The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประเมินTPSModel

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boonchay, 2020-06-27 01:09:03

คู่มือประเมินTPSModel

คู่มือประเมินTPSModel

คู่มือประเมนิ TPSModel

การบริหารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓
โดยใช้ TPS Model

Smart Teams

Smart Educational Personnel
“PRASAN”

Smart Teams

Smart Directors
“CHANGS”

Smart Teams

Smart Teachers
“KRUDEE”

Smart Students

“DEKSAREN”

นายสาเริง บุญโต
ผู้อานวยการสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

คูม่ ือการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศึกษาสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓
โดยใช้ TPS Model ฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางการประเมินการดาเนินงานการบริหาร
จัดการคุณภาพการศึกษาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ด้านสถานศึกษา ด้าน
ทีม (บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู) และด้านนักเรียน สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๓

ขอขอบคุณรองผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ผู้อานวยการ
กลุ่ม ผู้อานวยการสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ คณะครู
บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และคณะทางานจัดทาคู่มือประเมินการบริหารจัดการคุณภาพ
การศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยใช้ TPS Model ที่ให้ความร่วมมือ
ในการทางานและเป็นกาลังใจในการดาเนินงานการจัดการบริหารงานได้สาเร็จลุล่วงอย่างดีและ
มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งได้ให้คาปรึกษา แนะนา และอานวยความสะดวก จนทาให้เอกสารฉบับน้ี
สมบูรณ์

นายสาเรงิ บญุ โต
ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา ๓๓

สารบัญ

หนา้

คานา ……………………………………………………………………………………….............…..…………………… ก
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………….......……. ข
บทที่ ๑ บทนา ………………………………………………………………………………………….……………....... ๑

ความเป็นมาและความสาคัญ...............………………………………….........................…… ๒
วตั ถปุ ระสงค์..................……………………………………………………................................. ๓
ขอบเขต....................…………………………………………………………................................ ๓
นิยามศัพท์................................................................................................................. ๓
ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ......................................................................................... ๔
บทท่ี ๒ การบริหารจัดการคุณภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model...….……………....... ๔
การบรหิ ารแบบ TPS Model ..............………………………………….........................…… ๑๐
แนวทางการดาเนินงานเพื่อการบริหารจัดการคุณภาพการศกึ ษา TPS Model ........
กรอบแนวคิดการประเมนิ การบริหารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ ๑๒
โดยใช้ TPS Model................................................................................................... ๑๓
บทท่ี ๓ การดาเนนิ งานการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model..... ๑๓
การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model....................................... ๑๗
การสรา้ งเครื่องมือ วธิ กี ารประเมิน และเกณฑ์การประเมนิ .................................…… ๕๕
เคร่อื งมือประเมิน....................................................................................................... ๗๐
การจดั กระทาและการวิเคราะห์ข้อมูล........................................................................ ๗๑
บทที่ ๔ การรายงานผลการประเมนิ การบริหารจดั การคุณภาพการศกึ ษา สพม.๓๓
โดยใช้ TPS Model....................................................................................................... ๗๑
ความสาคญั ของรายงานผลการประเมนิ .................................................................... ๗๑
รูปแบบรายงานผลการประเมิน...........................................................................…… ๗๓
แบบสรปุ รายงานผลการประเมิน...............................................................................
ภาคผนวก

บทที่ ๑
บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ บัญญัติไว้ว่าการศึกษา

ทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน
และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ และพระราชบัญญัติ การศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ มีความมุ่งหมายและหลักการการจัดการศึกษาให้
เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม
มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข รวมถึงแผน
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๐ – ๒๕๙๗ มีกรอบแนวคิดให้คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและ
เรยี นรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ ดารงชีวติ อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปล่ียนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้กาหนดวิสัยทัศน์
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
โดยมีพันธกิจ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และ
มีคุณภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรและค่านิยม
หลักของคนไทย ๑๒ประการ พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีเน้นการมีส่วนร่วม การบูรณาการการจัด
การศกึ ษา และเสรมิ สร้างความรับผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศึกษา

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ รับผิดชอบในการจัดบริการการศึกษา
ข้ันพื้นฐานตามภารกิจในการส่งเสริมสนับสนุน กากับ ติดตามการจัดการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาให้
เด็กไทยได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ได้ตาม
มาตรฐานการศึกษา โดยมีโรงเรียนจาแนกตามเครือข่ายการบริหารสถานศึกษาสหวิทยาเขต ๘
สหวิทยาเขต จานวน 85 โรง มีนักเรียนจานวน 52,791 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2560)
มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน 2,862 คน พนักงานราชการ (ครูผู้สอน)
จานวน 239 คน พนักงานราชการ(นักการภารโรง 17 คน) ลูกจ้างประจา 95 คน ครูอัตราจ้าง
โครงการต่าง ๆ 186 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2560) ซึ่งผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก
สมศ. รอบสาม (ข้อมูล ณ วันท่ี 20 มีนาคม 2560) จานวนโรงเรียนที่ได้รับการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสาม จานวน 85 โรงเรียน พบว่า ได้รับการรับรองมาตรฐาน จานวน ๕๖ โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๘๘ ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ๒๙ โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๑๒ ดังน้ัน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ จึงมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา
ให้มีคุณภาพและผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกทุกโรงเรียน โดยเริ่มจากการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร

คู่มอื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 1

สถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษาประชุมร่วมกัน กาหนดแนวทางในการบริหารจัดการคุณภาพการจัด

การศึกษาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 ท้ัง 8 สหวิทยาเขต ผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากร

ทางการศึกษา ผู้บริหาร ครู และจากการระดมสรรพกาลังจากทุกๆ ฝ่าย โดยมีเป้าหมายสาคัญคือ

ความสาเร็จ Success โดยใช้การบริหารงานแบบ TPS Model ด้วยการบูรณาการนโยบายต้นสังกัด

ภารกิจ กจิ กรรม ความรับผิดชอบ ทรัพยากร บคุ ลากร ผทู้ รงคุณวฒุ ิและเทคโนโลยีนามาหลอมรวมเป็น

นโยบายและยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี เน้นการทางานเป็นทีมและเน้น

การเขา้ ใจ ยอมรับและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน โดยมีหลัก

ในการทางานร่วมกันว่า “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมกันรับผิดชอบ”และเน้นการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเป็น

พลวตั ร (Dynamic) มาใช้คร้งั แรกท่ีสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 33 ตงั้ แตป่ ี 2560

TPS Model ประกอบด้วย แบบประเมินสถานศึกษาในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ (SMART SCHOOLS) แบบประเมินทีมสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓

(SMART TEAMS) ประกอบด้วย แบบประเมินบุคลากรทางการศึกษา (SMART EDUCATIONAL

PERSONNEL) แบบประเมินผู้บริหารสถานศึกษา (SMART DIRECTORS) แบบประเมินครู (SMART

TEACHERS) และแบบประเมินนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ (SMART STUDENTS) เป็นเคร่ืองมือการประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา

ที่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ใช้ประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลและข้อเสนอแนะใน

การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาเพ่ือขับเคลื่อนการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตาม

นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานขา้ งต้น

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ จึงได้จัดทาคู่มือเล่มน้ีข้ึนเพื่อเป็นแนวทางให้
สถานศึกษาดาเนินการพัฒนาตนเองและเป็นเครื่องมือสาหรับประเมินสถานศึกษา เพื่อนาไปใช้
ประกอบการประเมิน เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จในด้านการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
ต่อไป โดยครอบคลุมทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ แนวทางการประเมินการดาเนินงานการบริหารจัดการคุณภาพ
การศึกษาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ๓๓ ด้านสถานศึกษา ด้านทีม (บุคลากรทาง
การศกึ ษา ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา และครู) และดา้ นนักเรยี น

วตั ถปุ ระสงค์
การประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model เป็นการประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model เพื่อให้ได้ข้อมูลและข้อเสนอแนะในการบริหาร

จัดการคุณภาพการศึกษาสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model

การดาเนินการจะประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ ดงั นี้

๑. เปน็ เครอื่ งมือในการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model

คมู่ ือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 2

๒. เป็นเคร่ืองมือในการประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model ด้านสถานศึกษา ด้านทีม (บุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา และคร)ู และดา้ นนักเรยี น

ขอบเขต
การประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model แบ่งดังน้ี
๑. บุคลากรทางการศกึ ษาในสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๓๓
๒. ผ้บู ริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓
๓. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

มัธยมศึกษา เขต ๓๓
๔. นักเรียนในโรงเรียน สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓

นิยามศพั ท์
การประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา

เขต ๓๓ โดยใช้ TPS Model นิยามศัพทด์ ังน้ี
บุคลากรทางการศึกษา หมายถงึ บุคลากรทางการศึกษาในสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา

มธั ยมศกึ ษาเขต ๓๓
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มธั ยมศึกษา เขต ๓๓
ครู หมายถึง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓
นกั เรียน หมายถึง นกั เรียนในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
๑. ได้แนวทางการดาเนินงานการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มธั ยมศกึ ษา ๓๓ ดา้ นสถานศึกษา
๒. ได้แนวทางการดาเนินงานการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

มธั ยมศกึ ษา ๓๓ ดา้ นทมี (บคุ ลากรทางการศึกษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และคร)ู
๓. ได้แนวทางการดาเนินงานการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

มัธยมศึกษา ๓๓ ด้านนักเรียน

คู่มอื การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 3

บทท่ี 2
การบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.33 โดยใช้ TPS Model

แนวความคิดพื้นฐานเร่ืองการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สพม.33 โดยใช้ TPS Model
มีจุดเริ่มต้นจากแนวคิดท่ีว่า “การจัดการศึกษาต้องมองภาพรวมขององค์กรท้ังหมดตามหน้าท่ีบทบาท
ซ่ึงสัมพันธ์และกระทบกับสิ่งแวดล้อมขององค์กรซึ่งจะนามาใช้ในการบริหาร เพ่ือนาไปสู่คุณภาพการจัด
การศึกษา ครู ผู้บริหาร บคุ ลากรทางการศกึ ษามีคณุ ลกั ษณะสาคัญท่ีจะสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่
ความเป็นเลิศ รวมไปถึงการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา โดยมีความมุ่งหมายที่สาคัญคือ
ผเู้ รยี นเป็นคนดี เปน็ คนเกง่ มคี ุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ สามารถดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ใน
สังคม

เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ เกิดผลในทางปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม บรรลุจุดหมายของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 ผู้เขยี นจงึ ไดใ้ ช้หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีที่เก่ียวข้องในการบริหารจัดการคุณภาพ โดยใช้ TPS
Model ในการบรหิ ารสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต ๓๓ ดงั นี้

การบรหิ ารแบบ TPS Model
1. ความเปน็ มาของการบรหิ ารงานแบบ TPS Model
การบริหารงานแบบ TPS Model เป็นการบริหารงานที่ผู้เขียนได้นาแนวคิดและหลักการของ

การบริหารโดยใช้แนวคิดการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา (Quality Management) การบริหาร
เชิงระบบ (System – concept ) การมีส่วนร่วม (Participation) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC) และการทางานเป็นทีม (Teamwork) มาประยุกต์
หลอมรวมเป็นการบริหารงานแบบ TPS Model โดยบูรณาการนโยบายต้นสังกัด ภารกิจ กิจกรรม
ความรับผิดชอบ ทรัพยากร บุคลากร ผู้ทรงคุณวุฒิและเทคโนโลยีนามาหลอมรวมเป็นนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่ เน้นการทางานเป็นทีมและเน้นการเข้าใจ ยอมรับ
และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในทุกข้ันตอนของการปฏิบัติงาน โดยมีหลักในการทางาน
ร่วมกันวา่ “รว่ มคิด ร่วมทา ร่วมกนั รับผิดชอบ”และเนน้ การพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเป็นพลวัตร (Dynamic)
โดยมีเป้าหมายสาคัญคือความสาเร็จ Success ที่ต้องการให้เกิดขึ้นคือ 1) Smart School 2) Smart
Teams ประกอบด้วย Smart Educational Personnel , Smart Directors , Smart Teachers
3) คณุ ลักษณะของผเู้ รยี น Smart Student ผู้เขยี นไดน้ าการบริหารงานแบบ TPS Model มาใช้ครั้งแรก
ท่ีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 ตั้งแต่ปี 2560 โดยเร่ิมจากการมีส่วนร่วมของ
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษาประชุมร่วมกันกาหนดแนวทางในการบริหารจัดการคุณภาพ
การจัดการศึกษาสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33 การบริหารงานแบบ TPS Model
เป็นการบริหารงานท่ีมองภาพรวมท้ังระบบ โดยมีเป้าหมายท่ีชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
ที่เก่ียวข้องให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง จากการนาการบริหารงาน
แบบ TPS Model ในระยะเวลา 1 ปี ด้วยการทุ่มเทท้ังกาลังกาย กาลังใจ กาลังสติปัญญา และ
ด้วยความร่วมมือ ร่วมใจของสานักงานเขตพื้นที่ สหวิทยาเขตท้ัง 8 สหวิทยาเขต ผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากร
ทางการศึกษา ผู้บริหาร ครู และจากการระดมสรรพกาลังจากทุกๆ ฝ่ายมาช่วยในการจัดการศึกษา

