รายงาน
การศกึ ษาสังเกตสภาพท่ัวไปของโรงเรยี น
การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ครูระหวา่ งเรียน ๒
(Professional Practicum ๒)
โรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๒๙ (กะท)ู้
รายชอ่ื นักศึกษา
นางสาวอตกิ านต์ รุจนะภัทร ๖๓๑๐๓๕๗๒๓๐ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์
นางสาวอัฐพร
นางสาวกาญจนา พัฒน์แกว้ ๖๓๑๑๑๙๘๑๒๗ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา
นางสาวสลิล
นายนฐั วฒั น์ หลานหาด ๖๓๑๐๒๗๑๑๐๒ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย
นายรฐั เกียรติ
นางสาวธนั ชนก ฆังคสั โร ๖๓๑๐๒๗๑๒๒๕ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย
นางสาวธิดารตั น์
พนั ธ์นอ้ ย ๖๓๑๐๓๘๐๑๒๐ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา
ผลาสิน ๖๓๑๐๖๗๗๒๒๒ สาขาวิชาพลศกึ ษา
ทองมี ๖๓๑๑๗๐๗๑๑๑ สาขาวชิ าภาษาไทย
ทองเพ่มิ ๖๓๑๐๙๔๑๒๐๗ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ทว่ั ไป
ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ก
คำนำ
รายงานการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างภาคเรียนที่ ๒ (Professional Experience) เป็น
เอกสารที่นักศึกษาหลักสูตร ๔ ปี ได้จัดทำในระหว่างที่สังเกตการสอนในสถานการณ์จริง ถือเป็นการ
เปดิ โอกาสให้นกั ศึกษานำความรทู้ ไี่ ด้ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน ไปปรบั ใช้กบั การเรียนการสอน สำหรับ
การฝึกประสบการณ์ครั้งนี้ นับว่ามีคุณค่าอย่างยิ่งแก่ตัวนักศึกษาเอง จากการฝึกปฏิบัติวิชาชาชีพครู
ระหว่างภาคเรียนที่ ๒ (Professional Experience) ได้สร้างกระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งในการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูหลักสูตร ๔ ปี และเกิดการเรียนรู้จากบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียน
ไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) ตลอดจนสามารถนำสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ไปปรับปรุงแก้ไขใช้ในสถานการณ์
จรงิ ขอขอบพระคณุ ครพู ี่เลยี้ งและคณะครอู าจารยใ์ นโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๒๙ (กะทู้)เป็นอย่างย่งิ ท่ีให้
คำปรกึ ษา คอยชี้แนะแนวทางเพื่อนำไปพฒั นาตนเองต่อไป
คณะผู้จัดทำจึงขอขอบคุณอาจารย์ทุกท่าน ที่ให้นักศึกษาชั้นปีที่ ๓ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มาฝึกวิชาชีพครูระหว่างเรียน ๒ ณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้)
ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต ขอขอบพระคุณท่านผู้อำนวยการ ภัทราวลัย ด้วงหมุน และ
คณะครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒ (กะทู้) ที่ให้โอกาสในการมาฝึกวิชาชีพครูระหว่างเรียนในครั้งนี้ หาก
ผดิ พลาดประการใด ต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสน้ี
คณะผ้จู ัดทำ
สารบญั ข
เรอื่ ง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
สารบัญภาพ ง
สารบัญตาราง จ
๑. ข้อมลู โรงเรียนฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู ๑
๑.๑ ท่ีต้งั โรงเรียน ๑
๑.๒ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ๑
๑.๓ คณะกรรมการสถานศึกษา ๑
๑.๔ ปรชั ญาโรงเรยี น ๒
๑.๕ วิสัยทัศนข์ องโรงเรียน ๒
๑.๖ พันธกจิ ของโรงเรียน ๒
๑.๗ กลยทุ ธข์ องโรงเรยี น ๓
๑.๘ เอกลกั ษณข์ องโรงเรยี น ๕
๑.๙ อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน ๕
๑.๑๐ ข้อมูลบคุ ลากร ๕
๑.๑๑ ข้อมูลนกั เรียน ๕
๑.๑๒ ประวัติความเปน็ มาของโรงเรยี น ๖
๒. งานบริหารและบรกิ ารของโรงเรียน ๘
๒.๑ การบรหิ ารงานบุคคล ๘
๒.๒ การบรหิ ารงานวชิ าการ ๘
๒.๓ การบรหิ ารงานงบประมาณ ๙
๒.๔ การบรหิ ารงานทัว่ ไป ๑๐
สารบญั (ตอ่ ) ค
เรื่อง หน้า
๓. สภาพชมุ ชนและความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชน ๑๑
๑๑
๓.๑ ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๑๒
๓.๒ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๑๔
๓.๓ แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ๑๕
๓.๔ โครงการ/กิจกรรมทีโ่ รงเรยี นดำเนนิ การร่วมกบั ชุมชน ๑๕
๓.๕ แผนผงั แสดงบริเวณและท่ตี ้ังของโรงเรยี น ๑๖
๑๖
๔. ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
๑๙
๔.๑ ผลการประเมนิ SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19
ระดับการศกึ ษาปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๒๒
๒๕
๔.๒ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในตนเอง
ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา (ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔)
๕. ผลการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (PLC : Professional learning Community)
ภาคผนวก
สารบัญภาพ ง
เร่ือง หน้า
ภาพที่ ๑ โครงสรา้ งหลกั สูตรระดับปฐมวัย ๑๒
ภาพท่ี ๒ โครงสรา้ งหลกั สูตรระดับประถมศึกษา ๑๓
ภาพท่ี ๑ แผนผังแสดงบริเวณของโรงเรียน ๑๕
