The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุกัญญา วันเดวา, 2021-01-29 14:46:59

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ ชดุ กฎหมายในชวี ติ ประจําวนั

เ ล่ ม ที 2

กฎหมายแพ่ง
แ ล ะ พ า ณิ ช ย์

ชนั มธั ยมศึกษาปที 5

น า ง ส า ว สุ กั ญ ญ า วั น เ ด ว า
ผู้ ส อ น

โรงเรยี นวัดโสธรวรารามวรวิหาร
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 6

คำนำ

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-BOOK) รายวิชา สังคมศึกษา 4 ส 32103 ชุดกฎหมายในชีวิตประจาวัน
ชนั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เลม่ นี้ ผจู้ ดั ทาได้สร้างจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ พบว่านกั เรยี นยังขาดกระบวนการ
คิด การวิเคราะห์ การสืบค้น เก่ียวกับเร่ืองกฎหมาย จึงได้สร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ชุดกฎหมายใน
ชีวิตประจาวัน โดยได้จัดทารูปเล่มประกอบภาพ เพื่อเร้าความสนใจ และให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของนักเรียนมากยิ่งขึ้น ในหนังสือเสริมประสบการณ์เล่มนี้นักเรียน
สามารถเรียนรู้จากเนอ้ื หาสาระ การฝกึ ทากจิ กรรม และทาแบบทดสอบหลงั เรยี น นกั เรียนควรศึกษาเอกสาร
ให้ครบถ้วน ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอนตามคาแนะนา โดยให้ครูเป็นผู้ให้คาแนะนาท่ีปรึกษา เม่ือ
นักเรียนมีข้อสงสัย โดยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) ชุดกฎหมายในชีวิตประจาวัน ประกอบด้วยเร่ือง
ต่างๆ 5 เลม่ ดงั น้ี

เลม่ ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบือ้ งตน้ เกี่ยวกบั กฎหมาย
เลม่ ที่ 2 เรื่อง กฎหมายแพง่ และพาณิชย์
เลม่ ที่ 3 เรื่อง กฎหมายอาญา
เลม่ ที่ 4 เร่อื ง กฎหมายอนื่ ๆที่ควรรู้
เล่มที่ 5 เร่ือง กฎหมายระหว่างประเทศที่ควรรู้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) ชุดกฎหมายในชีวิตประจาวัน ได้รับพัฒนาและปรับปรุงให้มี
คุณภาพ ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดตามหลักสูตแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 และสามารถนามาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทา
เอกสารเล่มนี้ใหส้ มบรู ณ์และสามารถนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ

สำรบญั

เรือ่ ง หนำ้
คานา ก
สารบัญ ข
คาแนะนาสาหรับครู 1
คาชีแ้ จงสาหรบั นักเรยี น 2
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด 3
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ 4
กฎหมายเร่ืองบคุ คล 5
กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครัว 12
กฎหมายเรื่องมรดก 17
กฎหมายเรอื่ งทรพั ยส์ ิน 19
กฎหมายเร่ืองการละเมิด 22
กฎหมายเก่ยี วกับนติ กิ รรมสญั ญา 24
สรปุ 30
กจิ กรรมท่ี 1 32
กจิ กรรมท่ี 2 34
แบบทดสอบหลงั เรียน 36
บรรณานกุ รม 39

คำชแ้ี จงสำหรบั ครู

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ รำยวชิ ำ สังคมศกึ ษำ 4 ส32103
เร่ือง กฎหมำยในชีวติ ประจำวนั

มขี ั้นตอนดังนี้
1. ครศู กึ ษาหนังสือเสริมประสบการณ์ ตง้ั แต่หน้าแรกถงึ หนา้ สุดท้าย ทัง้ สารระการเรียนรู้ และกิจกรรมการ
เรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ
2. ครศู ึกษามกี ิจกรรมกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ดท่ีครตุ ้องเปน็ ผใู้ หค้ าแนะนา หรอื ให้คาปรึกษา
3. ชแี้ จงการใชห้ นงั สอื เสรมิ ประสบการณใ์ ห้นักเรียนเข้าใจ และปฏบิ ตั ติ ามทุกขน้ั ตอน
4. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาเน้ือหาในหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ รายวิชา สังคมศึกษา 4 ชดุ กฎหมายใน
ชีวิตประจาวนั แล้วปฏิบัตกิ ิจกรรมเพือ่ ให้นักเรยี นได้ทบทวนและเกิดความเข้าใจทถ่ี กู ต้อง
5. การทากิจกรรมควรใหน้ กั เรยี นมีสว่ นร่วมมากทสี่ ุด เชน่ การมีส่วนรว่ มในการทากจิ กรรม การตรวจแบบ
ฝึกดว้ ยตนเอง การเปล่ยี นกนั ตรวจคาตอบกับเพื่อน
6. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น เพอื่ ดวู า่ นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจหลังเรยี นมากนอ้ ยเพียงใด
7. ครสู ังเกตพฤติกรรม สมรรถนะหลักของนกั เรียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ แล้วบนั ทกึ ผล
8. ถ้านักเรยี นศึกษาบทเรยี นแล้วยังไม่เขา้ ใจ ครคู วรช้ีแนะและส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ ปฏิบัติ ทง้ั ท่บี า้ นและท่ี
โรงเรยี น จะ
ทาให้เข้าใจบทเรยี นมากย่ิงขึ้น
9. ครชู แี้ จงคะแนนใหน้ ักเรียนทราบและชมเชยนกั เรียนพร้อมให้คาปรึกษา

คำช้ีแจงสำหรบั นกั เรียน

หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รำยวชิ ำ สังคมศึกษำ 4 ส32103
เร่อื ง กฎหมำยในชีวิตประจำวนั

มีขน้ั ตอนดังนี้
ก่อนทีจ่ ะศกึ ษาหนังสอื เสริมประสบการณ์ เร่อื ง การเงนิ เรอ่ื งน่ารู้ นกั เรียนควรทาความ

เขา้ ใจเกีย่ วกับขน้ั ตอนการใช้หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ เพ่อื จะไดป้ ฏบิ ัติไดถ้ ูกตอ้ ง และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ
ตามจดุ มุ่งหมาย โดยให้นกั เรียนปฏิบตั ิตามคาแนะนาดงั น้ี

1. ศึกษาจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้เพ่อื ให้ทราบวา่ เม่อื ศึกษาจบแล้วจะได้เรยี นรอู้ ะไรบ้าง
2. ศึกษาและทาความเข้าใจในเน้อื หา ในระหวา่ งที่ศกึ ษาใหน้ กั เรียนตอบคาถามกระต้นุ
ความคิดเพอื่ ให้นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจมากยงิ่ ข้นึ เมอ่ื เกิดปญั หาไมเ่ ขา้ ใจข้อความใด สามารถถามครไู ด้
3. นักเรียนทากจิ กรรมเพือ่ ทบทวนความเขา้ ใจ
4. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนจานวน 10 ขอ้
5. ตรวจคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น แลว้ สรุปผลการเรียน
6. ข้อสาคญั นักเรยี นตอ้ งซ่อื สัตยต์ อ่ ตนเอง และเช่อื มนั่ ในศกั ยภาพตนเองวา่ ตนเอง
สามารถเรียนร้ไู ด้ หา้ มลอกเพื่อน เพราะนกั เรียนจะบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นจากเอกสารฉบบั นี้

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัด

มำตรฐำน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไทย และสงั คมโลกอย่างสนั ติสขุ

ม.4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายทเ่ี กี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และ

สงั คมโลก

สำระสำคญั

กฎหมายเป็นกฎระเบียบ กตกิ ารว่ มกนั ของสังคมใหย้ ดึ ถอื เป็นแนวปฏิบัติเดียวกัน เพอ่ื ป้องกันบุคคลทคี่ อย
เอาเปรยี บหรือลว่ งละเมิดบุคคลอื่นโดยไม่มีเกรงกลัวต่อการทาความผดิ การล่วงละเมดิ บุคคลอืน่ ย่อมไดร้ ับ
โทษตามลักษณะความผดิ การบงั คับใช้กฎหมายจงึ กอ่ ใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อยและสรา้ งความเปน็ ธรรม
ในสังคม

สำระกำรเรยี นรู้

1. ความหมายของกฎหมาย
2. ความสาคัญของกฎหมาย
3. ลกั ษณะของกฎหมาย
4. ท่มี าของกฎหมาย
5. ประเภทของกฎหมาย

จุดประสงค์กำรเรยี นรู้

1.รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรูพ้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั กฎหมาย
2. วิเคราะห์ความสาคัญของกฎหมายได้
3. เห็นคณุ ค่าและความสาคัญของการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย

กฎหมำยแพง่

กฎหมายแพ่ง เป็นระเบียบข้อบังคับที่เก่ียวข้องกับเอกชนมีบทบัญญัติเก่ียวกับเรื่องของ
บุคคล ครอบครัว ทรัพย์สิน นิติกรรม และสัญญา ซึ่งเป็น เรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน ใน
กฎหมายแพ่งมีสภาพบังคับให้ทุกคนในสังคมต้องปฏิบัติตามและมีบทลงโทษท่ีชัดเจน หากผู้ใดฝ่า
ฝืนหรือไมป่ ฏิบัติตาม ย่อมได้รบั บทลงโทษทางกฎหมายแพ่ง