คูม่ ือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 4

โดยพัฒนาสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ทั้งระบบไปพร้อม ๆ กัน โดยมีหลักในการ
ทางานร่วมกันวา่ “ร่วมคดิ ร่วมทา ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบ”

แผนภูมิท่ี 1 ความเปน็ มาของการบรหิ ารงานแบบ TPS Model

2. หลักการสาคญั ในการบริหารงานโดยใช้ TPS Model การบริหารงานแบบ TPS Model
1. การบริหารโดยใช้แนวคิดเชิงระบบ (System – concept) องค์ประกอบของระบบทาง

การบรหิ ารเชิงระบบประกอบดว้ ยสว่ นประกอบที่สาคญั ดงั น้ี
ปัจจัยนาเข้า (Input) หมายถึง ทรัพยากรทางการบริหารทุกๆ ด้าน ในท่ีนี้คือด้านบุคลากร

(Man)
กระบวนการ (Process) คือ การนาเอาปัจจัยทางการบริหารทุกประเภทมาใช้ใน

การดาเนนิ งานรว่ มกันอยา่ งเปน็ ระบบ เนื่องจากในกระบวนการจะมีระบบย่อย ๆ รวมกันอยู่หลายระบบ
ครบวงจร ตั้งแต่การบริหารการจัดการ การนิเทศ การวัดผลและประเมินผล การติดตามตรวจสอบ
เพอ่ื ใหป้ ัจจยั ทัง้ หลายเข้าสู่กระบวนการทกุ กระบวนการได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

ผลลัพธ์ (Product or Output) เป็นผลท่ีเกิดจากกระบวนการของการนาเอาปัจจัย
มาปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้

2. การบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management) เป็นแนวคิดในการบริหารองค์กร
ท่ียึดถือคุณภาพเป็นศูนย์กลางและอาศัยการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในองค์กร โดยมุ่งเป้าหมายไป
ท่ีความสาเร็จระยะยาวขององค์กร จากความพึงพอใจของลูกค้า และเอ้ือประโยชน์ต่อทุกคนในองค์กร
และตอ่ สังคม

3. การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ ม (Participation) เปน็ การบรหิ ารท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้มสี ่วนได้เสยี
เขา้ มามีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การดังนี้

คมู่ ือการบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 5

การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในกระบวนการตัดสินใจน้ันประการแรกท่ีสุดท่ีต้องการก็คือ
การกาหนดตามความต้องการและการจัดลาดับความสาคัญ ต่อจากนั้นก็เลือกนโยบายและประชากร
ท่ีเก่ียวข้อง การตัดสินใจในช่วงเร่ิมต้น การตัดสินใจในช่วงดาเนินการวางแผนและการตัดสินใจในช่วง
การปฏิบตั ติ ามแผนท่วี างไว้

การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ขับเคล่ือนการบริหารจัดการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษาให้เกิดคุณภาพ

การมีส่วนรว่ มในการรบั ผลประโยชน์ ในสว่ นทีเ่ กีย่ วกบั ผลประโยชนน์ นั้ นอกจากความสาคัญ
ของผลประโยชน์ในเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงกระบวนการกระจายผลประโยชน์
ภายในกลุ่มด้วย ผลประโยชน์ของโครงการนี้รวมท้ังผลประโยชน์ในทางบวกและผลท่ีเกิดขึ้นในทางลบ
ท่ีเป็นผลเสียของโครงการ ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์และเปน็ โทษต่อบคุ คลและสังคมด้วย

การมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการประเมินผลน้ันสิ่งสาคัญท่ีจะต้อง
สังเกตคือ ความเห็น (Views) ความชอบ (Preferences) และความคาดหวัง (Expectations) ซ่ึงจะมี
อทิ ธิพลสามารถแปรเปลี่ยนของบุคคลในกลุ่มตา่ งๆ ได้

4. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็น
กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมตัวกันเพื่อทางาน
รว่ มกัน และสนบั สนนุ ซึ่งกันและกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ร่วมกัน วางเป้าหมายการทางาน และ
ตรวจสอบ สะทอ้ นผลการปฏิบัตงิ านทัง้ ในสว่ นบุคคลและผลที่เกิดข้ึนโดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ การทางานร่วมกัน การร่วมมือรวมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการ
เรียนรูอ้ ย่างเป็นองคร์ วม

5. การทางานเป็นทีม (Teamwork) เป็นการร่วมกันทางานของสมาชิกท่ีมากกว่า 1 คน
โดยท่ีสมาชิกทุกคนน้ันจะต้องมีเป้าหมายเดียวกันจะทาอะไรแล้วทุกคนต้องยอมรับร่วมกัน มีการวาง
แผนการทางานร่วมกัน การทางานเป็นทีมมีความสาคัญในทุกองค์กรการทางานเป็นทีมเป็นส่ิงจาเป็น
สาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงานการทางานเป็น ทีมมีบทบาทสาคัญท่ีจะ
นาไปส่คู วามสาเรจ็ ของงานที่ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื ของกลมุ่ สมาชิกเปน็ อย่างดี

การทางานเป็นทีม (Teamwork) จะดีหรือไม่ดีคงจะต้องดูที่ผลงาน ส่วนงาน จะดีหรือไม่ดี
ขึ้นอยู่กับการประสานงานของฝ่ายต่าง ๆ และการประสานงานของฝ่ายต่าง ๆ จะทาได้ดีหรือไม่ดีก็ข้ึนอยู่
กับความร่วมมือท่ีได้รับจากฝ่ายต่าง ๆ ความร่วมมือที่ได้รับจะมากหรือน้อยย่อมข้ึนอยู่กับความเข้าใจกัน
ในหม่ผู ูป้ ฏิบัตงิ าน ความเข้าใจกันในหมู่ผู้ปฏิบัติงานจะมีมากหรือน้อยย่อมขึ้นอยู่กับการส่ือสารเป็นสาคัญ
ซง่ึ จะเห็นไดว้ ่าการสือ่ สารนัน้ เปน็ พน้ื ฐานทสี่ าคัญของการทางานเปน็ ทีม

การประสานงาน

ความร่วมมือ

ความเข้าใจ

การสื่อสาร

แผนภูมิท่ี 2 การทางานเปน็ ทีม

คมู่ ือการบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 6

3. องค์ประกอบของการบรหิ ารงานแบบ TPS Model
T = Main Teams แปลว่า ทีมหลัก
P = Partnerships แปลว่า หุน้ สว่ น
S = Success แปลว่า ความสาเร็จ

4. รายละเอยี ดของการบริหารงานแบบ TPS Model
T ย่อมาจากคาว่า Main Teams หมายถึง ทีมหลักสาคัญในการทางานเป็นทีมของผู้ท่ี

เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ ซึ่งประกอบไปด้วย
บุคคลดังตอ่ ไปน้ี

1. บุคลากรทางการศึกษา (Educational Personnel) คือ เจ้าหน้าท่ี บุคลากร ในสานักงาน
เขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 จานวน ๖๐ คน

2. ผู้บริหารสถานศึกษา (Directors) คือ ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดสานักงาน
เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 33 จานวน 85 คน

3. ครู (Teachers) คือ ข้าราชการครู บุคลากร ผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 3,287 คน

P ย่อมาจากคาว่า Partnerships หมายถึง หุ้นส่วนสาคัญในการบริหารจัดการศึกษาของ
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๓ ซึ่งประกอบไปด้วยหน่วยงานและบุคคลดงั ต่อไปนี้

1. สหวิทยาเขต คือ โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
ประกอบด้วย สหวิทยาเขต 1 สุรวิทยาคาร สหวิทยาเขต 2 สิรินธร สหวิทยาเขต 3 จอมสุรินทร์
สหวิทยาเขต 4 ศรีสาโรง สหวิทยาเขต 5 ท่าตูมชุมพล สหวิทยาเขต 6 ศรีนครเตา สหวิทยาเขต 7
ปราสาทเชิงพนม สหวิทยาเขต 8 ศรีนครอัจจะ

2. สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 33
3. ผทู้ รงคุณวฒุ ิ บคุ ลากรท่มี ีความรูค้ วามสามารถ ทีส่ านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 33 ได้แตง่ ตั้งเพ่อื ใหเ้ ข้ามามีส่วนรว่ มในการให้คาปรึกษา นเิ ทศ และให้ความชว่ ยเหลือ
S ยอ่ มาจากคาวา่ Success ความสาเรจ็ /เปา้ หมาย ซงึ่ ประกอบไปด้วย
1. Smart school คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน คุณภาพคุณลักษณะของ
นักเรียน ครู และผู้บริหารสถานศึกษา ให้เป็น Smart Students , Smart teachers และ Smart
directors ของโรงเรียนในสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเขตพื้นท่ี 33
2. Smart Teams คือ คุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับบุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ซ่ึงกาหนดคุณลักษณะท่ีต้องการ
ให้เกิดขน้ึ ดงั นี้

คู่มอื การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 7

คุณลกั ษณะของบุคลากรทางการศึกษา สพม.33 “PRASAN ”

P = Personality = บุคลิกภาพ

R = Responsibility = ความรับผดิ ชอบ

A = Attitude = เจตคติ

S = Service mind = บริการเป็นเลิศ

A = Achievement = มงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ

N = Network Building and Participatory

= สร้างเครือขา่ ยและการมสี ว่ นร่วม

คุณลักษณะของผบู้ ริหารสถานศึกษา สพม.33 “ CHANGS ”

C = Change = ผนู้ าการเปลย่ี นแปลง

H = Human Ability = ผู้มศี กั ยภาพ

A = Achievement = เน้นผลสัมฤทธ์ิ

N = Nice = ดี

G = Good Governance = มหี ลกั ธรรมมาภิบาล

S = Service mind = มีจติ บริการ

คุณลกั ษณะของครู สพม.33 “KRUDEE”

K = Knowledge = มีความรู้

R = Responsibility = มคี วามรับผิดชอบ

U = Use Innovation = ใชส้ ารสนเทศ สือ่ นวัตกรรมและ

เทคโนโลยี

D = Development = มีการพัฒนา

E1 = Evaluation = การวัดผลประเมนิ ผล

E2 = Ethics = คุณธรรม จริยธรรม

3. Smart Students “DEKSAREN” คือ คุณลักษณะท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนใน

สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 33 ซึ่งกาหนดคุณลักษณะทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ขึ้นดังน้ี

D = Democracy = มีความเปน็ ประชาธปิ ไตย

E = Ethics = มคี ุณธรรม จริยธรรม

K = Knowledge = มีความรู้ ใฝเ่ รียนรมู้ ีทกั ษะจาเปน็

ในศตวรรษที่ 21

S = Sufficiency = หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

A = Achievement = มงุ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน

R = Responsibility = มีความรบั ผดิ ชอบ

E = Enjoy = มีความสขุ

N = Network = สรา้ งเครือข่าย

คมู่ ือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 8

5. แนวทางการบริหารโดยใช้ TPS Model
1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของ Main Teams ให้สามารถเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษา

ของสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาได้อยา่ งแท้จรงิ ทงั้ น้ี เพ่ือให้การจัดการศึกษามีคณุ ภาพ
2. เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของสหวิทยาเขต สานักงานเขตพื้นท่ี ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยใช้

กระบวนการบริหาร กระบวนปรึกษา และแนะนา โดยใช้กระบวนการชุมชนทางวิชาชีพ PLC ในส่วน
รายละเอยี ดของงานโดยยดึ เขตพนื้ ทเี่ ปน็ ฐาน