ภาพที่ ๒ ท่ีต้งั โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๒๙ (กะท)ู้ ๑๕
จ
สารบญั ตาราง
เร่ือง หนา้
ตารางท่ี ๑ กลยุทธห์ ลักของโรงเรียน ๓
ตารางที่ ๒ กลยทุ ธร์ องของโรงเรยี น ๔
ตารางท่ี ๓ แหล่งการเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น ๑๔
ตารางที่ ๔ แหล่งการเรียนรนู้ อกโรงเรียน ๑๔
ตารางที่ ๕ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเดก็ ๑๖
ตารางท่ี ๖ แสดงผลการประเมนิ ภายนอกมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๑๖
ตารางที่ ๗ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั ๑๗
ตารางท่ี ๘ แสดงผลการประเมนิ ภายนอกมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ๑๗
ตารางท่ี ๙ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑๘
ตารางที่ ๑๐ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ๑๘
ที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั
ตารางที่ ๑๑ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเดก็ ๑๙
ตารางท่ี ๑๒ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๑๙
ตารางที่ ๑๓ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเดก็ เป็นสำคัญ ๑๙
ตารางที่ ๑๔ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ๒๐
ตารางท่ี ๑๕ แสดงผลการประเมนิ ภายในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒๐
ตารางท่ี ๑๖ แสดงผลการประเมนิ ภายในมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ๒๑
ผู้เรียนเป็นสำคัญ
๑
ขอ้ มลู สถานศกึ ษาท่ฝี กึ ปฏิบตั วิ ชิ าชพี ครูระหวา่ งเรยี น ๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕
๑. ขอ้ มูลโรงเรยี นฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู
๑.๑ ท่ตี งั้ โรงเรียน
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ภูเก็ต ท่ีต้ัง ตั้งอยู่ที่เลขท่ี ๕๑/๒๑๗ หมู่ที่ ๖ ถนนวิชิตสงคราม ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
รหสั ไปรษณีย์ ๘๓๑๒๐ โทรศพั ท์ ๐๗๖๓๒๑๘๑๘ Email : Thairat๒๙@hotmail.com
๑.๒ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
ช่ือผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา นางสาวภัทราวลยั ด้วงหมนุ
ช่ือรองผู้บริหารสถานศึกษา นางสาวรตั น์ตยิ า เรอื งสุข
ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ นางสุนิศา อรณุ โชติ
ฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคล นางสาวสมใจ สวนสนั
ฝา่ ยบรหิ ารงานแผนและงบประมาณ นางสุขใจ กัลชาญวรรณธนะ
ฝ่ายบรหิ ารงานทัว่ ไป นางสาวอรทัย ทองจันทร์แก้ว
๑.๓ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
ประกอบด้วย
๑.๑ นายณฐั ชยั หลิมพัฒนวงศ์ ประธานคณะกรรมการฯ
กรรมการ
๑.๒ นายอรรถาพงษ์ จนั ทรตั นวงศ์ กรรมการ
กรรมการ
๑.๓ นายพงษ์เทพ จอ้ ยจาด กรรมการ
กรรมการ
๑.๔ นางสุขใจ กลั ชาญวรรณธนะ กรรมการ
กรรมการ
๑.๕ นางมะลวิ ลั ย์ พงษบ์ พุ ศิรกิ ุล กรรมการ
๑.๖ นายวุฒิชัย ส่งศรี
๑.๗ นายบญุ ชว่ ย แซ่ออ๋ ง
๑.๘ นายไพโรจน์ ชยั ชำนาญ
๑.๙ นายชวลิต สมคั รพงศ์
๒
๑.๑๐ นายสชุ าติ รกั ชอบ กรรมการ
๑.๑๑ พระครวู ิชิต สงั ฆไพโรจน์ กรรมการ
๑.๑๒ นายฐิวรรธ์นยั ฉ่วั เจรญิ กรรมการ
๑.๑๓ นายวรรณยทุ ธิ์ สทุ ธกิ ุล กรรมการ
๑.๑๔ พระกรยั วเิ ชยี ร โชติธมฺโม กรรมการ
๑.๑๕ นางสาวภทั ราวลยั ด้วงหมนุ กรรมการและเลขานกุ าร
๑.๔ ปรชั ญาโรงเรยี น
สรา้ งปญั ญา พฒั นาความคิด เพอ่ื ชวี ติ มีคณุ คา่
๑.๕ วสิ ยั ทัศนข์ องโรงเรียน
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) เป็นโรงเรียนสมบูรณ์แบบในการจัดการศึกษาเพ่ือ
สร้างความเป็นพลเมืองดีและเป็นต้นแบบสื่อมวลชนศึกษา โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ใิ ห้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๑.๖ พนั ธกิจของโรงเรยี น
๑. จดั การศกึ ษาใหน้ กั เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
๒. จัดการศกึ ษาใหน้ กั เรยี นเป็นคนดมี คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
๓. พัฒนาบุคลากรในสถานศกึ ษามที ักษะวิชาชีพตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
๔. บริหารจัดการโดยยดึ หลกั ธรรมมาภิบาล
๕. นาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิจรงิ
๖. จดั ใหม้ ีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้
๗. ใชแ้ ละพฒั นาหลักสตู รสื่อมวลชนศึกษาเปน็ แนวทางในการจัดการศึกษาในโรงเรยี นไทยรัฐ
วิทยา
๘. สง่ เสริมให้นักเรยี นเปน็ ผู้นําในการใชแ้ ละผลติ สื่อมวลชนศกึ ษา
๙. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้บรหิ าร ครแู ละนักเรียนใชส้ ือ่ อยา่ งสร้างสรรค์ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม
๑๐.จัดใหโ้ รงเรียนเปน็ แหล่งเรยี นรู้ดา้ นสอื่ มวลชนศึกษา
๑๑.พัฒนาครใู ห้จดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
๓
๑.๗ กลยุทธ์ของโรงเรียน
ตารางที่ ๑ กลยทุ ธห์ ลักของโรงเรียน
กลยทุ ธ์หลัก แนวทางการพฒั นา