กฎหมายแพง่ จึงมีความสาคญั ต่อการดาเนนิ ชีวิตของสมาชิกในสังคม ดงั นี้
1. การใชก้ ฎหมายแพง่ รบั รองสภาพความเปน็ บคุ คล
2. การใช้กฎหมายแพง่ ในการกอ่ ทรพั ย์ การทานิติกรรม การทาสัญญา
3.การใช้สภาพบังคับของกฎหมายแพ่งในการควบคุม ป้องกันการกระทาผิด เช่น การ
ละเมดิ หรอื เพอ่ื เรียกร้องการชดใชค้ า่ เสยี หายจากผู้ละเมดิ
4. การใชก้ ฎหมายแพง่ ในการจดั การทรพั ย์ทหี่ ามาได้ เชน่ กฎหมายมรดก
5.การใช้กฎหมายแพ่งในการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง เพื่อลดการถูกเอารัด
เอาเปรยี บ เพราะกฎหมายแพ่งจะให้ความคุ้มครองแกป่ ระชาชนอย่างเท่าเทียมกนั
กฎหมายเกยี่ วกบั ตนเอง

กฏหมำยเร่ืองบคุ คล

บคุ คล

หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถมีสิทฦและหน้าที่ได้ตามกฎหมายซ่ึงไม่ได้
หมายถึงเฉพาะสิ่งมีชวี ติ คือบุคคลธรรมกาเท่านั้น แต่กฎหมายยังให้การ
รบั รองถงึ คณะบุคคล กิจการ ซึ่งเรียกว่า นิติบุคคล ดังน้ันบุคคลในทาง
กฎหมายจงึ เบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื

1. บุคคลธรรมดำ 2. นติ ิบคุ คล

เร่มิ ต้นตั้งแตค่ ลอดและอยู่ เร่มิ ตน้ ข้ึนเม่ือจดทะเบียน
รอดเป็นทารก
ส้ินสดุ เม่อื ยกเลกิ การจดทะเบยี น
ส้นิ สดุ เมื่อตายหรือศาลสง่ั ให้ หรอื ลม้ ลละลาย
เป็นบคุ คลสาบสญู
หากมีหนเ้ี กิน 2,000,000 บาท
หากมหี น้เี กิน 1,000,000 บาท สามารถถกู ฟอ้ งล้มละลายได้
สามารถถกู ฟอ้ งลม้ ละลายได้
นติ บิ ุคคล ไดแ้ ก่ กระทรวง กรม
วัด หา้ งหุน้ สว่ นจากัด บริษทั จากดั
สมาคม มูลนธิ ิ คณะบคุ คล

ควำมสำมำรถของบุคคล

ความสามารถของบุคคล คือความสามารถท่ีบุคคลจะใช้สิทธิตามกฎหมายที่มีกฎหมายรับรองไว้ซ่ึง
สามารถใช้สิทธิได้ตามลาพังตนเอง หรือถูกจากัดในการใช้สิทธิเพราะเป็นผู้หย่อนความสามารถ ซ่ึงหมายถึง
บุคคลทัว่ ไปมี 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ผเู้ ยาว์ คนไรค้ วามสามารถ และคนเสมอื น ไร้ความสามารถ

1 ผเู้ ยำว์

ผู้เยาว์ คือ ผู้ท่ียงั ไม่บรรลนุ ติ ิภาวะ
โดยกำรบรรลนุ ิตภิ ำวะ มี 2 กรณี
1. อายุครบ 20 ปีบรบิ รู ณ์

2. ทาการสมรสโดยการจดทะเบยี นสมรส เม่อื ชายและหญงิ มี
อายคุ รบ 17 ปบี รบิ ูรณ์ โดยได้รบั การยนิ ยอมจากบิดาและ
มารดา หรอื ผปู้ กครอง หรือในกรณีทศ่ี าลเห็นสมควรอนุญาต

ผู้แทนโดยชอบธรรม

ในทางกฎหมายผเู้ ยาว์จะกระทาการใดได้ตอ้ งมผี ้แู ทนโดยชอบธรรมเปน็ ผู้ดแู ล
ผแู้ ทนโดยชอบธรรมมอี ยู่ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

1. บิดา มารดา 2. ผปู้ กครง

การทานิติกรรมท่ีผู้เยาว์ทาเองไปโดยไม่ได้รับความยินยอม จากผู้แทนโดยชอบธรรมเป็นโมฆียะ
บิดามารดาผู้ใช้อานาจปกครองหรือผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมมีอานาจบอกล้างได้ ทาให้นิติ
กรรมนัน้ เปน็ โมฆะไมม่ ผี ลในกฎหมาย

2. คนไรค้ วำมสำมำรถ

คือ คนวกิ ลจริตถึงขนาดที่ไม่มีทางดูแลตัวเองหรือผลประโยชน์
ของตัวเองได้เลย ซ่ึงศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถตามคา
ร้องขอของ คู่สมรส, บุพการี, ผู้สืบสันดาน, ผู้ปกครอง, ผู้
พิทักษ์, ผู้ดูแลรักษาทั่วไป หรือพนักงานอัยการ ซ่ึงการเป็นคน
ไร้ความสามารถจะมผี ลนับแตศ่ าลมคี าสั่ง

คนไรค้ วามสามารถนนั้ กฎหมายจากัดสทิ ธิไวม้ ิให้ทานติ กิ รรมได้
โดยลาพังเลย นิติกรรมท้ังปวงท่ีคนไร้ความสามารถทาตกเป็น
โมฆียะ ซ่ึงรวมถึงพินัยกรรมด้วย หากคนไร้ความสามารถ
ต้องการทานิติกรรมแล้ว บุคคลท่ีเรียกว่า "ผู้อนุบาล" จะทา
แทนเขาเอง

อนบุ ำล คอื ผู้ที่มีหน้าทด่ี แู ลคนไรค้ วามสามารถ รวมท้ังจดั การดูแลทรพั ย์สิน และหน้าที่ต่างๆ แทนคน
ไร้ความความสามารถ

ขัน้ ตอนกำรร้องขอเปน็ ผู้อนบุ ำล

ขั้นตอนที่ 1 ผู้ร้องจะต้องย่ืนคาร้องขอ ขั้นตอนที่ 2 หลังจากประกาศในราช
เป็นผู้อนุบาลและขอให้ศาลมีคาสั่งให้บุคคลเป็นผู้ กิจจานุเบกษา พ้นกาหนด 30 วันแล้ว หากผู้
ไร้ความสามารถ เม่ือศาลมีคาสั่งแล้ว ผู้ร้องต้อง อนุบาลมีความจาเป็นที่จะต้องใช้อานาจหน้าที่
ขอให้เจ้าพนักงานศาล ประกาศในราชกิจจา ของผู้อนุบาลตามประมวล กฎหมายแพ่งและ
นุเบกษา ตามมาตรา 28 วรรคท้ายแห่งประมวล พาณิชย์ ในการทานิติกรรมอันเกี่ยวกับทรัพย์สิน
กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ของผู้ไร้ความสามารถโดยอนุโลม เช่น ขาย
แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้เช่า ผู้อนุบาลต้องย่ืนต่า
ร้อง ขออนุญาตต่อศาล ขอทานิติกรรมแทนผู้ไร้
ความสามารถตามความจาเป็น ซึ่งผู้อนุบาลจะ
จัดการทุกอย่างเชน่ เดียวกับผ้จู ดั การ

3. คนเสมอื นไรค้ วำมสำมำรถ

คือ บคุ คลที่ไม่สามารถจัดทาการงานของตนเองได้เพราะมกี าย
พกิ าร จติ ฟ่นั เฟอื น ไมส่ มประกอบ ประพฤตสิ ุรุย่ สรุ ่าย เสเพล
เปน็ อาจิณ ตดิ สุรายาเมา และคูส่ มรส บุพการี ผสู้ บื สนั ดาน
หรอื พนักงานอยั การร้องขอต่อศาลแล้วศาลสัง่ ใหเ้ ป็นคน
เสมือนไร้ความสามารถ

บคุ คลท่ศี าลสงั่ ให้เปน็ คนเสมอื นไรค้ วามสามารถจะตกอยู่ใน
ความพทิ กั ษข์ องบคุ คลท่ีเรยี กว่า ผู้พิทกั ษ์ และจะถูกจากดั
ความสามารถบางชนิด

คนเสมอื นไร้ความสามารถย่อมสามารถทจี่ ะทานิตกิ รรมใด ๆ ไดแ้ ละมีผลสมบูรณ์ เว้นแต่ นติ ิกรรมท่กี าหนด
ไว้ใน ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 34 เชน่ การนาทรพั ยส์ นิ ไปลงทุน การทาสัญญากู้ยมื หรอื
รับประกัน การประนปี ระนอมยอมความ การเช่าหรอื ให้เชา่ อสงั หาริมทรพั ยเ์ กนิ กวา่ 6 เดอื น หรือ
อสงั หารมิ ทรัพยเ์ กินกว่า 3 ปี

หลักฐำนแสดงตวั บคุ คล

บัตรประจาตัวประชาชนเป็นเอกสาร
สาคัญที่ใช้เพื่อพิสูจน์ตัวบุคคล ภูมิลาเนา และ
สถานะบางอย่างของบุคคลได้ เพราะบัตรประชาชน
ออกโดยทางราชการ ระบุชื่อ วัน เดือน ปีเกิด ที่อยู่
และรูปถ่ายเจ้าของบัตร จึงสามารถใช้เป็นหลักฐาน
ทาการพิสูจน์ตนเอง และภูมิลาเนาได้ เมื่อต้อง
ตดิ ต่อกับทางราชการและบุคคลอ่นื ๆ

คุณสมบัตขิ องผ้ขู อมบี ตั รประจำตัวประชำชน

บุคคลผู้มีสญั ชาติไทย อายุ 7 ปีบริบูรณ์ แตไ่ มเ่ กนิ 70 ปี
มีช่ือในทะเบยี นบ้าน และบุคคลท่เี พิ่มช่อื ในทะเบยี นบา้ น
บุคคลต่างด้าวทไี่ ด้สญั ชาติไทย หรอื ศาลส่ังให้ได้สัญชาติไทย