ขั้นตอนการบริหารงานแบบ TPS Model
1. วิเคราะหป์ ญั หาและประเมินความต้องการจาเปน็

ประชุมระดมสมองจากท่ีเกีย่ วข้องในการจดั การศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
ซึง่ ประกอบดว้ ย ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศกึ ษาในประเดน็ ดังต่อไปน้ี

1) วิเคราะหป์ ัญหาและทบทวนประเด็นสาคัญการพัฒนา
2) ทาความเข้าใจวสิ ยั ทัศน์และภารกจิ ของสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
3) สารวจความตอ้ งการด้านคุณลกั ษณะของบุคลากรทางการศกึ ษา ผบู้ ริหาร ครแู ละ
นกั เรยี น
2. วิเคราะหท์ างเลือกในการแกป้ ัญหา
1) กาหนดประเด็นสาคญั ของการพัฒนา
2) ตัดสนิ ใจเลือกประเด็นสาคัญท่จี ะดาเนินการพฒั นา
3) กาหนดเปา้ หมายการพัฒนา
4) กาหนดคุณลกั ษณะของการพฒั นา
3. จัดทาแนวทางการดาเนินงาน/เกณฑ์การประเมนิ
1) แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาตวั ช้วี ดั เกณฑ์การประเมนิ TPS Model ดา้ น
คุณลักษณะของบุคลากรทางการศกึ ษา ผู้บริหาร ครูและนักเรยี น ประกอบดว้ ย ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
บคุ ลากรทางการศึกษา ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
2) แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบตวั ชวี้ ดั เกณฑก์ ารประเมิน TPS Model ดา้ น
คณุ ลกั ษณะของบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้บรหิ าร ครูและนักเรียน
3) ประสานความร่วมมือทางวิชาการจากผเู้ ชยี่ วชาญ
4) คณะกรรมการจัดประชุมวางแผนการดาเนินงานเพื่อกาหนดกรอบภาระงาน
5) กาหนดเป็นแนวทางการดาเนนิ งาน
4. ดาเนินการตามแนวทางการดาเนนิ งาน
1) จัดประชุมผบู้ ริหารสถานศึกษาใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจขอบข่ายภารกิจงานตวั ชี้วดั
เกณฑ์การประเมนิ TPS Model
2) ทุกโรงเรียนดาเนินการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และนักเรียนใหม้ ี
คุณลักษณะตามเป้าหมาย
5. นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ งาน
1) แตง่ ตั้งคณะกรรมการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานระดับ
โรงเรยี น ระดับสหวิทยาเขต และระดับเขตพ้ืนท่ี
2) คณะกรรมการประชุมประเมินผลการดาเนนิ งานในแตล่ ะดา้ น

คู่มือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 9

3) ดาเนนิ การอย่างต่อเน่ือง
6. สรุปผลและรายงานผล

1) สรุปผลการประเมิน
2) จัดทาเปน็ รายงาน
3) มอบเกยี รติบตั ร

แนวทางการดาเนินงานเพือ่ การบรหิ ารจัดการคุณภาพการศกึ ษา TPS Model
1. ดา้ นบุคลากรทางการศกึ ษา ในสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา ๓๓ มีกระบวนการในการ

ดาเนนิ งาน ดงั น้ี
1) พฒั นาบุคลกิ ภาพของบุคลากรในสานักงานใหม้ ีความเป็นนกั วิชาการ มีจติ บรกิ าร
2) ส่งเสริมให้บุคลากรมีความรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิงาน
3) สรา้ งและปรบั ทัศนคติเชิงบวกในการปฏิบัติงาน
4) สง่ เสริมให้บคุ ลากรมที กั ษะการบริการท่เี ปน็ เลศิ
5) มุ่งพัฒนาบุคลากรให้มีวัฒนธรรมการทางานแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ
6) สง่ เสรมิ ให้มีการสรา้ งเครอื ข่ายและการมีสว่ นร่วมในการทางาน

2. ดา้ นผบู้ ริหารสถานศึกษา สงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา ๓๓ มกี ระบวนการในการ
ดาเนนิ งาน ดงั น้ี

1) ส่งเสริมการทางานเชิงกลยุทธ์ และมีแนวทางในการเปลี่ยนแปลงการทางานของตนเอง
หน่วยงานและองคก์ ร

2) สง่ เสรมิ ความสามารถของผบู้ ริหารสถานศึกษาในการสร้างแรงบันดาลใจให้ครู บคุ ลากร
ทางการศกึ ษาหรือผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี เห็นแนวทางในการเปลยี่ นแปลงการทางาน

3) สง่ เสริมใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษา มีความเปน็ ผนู้ าทางวิชาการ สรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละนา
เทคโนโลยีใหมๆ่ มาใช้ในวงวิชาการและวชิ าชพี

4) สง่ เสรมิ ให้ผรู้ หิ ารสถานศกึ ษามคี วามสามารถในการกาหนดวสิ ยั ทศั น์ บริหารจัดการโดยเนน้
การมีส่วนร่วม ทางานเปน็ ทีม

5) ส่งเสริมผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาให้มคี วามมุ่งม่ันในการปฏิบตั งิ าน และมีคุณภาพในการปฏบิ ตั งิ าน
มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ นานวตั กรรมใหม่ๆ มาใชเ้ พ่ือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพของงาน

6) ยกยอ่ ง เชิดชผู ูบ้ รหิ ารท่มี ผี ลการดาเนนิ งานในสถานศึกษาทป่ี ระสบผลสาเร็จ
7) ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา
8) พฒั นาระบบการใหบ้ ริการเพ่อื สนองความตอ้ งการของผู้รับบรกิ าร ตลอดจนของหนว่ ยงาน
ภาครฐั อืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง
9) ประเมินความพงึ พอใจของผู้รับบริการหรือผเู้ กี่ยวข้องในการบริหารจดั การสถานศกึ ษา
3. ดา้ นขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตาแหน่งผ้สู อน ในสงั กัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษา ๓๓ มกี ระบวนการในการดาเนินงาน ดังนี้
1) สง่ เสรมิ ครใู ห้มคี วามรอบรู้เกย่ี วกบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษา ตลอดจนมคี วามรอบรูเ้ ก่ยี วกบั หลักสูตร เทคนิคกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเน้ือหาวชิ าท่ี
สอน

คูม่ อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 10

2) สง่ เสรมิ ครมู ีความรับผดิ ชอบและปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชพี ต่อตนเอง วชิ าชีพ
ผู้รบั บรกิ าร ผู้ร่วมประกอบวชิ าชีพ สงั คม

3) พัฒนาครใู ห้สามารถจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ และการวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนการสอน
4) สง่ เสริมครูเขา้ รับการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาความสามารถของครูด้านการออกแบบนวตั กรรม
การจัดการเรยี นรู้
5) สนบั สนุนครูเป็นผนู้ าในการใช้เทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นรู้
6) สง่ เสริมครใู ห้จัดทาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศ สอื่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในกระบวนการ
เรยี นรู้
7) สง่ เสริมครูให้พัฒนาตนเองตามบทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบ พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพ
พัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ
8) พฒั นาครูให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการวัดผล ประเมินผล สรา้ งและเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือวัดผล
ทห่ี ลากหลายมีคุณภาพเหมาะกบั ผเู้ รยี น
9) พฒั นาครมู ีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง และนาผลการวดั และประเมนิ ผลมาปรบั ปรุง
การเรยี นการสอน
10) ส่งเสรมิ ครปู ระพฤติตนตามหลักธรรมของศาสนา และปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู
11) ยกย่อง เชดิ ชคู รทู ีด่ าเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงบนพ้ืนฐานความเป็นไทย
4. ด้านนักเรยี นในโรงเรยี น สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา ๓๓ มีกระบวนการในการ
ดาเนนิ งาน ดังนี้
1) สง่ เสรมิ ผู้เรยี นใหป้ ระพฤติปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเคารพสิทธิและหนา้ ที่ของผู้อ่นื
ภายใตร้ ะเบยี บและกฎหมาย
2) สง่ เสริมผูเ้ รยี นใหย้ ดึ ม่ันในหลักการของประชาธิปไตยและในชวี ติ ประจาวนั มีการนาหลกั
ประชาธิปไตยมาใช้แก้ปัญหา
3) สง่ เสริมผเู้ รยี นให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ปฏิบตั ติ นตามค่านิยมหลกั
ของคนไทย 12 ประการ และศรัทธา ยดึ ม่นั และปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา
4) พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีทักษะความรู้ ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น มีความพยายามในการแสวงหาความรู้ และมี
สมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรมี และทักษะท่จี าเป็นในศตวรรษท่ี 21
5) พฒั นาและสง่ เสริมผูเ้ รียนใชภ้ าษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาเพ่ือนบา้ นได้อยา่ งน้อย 2
ภาษาในการสื่อสาร
6) ส่งเสรมิ ผู้เรยี นให้ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ICT เพ่อื การสอ่ื สารและการเรยี นรู้
7) พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชีวิต
8) พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความก้าวหน้าในการเรยี นรู้ มีผลสมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขน้ึ มีผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และข้อสอบมาตรฐานกลางในระดบั ผา่ นเกณฑ์ มที ักษะ
อาชพี และทกั ษะชวี ิต
9) สนับสนุนให้ผู้เรียนมคี วามรับผิดชอบต่อการเรยี นร้ขู องตนเอง ดแู ลและพัฒนาตนเองทั้งทาง
รา่ งกายและจิตใจ ตลอดจนมีการสร้างเครือข่ายในการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง

คมู่ ือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 11

กรอบแนวคดิ การประเมนิ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.33 โดยใช้ TPS Model

InInppuutt PPrroocceesss OOuuttppuutt

๓ Main Teams ๓ Partnerships ๓ Success
๑. Participatory
๑. บคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒. Process-PLC ๑. Smart Schools
๒. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ๓. Job Descriptions ๒. Smart Teams
๓. ครู
- Smart Personal
Educations
“PRASAN”
- Smart Directors
“CHANGS”
- Smart Teachers
“KRUDEE”
๓. Smart Student
“DEKSAREN”

แผนภูมิภาพท่ี 3 กรอบแนวคิดในการประเมิน

คูม่ ือการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 12

บทท่ี ๓

การดาเนินงานการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.33 โดยใช้ TPS Model

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ได้มีวิธีการดาเนินงานการบริหารจัดการ
คุณภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model โดยมีวธิ ดี าเนนิ การตามลาดับ ดงั นี้

1. การบริหารจัดการคณุ ภาพการศกึ ษา โดยใช้ TPS Model
2. การสร้างเครือ่ งมอื วธิ กี ารประเมิน และเกณฑ์การประเมิน Smart School, Smart Teams,
Smart Students
3. เคร่อื งมือประเมิน Smart School , Smart Teams , Smart Students

1. การบริหารจดั การคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model
การดาเนินงานเพ่ือการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา สพม.33 โดยใช้ TPS Model มีวิธีการ

ดาเนินงานเพ่ือเป็นแนวทางการบริหาร โดยให้การบริหารประสบผลสาเร็จตามวงจรควบคุมคุณภาพ
PDCA จาแนกตามประเด็นการประเมิน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบุคลากรทางการศึกษา ด้านผู้บริหาร
สถานศกึ ษา ดา้ นครู และด้านนักเรียน โดยมีวิธีการดาเนินงานท่ีประสบความสาเร็จมาเพ่ือเป็นแนวทาง
ในการดาเนนิ การ มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

1.1 แนวทางการดาเนินงานเพื่อการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ด้านสถานศึกษา
ในสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา 33 มีกระบวนการในการดาเนินงาน ดังน้ี

1) สง่ เสริมและพัฒนางานแผนงานและประกันคุณภาพ ซ่ึงเป็นงานที่กาหนดความต้องการ
วิธีการดาเนินงานและผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต เพ่ือให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถดาเนนิ การปรับปรงุ ให้งานทันเหตกุ ารณ์ คมุ้ คา่ และลดความสูญเปลา่

2) ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ ซึ่งเป็นงานที่ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต เป็นการดาเนินงานท่ีให้ความสาคัญกับ
ผู้เรียนและเป็นกระบวนการที่จัดการศึกษาอย่างชัดเจน เป็นหัวใจของสถานศึกษา สามารถบริหารงาน
ใหป้ ระสบความสาเรจ็ และมปี ระสิทธิภาพตอ้ งตระหนักถงึ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