๑. กลยทุ ธ์ดา้ นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น ๑.๑ พฒั นานักเรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๑.๒ พัฒนานักเรียนเป็นคนดีมรคุณธรรมจรยิ ธรรม
ตามคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑.๓ พฒั นานกั เรียนใหเ้ ป็นผนู้ ำในการใช้และผลติ
สื่อมวลชนศกึ ษา
๒. กลยุทธ์ดา้ นการพฒั นาเพมิ่ ๒.๑ สง่ เสรมิ และสนับสนุนบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ประสิทธภิ าพกระบวนการบรหิ ารจัดการ ทกุ คนมที กั ษะวิชาชพี ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
๒.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยยึด
หลกั ธรรมมาภบิ าล
๒.๓ นอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่
การปฏบิ ตั ิ
๒.๔ พฒั นาโรงเรยี นมสี ภาพแวดล้อมเอือ้ ตอ่ การ
จดั การเรียนรู้
๒.๕ พัฒนาโรงเรียนเป็นแหลง่ เรียนร้ดู า้ น
สอื่ มวลชนศกึ ษา
๓. กลยุทธ์ด้านการพัฒนากระบวนการ ๓.๑ พฒั นาหลักสตู รส่อื มวลชนศึกษาใชเ้ ปน็
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น แนวทางในการจดั การศกึ ษาในโรงเรียนไทยรัฐ
สำคัญ วิทยา 29 (กะทู้) ทม่ี คี ุณภาพ
๓.๒ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษา และนักเรยี นทุกคนใชส้ ่อื อย่างสรา้ งสรรค์ มี
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
๓.๓ พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้น
ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
๔
ตารางที่ ๒ กลยทุ ธ์รองของโรงเรียน
กลยุทธ์รอง แนวทางการพฒั นา
๑. กลยทุ ธ์รอง ๑.๑ พัฒนานักเรยี นทกุ คนมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
๑.๒ พฒั นานกั เรยี นทุกคนเปน็ คนดมี คี ุณธรรม
จรยิ ธรรมตามคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑.๓ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ บคุ ลากรในสถานศกึ ษา
ทกุ คนมที กั ษะวชิ าชีพตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู
๑.๔ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การโดยยึด
หลกั ธรรมมาภบิ าล
๑.๕ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ บคุ ลากรในสถานศึกษา
ทกุ คนนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่
การปฏบิ ตั จิ ริง
๑.๖ พฒั นาโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมเออ้ื ตอ่ การ
จดั การเรียนรู้
๑.๗ พัฒนาหลกั สตู รสอื่ มวลชนศกึ ษาใช้เป็น
แนวทางในการจดั การศึกษาในโรงเรียนไทยรัฐ
วิทยาทมี่ คี ณุ ภาพ
๑.๘ พฒั นานักเรยี นทุกคนให้เป็นผนู้ ำในการใชแ้ ละ
ผลิตสอื่ มวลชนศกึ ษา
๑.๙ ส่งเสรมิ และสนับสนุนครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา และนกั เรยี นทุกคนใชส้ ่ืออยา่ งสรา้ งสรรค์
มีคุณธรรมจริยธรรม
๑.๑๐ พัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน
สอ่ื มวลชนศกึ ษา
๑.๑๑ สนับสนนุ ให้ครจู ดั การเรียนการสอนทเ่ี น้น
ผ้เู รียนเป็นสำคญั
๕
๑.๘ เอกลักษณ์ของโรงเรยี น
โรงเรยี นคุณภาพดี นักเรียนมีความรู้ส่ือมวลชนศกึ ษา พฒั นาสู่ความเป็นพลเมอื งดี
๑.๙ อัตลกั ษณข์ องโรงเรียน
เป็นพลเมืองดี มีทักษะการสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง
๑.๑๐ ข้อมลู บคุ ลากร
ครู มที งั้ หมด ๒๒ คน เปน็ ชาย ๔ คน เป็นหญิง ๑๘ คน
ขา้ ราชการครู ๑๘ คน
อตั ราจา้ ง ๒ คน
นักธุรการโรงเรียน ๑ คน
นกั การภารโรง ๑ คน
แยกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา ดงั น้ี
สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จำนวน ๓ คน
ปรญิ ญาตรี จำนวน ๑๘ คน
ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี จำนวน ๑ คน
๑.๑๑ ขอ้ มลู นกั เรียน
นกั เรยี นมที ง้ั หมด ๓๕๕ คน เปน็ ชาย ๑๙๙ คน เป็นหญงิ ๑๕๖ คน
อนุบาล ๒ จำนวน ๒๐ คน
อนุบาล ๓ จำนวน ๒๖ คน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ จำนวน ๔๕ คน
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ จำนวน ๔๘ คน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ จำนวน ๖๑ คน
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ จำนวน ๕๗ คน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ จำนวน ๕๐ คน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ จำนวน ๔๘ คน
สรุปอัตราส่วนระหวา่ ง จำนวนครตู ่อจำนวนนกั เรยี น ๑ คน ต่อ ๒๑ คน
๖
๑.๑๒ ประวัตคิ วามเป็นมาของโรงเรียน
โรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๒๙ (กะท)ู้ เดิมชอ่ื โรงเรียนกะทูเ้ ปน็ โรงเรียนมัธยมศึกษารับนักเรียนท่ีเรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เข้าเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ เปิดสอนครั้งแรก เมื่อวันท่ี
๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๗ มี นายระดับ มณีศรี ศึกษาธิการกิ่งอำเภอกะทู้ เป็นครูใหญ่ ได้อาศัยศาลา
การเปรยี ญของวดั กะท้เู ปน็ ท่ีเรยี นชัว่ คราว
ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗-๒๔๙๙ นายกระจดั โลหะรกั ษ์ เป็นครูใหญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๔ นายสมนึก หตุ ะจฑุ ะ รกั ษาการในตำแหน่งครูใหญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔-๒๕๐๗ นายสมนึก เกษสุวรรณ รกั ษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๐๘ นายเสวก บุญยษั เสถียร รกั ษาการในตำแหน่งครใู หญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘-๒๕๑๑ นางสจุ ติ รา ถิระวฒั น์ รกั ษาการในตำแหน่งครใู หญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๔ นางสรุ ณี ยอแสงรัตน์ รกั ษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๑๕ นางประเทยี บ สขุ หวาน รกั ษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่
ทางราชการได้ออกหนังสือสำคัญรับรองที่หลวงใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นที่สงวนผังศพเขาน้อย
สาธารณ ประโยชน์ตามประกาศ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ทำให้โรงเรียนกะทู้มีเนื้อที่ ๓๐ ไร่ ๑ งาน
๖๔ ตารางวา มอี าณาเขต ดงั นี้
๑. ทศิ เหนอื จดถนนวชิ ิตสงครามและท่ฝี ังศพเขาน้อย
๒. ทิศใต้ จดท่ดี ินสงวนกรมทางหลวงและทีฝ่ งั ศพเขานอ้ ย
๓. ทศิ ตะวนั ออก จดถนนวชิ ติ สงคราม
๔. ทิศตะวันตก จดทีฝ่ ังศพเขานอ้ ย
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔-๒๕๑๘ นายสุทนิ กำลงั ดำรงตำแหน่งครใู หญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๒๔ นางยพุ ดี สุทธโิ อสถ ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่
ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารโรงฝึกงาน ๓๑๓ เอ และในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา ๒๕๒๑ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เปลี่ยนจากโรงเรียนมัธยมศึกษา
เป็นสอนระดับประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ และคณะกรรมการโรงเรยี นมมี ติให้ปลูกสวนยางพารา เนื้อท่ี ๑๕
ไร่ ๒ งาน ๖๐ ตารางวา เพอ่ื หารายไดเ้ ป็นกองทนุ ให้โรงเรยี น
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔-๒๕๒๖ นายจนิ ดารกั ษ์ โกมุทผล ดำรงตำแหนง่ ครูใหญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖-๒๕๒๘ นายคำนำ นุ่มพิจติ ดำรงตำแหน่งครใู หญ่
ได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สร้างอาคารเอนกประสงค์
แบบ ๒๐๒/๒๕๒๖ จำนวน ๑ หลัง ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ โรงเรียนได้รับเลือกให้เข้าร่วมในมูลนิธิ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ๑๐๕/๒๕๒๖ จำนวน ๑ หลังและได้
เปล่ยี นชอ่ื จากโรงเรยี นกะทู้(เดมิ ) เปน็ โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๒๙ (กะท้)ู
๗
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๒ นายคูณศิลป์ อ่าวบูรณวัฒน์ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ และในปี
พ.ศ. ๒๕๒๘-๒๕๓๐ นายสุชัย วิเชียร ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ และในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ได้มีการจัดต้ัง
มูลนิธิโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) เพื่อเอาดอกผลมสใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษาของ
โรงเรยี น
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๑ นายอำนวย ก่งิ แก้ว ดำรงตำแหนง่ ครูใหญ่ ได้รบั งบจากมลู นธิ ิ
ไทยรัฐเพื่อต่อเตมิ ชัน้ ล่างอาคารเป็นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารสอนและห้องสมุด
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒ นายบำรงุ ผลพฒุ ิ ดำรงตำแหนง่ อาจารยใ์ หญ่
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๗ นายประทีป มุสิแก้ว ดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ และในปี
พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้มีการปฏิรูประบบราชการจากสังกัดเดิม สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห่งชาติ เปลี่ยนเป็นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้
หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มีการปฏิรูประบบการเรยี นการสอนระบบการบรหิ าร
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๔๙ นายประทีป มุสิแก้ว ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา
และในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนได้รับงบจากมูลนิธิไทยรัฐ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๒๐ ปี ก่อสร้าง
อาคารเรียนแบบ ๑๐๕/๒๙ จำนวน ๔ ห้องเรียน ชั้นล่างเป็นห้องประชุมด้วยงบประมาณ
๓,๐๐๐,๐๐๐ บาทเศษ และในปีงบประมาณ ๒๕๔๙ ทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.๑๐๕/๒๙ จำนวน ๔ ห้องเรียน ใต้ถุนโล่งด้วยงบประมาณ
๒,๙๑๐,๐๐๐ บาท
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๓ นายยนื ยง ต้ิวสกลุ ดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ถงึ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๗ นายธีระฤทธิ์ นิธิศกั ดิ์ดำรง ดำรง