บคุ คลท่ไี มต่ อ้ งมีบตั ร

พระภิกษุ คนพิการ (เดนิ ไมไ่ ด้ เป็นใบ้
สามเณร ตาบอดท้ังสองข้าง)
นักบวช จติ ฟันเฟอื นไมส่ มประกอบ

กำรขอมบี ัตรประชำชน

 บตั รประชาชนมอี ายุ 8 ปี นบั ต้ังแตป่ ที ี่ออกบัตร โดยจะหมดอายใุ นวันก่อนวัน
เกิดเทา่ นนั้ ไม่ไดห้ มดอายใุ น 8 ปีนบั จากวันทไี่ ปทา เช่น เจ้าของบัตรเกิดวันที่
30 ม.ิ ย. ไปทาบัตรประชาชนเมือ่ วันท่ี 15 มิ.ย. 60 บัตรจะหมดอายุวนั ที่ 29
ม.ิ ย. 2568

 กรณีถ้าบัตรหมดอายุ ผ้ถู ือบตั รเปลี่ยนช่อื -นามสกลุ ใหม่ หรือบตั รชารดุ เสียหาย
ตอ้ งขอมบี ตั รใหมภ่ ายใน 60 วนั

 ผู้ถือบัตรทมี่ อี ายุครบ 70 ปบี รบิ ูรณใ์ ห้ใชบ้ ตั รใบเดิมตอ่ ไปตลอดชีวิต ไม่ตอ้ งทา
บตั รใหม่

บทลงโทษ

 หากถ้าพน้ กาหนดระยะเวลาขอ
มบี ตั รแลว้ ยงั ไม่ทาบตั ร ต้อง
ไดร้ บั โทษปรับไมเ่ กนิ 500 บาท

 ปลอมบัตรประชาชนตอ้ งได้รับโทษ
จาคุกตั้งแต่ 1-10 ปี หรอื ปรบั ตั้งแต่
20,000200,000 บาท หรือท้ังจาทั้ง
ปรบั

กำรส้นิ สภำพบุคคล

1. ตาย โดยทั่วไปการตายคือการสิ้นสภาพบุคคล
เปน็ การส้นิ สุดของชวี ิตมนษุ ย์

2. สาบสูญ หมายถึง การที่บคุ คลไปจากภูมลิ าเนา
หรือถ่ินที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่า บุคคลน้ันยังมี
ชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลาห้าปี เม่ือผู้มีส่วน
ได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้
บคุ คลนนั้ เปน็ คนสาบสูญ โดยการสาบสูญนั้นเป็น
การตายโดยผลของกฎหมาย

กฎหมำยเก่ยี วกับครอบครวั ใครหมัน้ ไดบ้ ้าง ?
17 +
กำรหมน้ั
ชายหญิงต้องมีอายุ อายุ 17 ปบี รบิ ูรณ์ และได้รบั
การหมั้น หมายถงึ ? สบิ เจ็ดปีบริบูรณ์ ความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบ
ข้นึ ไป ธรรม เชน่ บิดามารดาร
การทชี่ ายหญงิ ทาสัญญาว่าจะทาการ ผปู้ กครอง และผรู้ ับบตุ รบญุ ธรรม
สมรสกัน และอย่กู ินกันฉันสามีภรรยา
และฝ่ายชายไดม้ อบของหมนั้ ไว้ให้แก่
หญงิ เพื่อเปน็ ประกนั ของหม้ันจึงเป็น
ทรัพย์สนิ ท่ฝี า่ ยชายใหไ้ ว้แกฝ่ า่ ยหญงิ

** ถา้ ไมไ่ ดร้ บั การยนิ ยอมการหมัน้ จะถูกเพิกถอนได้

ของหมัน้ เป็นของใคร? ผิดสัญญาหม้ันจะเป็นอย่างไร?

ท รั พ ย์ สิ น ท่ี ฝ่ า ย ข า ย ของห ม้ันจ ะ - เลกิ สัญญาหมัน้ - เลกิ สัญญาหมนั้
ม อ บ ใ ห้ แ ก่ ฝ่ า ย ห ญิ ง เป็นสิทธิของ - เรยี กคนื ของหม้ัน - ไม่คนื ของหมน้ั ให้
เ พ่ื อ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ฝ่ายหญิง จากฝา่ ยหญงิ ฝ่ายชาย
ประกันว่าจะสมรสกับ
ฝ่ายหญิง

กำรสมรส

การสมรส หมายถึง?
การสมรสนน้ั เปน็ การตกลงระหว่างชายหญงิ ท่จี ะอย่กู นิ ฉันสามีภรรยา
โดยการจดทะเบียนรับรองสถานะความเป็นสามีภรรยาตามกฎหมาย การสมรสจึงทาได้โดยไม่
จาเป็นต้องมสี ัญญาหมนั้ การสมรสที่ถูกต้องตามกฎหมายคอื “การจดทะเบียนสมรส”

เงื่อนไขการสมรส มีอะไรบา้ ง?

ชายและหญงิ มีอายสุ ิบเจ็ดปีบริบูรณ์แลว้ ถ้าชายหญงิ อายุยังไม่บรรลุนติ ิภาวะ ตอ้ ง
ไดร้ ับความยนิ ยอมจากบิดามารดา ผู้รับบตุ รบญุ ธรรม ผูป้ กครอง จงึ จะสมรสได้

ชายหรอื หญิงจะตอ้ งไม่เป็นคนวิกลจรติ หรือเปน็ บุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็นคน ไร้
ความสามารถ

ชายหรือหญิงต้องไมเ่ ปน็ ญาตสิ บื สายโลหติ โดยตรงขน้ึ ไปหรือลงมา ไม่เปน็ พีน่ อ้ งรว่ ม
บิดามารดา หรอื ร่วมแต่บดิ าหรอื มารดา

ชายหรอื หญงิ จะทาการสมรสในขณะทตี่ นเองมีคสู่ มรสอยูไ่ ม่ได้

หญงิ ทสี่ ามตี ายหรือการสมรสไดส้ ้นิ สุดลงดว้ ยเหตุประการใดกต็ าม จะทาการสมรส
ใหม่ได้ ตอ่ เม่ือการสน้ิ สดุ การสมรสน้นั ผา่ นไปแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 310 วัน

ทรัพย์สินในทำงกฎหมำยครอบครัว ทเี่ ป็นลักษณะของสนิ ส่วนตวั และสินสมรส

สินส่วนตวั VS สินสมรสตำ่ งกนั อยำ่ งไร

สินส่วนตัว

1) ทรัพยส์ นิ ที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมอี ย่กู ่อนสมรส หรือได้มากอ่ นวันจดทะเบยี นสมรส
2) เครื่องใช้สอยส่วนตวั เครอ่ื งแต่งกาย หรือเครอ่ื งประดับกายตามควรแกฐ่ านะ หรอื เครอ่ื งมอื เครื่องใช้
จาเปน็ ในการประกอบอาชีพ หรอื แมส้ ามเี ปน็ ผู้หามาใหห้ รือภรรยาหามาเองในระหว่างสมรสกย็ ังคงเป็นสิน
ส่วนตวั ของภรรยา
3) ทรพั ยส์ ินที่ฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ ได้มาระหว่างสมรส โดยการรับมรดกหรอื การใหโ้ ดยเสน่หา แมจ้ ะเป็นการได้มา
ในระหว่างสมรส แต่กฎหมายก็ให้ถอื เป็นสนิ สว่ นตวั ของฝา่ ยทไ่ี ดม้ า เพราะว่าการไดร้ ับทรพั ย์สินมาในลักษณะ
ผ้ใู หย้ ่อมมเี จตนาให้ผรู้ ับเปน็ ทรพั ย์สนิ ส่วนตัว
4) ของหมน้ั ยอ่ มตกเปน็ สิทธแ์ิ ก่หญิง

VS

สนิ สมรส

1) ทรพั ยส์ ินท่ีคสู่ มรสไดม้ าระหวา่ งสมรส คอื ไดม้ าหลงั วนั จดทะเบยี นสมรส
2) ทรพั ยส์ ินท่ีฝ่ายใดฝ่ายหน่งึ ไดม้ าระหวา่ งสมรสโดยพินยั กรรมตอ้ งมีการระบชุ ดั แจง้ ในพนิ ยั กรรม
3) ดอกผลของสนิ สว่ นตวั

ควำมสมั พันธร์ ะหว่ำงสำมภี รรยำ

1. สามีภรรยาตอ้ งอยกู่ นิ ด้วยกันฉันสามีภรรยา สามีภรรยาตอ้ งชว่ ยเหลือ อุปการะ

เลี้ยงดูกนั ตามความสามารถและฐานะของตน

2. ในกรณีทกี่ ารอยูร่ ่วมกันของสามภี รรยาจะเปน็ อนั ตรายแก่กายหรือจิตใจ

หรือ ทาลายความผาสกุ อย่างมากของสามีหรอื ภรรยา ฝา่ ยทีจ่ ะตอ้ งรบั อนั ตราย

หรอื ความเสียหายอาจรอ้ งต่อศาล ขอให้ส่ังอนุญาตให้ตนอยู่ต่างหากในระหว่างท่เี หตนุ ั้นๆ ยังมีอยกู่ ็ได้

3. ในกรณีทศ่ี าลส่ังให้สามีหรอื ภรรยาเป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื เสมอื นไรค้ วามสามารถ ภรรยา

หรอื สามยี อ่ มเป็นผูอ้ นบุ าลหรือผู้พทิ กั ษ์ได้

4. ถา้ สามีหรือภรรยาเปน็ คนวิกลจรติ อีกฝา่ ยหน่งึ ต้องอุปการะเลยี้ งดแู ละกระทาการตามสมควร