3) ส่งเสริมและพัฒนางานกิจการนักเรียน ซ่ึงเป็นงานที่ผ่านกระบวนการวางแผนและ
บริหารจัดการอย่างมีคุณภาพเพ่ือสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับสภาวะ
เศรษฐกจิ สงั คม การเปลีย่ นแปลงทางการเมอื ง สงิ่ แวดล้อม และเทคโนโลยี

4) ส่งเสริมและพัฒนางานบุคคล ซึ่งเป็นงานที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนและ
พัฒนาองค์กรไปข้างหน้าเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ
เทคโนโลยี

5) ส่งเสริมและพัฒนางานธุรการ ซ่ึงเป็นงานท่ีส่งเสริม สนับสนุน ในด้านสารบรรณ
การลงทะเบียนรับ-สง่ หนงั สือ การโต้ตอบหนังสอื ราชการกบั หนว่ ยงานท้งั ภาครัฐและเอกชนให้เป็นไปตาม
ระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ทิ ่เี กีย่ วขอ้ งกบั งานธรุ การใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและมปี ระสิทธิผลต่อไป

6) ส่งเสริมและพัฒนางานการเงินและพัสดุ ซ่ึงเป็นงานท่ีสนับสนุนให้การบริหาร
จัดการศึกษาและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนเป็นไปตามแผนปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผลถูกตอ้ งตามระเบียบ ข้อปฏบิ ตั ิของทางราชการ

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 13

7) ส่งเสริมและพัฒนางานบริการอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นงาน
ช่วยสนับสนนุ และส่งเสรมิ งานตา่ งๆ อยา่ งเป็นรปู ธรรม เกีย่ วขอ้ งกับการวางแผนพฒั นาอาคารสถานท่ีและ
สิ่งแวดล้อม การจัดบรรยากาศทั้งภายในห้องเรียนภายในโรงเรียนให้มีความสวยงาม ปลอดภัยและ
เอื้อตอ่ การจัดการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน

8) ส่งเสริมและพัฒนางานชุมชนและภาคีเครือข่าย ซึ่งเป็นงานท่ีสร้างความสัมพันธ์กับ
ชุมชน จัดกระทาข้อมูลพื้นฐานและสภาพแวดล้อมของชุมชนและภาคีเครือข่ายให้บริการชุมชนและมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาชุมชน รวมท้ังประเมินความต้องการ ความพึงพอใจของชุมชนเพ่ือสร้างเครือข่าย
ที่ย่ังยืนตอ่ ไป

1.2 แนวทางการดาเนินงานเพ่ือการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ด้านทีมสานักงานเขต
พ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 33 ประกอบดว้ ย

๑.๒.๑ การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ด้านบุคลกรทางการศึกษา ในสานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 33 มกี ระบวนการในการดาเนนิ งาน ดังน้ี

1) พัฒนาบุคลิกภาพของบุคลากรในสานักงานใหม้ ีความเป็นนกั วิชาการ มจี ติ

บริการ

2) สง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรมีความรบั ผิดชอบในการปฏิบัตงิ าน

3) สรา้ งและปรับทัศนคติเชงิ บวกในการปฏิบัตงิ าน

4) สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมที ักษะการบริการท่ีเป็นเลิศ

5) ม่งุ พฒั นาบุคลากรให้มีวฒั นธรรมการทางานแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ

6) สง่ เสรมิ ใหม้ ีการสร้างเครอื ข่ายและการมีสว่ นร่วมในการทางาน

๑.๒.๒ การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ด้านผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา 33 มีกระบวนการในการดาเนนิ งาน ดงั นี้

1) สง่ เสริมการทางานเชิงกลยทุ ธ์ และมีแนวทางในการเปล่ียนแปลงการทางานของ
ตนเองหนว่ ยงานและองคก์ ร

2) ส่งเสริมความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษาในการสร้างแรงบันดาลใจให้ครู
บุคลากรทางการศึกษาหรอื ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สีย เหน็ แนวทางในการเปลยี่ นแปลงการทางาน

3) ส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นผู้นาทางวิชาการ สร้างองค์ความรู้
และนาเทคโนโลยีใหมๆ่ มาใช้ในวงวชิ าการและวิชาชีพ

4) ส่งเสริมให้ผู้ริหารสถานศึกษามีความสามารถในการกาหนดวิสัยทัศน์ บริหาร
จดั การโดยเนน้ การมีส่วนร่วมทางานเป็นทมี

๕) ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน และมีคุณภาพ
ในการปฏบิ ัตงิ าน มคี วามคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ นานวัตกรรมใหมๆ่ มาใชเ้ พ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพของงาน

๖) ยกย่อง เชิดชผู ู้บริหารที่มีผลการดาเนินงานในสถานศกึ ษาทปี่ ระสบผลสาเรจ็
๗) ยึดหลกั ธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การสถานศึกษา
๘) พฒั นาระบบการใหบ้ ริการเพอื่ สนองความต้องการของผู้รับบริการ ตลอดจนของ
หน่วยงานภาครัฐอน่ื ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

คมู่ อื การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หน้า | 14

๙) ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการหรือผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษา

1.๒.3 การบริหารจัดการคณุ ภาพการศกึ ษา ด้านครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษา 33 มีกระบวนการในการดาเนนิ งาน ดงั นี้

1) ส่งเสริมครูให้มีความรอบรู้เก่ียวกับแผนการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับ
การจัดการศึกษา ตลอดจนมีความรอบรู้เกี่ยวกับหลักสูตร เทคนิคกระบวนการจัดการเรียนรู้ และ
เน้ือหาวชิ าทส่ี อน

2) ส่งเสริมครูมีความรับผิดชอบและปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพต่อตนเองวิชาชีพ
ผู้รบั บรกิ าร ผู้ร่วมประกอบวชิ าชีพ สงั คม

3) พัฒนาครูให้สามารถจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน

4) ส่งเสริมครูเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถของครูด้านการออกแบบ
นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้

5) สนับสนนุ ครูเปน็ ผู้นาในการใช้เทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้
6) ส่งเสริมครูให้จัดทาหรือพัฒนาระบบสารสนเทศ ส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีใน
กระบวนการเรียนรู้
7) ส่งเสรมิ ครใู ห้พัฒนาตนเองตามบทบาทหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
พฒั นาสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศ
8) พัฒนาครูให้มีความรู้ ความเข้าใจในการวัดผล ประเมินผล สร้างและเลือกใช้เคร่ืองมือ
วดั ผลทห่ี ลากหลายมคี ุณภาพเหมาะกับผู้เรยี น
9) พัฒนาครูมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และนาผลการวัดและประเมินผล
มาปรับปรุงการเรยี นการสอน
10) สง่ เสริมครูประพฤตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาและปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู
11) ยกย่อง เชิดชูครูท่ีดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบนพ้ืนฐานความ
เป็นไทย
1.๓ แนวทางการดาเนินงานเพ่ือการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา ด้านนักเรียน
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา 33 มกี ระบวนการในการดาเนนิ งาน ดงั นี้
1) ส่งเสริมผูเ้ รียนให้ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธิและหนา้ ที่ของตนเคารพสิทธิและหน้าท่ีของ
ผอู้ นื่ ภายใตร้ ะเบยี บและกฎหมาย
2) สง่ เสริมผู้เรียนให้ยดึ มั่นในหลกั การของประชาธิปไตยและในชีวิตประจาวัน มีการนาหลัก
ประชาธิปไตยมาใช้แกป้ ัญหา
3) ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปฏิบัติตนตาม
คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ และศรัทธา ยึดมน่ั และปฏิบตั ิตนตามหลักของศาสนา
4) พัฒนาผเู้ รียนให้มีทักษะความรู้ ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น มคี วามพยายามในการแสวงหาความรู้
และมีสมรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รมี และทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21
5) พัฒนาและส่งเสริมผูเ้ รยี นใชภ้ าษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาเพ่อื นบ้านได้อย่างน้อย 2
ภาษาในการสือ่ สาร

คู่มือการบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 15

6) ส่งเสรมิ ผ้เู รียนใหใ้ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ICT เพอ่ื การสื่อสารและการเรยี นรู้
7) พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต
8) พัฒนาผู้เรียนให้มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ มีผลสมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน มีผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) และข้อสอบมาตรฐานกลางในระดับผ่านเกณฑ์
มที ักษะอาชพี และทักษะชีวติ
9) สนับสนุนให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ดูแลและพัฒนาตนเอง
ทั้งทางรา่ งกายและจิตใจ ตลอดจนมีการสรา้ งเครือข่ายในการเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

คู่มือการบรหิ ารจดั การคุณภาพการศกึ ษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model หนา้ | 16

2. การสรา้ งเครื่องมือ วธิ กี ารประเมนิ และเกณฑก์ ารประเมนิ Smart Team,Smart S

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model 2.1 การสร้างเครื่องมือประเมนิ คณุ ลกั ษณะของผบู้ รหิ าร สพม.33 (SMART DIR

C = Change (ผนู้ าการเปลี่ยนแปลง) H = Human Ab

A = Achievement (เน้นผลสมั ฤทธ์)ิ N = Nice (ด)ี

G = Good Governance (มีหลักธรรมมาภิบาล) S = Service min

คุณลกั ษณะ : ประเดน็ การพิจารณา การพ
ความหมาย

C 1. การกาหนดกลยทุ ธ์ ระดบั 1 เข้าใจและกาหนดเป

= Change ทิศทาง และแนวทางในการ ระดับ 2 เข้าใจและกาหนดเป

= ผ้นู าการเปลี่ยนแปลง เปลย่ี นแปลงการทางานของ ตดั สนิ ใจและแก้ปัญหาภายใต้ก

ตนเอง หนว่ ยงานและ ระดบั 3 เข้าใจและกาหนดเป

องค์กร ตดั สนิ ใจและแก้ปญั หาภายใต้ก

สถานการณ์การเปล่ียนแปลงเ

ระดบั 4 เข้าใจและกาหนดเ

ตดั สนิ ใจและแก้ปญั หาภายใต้ก

สถานการณ์การเปลย่ี นแปลงเ

ประสทิ ธภิ าพขององค์กรอย่าง

2. การสรา้ งแรงบันดาลใจ ระดับ 1 สื่อสารในการปฏบิ ตั ิต

ใหค้ รู บคุ ลากรทางการ เพอื่ ให้สมาชกิ ยอมรับและเปล

ศกึ ษาหรือผ้มู สี ่วนไดเ้ สยี เห็น ระดับ 2 ส่อื สาร นาเสนอควา

แนวทางในการเปลย่ี นแปลง เปล่ียนแปลงขององคก์ ร เพือ่ ใ

การทางาน เต็มตามศกั ยภาพ

ระดบั 3 สอื่ สาร นาเสนอควา

เปน็ ผ้นู าการเปลี่ยนแปลงของอ

หนา้ | 17 การทางานได้เต็มตามศกั ยภาพ

Students
RECTORS) “CHANGS”
bility (ผู้มีศกั ยภาพ)

nd (มจี ติ บริการ)

พิจารณาระดับคณุ ภาพ วิธีการ/เคร่อื งมือ/แหล่งข้อมูล

ป้าหมาย ทศิ ทาง วธิ ีการทางาน 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานที่

ปา้ หมาย ทิศทาง วธิ กี ารทางาน ใชข้ ้อมลู ในการ แสดงถึงวสิ ัยทัศน์หรือทศิ ทางในการ

การเปล่ียนแปลง พฒั นางานเชน่ แผนพัฒนาคุณภาพ

ปา้ หมาย ทศิ ทาง วิธีการทางาน ใช้ข้อมลู ในการ การศึกษา แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี

การเปล่ียนแปลง วเิ คราะห์แนวโน้มและ รายงานการปฏบิ ัติงาน รายงานผลการ

เพ่ือแกป้ ัญหา ดาเนินงานในรอบปี เป็นต้น

เปา้ หมาย ทศิ ทาง วธิ กี ารทางาน ใชข้ อ้ มลู ในการ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์

การเปลย่ี นแปลง วเิ คราะห์แนวโน้มและ

เพอ่ื แก้ปัญหา กาหนดกลยทุ ธ์เพ่อื พฒั นา

งต่อเน่ือง

ตนในการเป็นผูน้ าการเปลย่ี นแปลงขององคก์ ร 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานท่ี