ตำแหน่งผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๔ นางเภาพรรณ วงคไ์ ทย ดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการ
สถานศึกษา
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖-ปัจจุบัน นางสาวภัทราวลัย ด้วงหมุน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
สถานศึกษา ตามคำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต ที่ ๒๘๓/๒๕๖ เรื่อง ย้ายและแต่งต้ัง
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔
โรงเรียนได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างโรงอาหาร ๕๐๐
ทีน่ งั่ จำนวน ๑ หลงั
๘
๒. งานบริหารและบรกิ ารของโรงเรยี น
๒.๑ การบริหารงานบคุ คล จะมีหน้าทห่ี ลกั ๆ ดังน้ี
๒.๑.๑ การวางแผนอตั รากำลัง
๒.๑.๒. การจดั สรรอตั รากำลังขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
๒.๑.๓. การสรรหาและบรรจแุ ต่งตง้ั
๒.๑.๔. การเปล่ยี นตำแหนง่ ให้สูงขึ้น การยา้ ยขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
๒.๑.๕. การดำเนนิ การเกีย่ วกบั การเลื่อนขั้นเงินเดือน
๒.๑.๖. การลาทุกประเภท
๒.๑.๗. การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน
๒.๑.๘. การดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ
๒.๑.๙. การส่ังพักราชการและการสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น
๒.๑.๑๐. การรายงานการดำเนินการทางวินยั และการลงโทษ
๒.๑.๑๑. การอุทธรณแ์ ละการรอ้ งทกุ ข์
๒.๑.๑๒. การออกจากราชการ
๒.๑.๑๓. การจดั ระบบและการจดั ทำทะเบียนประวัติ
๒.๑.๑๔. การจดั ทำบญั ชีรายช่อื และใหค้ วามเหน็ เกยี่ วกับการเสนอขอพระราชทาน
เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์
๒.๑.๑๕. การสง่ เสรมิ การประเมนิ วทิ ยฐานะข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๒.๑.๑๖. การส่งเสริมและยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ
๒.๑.๑๗. การส่งเสรมิ มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี
๒.๑.๑๘. การส่งเสรมิ วินัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสำหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
๒.๑.๑๙. การรเิ ริ่มสง่ เสริมการขอรับใบอนญุ าต
๒.๑.๒๐. การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา การดำเนนิ การทีเ่ กี่ยวกับการ
บรหิ ารงานบุคคลให้เปน็ ไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
๒.๒ การบริหารงานวิชาการ จะมหี นา้ ทีห่ ลัก ๆ ดงั น1ี้ 7
๒.๒.๑ . การพฒั นาหรือการดำเนินการเก่ียวกับการให้ความเหน็ การพัฒนาสาระ หลักสตู รท้องถน่ิ
๒.๒.๒ .การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ
๒.๒.๓. การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
๒.๒.๔. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
๒.๒.๕. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
๙
๒.๒.๖. การวดั ผล ประเมนิ ผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรยี น
๒.๒.๗. การวิจยั เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา
๒.๒.๘. การพัฒนาและสง่ เสรมิ ให้มแี หล่งเรยี นรู้
๒.๒.๙. การนิเทศการศกึ ษา
๒.๒.๑๐. การแนะแนว
๒.๒.๑๑. การพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา
๒.๒.๑๒. การส่งเสริมชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ทางวิชาการ
๒.๒.๑๓. การประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาวชิ าการกับสถานศึกษาและองคก์ รอื่น
๒.๑.๑๔. การสง่ เสรมิ และสนบั สนุน งานวิชาการแกบ่ คุ คล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน สถาน
ประกอบการ และสถาบันอนื่ ท่ีจัดการศึกษา
๒.๒.๑๕. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
๒.๒.๑๖. การคดั เลือกหนงั สอื แบบเรียนเพือ่ ใช้ในสถานศกึ ษา
๒.๒.๑๗. การพฒั นาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
๒.๓ การบริหารงานงบประมาณ จะมีหน้าทหี่ ลกั ๆ ดังน้ี
๒.๓.๑ . การจดั ทำแผนงบประมาณและคำขอตง้ั งบประมาณ
๒.๓.๒. การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการใช้จา่ ยเงนิ ตามที่ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณ
๒.๓.๓. การอนมุ ตั กิ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณทไ่ี ดร้ ับจดั สรร
๒.๓.๔. การขอโอนและการขอเปล่ียนแปลงงบประมาณ
๒.๓.๕. การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ
๒.๓.๖. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ
๒.๓.๗. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใชผ้ ลผลติ จากงบประมาณ
๒.๓.๘. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพือ่ การศึกษา
๒.๓.๙. การปฏบิ ตั งิ านอน่ื ใดเกี่ยวกบั กองทุนเพ่ือการศึกษา
๒.๓.๑๐. การบรหิ ารจดั การทรัพยากรเพ่ือการศึกษา
๒.๓.๑๑. การวางแผนพสั ดุ
๒.๓.๑๒. การกำหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลกั ษณะเฉพาะของครภุ ัณฑ์
๒.๓.๑๓. การพัฒนาระบบข้อมลู และสารสนเทศเพอื่ การจัดทำและจดั หาพัสดุ
๒.๓.๑๔. การจัดหาพสั ดุ