กำรส้ินสดุ แห่งกำรสมรส

การส้นิ สดุ แหง่ การสมรสเกดิ ขนึ้ ได้ด้วยความตาย หรือศาลพิพากษาเพิกถอน และการหยา่ ซึ่งการหย่ามี 2 วธิ ี
คอื
1) หยา่ โดยความยินยอม
2) การหย่าโดยคาพพิ ากษาของศาล

บดิ ำมำรดำกบั บุตร

สทิ ธิและหนำ้ ท่ีของบิดำมำรดำและบุตร
บิดามารดาต้องอุปการะเล้ียงดูและให้การศึกษาแก่บุตร และเม่ือบิดามารดาชราภาพบุตรมีหน้าท่ีในการ
อปุ การะเลยี้ งดูบิดามารดา อกี ทัง้ กฎหมายกาหนดไวว้ ่า ห้ามฟ้องบุพการี บุตรจะฟ้องบุพการีของตนคือ บิดา
มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด ไม่ได้ ไม่ว่าจะฟ้องเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา และไม่ว่าจะฟ้องด้วยตนเอง หรือ
ฟ้องโดยผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้แทนอย่างอ่ืน ทั้งน้ีบุตรมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาในฐานะ
ผสู้ บื สนั ดานซึ่งเปน็ ทายาทโดยชอบธรรมลาดับแรก

บตุ รบญุ ธรรม

1. บคุ คลทจี่ ะรับบคุ คลอ่นื เปน็ บตุ รบญุ ธรรมได้น้นั ต้องมีอายไุ มํ่ตา่ กว่า 25 ปี
2. บคุ คลที่จะรบั บุคคลอืน่ เป็นบุตรบญุ ธรรมต้องมีอายุแกก่ วา่ บุตรบญุ ธรรมอย่างน้อย 15 ปี
3. ผู้ท่จี ะรับบุตรบุญธรรมหากมคี สู่ มรสจะต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสก่อน
4. ผู้ทจ่ี ะเป็นบตุ รบุญธรรมหากยังเปน็ ผ้เู ยาวจ์ ะต้องไดร้ บั ความยนิ ยอมจากบดิ าและมารดาของตนเอง กรณี
ผู้เยาวท์ ่ถี กู ทอดทิง้ หรอื มิได้ถูกทอดทิง้ และอยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์เดก็ ตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอม
จากบดิ าและมารดา ของผเู้ ยาว์

*** ท้ังน้ีเมื่อการรับบุตรบุญธรรม มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้ว สิทธิ และหน้าที่ระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญ
ธรรมย่อมเปน็ ไปตามทก่ี ฎหมายกาหนดคอื บตุ รบุญธรรมยอ่ มมีฐานะเชน่ เดียวกบั บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญ
ธรรม บุตรบุญธรรมมีสิทธิได้รับการอปุ การะเลีย้ งดแู ละให้การศกึ ษา

กฎหมำยเร่อื งมรดก

มรดก คืออะไร?

มรดกคอื ทรัพยท์ ุกชนดิ ของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าท่ี และความรับผิดชอบต่างๆ เว้นแต่ ตามกฎหมายหรือ
ว่าโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตวั ของผ้ตู ายโดยแท้ ได้แก่
1. ทรัพย์สิน คือวัตถุที่มีรูปร่าง เช่น ท่ีดิน บ้าน รถยนรต์ และวัตถุที่ไม่มีรูปร่าง เช่น สิทธิท้ังหลายซึ่งมีราคา
และอาจถอื เอาได้ เช่นลิขสทิ ธ์ิ สทิ ธิในเครอ่ื งหมายการคา้

2. สิทธทิ ี่จะเป็นมรดกและตกไปยังทายาทได้ ต้องเปน็ สทิ ธทิ ม่ี รี าคาและถอื เอาได้
3. หนา้ ท่คี วามรับผิดชอบต่างๆ เชน่ หน้าทใ่ี นการชาระเงินกู้

ใครเป็นผ้รู บั มรดกได้บำ้ ง ?

ทำยำท คอื ผมู้ ีสทิ ธิได้รับมรดกในทางกฎหมาย แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้

ทำยำทโดยชอบธรรม ทำยำทตำมพนิ ยั กรรม

ทายาททีม่ ีสทิ ธติ ามกฎหมาย ได้แก่ ญาติ คู่ ผมู้ ีสิทธไิ ดร้ ับมรดกตามทพ่ี นิ ยั กรรมซึ่งเป็น
สมรส และทายาททเ่ี ป็นญาติ แบง่ เป็น 6 ลาดับ หนังสอื แสดงความประสงค์ส่งั การเผ่ือตายของ
1. ผ้สู ืบสนั ดาน ผู้ตายระบุไว้
2. บิดามารดา
3. พน่ี อ้ งร่วมมารดาเดียวกัน ** ในกรณีท่ีผู้ตายทาพินัยกรรมยกมรดกของตนให้
4. พนี่ อ้ งรว่ มบดิ าหรือรว่ มมารดาเดียวกนั ทายาทตามพินัยกรรมท้ังหมด ทายาทโดยธรรมย่อม
5. ปู่ ยา่ ตา ยาย ไม่มสี ทิ ธิไดร้ บั มรดกเลย
6. ลงุ ป้า นา้ อา *** ในกรณีท่ีผู้ตายไม่ได้ทาพินัยกรรมไว้และไม่มี
ทายาท มรดกผู้ตายก็จะตกได้แก่แผ่นดิน คือ ตกเป็น
ของรัฐไป

พินัยกรรม คอื อะไร?

พินัยกรรมเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่บุคคลแสดงเจตนากาหนดการเผ่ือตายในเรื่องทรัพย์สินของตนเอง หรือ
ในการตา่ งๆอันจะใหเ้ กดิ เป็นผลบังคบั ได้ตามกฎหมายเม่ือตนตาย

การทาพนิ ยั กรรมมีหลกั ดังต่อไปน้ี

ผู้ทีจ่ ะทาพินยั กรรมไดต้ ้องมอี ายุครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ การทาพนิ ยั กรรมใน ขณะอายไุ ม่ครบ ๑๕ ปีบรบิ ูรณ์
นน้ั ถงึ แม้ว่าผู้ตายจะตายเมอ่ื อายุครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ กไ็ ม่มผี ลเปน็ พินัยกรรม

บุคคลผอู้ ย่ใู นความปกครองจะทาพินัยกรรมยกทรพั ยม์ รดกของตน ให้แก่ ผู้ปกครองหรอื คู่สมรส บพุ การี
หรอื ผ้สู บื สนั ดาน หรือพน่ี อ้ งของผู้ปกครองไม่ได้ เวน้ แต่การเปน็ ผปู้ กครองสิน้ สุดแลว้ และผู้ปกครองไดส้ ่ง
มอบทรัพยส์ นิ และได้ทาบัญชใี นการจดั ทรัพยส์ นิ ส่งมอบ ใหแ้ กผ่ ้ทู ี่เคยอยู่ในปกครองหรอื ผปู้ กครองคนใหม่
เสรจ็ แล้ว

ผเู้ ขียนหรอื พยานในพนิ ยั กรรมจะเป็นผรู้ บั ทรพั ยต์ ามพินยั กรรมนนั้ ไมไ่ ด้

บคุ คลตอ่ ไปนีจ้ ะเป็นพยานในการทาํ พินยั กรรมไมไ่ ด้
• ผซู้ ง่ึ ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะ
• บคุ คลวิกลจรติ หรอื บคุ คลซ่งึ ศาลส่งั ใหเ้ ป็นผเู้ สมือนไรค้ วามสามารถ และ บคุ คลท่ีหหู นวก เป็นใบ้
หรอื ตาบอดทงั้ สองขา้ ง

กฎหมำยเรอ่ื งทรัพยส์ ิน

ควำมแตกต่ำงระหว่ำงทรพั ย์ กบั ทรัพย์สนิ

“ทรพั ย์” ตามกฎหมาย คอื วัตถทุ ่ีมรี ปู รา่ งสามารถ
มองเห็นไดส้ ัมผสั ได้ และบุคคลสามารถถือเอาเป็น
ประโยชน์ได้ เช่น รถยนต์ เปน็ ตน้

“ทรพั ย์สิน” นัน้ หมายความรวมท้งั วตั ถทุ ีม่ รี ปู รา่ ง
และวตั ถุท่ไี มม่ ีรปู ร่างทส่ี ามารถมรี าคาและถือเอาเป็น
เจ้าของได้ ทรัพยส์ ินจงึ มีความหมายกวา้ งกว่าคาว่า
ทรพั ย์

** เมือ่ พจิ ารณาทงั้ สองคาประกอบกันแล้วจะเหน็ ไดว้ ่าทรพั ย์เปน็ สว่ นหนง่ึ ของทรพั ยส์ ิน

ประเภทของทรพั ยส์ นิ

อสังหาริมทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 139 บัญญัติว่า “อสังหาริมทรัพย์” หมายความว่า ท่ีดิน

และทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับท่ีดินนั้น และหมายความ
รวมถึง ทรัพยส์ ิทธอิ ันเก่ียวกับทีด่ ิน หรอื ทรัพยอ์ นั ติดอยู่กบั ท่ดี ินหรอื ประกอบเป็นอันเดยี วกบั ท่ีดินนั้นด้วย

สงั หารมิ ทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 140 บัญญัติว่า “สังหาริมทรัพย์” หมายความว่า

ทรพั ยส์ ินอ่นื นอกจากอสังหาริมทรัพย์ และหมายความรวมถึงสิทธิอันเก่ียวกับทรัพย์สินนั้นด้วย ประเภทของ
สังหาริมทรพั ย์อาจแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื สงั หาริมทรัพยท์ ว่ั ไป และ สงั หาริมทรัพยช์ นิดพิเศษ
1. สังหาริมทรัพย์ทั่วไป คือ ทรัพย์สินอ่ืนนอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีลักษณะเคล่ือนที่ได้ด้วยกาลังแรง
ธรรมชาติ หรือโดยแรงกาลงั กายภาพแห่งทรพั ยน์ ้นั เชน่ รถยนต์ ตู้เย็น พดั ลม โทรทัศน์ จกั รยาน