ล่ียนแปลงการทางานได้เตม็ ตามศกั ยภาพ แสดงถงึ การพดู การเขียน หรือ

มคดิ เห็น ในการปฏบิ ัตติ นในการเปน็ ผนู้ าการ นาเสนอแนวคิดในทปี่ ระชมุ บันทกึ การ

ใหส้ มาชิกยอมรับและเปลย่ี นแปลงการทางานได้ ประชมุ เป็นต้น

2. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เพ่อื นรว่ มงาน

มคิดเห็น ให้คาปรึกษาในการปฏิบตั ติ นในการ หรอื ผู้เกีย่ วข้อง

องค์กร เพื่อให้สมาชิกยอมรับและเปลย่ี นแปลง



ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย
1. ความรอบร้สู ถานการณ์ ระดบั 4 สอ่ื สาร นาเสนอควา
H องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยี การปฏิบัตติ นในการเปน็ ผ้นู าก
= Human Ability ใหมๆ่ ในวงวชิ าการและ ยอมรบั และเปลยี่ นแปลงการท
= ผมู้ ศี กั ยภาพ วิชาชีพ ตลอดจน แตกตา่ งของบคุ คล
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระดับ 1 ศึกษาความรูใ้ หมๆ่
ดา้ นวชิ าการ ระดับ 2 ศึกษา ความรู้ใหม่ๆ
ประมวลจัดหมวดหมู่ ปรบั ปรุง
ระดับ 3 ศึกษา ความรู้ใหม่ๆ
ประมวลจดั หมวดหมู่ ปรับปรุง
ระดับ 4 ศกึ ษา ความรู้ใหม่ๆ
ประมวลจัดหมวดหมู่ ปรับปรุง
นามาใช้ในการพัฒนางานอย่า

2. ความสามารถในการ ระดับ 1 กาหนดแนวทางการท
กาหนดวิสยั ทศั น์ ระดบั 2 กาหนดแนวทางการท
โรงเรียนและผ้มู ีส่วนได้สว่ นเส
หนา้ | 18 ระดับ 3 กาหนดแนวทางการท
โรงเรยี นและผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเส
เพ่อื กาหนดเป็นแนวทางการด
ระดับ 4 กาหนดแนวทางการท
โรงเรียนและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเส
นาผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล
มากาหนดเป็นวสิ ยั ทัศน์ แผนง
ร่วมแรงร่วมใจเพ่ือนาพาองค์ก

พิจารณาระดบั คุณภาพ วธิ ีการ/เครื่องมอื /แหล่งข้อมูล

มคิดเห็น ให้คาปรึกษาและเป็นตัวอย่างที่ดีใน
การเปลี่ยนแปลงขององค์กร เพอื่ ใหส้ มาชิก
ทางานได้เตม็ ตามศักยภาพ โดยคานงึ ถงึ ความ

1. ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานท่แี สดง

นาความร้มู าวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ความรู้ ถึง การเข้าประชุม อบรม สมั มนา เชน่

งให้ทนั สมัย บันทกึ การเขา้ ร่วมประชุม วฒุ บิ ัตร

นาความรูม้ าวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ความรู้ บทความงานเขยี น ทนี่ าเสนอตอ่ ท่ี

งใหท้ ันสมยั แลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ่วมกนั ประชุม ขอ้ มูลการรวบรวมประมวล

นาความรู้มาวิเคราะหส์ ังเคราะหค์ วามรู้ ความรู้ การจดั หมวดหมู่ความรใู้ น

งให้ทันสมยั แลกเปลย่ี นเรียนร้รู ่วมกัน เพอ่ื องค์กร เพ่ือแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เปน็ ต้น

างต่อเนื่อง 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพ่ือนรว่ มงาน

หรือผ้เู ก่ยี วข้อง

ทางานโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรยี น 1. ตรวจสอบจากข้อมลู สารสนเทศท่ี

ทางานตามความต้องการของบุคลากรใน สะทอ้ นถึงการประชมุ ในขั้นตอนการ

สยี กาหนดวิสัยทัศน์ หรอื ทศิ ทางพัฒนา

ทางานตามความต้องการของบุคลากรใน องค์กร แผนงาน โครงการ รายงานผล

สยี วเิ คราะหค์ วามเชอ่ื มโยงนโยบายของต้นสงั กดั การดาเนินงาน เป็นต้น

ดาเนนิ งานของหน่วยงานตนเอง 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ สมาชิกใน

ทางานตามความต้องการของบคุ ลากรใน องค์กรและผ้เู กยี่ วขอ้ ง

สีย วเิ คราะห์ความเช่ือมโยงนโยบายของตน้ สังกัด

ล้อมและความต้องการของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี

งาน โครงการ กจิ กรรมทช่ี ัดเจนก่อให้เกิดความ

กรไปสู่เป้าหมายรว่ มกนั

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลกั ษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย 3. การทางานเปน็ ทมี
ระดับ 1 รบั ฟังความคดิ เหน็ ใ
A 1. คณุ ภาพของงานมีความ ระดบั 2 รบั ฟังความคดิ เห็น ใ
= Achievement ถกู ต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ กาหนดบทบาทและหน้าที่ของ
= เนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ ประสทิ ธภิ าพ
ระดบั 3 รบั ฟังความคิดเห็น ใ
กาหนดบทบาทและหน้าทข่ี อง
ประสิทธิภาพ กาหนดกลยุทธ์แ
ระดับ 4 รบั ฟังความคิดเห็น ใ
กาหนดบทบาทและหน้าท่ขี อง
ประสทิ ธภิ าพ กาหนดกลยทุ ธ์แ
กระตุ้นใหส้ มาชกิ ตระหนักถงึ ก
ระดบั 1 มผี ลงานเปน็ ไปตามท
ระดบั 2 มผี ลงานมีคุณภาพคร
ระดบั 3 ผลงานมีคณุ ภาพ ถกู
ระดบั 4 ผลงานมีคุณภาพ ถูก

2. ความม่งุ มั่นในการ ระดบั 1 ทางานท่ีไดร้ ับมอบห
ปฏิบัตงิ าน ระดบั 2 ทางานที่ไดร้ บั มอบห
ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏิบัต
หนา้ | 19 ระดับ 3 ทางานท่ีได้รบั มอบห
ติดตาม ประเมนิ ผลการปฏบิ ัต
การทางานของตนเองใหม้ ปี ระ

พจิ ารณาระดบั คณุ ภาพ วิธกี าร/เครอื่ งมอื /แหล่งข้อมูล

ให้ข้อมูล คาแนะนา นาเสนอทางเลอื ก 1. ตรวจสอบจากข้อมูล/หลักฐาน เช่น

ให้ข้อมลู คาแนะนา นาเสนอทางเลือก วางแผน รายงานการประชุม บนั ทกึ การประชมุ

งสมาชิก วิเคราะห์ข้นั ตอนการทางานทม่ี ี ปรกึ ษางาน บนั ทึกมอบหมายงาน

เป็นต้น

ให้ข้อมลู คาแนะนา นาเสนอทางเลือก วางแผน 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เจ้าตัว เพอื่ น

งสมาชกิ วิเคราะห์ขน้ั ตอนการทางานทม่ี ี รว่ มงานและผเู้ ก่ียวข้อง

และทศิ ทางการทางาน 3. สงั เกตการทางานร่วมกบั ผู้อืน่

ให้ข้อมูล คาแนะนา นาเสนอทางเลือก วางแผน

งสมาชกิ วเิ คราะห์ข้นั ตอนการทางานท่ีมี

และทิศทางการทางานโดยเช่ือมโยงกับเป้าหมาย

การมีสว่ นรว่ มและทางานร่วมกันเป็นทีม

ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 1. ตรวจสอบจากข้อมลู เชน่ รายงาน

รบถว้ นสมบรู ณ์ การปฏบิ ัติงาน ผลงานทางวิชาการ

กต้อง ครบถว้ นสมบูรณ์ รายงานการพัฒนานวตั กรรม รายงาน

กตอ้ ง ครบถว้ นสมบรู ณ์ และเป็นแบบอย่างได้ ประจาปี เปน็ ต้น

2. สอบถาม/สัมภาษณ์เจ้าตวั เพ่ือน

รว่ มงานหรือผูเ้ ก่ยี วข้อง

หมายถกู ต้องเสร็จตามเวลาทก่ี าหนด 1. ตรวจสอบข้อมูลปฏิบตั ิงาน เชน่

หมายถูกต้องเสรจ็ ตามเวลาทกี่ าหนด ตรวจสอบ รายงานการปฏิบตั ิงาน รายงานผลการ

ติงานอย่างเป็นระบบ ดาเนนิ งานในรอบปี คมู่ ือต่างๆ เปน็ ต้น

หมายถูกต้องเสร็จตามเวลาท่กี าหนด ตรวจสอบ 2. สอบถาม/สัมภาษณเ์ จ้าตวั เพื่อน

ตงิ านอย่างเปน็ ระบบ ปรบั ปรุงวธิ ีการขัน้ ตอน รว่ มงานหรือผเู้ ก่ยี วข้อง

ะสิทธภิ าพ

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย

ระดับ 4 ทางานท่ีไดร้ ับมอบห

ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบัต

การทางานของตนเองให้มีประ

เพอื่ ให้องค์กรบรรลเุ ปา้ หมายอ

3. ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ระดับ 1 มกี ารสรา้ งหรือประย

การนานวัตกรรมใหมๆ่ มา บรหิ ารและการจดั การศึกษาท

ใชเ้ พ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพของ ภารกจิ 1 ดา้ น

งาน ระดับ 2 มกี ารสร้างหรือประย

บรหิ ารและการจดั การศึกษาท

ภารกจิ 2 ด้าน

ระดบั 3 มีการสรา้ งหรือประย

บริหารและการจดั การศึกษาท

ภารกิจ 3 ด้าน

ระดบั 4 มกี ารสรา้ งหรือประย

บรหิ ารและการจัดการศึกษาท

ภารกิจ 4 ดา้ น

4. ผลการดาเนนิ งานท่ี ระดบั 1 มีผลการดาเนินงาน

ประสบผลสาเรจ็ ระดบั 2 มผี ลการดาเนินงาน

ระดับ 3 ผลการดาเนินงานป

เปน็ ที่ยอมรบั

ระดับ 4 ผลการดาเนนิ งานป

บุคลากร องคก์ รอย่างมคี ณุ ภา

หนา้ | 20 องค์กร

พิจารณาระดบั คณุ ภาพ วธิ ีการ/เครื่องมอื /แหล่งข้อมูล

หมายถกู ต้องเสร็จตามเวลาที่กาหนด ตรวจสอบ 1. ตรวจสอบขอ้ มูลปฏิบัตงิ าน เช่น
ติงานอยา่ งเป็นระบบ ปรับปรุงวธิ กี ารขั้นตอน รายงานการปฏิบตั ิงาน รายงานการ
ะสทิ ธภิ าพ มีการพัฒนาวธิ ีการปฏบิ ตั ิงานใหมๆ่ พัฒนานวตั กรรม รายงานการพฒั นา
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ งาน ค่มู อื ต่างๆ เปน็ ต้น
ยุกตใ์ ช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี รปู แบบการ 2. สอบถาม/สัมภาษณเ์ จ้าตัว เพ่ือน
ทห่ี ลากหลายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุม ร่วมงานหรอื ผเู้ กย่ี วข้อง

ยุกตใ์ ชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยี รูปแบบการ
ท่ีหลากหลายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ครอบคลุม

ยุกตใ์ ช้นวตั กรรมและเทคโนโลยี รูปแบบการ
ทหี่ ลากหลายอย่างมปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุม

ยุกตใ์ ช้นวตั กรรมและเทคโนโลยี รปู แบบการ
ที่หลากหลายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ครอบคลุม

นท่ีประสบผลสาเร็จ 1. ตรวจสอบจากข้อมูล/หลักฐาน เชน่
นท่ปี ระสบผลสาเร็จ และมีคุณภาพ รายงานผลการดาเนินงาน เกียรติบัตร
ประสบผลสาเร็จ มีคณุ ภาพ ได้รับรางวลั และ โลห์รางวัล เปน็ ตน้
2. สอบถาม/สัมภาษณผ์ ู้เกย่ี วข้อง
ประสบผลสาเร็จ ส่งผลต่อตนเอง นักเรียน ครู
าพ ไดร้ บั รางวัล เป็นที่ยอมรับท้ังในและนอก