๒.๓.๑๕. การควบคมุ ดูแล บำรุงรกั ษา และจำหนา่ ยพัสดุ
๒.๓.๑๖. การจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สิน
๑๐
๒.๓.๑๗. การเบิกเงินจากคลัง
๒.๓.๑๘. การรับเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการจา่ ยเงิน
๒.๓.๑๙. การนำเงินสง่ คลงั
๒.๓.๒๐. การจดั ทำบัญชกี ารเงนิ
๒.๓.๒๑. การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงนิ
๒.๓.๒๒. การจดั ทำหรอื จดั หาแบบพิมพ์บญั ชี ทะเบยี น และรายงาน
๒.๔ การบริหารงานท่ัวไป จะมีหนา้ ที่หลกั ๆ ดงั น้ี
๒.๔.๑ การพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ยข้อมลู สารสนเทศ
๒.๔.๒. การประสานงานและพัฒนาเครือข่ายการศึกษา
๒.๔.๓. การวางแผนการบรหิ ารงานการศึกษา
๒.๔.๔. งานวจิ ัยเพอื่ พฒั นานโยบายและแผน
๒.๔.๕. การจัดระบบการบริหารและพฒั นาองค์กร
๒.๔.๖. การพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
๒.๔.๗. งานเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา
๒.๔.๘. การดำเนนิ งานธุรการ
๒.๔.๙. การดูแลอาคารสถานท่ี และสภาพแวดลอ้ ม
๒.๔.๑๐. การจดั ทำสำมะโนผเู้ รยี น
๒.๔.๑๑. การรับนักเรยี น
๒.๔.๑๒. การเสนอความเห็นเกยี่ วกบั เรอื่ งการจดั ต้ัง ยบุ รวมหรือเลกิ สถานศกึ ษา
๒.๔.๑๓. การประสานการจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั
๒.๔.๑๔. การระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา
๒.๔.๑๕. การทัศนศกึ ษา
๒.๔.๑๖. งานกิจการนักเรียน
๒.๔.๑๗. การประชาสัมพันธ์งานการศกึ ษา
๒.๔.๑๘. การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชมุ ชน องคก์ ร หน่วยงาน
และสถาบันสังคมอนื่ ที่จดั การศึกษา
๒.๔.๑๙. งานประสานราชการกับสว่ นภูมิภาค และสว่ นทอ้ งถ่นิ การรายงานผลการปฏิบัติงาน
๒.๔.๒๐. การจัดระบบการควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน
๒.๔.๒๑. แนวทางการจดั กจิ กรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรยี น
๑๑
๓. สภาพชมุ ชนและความสัมพันธ์ระหว่าโรงเรยี นกับชุมชน
๓.๑ ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม
สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมลี ักษณะเป็นชมุ ชนเมืองมีทั้งหมด 6 ชุมชน ไดแ้ ก่ ชมุ ชนกะ
ทู้ ชุมชนนาเหนือ ชุมชนบ้านภักดี ชุมชนบ้านสี่กอ ชุมชนบางเจี้ยม และชุมชนเขาน้อย มีประชากร
ทั้งหมดประมาณ 9,173 คน (ข้อมูลจากแผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลเมืองกะทู้ พ.ศ.2566-2570)
บริเวณใกล้เคียงโรงเรียน ได้แก่ บ้านเรือน ร้านค้า ที่ตั้งหน่วยงานราชการ เช่น โรงเรียนกะทู้วิทยา
สถานีตำรวจภูธรทุ่งทอง และที่ว่าการอำเภอกะทู้ อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้างทั่วไป พนักงาน
โรงแรม พนักงานสนามกอล์ฟ ลูกจ้างองค์กรภาครัฐและบริษัทห้างร้าน ค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว รับ
ราชการและอื่น ๆ เนื่องจากเป็นชุมชนที่อยู่ในเขตเทศบาลและใกล้แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัด
ภูเก็ต เช่น นำ้ตกกะทู้ พระธาตุเจดีย์ภูหว้า สนามยิงปืน วอเตอร์สกี หาดป่าตอง และใกล้สถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษา คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นสำคัญที่ปฏิบัติสืบเนื่องกันมา คือ ประเพณีถือศีลกินผัก ผู้ปกครอง
ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีพหลักของผู้ปกครอง คือ รับจ้างทั่วไป
พนักงานโรงแรม พนักงานสนามกอล์ฟ ลูกจ้างองค์กรภาครัฐและบริษัทห้างร้าน ค้าขาย ธุรกิจส่วนตวั
รับราชการและอื่น ๆ ฐานะทางเศรษฐกิจและรายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวต่อเดือน ประมาณ 5,000 -
7,500 บาท จำนวนสมาชกิ เฉลีย่ ตอ่ ครอบครวั 4 คน
๑๒
๓.๒ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๕๖ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) จัดการเรียนการสอนตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๕) ดังนี้
โครงสรา้ งหลกั สตู รระดับปฐมวัย
ภาพท่ี ๑ โครงสรา้ งหลักสูตรระดบั ปฐมวยั
๑๓
โครงสร้างหลกั สตู รระดับประถมศึกษา
ภาพท่ี ๒ โครงสรา้ งหลกั สตู รระดับประถมศกึ ษา
๑๔
๓.๓ แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่
๑. แหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรียน
ตารางท่ี ๓ แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน
ที่ ชือ่ แหล่งการเรยี นรู้
๑ ห้องสมดุ
๒ หอ้ งวทิ ยาศาสตร์
๓ ห้องคอมพิวเตอร์
๔ โรงเลย้ี งไกไ่ ข่
๕ แปลงเกษตร/พนั ธ์ุไม้ในโรงเรียน
๖ โรงอาหาร
๗ สนามกฬี า
๘ สวนยางพารา
๙ ห้องสหกรณ์
๑๐ บ่อปลาดกุ
๑๑ โรงเพาะเห็ด
๑๒ สวนกลว้ ย
๑๓ แหล่งเรยี นรปู้ ยุ๋ ใบไม้
๑๔ แปลงผกั ปลอดสารพษิ
๑๕ สนามกีฬาของโรงเรียน
๒. แหล่งการเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรยี น
ตารางที่ ๔ แหล่งการเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
ที่ ชื่อแหลง่ การเรียนรู้
๑ เขอื่ นบางวาด
๒ ศูนยศ์ ึกษาธรรมชาตแิ ละสตั ว์ป่าเขาพระแทว
๓ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภูเก็ต