2. สังหาริมทรัพย์ชนิดพเิ ศษ คือ ทรพั ยส์ ินอ่นื นอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีกฎหมายได้กาหนดให้เป็นทรัพย์ใน
ลกั ษณะพเิ ศษกว่าสังหารมิ ทรพั ยท์ ่ัวไป ได้แก่ เรือกาปันมีระวางตั้งแต่ 6 ตันข้ึนไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ท่ีมี
ระวางต้ังแต่ 5 ตนั ขน้ึ ไป แพ และสัตวพ์ าหนะ คือ ชา้ ง มา้ วัว ควาย ลา ล่อ

สทิ ธิในทรัพย์สนิ

บุคคลจะมีสทิ ธใิ นทรัพยส์ นิ ไดโ้ ดยเหตุสาคญั 2 ประการ ดังนี้

1. ได้มาตามบทบัญญตั ขิ องกฎหมาย เช่น ตามพระราชบัญญัติ
ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ผู้สร้างสรรค์วรรณกรรมจะได้ลิขสิทธิ์ใน
ผลงานท่ีตนแต่งขึ้นและเป็นผู้เดียวท่ีมีสิทธิทาซ้าหรือดัดแปลง
งานนั้นได้ เป็นตน้

* ทรัพย์สินบางอย่าง จะได้มาโดยวิธีอ่ืนไม่ได้
นอกจากมีกฎหมายโอนให้ เท่านั้น เช่น สาธารณสมบัติของ
แผน่ ดิน ท่วี ัด ทธ่ี รณสงฆ์ เปน็ ต้น

2. ได้มาโดยผลงานของนิติกรรมและสัญญา เช่น ทายาทของ
ผู้ตายได้รับทรัพย์สินเป็นมรดกตามพินัยกรรม ผู้ซื้อได้
กรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินตามสัญญาซื้อขาย ผู้เช่าได้สิทธ์ิใช้และ
รับผลประโยชน์จากทรัพย์สินท่ีเช่าภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
ตามสญั ญาเช่าทรพั ย์

กฎหมำยเร่อื งละเมิด

กำรละเมิดลิขสิทธิ์
ลิขสิทธ์ิ หมายถึง สิทธแิ ต่เพียงผูเ้ ดียวทีจ่ ะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานทีผ่ ้สู ร้างสรรค์ได้ทาข้ึน
การละเมิดลิขสิทธ์ิสินค้า งานบริการ และทรัพย์สินทางปัญญา ถือเป็นปัญหาสาคัญของสังคมไทยในปัจจุบัน
การมีความรู้ในเร่ืองลิขสิทธ์ิจึงมีประโยชน์ต่อการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับลิขสิทธ์ิทั้งต่อผู้ผลิตและ
ผูบ้ ริโภค

งานสร้างสรรคอ์ นั มีลขิ สทิ ธิ์ แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ไดแ้ ก่

วรรณกรรม โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ นาฎกรรม

ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวสั ดุ

ภาพยนตร์ สง่ิ บันทกึ เสยี ง งานแพร่เสียงแพรภ่ าพ

ลกั ษณะกำรละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ แบง่ ออกเป็นลกั ษณะตำ่ ง ๆ ดงั นี้

ทาซ้าหรือดัดแปลง เช่น คัดลอก เลียนแบบ ทาสาเนา ทาซ้า
ของเดิมโดยเปลี่ยนรูปแบบใหม่ จาลองงานต้นฉบับในส่วนอัน
เป็นสาระสาคัญโดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทางานนขึ้นใหม่
เป็นต้น

เผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ไดแ้ ก่ การทาให้ปรากฏต่อสาธารณชน
โดยการแสดง การบรรยาย การสวด การบรรเลง การทาให้
ปรากฏดว้ ยเสียงหรือภาพ การก่อสรา้ ง การจาหน่าย

ให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางาน ได้แก่ การนาสาเนาจาลองของ
งานที่ผู้สร้างสรรค์ทาข้ึนออกเช่า จาหน่าย โดยสาเนาจาลอง
นนั้ ปรากฏตอ่ สาธารณชนเปน็ จานวนมากพอสมควร

ละเมิดลขิ สทิ ธจ์ิ ะมีบทลงโทษอย่างไรบา้ ง ?
ผู้ทีท่ าซา้ ดดั แปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน ให้เช่าต้นฉบับหรือสาเนางานสร้างสรรค์อันมีลขิ สทิ ธิ์
ตอ้ งระวางโทษปรบั ตง้ั แต่ 100,000 - 800,000 บาท และหากเปน็ การกระทาเพอื่ การค้าต้อง
ระวางโทษจาคุก ตงั้ แต่ 6 เดือน - 4 ปี หรือปรบั ตั้งแต่ 100,000 - 800,000 บาท หรือทัง้ จาทง้ั
ปรับ

กฎหมำยเก่ยี วกับนิตกิ รรมและสญั ญำ

ความแตกตา่ งระหวา่ งนติ กิ รรมกับสญั ญา

นิติกรรม คือ การแสดงเจตนาของบุคคลโดยชอบด้วย สัญญา คือ นิติกรรมชนิดหนึ่ง แต่เป็นนิติ
กฎหมาย มุ่งโดยตรงต่อการผูกความสัมพันธ์ทางกฎหมาย กรรมทม่ี ีบคุ คล 2 ฝ่าย หรือมากกว่าน้ันมาตก
ระหว่างบุคคล เพื่อที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน ลงกัน โดยแสดงเจตนาเสนอและสนองตรงกัน
สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ เช่น การแสดงเจตนาทาพินัยกรรม ก่อใหเ้ กิดสัญญาข้ึน
การบอกเลิกสัญญา เป็นต้น การทานิติกรรมต้องทาโดย
ความสมัครใจ ไมเ่ กดิ จากความเข้าใจผิด หรือถูกขู่เข็ญบังคับ
หรือขาดสตสิ ัมปชญั ญะ

การทานติ ิกรรมสัญญา

ผู้เยาว์จะทานิติกรรมได้ต้องได้รับความยินยอมจาก คนไร้ความสามารถต้องอยู่ในความอนุบาล
ผู้แทนโดยชอบธรรมเว้นแต่นิติกรรม ท่ีได้มาซ่ึงสิทธิ กิจการใดๆ ของคนไร้ความสามารถ ผู้อนุบาล
โดยสิ้นเชิง หรือเพ่ือให้หลุดพ้นหน้าที่ หรือการท่ีต้อง ซง่ึ แตง่ ตง้ั โดยศาลตอ้ งเปน็ ผทู้ าเองทง้ั สิน้
ทาเองเฉพาะตัว หรือกิจกรรมท่ีสมแก่ฐานานุรูปและ
จาเป็นในการเล้ียงชีพ ผู้เยาว์สามารถทาด้วยตนเอง คนเสมือนไร้ความสามารถทากิจการเอง
ได้ ได้ทุกอย่าง เว้นแต่กิจกรรมบางอย่างจะ
ทาได้ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากผู้พิทักษ์
คนไร้ความสามารถต้องอยู่ในความอนุบาล กิจการ เช่น สญั ญาซ้ือขายทดี่ ิน เปน็ ตน้
ใดๆ ของคนไร้ความสามารถ ผู้อนุบาล ซ่ึงแต่งต้ังโดย
ศาลต้องเป็นผทู้ าเองทั้งส้นิ บุคคลล้มละลายจะทานิติกรรมใดๆ ไม่ได้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามคาส่ังศาลจะ
ดังนั้น นิติกรรมและสัญญาที่กระทาข้ึนโดยบุคคลข้างต้น เปน็ ผมู้ อี านาจจดั การแทน
โดยปราศจากความยินยอมจาก บุคคลท่ีกฎหมายกาหนด
ไวจ้ ะกลายเปน็ โมฆยี ะ ซึง่ อาจถกู บอกลา้ งได้

นติ ิกรรมสญั ญา

นิติกรรมสญั ญาสามารถแบง่ ออกได้เปน็ ๒ ประเภท ได้แก่

1. นิตกิ รรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล ฝ่ายหน่ึง
ฝ่ายเดียวและมีผลตามกฎหมาย ซ่ึงบางกรณีก็ทาให้ผู้ทานิติ
กรรมเสียสิทธิได้ เช่น การก่อตั้งมูลนิธิ การรับสภาพหน้ี การ
ผ่อนเวลาชาระหนี้ให้ลูกหนี้ คามั่นจะซ้ือจะขาย การทา
พนิ ยั กรรม การบอกกล่าวบงั คบั จานอง เป็นตน้

2. นิตกิ รรมสองฝา่ ย (หรือนติ กิ รรมหลายฝ่าย)
นิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลต้ังแต่สอง
ฝ่ายข้ึนไปและทุกฝ่ายต่างตกลงยินยอมระหว่างกัน กล่าวคือ
ฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนาทาเป็นคาเสนอ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งแสดง
เจตนาเป็นคาสนอง เมื่อคาเสนอและ คาสนองถูกต้องตรงกัน
จึงเกิดมีนิติกรรมสองฝ่ายข้ึน หรือเรียกกันว่า “สัญญา” เช่น
สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืม สัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาขายฝาก
สัญญาจานอง สญั ญาจานา เป็นต้น