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย 1. บคุ ลิกภาพ
ระดบั 1 แต่งกายเหมาะสม ส
N 2. สุขภาพ ระดับ 2 แต่งกายเหมาะสม ส
= Nice ระดบั 3 แต่งกายเหมาะสม ส
= ดี 3. เจตคติ ฉลาด เป็นประชาธิปไตย มีมา
ระดับ 4 แต่งกายเหมาะสม ส
G 1. หลกั นิติธรรม (Rule of ฉลาด เป็นประชาธิปไตย มีมา
= Good Governance Law) ระดับ 1 สุขภาพแขง็ แรง
= มีหลกั ธรรมมาภิบาล ระดับ 2 สุขภาพสมบรู ณ์แขง็ แ
หนา้ | 21 บวก อารมณ์แจม่ ใส
ระดบั 3 สขุ ภาพสมบูรณ์แขง็ แ
บวก อารมณ์แจม่ ใส มีความฉล
ระดับ 4 สุขภาพสมบรู ณ์แขง็
บวก อารมณ์แจม่ ใส มีความฉล
นบั ถอื และเป็นแบบอยา่ งแก่ผู้อ
ระดบั 1 รักและศรทั ธาในวิชา
ระดับ 2 รกั และศรัทธาในวชิ า
ระดบั 3 รกั และศรทั ธาในวิชา
ต่อเนอ่ื งและรบั ผิดชอบในผลท
ระดับ 4 รกั และศรัทธาในวชิ า
ต่อเนื่องและรับผดิ ชอบในผลท
ระดับ 1 ปฏิบัติหน้าทตี่ ามควา
และข้อบงั คับ
ระดบั 2 ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี โดยคา
ปฏบิ ตั ิงานถูกต้อง

พิจารณาระดบั คณุ ภาพ วธิ ีการ/เครอ่ื งมอื /แหล่งข้อมูล

สภุ าพเรียบร้อย ยมิ้ แย้มแจม่ ใส 1. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เจ้าตัว เพอ่ื น

สุภาพเรยี บรอ้ ย ย้มิ แยม้ แจ่มใส มีความเฉลียวฉลาด รว่ มงานและผเู้ ก่ียวข้อง

สภุ าพเรยี บร้อย ยิ้มแย้มแจ่มใส มคี วามเฉลยี ว 2. สงั เกตการทางานร่วมกบั ผู้อื่น

ารยาททางสังคม

สุภาพเรียบรอ้ ย ย้ิมแย้มแจม่ ใส มคี วามเฉลยี ว

ารยาททางสงั คม และเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี

1. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เจา้ ตัว เพื่อน

แรง ออกกาลังกายสม่าเสมอ จิตใจผอ่ งใส คิด รว่ มงานและผเู้ ก่ียวข้อง

2. สังเกตการทางานรว่ มกบั ผู้อื่น

แรง ออกกาลงั กายสม่าเสมอ จิตใจผ่องใส คดิ

ลาดทางอารมณ์

งแรง ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ จิตใจผ่องใส คดิ

ลาดทางอารมณ์ ปฏบิ ตั ิตามหลกั ศาสนาทตี่ น

อื่นได้

าชพี ผู้บรหิ าร 1. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เจา้ ตัว เพือ่ น

าชพี ผู้บริหาร มคี วามสขุ ในการปฏิบตั งิ าน ร่วมงานและผเู้ กย่ี วข้อง

าชพี ผูบ้ ริหาร มคี วามสุขในการปฏิบัตงิ านอย่าง 2. สังเกตการทางานร่วมกบั ผู้อนื่

ทเ่ี กดิ ขึ้น

าชีพผบู้ ริหาร มีความสุขในการปฏิบัตงิ านอย่าง

ท่เี กดิ ขึน้ มีผลงานเปน็ ท่ยี อมรับของสงั คม

ามเหมาะสม โดยคานงึ ถึงกฎหมาย ระเบียบ 1. ตรวจสอบขอ้ มลู ปฏบิ ตั งิ าน เช่น

รายงานการปฏิบัติงานตาม คาส่งั กฎ

านึงถึงกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั ในการ ระเบยี บ ข้อบังคับ เปน็ ต้น

2. สอบถาม/สัมภาษณผ์ ู้อานวยการ

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเดน็ การพจิ ารณา การพ
ความหมาย 2. หลกั คุณธรรม (Ethics)
ระดับ 3 ปฏิบตั ิหน้าท่ี โดยคา
3. ความโปร่งใส ปฏบิ ตั งิ านถูกต้อง และครบถ้ว
(Transparency ระดบั 4 ปฏิบัตหิ นา้ ที่โดยคาน
ไดอ้ ยา่ งเคร่งครดั ถกู ตอ้ ง ครบ
หนา้ | 22 ระดบั 1 ประพฤติปฏิบัติตนต
ระดบั 2 ประพฤติปฏิบัติตนด
ระดับ 3 ประพฤติปฏบิ ัติตนด
และใหค้ าแนะนาแกผ่ ู้อนื่ ในกา
วชิ าชพี
ระดับ 4 จงู ใจผู้อ่ืนให้ปฏบิ ตั ติ
ดงี าม มคี วามซื่อสัตย์ จริงใจ ก
ตนเองและของผอู้ น่ื
ระดบั 1 ผู้มีส่วนได้สว่ นเสีย เ
ประชาชนเขา้ มามีสว่ นรว่ ม แล
ระดบั 2 ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี เ
ตรวจสอบภายใน ประชาชนเข
ขา่ วสาร
ระดบั 3 ผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสีย เ
งา่ ย มรี ะบบตรวจสอบภายในห
สว่ นรว่ ม และมีการเปิดเผยข้อ
ระดบั 4 ผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสีย เ
ง่าย ไวว้ างใจซ่งึ กันและกนั ปร
ระบบตรวจสอบภายในหน่วยง
ร่วม และมีการเปิดเผยขอ้ มูลข

พิจารณาระดับคุณภาพ วธิ กี าร/เคร่อื งมือ/แหล่งข้อมูล

านงึ ถงึ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั ในการ โรงเรยี น เพ่ือนรว่ มงานหรือผเู้ กี่ยวขอ้ ง

วน

นึงถงึ กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับในการปฏิบัติงาน

บถว้ น และเปน็ ธรรมด้วยมาตรฐานเดียวกัน

ตามหลกั ความถูกต้อง 1. ตรวจสอบขอ้ มลู ปฏบิ ัติงาน เชน่

ด้วยความสุจรติ ตามหลกั จรรยาบรรณวชิ าชีพ รายงานการหน้าที่ เปน็ ตน้

ดว้ ยความสจุ รติ ตามหลกั จรรยาบรรณวิชาชพี

ารปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ปน็ ไปตามหลักจรรยาบรรณ

2. สอบถาม/สัมภาษณผ์ ู้อานวยการ

ตามหลกั จรรยาบรรณและยึดมั่นในความถูกต้อง โรงเรยี น เพื่อนรว่ มงานหรือผเู้ ก่ียวขอ้ ง

กลา้ ตดั สินใจโดยไม่คานงึ ถึงผลประโยชนข์ อง 3. สงั เกตการทางานรว่ มกับผู้อนื่

เข้าถึงขอ้ มลู ข่าวสารไดเ้ ม่ือมีการรอ้ งขอ 1. ตรวจสอบขอ้ มลู ปฏิบตั งิ าน เช่น
ละมกี ารเปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสารในบางครั้ง รายงานการตรวจสอบภายใน ขอ้ มูล
เขา้ ถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก มกี าร และชอ่ งทางในการเปดิ เผยข้อมลู
ข้ามามีส่วนร่วม และมีการเปิดเผยข้อมลู ข่าวสาร เป็นต้น
2. สอบถาม/สมั ภาษณผ์ ู้อานวยการ
เข้าถึงขอ้ มลู ขา่ วสารได้โดยสะดวกและเข้าใจ โรงเรยี น เพอื่ นร่วมงานหรือผเู้ ก่ียวข้อง
หน่วยงานทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ ประชาชนเขา้ มามี 3. สังเกตการทางานร่วมกบั ผู้อืน่
อมลู ขา่ วสาร
เขา้ ถึงขอ้ มูลข่าวสารได้โดยสะดวกและเข้าใจ
รบั ปรงุ กลไกการทางานใหม้ ีความโปรง่ ใส มี
งานท่มี ีประสทิ ธิภาพ ประชาชนเข้ามามีสว่ น
ขา่ วสารอยา่ งครบถ้วนถูกต้อง ทนั เวลา

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเด็นการพิจารณา การพ
ความหมาย 4. หลกั การมีสว่ นร่วม
(Participation) ระดบั 1 เปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย
ระดับ 2 เปิดโอกาสให้ทุกฝา่ ย
5. ความรับผิดชอบ รว่ มตดั สนิ ใจ
(Accountability) ระดบั 3 เปดิ โอกาสใหท้ ุกฝ่าย
ร่วมตัดสินใจและแก้ปัญหา
6. ความคุ้มคา่ ระดับ 4 เปดิ โอกาสให้ทุกฝา่ ย
(Value of Money) รว่ มตัดสินใจและแก้ปญั หาตล
ขององค์กร
ระดบั 1 ปฏบิ ัติงานในหนา้ ท
ของตนเองและองค์กร
ระดบั 2 ปฏิบตั ิงานในหน้าท
ของตนเองและองค์กร ใส่ใจปัญ
ระดับ 3 ปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ท
ของตนเองและองค์กร ใสใ่ จปัญ
คิดเห็นท่ีแตกต่าง
ระดับ 4 ปฏบิ ตั ิงานในหน้าท
ของตนเองและองค์กร ใสใ่ จปัญ
คิดเห็นทีแ่ ตกต่าง ตระหนัก สา
คุณภาพ ปลอดภยั และไม่สร้า
ระดบั 1 ใชท้ รัพยากรทม่ี ีอย่า
ระดับ 2 ใช้ทรพั ยากรทม่ี ีอย่า
มูลคา่ เพ่ิม บอกให้ผูป้ ฏิบตั งิ าน

หนา้ | 23

พิจารณาระดับคณุ ภาพ วธิ กี าร/เครอื่ งมือ/แหล่งข้อมูล

ยมีสว่ นรว่ มในการรับรู้ 1. ตรวจสอบข้อมูลปฏิบัตงิ าน เชน่
ยมีสว่ นร่วมในการรบั รู้ ทาความเขา้ ใจ รว่ มคิด รายงานการประชุม ข้อบันทึกการมี
ส่วนร่วมเสนอแนะข้อคดิ เหน็ ในการ
ยมีสว่ นรว่ มในการรับรู้ ทาความเข้าใจ รว่ มคดิ ปรับปรงุ พัฒนา เป็นต้น
2. สอบถาม/สมั ภาษณ์ ผู้อานวยการ
ยมสี ่วนรว่ มในการรบั รู้ ทาความเขา้ ใจ รว่ มคดิ โรงเรยี น เพือ่ นรว่ มงานหรือผ้เู ก่ียวข้อง
ลอดจนมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบการทางาน 3. สงั เกตการทางานรว่ มกับผู้อื่น

ท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมาย รับผิดชอบตอ่ การปฏิบตั งิ าน 1. ตรวจสอบขอ้ มลู ปฏิบัตงิ าน เชน่
รายงานการปฏิบตั ิงาน รายงานการ
ที่ที่ได้รบั มอบหมาย รับผดิ ชอบตอ่ การปฏิบตั งิ าน ประชมุ เอกสารหลักฐานที่แสดงถงึ
ญหาสาธารณะของหนว่ ยงาน ความรบั ผิดชอบต่อการปฏบิ ัติงานของ
ที่ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย รับผดิ ชอบต่อการปฏบิ ตั งิ าน ตนเอง องค์กร สงั คม หรอื ส่งิ แวดลอ้ ม
ญหาสาธารณะของหน่วยงาน เคารพในความ เปน็ ต้น
2. สอบถาม/สัมภาษณผ์ ู้อานวยการ
ที่ท่ไี ด้รับมอบหมาย รบั ผดิ ชอบต่อการปฏิบัตงิ าน โรงเรยี น เพอ่ื นร่วมงานหรือผ้เู ก่ียวข้อง
ญหาสาธารณะของหนว่ ยงาน เคารพในความ 3. สังเกตการทางานรว่ มกับผู้อื่น
านึกในสิทธแิ ละหน้าท่ี เนน้ การบรกิ ารที่มี
างความเดือดร้อนให้แก่สงั คม 1. ตรวจสอบข้อมลู ปฏิบัติงาน เชน่
างจากดั เพื่อให้เกดิ ประโยชน์แกส่ ว่ นรวม รายงานการปฏิบตั ิงาน เอกสาร
างจากดั เพอื่ ให้เกดิ ประโยชนแ์ กส่ ่วนรวม สรา้ ง หลกั ฐานทแี่ สดงถึงการใชท้ รัพยากร
นประหยดั ใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่า