๔ สถานีตำรวจภูธรตำบลกะทู้
๕ โรงเรยี นกะทูว้ ิทยา
๖ วดั อนุภาษกฤษฎาราม (วดั เกต็ โฮ่)
๗ วัดกะทู้
๑๕
๘ โรงพยาบาลป่าตอง
๙ สำนักสงฆบ์ างทอง
๑๐ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจำตำบลกะทู้
๑๑ พพิ ธิ ภณั ฑ์เหมืองแร่
๑๒ ทวี่ า่ การอำเภอกะทู้
๑๓ สำนักงานเกษตรอำเภอกะทู้
๑๔ ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษประจำจงั หวัดภเู ก็ต
๑๕ สวนสาธารณะเทศบาลเมอื งกะทู้
๓.๔ โครงการ/กิจกรรมที่โรงเรียนดำเนนิ การร่วมกับชมุ ชน ภาพที่ ๔
๓.๑.๑ โครงการพบปะผูป้ กครอง
๓.๑.๒ โครงการสมั พันธช์ ุมชน
๓.๑.๓ โครงการค่ายเยาว์ชน รกั ษพ์ งไพร
๓.๑.๔ โครงการศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน
๓.๑.๕ โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
๓.๑.๖ โครงการเข้าคา่ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม
๓.๕ แผนผังแสดงบรเิ วณและที่ตง้ั ของโรงเรียน
ภาพที่ ๓
๑๖
๔. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา
๔.๑ ผลการประเมนิ SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19 ระดับการศกึ ษาปฐมวัยและ
ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
จุดเนน้ ส่งเสรมิ ให้เดก็ มคี ุณธรรม มีความคดิ สรา้ งสรรค์
ตารางท่ี ๕ แสดงผลการประเมนิ ภายนอกมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
จดุ เน้น การบรหิ ารงานแบบมสี ว่ นรวม
ตารางท่ี ๖ แสดงผลการประเมนิ ภายนอกมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๑๗
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ สำคัญ
จุดเนน้ ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเรียนรดู้ ้วยตนเอง และมีคณุ ธรรม
ตารางที่ ๗ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น
สำคญั
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผ้เู รียน
จุดเน้น ผ้เู รียนรักและสืบสานความเป็นไทยในวฒั นธรรมท้องถ่ิน
ตารางที่ ๘ แสดงผลการประเมนิ ภายนอกมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผู้เรียน
๑๘
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
จุดเน้น การบรหิ ารงานแบบมีส่วนร่วม
ตารางท่ี ๙ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
จุดเน้น จัดการเรยี นการสอนโดยการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL)
ตารางที่ ๑๐ แสดงผลการประเมินภายนอกมาตรฐานที่ ๓ การจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
๑๙
๔.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายในตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(ปีการศึกษา ๒๕๖๔)
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
ตารางท่ี ๑๑ แสดงผลการประเมนิ ภายในมาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเดก็
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ตารางท่ี ๑๒ แสดงผลการประเมนิ ภายในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็นสำคัญ
ตารางที่ ๑๓ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น
สำคัญ
๒๐
ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
ตารางท่ี ๑๔ แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ตารางท่ี ๑๕ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒๑
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
ตารางที่ ๑๖ แสดงผลการประเมินภายในมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ี
เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ
สรุปผลการศกึ ษาสถานภาพ
ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน
ของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) สรุปได้ว่า โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๙ (กะทู้) อยู่ในสถานการณ์
SO Strategies เป็นสถานการณ์ที่ได้เปรียบในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เพราะกลยุทธ์
ภายนอกเอื้อและภายในองค์กรมีความเข้มแข็ง ถือเป็นสถานการณ์ดาวรุ่ง (Public Sector Star) ซึ่ง
โอกาสจากภายนอกที่โรงเรียนได้รับ ได้แก่ การสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดการศึกษา
ของโรงเรยี นเปน็ อยา่ งดี มีประเพณแี ละวัฒนธรรมท้องถน่ิ ของชุมชนเปน็ แหลง่ เรยี นรไู้ ด้เป็นอย่างดี ทำ
ให้นักเรยี นสามารถเรียนรทู้ างวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ประกอบกับปจั จยั ภายใน ได้แก่ บคุ ลากร
มีความรู้ ความสามารถ มีความสามัคคี มีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการทำงาน จึงทำให้โรงเรียน
สามารถจัดการศึกษาได้อยา่ งมคี ุณภาพ เปน็ ท่ียอมรับของชุมชน
๒๒
ผลการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
(PLC : Professional learning Community)
๒๓
แบบบนั ทึกชุมชนวิชาชีพครู (PLC : Professional learning Community)
โรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๒๙ (กะท้)ู ครงั้ ท่ี ๑
วนั ท่ี ๑ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๖.๐๐ น.