สญั ญาซอื้ ขาย

สัญญาซ้ือขาย ได้แก่ สญั ญาซึง่ บคุ คลฝา่ ยหนึ่ง เรียกว่า “ผขู้ าย” โอนกรรมสิทธหิ์ รือความเปน็ เจ้าของ
เหนือทรพั ยส์ ินใหแ้ กบ่ คุ คลอกี ฝา่ ยหนึ่ง เรียกว่า “ผู้ซอ้ื ” โดยผูซ้ ้อื ตกลงจะใชร้ าคาทรัพยส์ ินนน้ั แก่
ผขู้ าย

สัญญาซ้ือขาย แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด

1. สญั ญาซอ้ื ขายสาเร็จบริบรู ณ์ หรือเรยี กเรยี กอกี อย่างหน่งึ ว่า สัญญาซ้อื ขายเสรจ็ เด็ดขาด คือ
สญั ญาท่ีกรรมสทิ ธิใ์ นทรพั ยส์ ินโอนไปยงั ผูซ้ อ้ื ทนั ทีอย่างเด็ดขาดเมื่อมีการซ้ือขายสาเรจ็ บริบูรณ์ การ
ซอ้ื ขายสาเร็จบรบิ ูรณเ์ ม่อื ใดนั้น นอกจากการตกลงแลว้ ต้องทาตามแบบท่กี ฎหมายกาหนด

2. สญั ญาจะซื้อขาย คือ สญั ญาที่กรรมสิทธิ์ในทรพั ย์สนิ ยงั ไมโ่ อนไปยังผซู้ ื้อ ในขณะทีท่ าสญั ญาซื้อ
ขายกันแต่เป็นสญั ญาซง่ึ จะโอนกรรมสิทธใิ์ นทรพั ย์สินจากผ้ขู ายไปยงั ผู้ซ้ือในเวลาภายหน้าเปน็ การ
แลกเปลยี่ นกับเงนิ อันเปน็ ราคาของทรพั ยส์ ินน้นั มผี ลผูกพันให้แก่คสู่ ญั ญาต้องทาการซอื้ ขายให้
สาเร็จ

สญั ญาขายฝาก

สญั ญาขายฝาก หมายถงึ สญั ญาซื้อขายซ่ึงกรรมสิทธิ์ในทรพั ย์สนิ ตกไปยังผซู้ ้อื โดยมขี อ้ ตกลงกันว่า
ผขู้ ายอาจไถท่ รพั ยน์ ัน้ คนื ไดภ้ ายในเวลาท่ีกาหนดไว้ในสัญญา หรอื มิฉะนั้นในกาหนดเวลาตาม
กฎหมาย คอื ถ้าเปน็ อสงั หารมิ ทรพั ย์ เช่น บ้าน ท่ดี นิ ต้องไถภ่ ายใน 10 ปี นบั แต่เวลาท่มี กี ารซอื้ ขาย
แตถ่ ้าเป็นสงั หาริมทรัพย์ ตอ้ งไถ่ภายใน 3 ปนี ับแต่ซ้ือขาย หากเกินกาหนดเวลานี้แลว้ กฎหมายถอื ว่า
กรรมสทิ ธิใ์ นทรพั ยส์ ินที่ซือ้ ขายฝากกนั ตกเปน็ ของผู้รบั ซ้ือฝากทันที กรณที ี่ทาสญั ญากาหนดเวลาไถ่
นานเกนิ กวา่ 10 ปี 3 ปี กต็ อ้ งลดลงมาเปน็ 10 ปี 3 ปี หรือถา้ ทาสญั ญากาหนดเวลาไถ่ตา่ กว่า 10 ปี
3 ปี กจ็ ะขยายเวลามไิ ด้

หลกั สาคญั ของการขายฝาก อยทู่ ี่ตอ้ งมีการสง่ มอบการครอบครองโดยตรงหรือปริยายใหแ้ กผ่ ูร้ ับซื้อ
ฝากพร้อมกับกรรมสทิ ธ์ิ แตเ่ มอ่ื ครบกาหนดเวลาแล้ว ผ้ขู ายฝากมีสิทธิทจี่ ะไถ่ถอนได้ ดงั นั้นในช่วง
เวลาท่ียังขายฝากกันอยู่และกรรมสทิ ธิต์ กแกผ่ รู้ บั ซอื้ ฝาก ผู้รบั ซื้อฝากอาจจะนาทรัพย์สนิ ไปทาอยา่ ง
ใดก็ได้ ใครๆ กไ็ ม่มสี ิทธหิ า้ มปราม

สัญญาเช่าทรัพย์

สัญญาเชา่ ทรัพย์ หมายถึง สัญญาซ่งึ บคุ คลหน่ึงเรยี กวา่ “(ใหเ้ ช่า” ตกลงให้บุคคลอีกคนหน่ึงเรียกว่า
“ผู้เช่า” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่างหน่ึงช่ัวระยะเวลาอันจากัดโดยผู้เช่าตก
ลงจะใหค้ ่าเชา่ เพอ่ื การนน้ั
• การเชา่ อสังหารมิ ทรัพย์ต้องไม่เกิน 30 ปี หรือตลอดอายุผูเ้ ช่า
• การเชา่ สังหารมิ ทรพั ย์เกนิ กว่า 3 ปี ตอ้ งทาเปน็ หนังสอื หรือจดทะเบยี นเช่าต่อมนักงานเจา้ หนา้ ท่ี

สญั ญาเช่าซ้อื

สัญญาเช่าซ้ือ คือ สัญญาซ่ึงเจ้าของนาเอาทรัพย์สินออกให้เช่าและให้คาม่ันว่าจะขายทรัพย์สินนั้น
หรอื ว่าจะให้ทรพั ยส์ นิ นน้ั ตกเป็นสิทธิของผู้เช่า โดยมีเง่ือนไขว่า ผู้เช่าได้ใช้หรือชาระเงินเป็นจานวน
ครัง้ ตามทต่ี กลงกันไว้
• การตกลงซื้อขายโดยสัญญาว่าจะผ่อนชาระตามกาหนดเวลา โดยผู้เช่าซื้อมีสิทธิจะใช้ประโยชน์
จากทรนั ยน์ นั้
• สญั ญาเช่าซอ้ื จะสนิ้ สดุ เมอ่ื บอกเลิกสญั ญาหรือโอนกรรมสิทธ์ิเปน็ เจ้าของทรัพย์สนิ เช่น บ้าน รถ
• ถ้าผเู้ ชา่ ซ้ือไม่ชาระเงนิ 2 ครัง้ ตดิ ตอ่ กนั เจา้ ของทรพั ยส์ ินมีสทิ ธิยดึ ของคนื ได้

สญั ญากู้ยมื

สัญญากูย้ มื คือ สัญญาซึ่งผทู้ ตี่ อ้ งการเงนิ เรยี กวา่ “ผ้กู ”ู้ ตกลงยมิ เงินจานวนหน่ึงจาก “ผใู้ ห้ก”ู้ เพ่อื
นาไปใช้ตามทต่ี ้องการ และตกลงวา่ จะคนื เงินตามกาหนดเวลาท่ตี กลงกนั ไวโ้ ดยผู้กูใ้ หด้ อกเบย้ี แก่ผูใ้ ห้กู้
เปน็ คา่ ตอบแทน
 การกยู้ ืมเงนิ มากกวา่ 2,000 บาท (ตอ้ งมลี ายลกั ษณ์อกั ษร ลงลายมอื ช่อื คนยืม (ทาสัญญา) ถงึ

จะฟอ้ งรอ้ งได้)
 ดอกเบยี้ ชาระหน้ไี มเ่ กนิ ร้อยละ 15 ตอ่ ปี (ร้อยละ 1.25 ตอ่ เดือน)
 ดอกเบ้ยี เกินอัตรา = เปน็ โมฆะ ผูก้ ูไ้ มต่ อ้ งเสยี ดอกเบย้ี แตต่ อ้ งชาระเงินต้นเหมอื นเดิม
ผดิ สัญญาไม่จ่ายหนีม้ ีโทษปรับไม่เกนิ 1,000 บาท หรือจาคุกไมเ่ กิน 1 ปี หรือทัง้ จาทั้งปรบั

สญั ญาจานอง

สญั ญาจานอง คือ สัญญาซงึ่ ผจู้ านองเอาอสงั หาริมทรพั ย์ เช่า ท่ีดนิ อาคารบา้ นเรือน เปน็ ตน้ หรือ
สังหารมิ ทรพั ย์ทก่ี ฎหมายอนญุ าตให้จานองไดข้ องตนเองไปตราไวแ้ กผ่ ูร้ ับจานอง โดยไมต่ อ้ งส่งมอบ
ทรัพย์สินที่จานองน้นั ให้ เพือ่ เปน็ การชาระหนึข้ องลูกหน้ี
 สญั ญา จานอง ต้องไมม่ กี ารโอนทรัพยส์ นิ จะเป็นแคก่ ารนาโฉนดท่ดี ินน้นั ไปจดทะเบียนเพ่ือ

ตราไวเ้ ปน็ หลักประกัน ต่อหนา้ เจ้าหน้าท่ี ณ กรมท่ดี ินเทา่ นนั้
 ในสัญญา จานอง จะตอ้ งระบุชดั เจนวา่ ผจู้ านอง ทาการกู้เงนิ เปน็ วงเงินจานวนเงนิ เท่าไร และ

ทรพั ย์ที่นามา จานอง คอื อะไร มิเช่นนนั้ สัญญาจะไมส่ มบรู ณ์
 กรณีท่ี ผู้จานอง(ผูข้ อกู้เงิน) เกิดผดิ สญั ญา ไม่สามารถชาระหนีไ้ ด้ ผรู้ บั จานอง ก็ไมส่ ามารถยึด

