิ สุตา จนั ทร์สม. Short Note SOCIAL STUDIES สรุปสังคม ม.ปลาย อา่ นกอ่ น
สอบ. กรุงเทพมหานคร : อนิ ส์พัล, 2561
สถาบันกวดวชิ าติวเตอรพ์ อยท.์ สรุปสังคม มธั ยมปลาย. กรุงเทพมหานคร : กรีน
ไลฟ พริน ติงเฮ้า, 2557
สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. หนงั สือเรยี น รายวชิ าเพิมเตมิ ชดุ เพิมศักยภาพ
กฎหมายทปี ระชาชนควรรู.้ กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน,์ 2561


Click to View FlipBook Version