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย
1. การใหบ้ ริการเพื่อสนอง ระดบั 3 ใช้ทรพั ยากรท่ีมีอย่า
S ความตอ้ งการของ มูลคา่ เพ่ิม รณรงค์ใหผ้ ปู้ ฏิบัติง
= Service mind ผรู้ บั บรกิ าร ตลอดจนของ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อปรับ
= มจี ติ บรกิ าร หนว่ ยงานภาครัฐอน่ื ๆ ท่ี ระดบั 4 การบริหารจัดการแ
เกี่ยวขอ้ ง ประโยชน์สูงสดุ แกส่ ่วนรวม สร
ใช้ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ ค่ามีการน
2. ความพึงพอใจของ อยเู่ สมอ มกี ารลดต้นทุนการส
ผู้รับบริการหรือผูเ้ กยี่ วข้อง ระดบั 1 ให้บริการดว้ ยความม
ระดบั 2 ให้บรกิ ารด้วยความม
ตอ้ งการของผู้รบั บริการ
ระดบั 3 ใหบ้ ริการด้วยความม
ตอ้ งการของผูร้ บั บรกิ าร หาวิธ
ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ ารเพ่ือตอบ
ภาครัฐและหนว่ ยงานอื่นๆ
ระดับ 4 ให้บรกิ ารด้วยความม
ตอ้ งการของผู้รบั บรกิ าร หาวิธ
ขัน้ ตอนการใหบ้ รกิ ารเพ่ือตอบ
ภาครฐั และหน่วยงานอ่ืนๆ ตล
ระดับ 1 ผ้รู บั บรกิ ารนอ้ ยกว่าร
ระดบั 2 ผรู้ ับบริการร้อยละ 6
ระดบั 3 ผูร้ ับบรกิ ารร้อยละ 7
ระดับ 4 ผู้รบั บริการร้อยละ 8

หนา้ | 24

พจิ ารณาระดบั คณุ ภาพ วิธกี าร/เครือ่ งมือ/แหล่งข้อมูล

างจากดั เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม สรา้ ง อยา่ งคุ้มคา่ ภาพ หลักฐานรณรงคก์ าร
งานประหยัด ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่ามีการนา ใช้ทรัพยากร บัญชีการใช้จา่ ย
บปรุงคุณภาพอย่เู สมอ ทรพั ยากรเปน็ ต้น
และใช้ทรพั ยากรท่มี ีอยา่ งจากัดเพ่ือใหเ้ กดิ 2. สอบถาม/สัมภาษณผ์ ู้อานวยการ
รา้ งมลู คา่ เพิ่ม รณรงคใ์ ห้ผู้ปฏิบัตงิ านประหยดั โรงเรยี น เพ่ือนร่วมงานหรือผเู้ กีย่ วขอ้ ง
นาเทคโนโลยใี หมๆ่ มาใชเ้ พอื่ ปรับปรุงคณุ ภาพ
สูญเสยี จากการดาเนนิ การ 1. ตรวจสอบข้อมูลปฏิบัตงิ าน เชน่
ม่งุ มน่ั และเตม็ ใจ บันทึกการประชุมเกีย่ วกบั การปรบั ปรุง
มงุ่ มน่ั และเต็มใจ ศึกษาและ รับฟงั ความ ระบบการบริการ บันทึกการให้บรกิ าร
เป็นตน้
มงุ่ มัน่ และเต็มใจ ศกึ ษาและ รับฟงั ความ 2. สอบถาม/สมั ภาษณ์ผู้อานวยการ
ธกี ารสรา้ งและรกั ษาสัมพนั ธภาพ ปรับปรุง โรงเรยี น เพ่ือนรว่ มงานหรือผเู้ กยี่ วข้อง
บสนองความต้องการของผ้รู ับบริการ หน่วยงาน 3. สงั เกตการทางาน

มงุ่ มน่ั และเต็มใจ ศกึ ษาและ รับฟงั ความ 1. ตรวจสอบขอ้ มูลปฏิบตั งิ าน เช่น
ธกี ารสรา้ งและรักษาสมั พันธภาพ ปรับปรุง รายงานการประเมินผล การปฏิบัติงาน
บสนองความต้องการของผ้รู บั บริการ หนว่ ยงาน รายงานการศึกษาความคิดเหน็ ของ
ลอดจนปรับปรุงระบบบรกิ ารอยา่ งต่อเน่อื ง ผรู้ บั บริการ เป็นตน้
รอ้ ยละ 60 มคี วามพงึ พอใจระดบั มาก 2. สอบถาม/สมั ภาษณผ์ ู้อานวยการ
60-69 มคี วามพึงพอใจระดับมาก โรงเรียน เพื่อนร่วมงานหรือผู้เกย่ี วขอ้ ง
70-79 มีความพึงพอใจระดับมาก
80 ขึ้นไปมคี วามพึงพอใจระดับมาก

2.2 การสรา้ งเครอื่ งมอื ประเมินคณุ ลักษณะของครู สพม.33 (SMART TEACHERS

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model K = Knowledge (มีความรู)้ R = Responsibility (มีความรับผดิ ชอบ

D = Development (มีการพัฒนา) E1 = Evaluation (การวดั ผล ประเมินผล

คุณลกั ษณะ : ประเด็นการพิจารณา การพ
ความหมาย

K 1. ครูมคี วามรอบรู้เกยี่ วกบั ระดบั 1 รูแ้ ละเขา้ ใจนโยบายก

= Knowledge แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติและ ระดบั 2 รู้และเขา้ ใจนโยบายก

= มคี วามรู้ กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกบั การ ทางการทางาน

จัดการศกึ ษา ระดบั 3 รแู้ ละเข้าใจนโยบายก

ทางาน วเิ คราะห์สถานการณ์

ทางการจัดการเรยี นการสอน

ระดบั 4 รแู้ ละเข้าใจนโยบายก

ทางาน วเิ คราะห์สถานการณ์

แนวทางการจัดการเรยี นการส

ของผู้เรียนเพื่อพฒั นาคุณภาพ

2. ครูมีความรอบรู้เกยี่ วกับ ระดับ 1 รู้ เขา้ ใจหลักสูตรและ

หลักสตู รและเทคนิค ระดับ 2 รู้ เขา้ ใจ กาหนดวิธีก

กระบวนการจดั การเรียนรู้ สถานการณ์ จัดทาหลกั สูตรแล

ระดบั 3 รู้ เขา้ ใจ กาหนดวิธีก

สถานการณ์ จัดทาหลักสูตรแล

แก้ปัญหาและใช้เปน็ แนวทางก

ระดับ 4 รู้ เขา้ ใจ กาหนดวธิ กี

สถานการณ์ จดั ทาหลักสูตรแล

แก้ปัญหาและใช้เป็นแนวทางก

หนา้ | 25 สอดคลอ้ งกบั ความต้องการแล

ของผูเ้ รยี นอย่างต่อเนือ่ ง

S) “KRUDEE”
บ) U = Use Innovation (ใช้สารสนเทศ ส่อื นวัตกรรมและเทคโนโลย)ี
ล) E2 = (Ethics คุณธรรม จรยิ ธรรม)

พจิ ารณาระดบั คณุ ภาพ วธิ ีการ/เครื่องมอื /แหล่งข้อมูล

การศกึ ษา 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานท่ี

การศึกษา กาหนดวิธกี าร เป้าหมายและทิศ แสดงถึงวิสัยทศั น์หรือทิศทางในการ

พฒั นางานเชน่ แผนพฒั นาคุณภาพ

การศึกษา กาหนดวธิ กี าร เปา้ หมาย ทศิ ทางการ การศึกษา แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี

จัดทาแผนกลยทุ ธเ์ พอื่ แก้ปญั หาและใช้เป็นแนว รายงานการปฏิบตั งิ าน รายงานผลการ

ดาเนนิ งานในรอบปี เป็นตน้

การศึกษา กาหนดวิธีการ เปา้ หมาย ทศิ ทางการ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์

จัดทาแผนกลยทุ ธ์เพ่ือแกป้ ญั หาและใช้เปน็

สอนประยกุ ต์ใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกับความแตกตา่ ง

พของผู้เรียนอย่างต่อเนอื่ ง

ะเทคนิคกระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานที่

การ เปา้ หมาย ทศิ ทางการทางาน วิเคราะห์ แสดงถึงการพูด การเขียน หรือ

ละเทคนิคกระบวนการจดั การเรยี นรู้ นาเสนอแนวคิดในทีป่ ระชมุ บันทกึ การ

การ เปา้ หมาย ทิศทางการทางาน วิเคราะห์ ประชมุ เป็นต้น

ละเทคนิคกระบวนการจัดการเรยี นรู้เพื่อ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพ่ือนรว่ มงาน

การจดั การเรียนการสอน หรอื ผู้เกยี่ วข้อง

การ เปา้ หมาย ทศิ ทางการทางาน วเิ คราะห์

ละเทคนิคกระบวนการจัดการเรยี นรู้เพอ่ื

การจัดการเรียนการสอนประยุกตใ์ ชใ้ ห้

ละความแตกต่างของผู้เรยี นเพ่อื พฒั นาคุณภาพ

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลกั ษณะ : ประเด็นการพจิ ารณา การพ
ความหมาย 3. ครูมคี วามรอบรู้ใน
เนอ้ื หาวชิ าท่สี อน ระดับ 1 จัดทาแผนการจัดกา
R ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
= Responsibility 1. ครมู ีความรับผิดชอบต่อ ระดบั 2 จดั ทาแผนการจดั กา
= มีความรบั ผิดชอบ ตนเอง ผู้เรียนเปน็ สาคัญ บนั ทกึ ผลห
ระดับ 3 จดั ทาแผนการจดั กา
2. ครมู คี วามรับผิดชอบต่อ ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนั ทึกผลห
วชิ าชพี วเิ คราะห์ สังเคราะหป์ ัญหา พ
วธิ กี ารจดั การเรียนรใู้ หม้ ีประส
หนา้ | 26 ระดับ 4 จดั ทาแผนการจัดกา
ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ บันทกึ ผลห
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ปัญหา พ
วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ให้มีประส
ทางวชิ าการเพ่ือเปน็ แบบอย่างแ
ระดบั 1 ครูต้องมีวินัยในตนเอ
ระดบั 2 ครูต้องมวี นิ ัยในตนเอ
ระดบั 3 ครตู ้องมีวนิ ยั ในตนเอ
วิสยั ทัศน์ใหท้ นั ต่อการพัฒนาทา
ระดับ 4 ครูต้องมีวนิ ยั ในตนเอ
วสิ ยั ทัศน์ใหท้ นั ต่อการพัฒนาทา
ระดับ 1 ครูตอ้ งรักศรัทธาในว
ระดับ 2 ครตู ้องรักศรัทธาและ
ระดบั 3 ครตู ้องรักศรัทธา ซ่ือ
ระดบั 4 ครูตอ้ งรักศรัทธา ซ่อื
สมาชกิ ทด่ี ขี ององค์กรวิชาชพี

พจิ ารณาระดับคุณภาพ วิธีการ/เครอื่ งมอื /แหล่งข้อมูล

ารเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รโดยเนน้ 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานที่

แสดงถงึ การพดู การเขียน หรือ

ารเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับหลักสตู รโดยเน้น นาเสนอแนวคิด ไดแ้ ก่ แผนการสอน

หลังการจัดการเรียนรู้ครอบคลุมทุกด้าน (K,P,A) บนั ทกึ หลงั สอน วิจยั ในชั้นเรียน เกียรติ

ารเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับหลักสตู รโดยเนน้ บัตรการเขา้ รับการอบรม เป็นตน้

หลงั การจัดการเรยี นรู้ครอบคลุมทุกด้าน (K,P,A) 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพอ่ื นร่วมงาน

พัฒนาความรู้ใหม่ๆ วิจยั ในชน้ั เรียนและปรบั ปรงุ หรือผู้เกย่ี วข้อง

สิทธภิ าพ

ารเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกบั หลักสตู รโดยเนน้

หลงั การจดั การเรยี นรู้ครอบคลุมทกุ ด้าน (K,P,A)