ทรัพยต์ ามกฎหมายได้ทนั ที เพราะทรัพย์สินน้นั ยงั เปน็ กรรมสิทธ์ิของลกู หนี้อยู่ ตอ้ งมี
กระบวนการฟ้องรอ้ งตามกฎหมาย ใหศ้ าลบงั คับใหล้ ูกหนี้ นาทด่ี นิ นไี้ ปขายทอดตลาดท่กี อง
บังคับคดี เพอ่ื นาเงินไปชาระหน้ี ซง่ึ จะเป็นในแบบเดียวกับท่ี สถาบนั การเงินฟ้องลกู หนี้

สัญญาจานา

สญั ญาจานา คือ สญั ญาซง่ึ บุคคลคนหนง่ึ เรยี กว่า “จานา”ผสู้ ง่ มอบสังหารมิ ทรัพยใ์ ห้แกบ่ ุคคลอกี
คนหนึ่งเป็นผู้ครอบครองเรยี กว่า “ผู้รบั จานา”เพือ่ ประกันการชาระหน้ี ทรพั ย์สนิ ที่จานาไดค้ อื
ทรพั ยส์ ินทส่ี ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ด้ เชน่ วิทยุ โทรทัศน์ ช้าง มา้ โค กระบือ และเครอื่ งทองรูปพรรณ
สร้อย แหวน เพชร เป็นต้น
 เมื่อรบั จานาแล้วทรพั ย์สนิ ท่ีจานาก็อยู่ในความครอบครองของผูร้ บั จานาตลอดไป จนกว่า

ผรู้ บั จานาจะรับคนื ไปโดยการชาระหน้ี ในระหวา่ งน้นั
 ผูร้ ับจานาต้องเกบ็ รกั ษาและสงวนทรพั ยท์ จี่ านาใหป้ ลอดภัย ไม่ให้สูญหาย หรือเสยี หาย เชน่

รบั จานาแหวนเพชรกต็ อ้ งเกบ็ ในทม่ี น่ั คง ถ้าประมาทเลินเลอ่ วางไวไ้ ม่เป็นทีเ่ ปน็ ทาง คนร้าย
ลักไปอาจจะต้องรบั ผิดได้

 ผู้รบั จานาไมเ่ อาทรพั ย์ท่จี านาออกไปใชเ้ อง หรือให้บคุ คลภายนอกใชส้ อยหรอื เก็บรักษา
มิฉะนัน้ ถา้ เกดิ ความเสียหายใด ๆ ข้ึนต้องรบั ผิดชอบ เชน่ เอาแหวนท่ีจานาสวมใสไ่ ปเที่ยว
ถูกคนรา้ ยจเ้ี อาไปกต็ อ้ งใช้ราคาใหเ้ ขา

 ทรพั ยส์ ินทีจ่ านาบางอย่าง ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการบารงุ รกั ษา เชน่ จานาสนุ ัขพนั ธ์ดุ ี โค
กระบอื หรือมา้ แขง่ อาจจะต้องเสยี คา่ หญา้ อาหารและยารกั ษาโรค ผจู้ านาต้องชดใชแ้ กผ่ ูร้ ับ
จานา มิฉะนน้ั ผู้รับจานากม็ สี ิทธยิ ึดหน่วงทรพั ย์ทจ่ี านาไว้กอ่ น ไม่ยอมคืนให้จนกวา่ จะไดร้ บั
ชาระหนี้ครบถ้วน

การบงั คับจานา

1. เอาทรพั ยส์ ินทีจ่ านาออกขายทอดตลาด คือกระทาได้เองไมต่ ้องขออานาจซึง่ ตามธรรมดาก็ให้
บคุ คลซึ่งมีอาชีพทางดาเนินธรุ กิจขายทอดตลาดเป็นผู้ขาย แตก่ อ่ นทจี่ ะขายทอดตลาดผู้รบั จานา
จะต้องบอกกลา่ วเปน็ หนงั สือไปยังลูกหนีก้ ่อนใหช้ าระหนี้และหนที้ ี่เก่ยี วเน่ืองกนั เช่น ดอกเบีย้ คา่
รกั ษาทรัพย์ท่จี านา เปน็ ต้น ภายในเวลาอันสมควร
2. ถ้าผูร้ บั จานาไมบ่ งั คบั ตามวิธีท่ี 1 เมือ่ ลกู หนไ้ี ม่ชาระหน้ีเพ่อื ไถถ่ อนทรัพย์ที่จานาคืนไป เจ้าหน้ผี รู้ ับ
จานาย่นื ฟอ้ งตอ่ ศาล ใหข้ ายทอดตลาดทรพั ยท์ ่ีจานากย็ อ่ มได้ ไม่มีอะไรห้าม

สรุป

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้นมีความสาคัญ เป็นกฎหมายท่ีประชาชนควรรู้ เน่ืองจากมีความ
เกย่ี วขอ้ งกับชวี ติ ประจาวันเปน็ อยา่ งมาก และสามารถนามาปรบั ใช้เพื่อให้ปฏบิ ัติตนได้อย่างถูกต้องตามที่
กฎหมายบัญญัติ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายที่เก่ียวกับบุคคลท่ีกล่าวถึงความสามารถของบุคคล กฎหมาย
เกี่ยวกับทรัพย์ที่กล่าวถึงทรัพย์และทรัพย์สิน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ กฎหมาย
เกี่ยวกับนิติกรรมก็เชน่ เดียวกันทต่ี ้องพบเจอในชีวิตประจาวันของเรา กฎหมายเกี่ยวกับหน้ีและละเมิด ที่
มีความเก่ียวโยงถึงกฎหมายลักษณะอ่ืนๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นนิติกรรมสัญญา หรือกฎหมายเกี่ยวกับ
เอกเทศสัญญาในเร่ืองของการทาสัญญาซื้อขาย เช่าทรัพย์ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีกฎหมายเกี่ยวกับ
ครอบครวั และกฎหมายเกย่ี วกบั มรดกท่มี ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกับชีวติ คนเรามากที่สุด เพราะสังคมไทยน้ันมักอยู่
เป็นครอบครัว ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวเล็กๆ หรือครอบครัวใหญ่ มีญาติพ่ีน้องมากมาย ดังนั้น การศึกษา
กฎหมายเหลา่ นจ้ี ึงมคี วามสาคญั และมปี ระโยชนอ์ ยา่ งมาก ซ่ึงจะทาใหเ้ ราสามารถ หลีกเล่ียงความขัดแย้ง
หรอื ปัญหาท่อี าจเกดิ ขึ้นดว้ ยการปฏบิ ัตติ นใหถ้ กู ต้องตามที่กฎหมายบญั ญัติไว้

กจิ กรรมทบทวนควำมเขำ้ ใจ

กิจกรรมท่ี 1
เรอ่ื ง ครอบครวั และมรดก

คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนอำ่ นกรณศี ึกษำ แลว้ ตอบคำถำม

กรณศี กึ ษำที่ 1
โจอ้ ายุ 16 ปี จอย อายุ 15 ปี ท้ังสองรกั ใคร่กัน ไปมาหาสู่กัน ต่อมาจอยมีปญั หาพ่อแม่
ประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต จอยไปอาศยั อยกู่ บั ครอบครวั ของโจ้ ตอ่ มาจอยต้ังครรภ์ จาเป็น
จะตอ้ งทาการสมรสเพอื่ บุตรจะได้มบี ิดาท่ีถกู ต้องตามกฎหมาย

คำถำม โจแ้ ละจอยควรปฏิบัตอิ ย่างไรจงึ จะถกู ต้องตามกฎหมาย

กรณศี ึกษำท่ี 2
โดม อายุ 19 ปี รักใคร่ชอบพอกับดาว อายุ 18 ปี เมื่อท้ังคู่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานและมี
งานทามีรายได้พอเลี้ยงตนเองได้แล้ว ต้องการสมรสกบั ดาว

คำถำม โดมและดาวควรปฏบิ ัตติ นอยา่ งไร

กรณศี ึกษำท่ี 3
ไกรและเก๋ตกลงใจจดทะเบียนสมรสกันหลังจากเรียนจบระดับปริญญาตรีแล้ว ไกรมี
ทรัพย์สินคือ รถยนต์ เงินสด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง ส่วนเก๋มีแหวนเพชร 1 วง
สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศัพท์มือถือ 1 เครื่อง เมื่อทั้งสองคนอยู่กิน
ดว้ ยกันมา 15 ปี มีทรัพย์ร่วมกนั ดังน้ี เงินสด 5 ล้าน 1 แสนบาท พ่อแม่ของเก๋ให้ท่ีนาแก่
เกจ๋ านวน 10 ไร่ ต่อมาทง้ั สองคนไม่ประสงค์จะอยู่ดว้ ยกัน จงึ หย่ากนั

คำถำม 1. ไกรและเกม๋ ที รพั ย์สินส่วนตวั คอื อะไรบา้ ง
2. สนิ สมรสของไกรและเก๋ มอี ะไรบา้ ง

กรณีศกึ ษำที่ 4
โชติอายุ 35 ปี มภี รรยาชื่อแวว อายุ 28 ปี ทั้งสองคนต้องการรับเด็กหญิงเก๋ ซ่ึงอายุ 14 ปี
บตุ รของนายสายและนางสวยมาเปน็ บุตรบญุ ธรรม

คำถำม 1. โชตแิ ละแววสามารถรบั เกเ๋ ป็นบตุ รบุญธรรมได้หรือไม่ อธบิ ายเหตผุ ล
2. เก๋จะเป็นบุตรบุญธรรมท่ีชอบด้วยกฎหมายของบุคคลผู้รับบุตรบุญธรรมได้

อย่างไร

กรณีศึกษำท่ี 5
เกรกิ สมรสกับดวง ท้งั สองทามาหากินกันจนมีทรัพย์สินเป็นท่ีดิน 50 ไร่ เกริกมีบิดาช่ือมั่น
มารดาชอ่ื มว้ น ดวงมบี ิดาชอ่ื เดน่ มารดาชือ่ ดี เกริกและดวงมีบุตร 2 คน คือ แก้วและก้อย
ตอ่ มาเกริกประสบอุบตั ิเหตเุ สียชวี ิต