ผ้เู ขา้ รว่ ม
๑. นางสาวภัทราวลยั ดว้ งหมุน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๒๙ (กะท)ู้
๒. นางสุขใจ กัลชาญวรรณธนะ ครูกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
๓. นางสาวสมใจ สวนสนั ครกู ลมุ่ สาระภาษาไทย
๔. นางสาวกูศลสิ า สตอหลง ครูปฐมวยั
๕. นางสาวอรทัย แก้วทองจนั ทร์ ครูปฐมวยั
๖. นางสาวสนธยา หนูหนุด ครกู ลุ่มสาระพลศกึ ษา
๗. นางสาวอัญรนิ ทร์ ชำนาญ ครูกล่มุ สาระภาษาไทย
๘. นายสวุ ทิ ย์ สาระทงิ ครูกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๙. นางสาวณัฏฐ์กฤตา ราชมนตรี ครูกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๑๐. นางสาวอตกิ านต์ รจุ นะภทั ร สาขาวชิ าคณิตศาสตร์
๑๑. นางสาวอัฐพร พัฒน์แกว้ สาขาวชิ าการประถมศึกษา
๑๒. นางสาวกาญจนา หลานหาด สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย
๑๓.นางสาวสลลิ ฆังคัสโร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
๑๔. นายนัฐวัฒน์ พันธน์ ้อย สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา
๑๕.นายรฐั เกยี รติ ผลาสิน สาขาวิชาพละศกึ ษา
๑๖.นางสาวธันชนก ทองมี สาขาวิชาภาษาไทย
๑๗.นางสาวธิดารัตน์ ทองเพิม่ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป
ประเดน็ ทแี่ ลกเปลี่ยนการเรยี นรู้
การจดั การชัน้ เรยี น
สรปุ ผลการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
เนื่องด้วยจากการที่ปฏิบัติการสอนจริงในห้องเรียนทำให้นักเรียน ส่วนใหญ่ไม่ตั้งใจเรียน
พูดคุยเสียงดัง ไม่มีสมาธิในการเรียน ไม่ทำงานส่งตามเวลาที่กำหนด แต่เมื่อมีครูประจำวิชาเข้ามา
สอนในหอ้ งเรยี น ทำให้นักเรยี นตง้ั ใจเรียน ไม่พดู คุยเสียงดงั และทำงานส่งตามเวลาท่ีกำหนด
๒๔
แนวทางการแก้ปัญหา
- ครูผู้สอนจะต้องมบี ุคลิกภาพทีด่ ี เป็นท่ีน่าสนใจแก่ผูเ้ รียน
- ครูผู้สอนจะตอ้ งมีกิจกรรมท่ดี งึ ดูดความสนใจผู้เรยี น มีการเสริมแรงแกผ่ ู้เรยี น
- ครูผู้สอนจะต้องสรา้ งข้อตกลงร่วมกันในหอ้ งเรยี นกับผู้เรียน
-ครูผู้สอนต้องมีทั้งศาสตรแ์ ละศิลป์ เพื่อทำให้นักเรียน ไว้ใจ เชื่อใจ วางใจและเกรงใจ ในการ
จดั การเรียนการสอน
๒๕
ภาคผนวก
๒๖
ภาพที่ ๑ หนา้ เสาธง ภาพท่ี ๒ สนามบาสเกตบอล
ภาพท่ี ๓ สนามบอล ภาพท่ี ๔ อาคารปฐมวยั
ภาพที่ ๕ อาคาร ๑ ภาพท่ี ๖ อาคาร ๕
๒๗
ภาพที่ ๗ อาคารคณุ กำพล ภาพท่ี ๘ สหกรณ์
ภาพที่ ๙ เศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพที่ ๑๐ กจิ กรรมออกกำลังกาย
ภาพที่ ๑๑ หอ้ งน้ำ ภาพท่ี ๑๒ กิจกรรมลูกเสือ
๒๘
ภาพท่ี ๑๓ บรเิ วณภายนอกโรงอาหาร ภาพท่ี ๑๔ บรเิ วณภายในโรงอาหาร
ภาพที่ ๑๕ PLC ภาพที่ ๑๖ วนั ธรรมสวนะ