คำถำม ถ้าทา่ นเปน็ ผมู้ ีหน้าทีแ่ บง่ สนิ สมรสและมรดกของเกริก จะแบง่ อย่างไร

กจิ กรรมที่ 2
เรื่อง กฎหมำยเก่ยี วกับนิตกิ รรมและสญั ญำ

คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นอำ่ นกรณศี ึกษำ แลว้ ตอบคำถำม

กรณีศึกษำท่ี 1
“สดุ สวยตกลงขายแหวนเพชร 1 วง ราคา 400,000 บาท ใหแ้ กส่ ายฝน โดยตกลงกนั ด้วย
วาจา ต่อมาสุดสวยเปลีย่ นใจไมข่ ายแหวนเพชรให้แก่สายฝน ดงั นนั้ สายฝนจึงจะฟ้อง
บังคับคดีกบั สดุ สวย”
คำถำม สายฝนมสี ิทธฟิ ฟอ้ งบงั คบั คดดี บั สุดสวยหรือไม่ เพราะเหตุใด

กรณีศึกษำท่ี 2
“โอมตกลงเช่าบา้ นของเด่ยี วเปน็ เวลา 5 ปี โดยทาสัญญาเช่าเปฯ็ หนังสอื แตไ่ มไ่ ดจ้ ด
ทะเบียนตอ่ หนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อครบ 3 ปี เดีย่ วไมย่ อมใหโ้ อมเช่าบา้ นต่อ”

คำถำม โอมจะฟอ้ งบังคับคดเี ดีย่ วได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

กรณศี กึ ษำที่ 3
“เอกนาท่ีดินซึ่งตนมีกรรมสิทธ์ิ 1 แปลง ให้นายชัยเช่าซื้อในราคา 500,000 บาท และให้
นายชัยชาระค่าเช่าซื้อ 10 งวด งวดละ 50,000 บาท เมื่อถึงกาหนด นายชัยชาระเงินครบ
10 งวด จึงขอให้นายเอกไปทาหนังสือและจดทะเบียนการโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี แต่
นายเอกไมย่ อมไปจดทะเบยี นการโอน ”

คำถำม นายชยั มสี ทิ ธิฟอ้ งคดตี อ่ ศาลบังคับให้นายเอกไปจดทะเบยี นการโอนให้ได้หรือไม่
เพราะเหตุใด

กรณศี ึกษาที่ 4
“ฝนไดก้ ยู้ มื เงนิ ทรายเป็นจานวน 3,000 บาท โดยไมไ่ ดท้ าํ สญั ญากยู้ ืมไว้ ตอ่ มาฝนเขียน
จดหมายไปบอกทรายวา่ “ตามท่ีฝนไดก้ ยู้ ืมเงินทรายเป็นจาํ นวนเงอน 3,000 บาทนนั้ จะ
นาํ มาชาํ ระในวนั ท่ี 1 มี.ค. 64” พรอ้ มลงลายมือช่ือในจดหมาย เม่ือคบกาํ หนดเวลาฝน
ไมย่ อมชาํ ระหนี”้

คำถำม ทรายจะฟ้องศาลเพอ่ื บงั คับการชาระหนไี้ ด้หรือไม่ เพราะเหตุใด

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรือ่ ง กฎหมำยแพ่ง

คาชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบท้ังหมดมี 10 ข้อ ใหเ้ วลาทา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลอื กขอ้ ทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุดเพยี งคาตอบเดยี ว

1. บุคคลใดคือผู้ที่ศาลแตง่ ตั้งให้เป็นผดู้ แู ลคนไรค้ วามสามารถ

ก. ผู้พทิ ักษ์ ช. ผ้อู ภิบาล

ค. ผู้อนบุ าล ง. ผปู้ กครอง

2. นติ ิกรรมใดที่ผูเ้ ยาวไ์ ม่อาจทาไดโ้ ดยลาพงั

ก. การทาพนิ ยั กรรมเมอ่ื มีอายุครบ 15 ปีบรบิ ูรณ์

ข. การจดทะเบียนรับรองบุตร

ค. การรบั ทรพั ยท์ ม่ี ผี ู้ใหโ้ ดยเสนห่ า

ง. การซือ้ รถยนตเ์ พ่ือขับข่ี

3. นาย ก. หมั้นกบั นางสาว ข. ภายหลังนางสาว ข. ไปแต่งงานกับนาย ค. จากเหตุการณ์ข้างตน้
ขอ้ ความใดตอ่ ไปนีถ้ กู ต้อง

ก. นางสาว ข. ยงั มสี ิทธิครอบครองของหมน้ั โดยไมต่ ้องส่งคืนนาย ก.

ข. นางสาว ข. มีความผดิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ า่ ดว้ ยครอบครัว

ค. นาย ก. สามารถรอ้ งต่อศาลให้นางสาว ข. คนื ของงหมน้ั ใหน้ าย ก. ได้

ง. นาย ก. สามารถร้องต่อศาลใหก้ ารแตง่ งานของนางสาว ข. และนาย ค. เป็นโมฆะได้

4. ชาย-หญงิ คู่ใดสามารถสมรสได้ตามกฎหมาย

ก. ชาย-หญิงร่วมบิดา แตต่ า่ งมารดากัน

ข. หญิงหยา่ กับคสู่ มรสเดมิ นบั จากวันหย่ากอ่ น 310 วนั

ค. พอ่ บุญธรรมกับบุตรบุญธรรมซงึ่ เปน็ หญิงทที บ่ รรลุนติ ิภาวะแล้ว

ง. ฝ่ายชายเปน็ ลูกของพี่ชายพ่อ ฝ่ายหญิงเป็นลกู ของน้องชายพ่อ

5. ทรัพยส์ ินในขอ้ ใดถือเปน็ สนิ สว่ นตัว

ก. ดอกผลของสินสมรส

ข. รายไดจ้ ากการประกอบอาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหน่งึ

ค. ทรพั ยส์ นิ ท่คี ู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไดม้ าโดยการรับมรดก

ง. อสงั หาริมทรัพย์ท่คี ูส่ มรสฝ่ายใดฝ่ายหน่งึ ได้มาระหว่างสมรส

6. ข้อใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นนิตกิ รรมฝ่ายเดยี ว

ก. สญั ญาซอ้ื ข. พนิ ยั กรรม

ค. การจา้ งงาน ง. การละเมิด

7. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์กาหนดใหต้ อ้ งทาสญั ญาเป็นลายลกั ษณ์อักษรเม่ือกู้ยมื เงิน
เกนิ กว่าจานวนใด จงึ จะฟ้องรอ้ งบังคับคดีได้

ก. เกินกว่า 1000 บาท ข. เกนิ กวา่ 1500 บาท

ค. เกินกวา่ 2000 บาท ง. เกินกว่า 2500 บาท

8. นายสนทาสญั ญาเช่าซอ้ื รถยนตจ์ ากนายจอม 15 เดือน นายสนชาระเงินมาถูกตอ้ งทกุ งวด
แตใ่ น 2 งวดสดุ ทา้ ย นายสนผิดนัดไม่ชาระ นายจอมจะบอกเลกิ สัญญาเชา่ ซื้อได้หรือไม่ เพราะ
เหตใุ ด

ก. ไมไ่ ด้ เพราะไม่มีหลักฐานเป็นหนงั สอื

ข. ได้ เพราะสนผิดนัดไมช่ าระเพียงคร้งั เดยี วกบ็ อกเลิกสญั ญาได้แล้ว

ค. ได้ เพราะสนผดิ นดั ไม่ชาระหนี้ 2 คราวตดิ ต่อกัน

ง. ได้ เพราะผใู้ หเ้ ช่าซือ้ มีสทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญาเวลาใดเวลาหน่ึง

9. “ทรัพย์” และ “ทรัพย์สนิ ” มีความหมายแตกต่างกนั อย่างไร
ก. ทรัพย์ต้องมีตวั ตน แตท่ รพั ยส์ ินอาจมีตวั ตนหรอื ไม่มตี วั ตนกไ็ ด้
ข. ทรัพย์อาจมีราคาหรอื ไม่ก็ได้ แต่ทรัพยส์ ินต้องมีราคาและมีมลู ค่าเป็นเงนิ เสมอ
ค. ทรัพย์อาจถอื เอาเปน็ ของเราไดเ้ สมอ แตท่ รัพยส์ นิ บางคร้ังไม่อาจถอื เอาได้
ง. ทรัพยเ์ ป็นวัตถุส่งิ ของ แตท่ รพั ยส์ ินเปน็ นามธรรม ไม่เป็นวตั ถุท่จี บั ต้องได้

10. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง
ก. สญั ญาเชา่ ซื้อกรรมสิทธิ์ยงั เป็นของผู้ใหเ้ ช่าซ้ืออยตู่ ราบใดที่ชาระเงนิ คา่ เชา่ ซื้อยังไมค่ รบ
ข. ลกั ษณะของสัญญาเช่าซือ้ คลา้ ยกับสญั ญาเชา่ ทรพั ย์คอื ผู้ให้เชา่ ซ้อื หรือเช่าทรพั ยไ์ มต่ ้อง

เป็นเจ้าของกรรมสิทธิในทรพั ย์สิน
ค. สัญญาเชา่ ซ้ือ ถ้าผใู้ หเ้ ช่าซื้อตาย สญั ญาจะระงบั
ง. สัญญาเช่าซ้อื ผู้เช่าผิดนดั ไม่ชาระค่าเชา่ แม้เพียงครัง้ เดียว ผู้ให้เช่าซื้อจงึ จะบอกเลกิ

สัญญาได้


Click to View FlipBook Version