พัฒนาความรู้ใหม่ๆ วิจยั ในชน้ั เรยี นและปรบั ปรุง

สทิ ธภิ าพ เผยแพร่เทคนิควิธกี ารใหม่ ๆ ผลงาน

และสามารถพฒั นาใหม้ ีประสิทธภิ าพอยา่ งต่อเน่ือง

อง 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานที่

อง และพฒั นาตนเองอย่เู สมอ แสดงถงึ ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง

อง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชีพ บุคลิกภาพและ สมดุ ลงเวลาราชการ บนั ทึกการอยเู่ วร

างวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งอยู่เสมอ ยาม เอกสารประชุม ฯ เป็นต้น

อง พฒั นาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลกิ ภาพและ 2. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เพ่ือนร่วมงาน

างวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งอยูเ่ สมอ นกั เรียน หรอื ผเู้ กี่ยวข้อง

วชิ าชีพ 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน

ะรบั ผิดชอบต่อวชิ าชีพ ได้แก่ เกยี รติบัตร ผลงาน ฯ เป็นตน้

อสตั ยส์ จุ รติ และรบั ผดิ ชอบตอ่ วิชาชีพ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพื่อนรว่ มงาน

อสัตยส์ ุจริต และรบั ผิดชอบต่อวชิ าชีพ เปน็ นักเรียน หรือผเู้ กย่ี วข้อง

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเด็นการพิจารณา การพ
ความหมาย

3. ครูมีความรับผดิ ชอบต่อ ระดับ 1 ครตู อ้ งประพฤติปฏิบ

ผู้รบั บริการ ระดบั 2 ครตู ้องประพฤตปิ ฏิบ

ระดบั 3 ครูต้องประพฤติปฏิบ

ชว่ ยเหลือ ส่งเสริม ใหก้ าลังใจ

ระดบั 4 ครูตอ้ งประพฤติปฏิบ

ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ ใหก้ าลังใจ

เสมอภาค

4. ครมู ีความรับผดิ ชอบต่อผู้ ระดับ 1 ครูพึงชว่ ยเหลอื เกอ้ื ก

รว่ มประกอบวชิ าชพี ระดับ 2 ครพู งึ ช่วยเหลอื เกอ้ื ก

ระบบคุณธรรม

ระดบั 3 ครูพึงชว่ ยเหลือเก้อื ก

ระบบคุณธรรม สร้างความสาม

ระดับ 4 ครพู งึ ช่วยเหลือเกอื้ ก

ระบบคุณธรรม สร้างความสาม

5. ครูมีความรบั ผิดชอบต่อ ระดับ 1 ครูพงึ ประพฤติปฏิบัต

สงั คม ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษ

ระดบั 2 ครูพึงประพฤติปฏิบัต

ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปญั

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระ

ระดับ 3 ครูพึงประพฤตปิ ฏิบัต

เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลป

การปกครองระบอบประชาธิป

หนา้ | 27

พิจารณาระดับคณุ ภาพ วิธีการ/เครื่องมอื /แหล่งข้อมูล

บตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน
บตั ติ นเป็นแบบอย่างทีแ่ ละชว่ ยเหลือศิษย์ ไดแ้ ก่ เกยี รตบิ ตั ร ผลงาน ฯ เป็นตน้
บัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดี รัก เมตตา เอาใจใส่ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพ่ือนร่วมงาน
จแก่ศิษย์ นักเรียน หรือผู้เกี่ยวข้อง
บตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ดี ี รัก เมตตา เอาใจใส่
จแกศ่ ิษยแ์ ละผูร้ ับบริการตามบทบาทหนา้ ทีโ่ ดย

กลู ซง่ึ กนั และกัน 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน

กูลซง่ึ กันและกันอยา่ งสร้างสรรค์ โดยยดึ มน่ั ใน ไดแ้ ก่ เกียรติบตั ร ผลงาน ฯ เปน็ ต้น

2. สอบถาม/สัมภาษณ์ เพื่อนรว่ มงาน

กลู ซึ่งกันและกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยดึ ม่ันใน หรือผูเ้ กีย่ วขอ้ ง

มคั คีในหมคู่ ณะ

กูลซ่งึ กันและกนั อยา่ งสร้างสรรคโ์ ดยยึดม่นั ใน

มัคคีในหมคู่ ณะและเป็นผนู้ าในการพฒั นา

ตติ นเป็นพลเมืองดใี นการปก ครองระบอบ 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน

ษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ไดแ้ ก่ เกยี รติบัตร ผลงาน ฯ เป็นตน้

ตติ นในการอนุรักษ์และพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม 2. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เพื่อนร่วมงาน

ญญา ส่งิ แวดลอ้ มและยึดมนั่ ในการปกครอง นักเรยี น หรอื ผ้เู ก่ียวข้อง

ะมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

ติตนเป็นผ้นู าในการอนรุ กั ษ์และพฒั นา

ปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญา ส่ิงแวดลอ้ มและยึดม่นั ใน

ปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเดน็ การพจิ ารณา การพ
ความหมาย
1. มีแผนการนาสารสนเทศ ระดบั 4 ครูพงึ ประพฤตปิ ฏิบัต
U สอื่ นวัตกรรม และ เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลป
= Use Innovation เทคโนโลยีเพอ่ื ใช้ในการจดั ผลประโยชนข์ องส่วนรวมและ
= ใช้สารสนเทศ ส่ือ กระบวนการเรยี นรู้ อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ป
นวัตกรรมและเทคโนโลยี ระดับ 1 กาหนดวธิ ใี นการนาส
2. มกี ารฝกึ อบรมเพื่อ เป็นแนวทางการจดั การเรยี นร
หนา้ | 28 พฒั นาความสามารถของครู ระดบั 2 กาหนดวิธีในการนาส
ด้านการออกแบบนวัตกรรม เปน็ แนวทางการจดั การเรียนร
การจดั การเรียนรู้ ความแตกตา่ งของผูเ้ รยี น
ระดับ 3 กาหนดวิธีในการนาส
เปน็ แนวทางการจัดการเรยี นร
ความแตกตา่ งของผเู้ รียน ใชแ้
เทคโนโลยีสารสนเทศบรู ณากา
ระดับ 4 กาหนดวธิ ใี นการนาส
เปน็ แนวทางการจดั การเรยี นร
ความแตกต่างของผ้เู รียน ใช้แ
เทคโนโลยสี ารสนเทศบรู ณากา
เรยี นรู้ ปรบั ปรงุ แก้ไข พฒั นา
เรียนรขู้ องผ้สู อนได้
ระดบั 1 ฝกึ อบรมเพื่อพฒั นาด
ระดบั 2 ฝึกอบรมเพ่ือพฒั นาด
รวบรวม ประมวลความรู้ เทค
ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้

พิจารณาระดับคุณภาพ วิธีการ/เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล

ติตน เปน็ ผนู้ าในการอนุรกั ษ์และพฒั นา
ปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา สิ่งแวดลอ้ ม รักษา
ะยดึ มั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ประมุข

สารสนเทศ สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยมี าใช้ 1. วเิ คราะห์ข้อมูลที่ไดจ้ ากการ สงั เกต
รู้ ผเู้ รยี นขณะเรียนร้จู ากคอมพวิ เตอร์
สารสนเทศ สอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีมาใช้ ช่วยสอน
รู้ ประยกุ ต์ให้สอดคล้องกบั ความสามารถและ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์

3. วเิ คราะห์จากผลสัมฤทธ์ิ ทางการ
สารสนเทศ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีมาใช้ เรียนของผู้เรียนและความคิดเหน็ ทีต่ ่อ
รู้ ประยุกต์ให้สอดคล้องกับความสามารถและ การเรียนจากคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีนาสื่อ นวัตกรรมและ 4.นาไปใหผ้ ู้เช่ยี วชาญตรวจสอบและ
ารเรียนรู้ในสาระวชิ าต่างๆจัดระบบแหล่งเรยี นรู้ ให้ขอ้ เสนอแนะ
สารสนเทศ สื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยมี าใช้ 5. ผลงาน 1 ครู 1 นวตั กรรม
รู้ ประยุกต์ใหส้ อดคล้องกับความสามารถและ
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่นี าสื่อ นวตั กรรมและ
ารเรยี นรู้ในสาระวิชาต่างๆ จัดระบบแหลง่
า เผยแพร่และเปน็ แบบอย่างในการจัดการ

ด้วยตนเอง 1. แบบประเมินความสามารถของ

ดว้ ยตนเอง เตรียมเน้ือหาวิชา และทรัพยากร ตนเอง

คนิค สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมา 2. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการ สงั เกต

ผเู้ รียนขณะเรียนรู้จากคอมพวิ เตอร์

ชว่ ยสอน

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเดน็ การพจิ ารณา การพ
ความหมาย

ระดบั 3 ฝึกอบรมเพื่อพัฒนา

รวบรวม ประมวลความรู้ เทค

ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ ประเม

สารสนเทศในการจดั การเรยี น

ระดบั 4 ฝึกอบรมเพ่ือพฒั นาด

รวบรวม ประมวลความรู้ เทค

ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ประเม

สารสนเทศในการจัดการเรยี น

3. ใชส้ ารสนเทศ สือ่ ระดบั 1 ใช้สารสนเทศ สื่อ นว

นวตั กรรม และเทคโนโลยี ระดบั 2 ใช้สารสนเทศ สื่อ นว

ผา่ นเครอื ขา่ ยเทคโนโลยี เทคโนโลยีได้

ระดบั 3 ใช้และพัฒนาสารสน

เครอื ข่ายเทคโนโลยีได้

ระดบั 4 ใชแ้ ละพฒั นาสารสน

ขา่ วสารเพือ่ การวางแผนการด

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได

4. มกี ารจดั หาหรือพฒั นา ระดับ 1 ขน้ั การออกแบบ (de

ระบบสารสนเทศ ส่ือ เรียนแล้วเลือกปญั หาสาคัญเร

นวตั กรรม และเทคโนโลยีใน ระดับ 2 ขน้ั การพฒั นา (deve

กระบวนการเรียนรู้ โปรแกรมสาเรจ็ รูปโดยเลอื กป

บทเรียนคอมพิวเตอร์ได้

ระดับ 3 ข้ันการนาไปทดลองใ

หนา้ | 29 การนาไปทดสอบกบั กลมุ่ ทัว่ ไป

พิจารณาระดบั คณุ ภาพ วิธกี าร/เครื่องมอื /แหล่งข้อมูล

าด้วยตนเอง เตรยี มเน้ือหาวิชา และทรพั ยากร 3. วิเคราะหจ์ ากผลสมั ฤทธ์ิ ทางการ

คนิค สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมา เรียนของผเู้ รยี นและความคดิ เหน็ ท่ตี ่อ

มินผลการใช้สื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยี การเรียนจากคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

นรู้ 4.นาไปให้ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบและ

ด้วยตนเอง เตรียมเน้ือหาวชิ า และทรัพยากร ใหข้ ้อเสนอแนะ

คนคิ สื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศมา

มินผลการใช้สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี

นรจู้ นสง่ ผลดตี อ่ คณุ ภาพของผ้เู รยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง

วตั กรรม และเทคโนโลยีได้ 1. สอบถาม/สมั ภาษณ์ เพอ่ื นร่วมงาน

วัตกรรม และเทคโนโลยผี า่ นเครอื ขา่ ย หรอื ผู้เกี่ยวข้อง

นเทศ สอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยผี า่ น

นเทศ สือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยี นาข้อมูล

ดาเนนิ การ การตดิ ตามและประเมินผลผ่าน

ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

esign) วิเคราะหป์ ญั หาการเรียนทการสอนในชัน้ 1. วิเคราะห์ข้อมลู ที่ได้จากการ สังเกต

ร่งดว่ นเพอ่ื มาแก้ไขได้ ผู้เรียนขณะเรยี นรู้จากคอมพิวเตอร์

elopment) สร้างนวตั กรรมการศึกษา ด้วย ชว่ ยสอน

ประเภทของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนและออกแบบ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์

3. วิเคราะห์จากผลสมั ฤทธิ์ ทางการ

ใช้ (testing) หาประสิทธภิ าพและคุณภาพโดย เรยี นของผเู้ รียนและความคิดเห็นทต่ี อ่

ปที่ไม่ใชก่ ล่มุ ตวั อยา่ งทเี่ ปน็ เป้าหมายได้ การเรยี นจากคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเดน็ การพิจารณา การพ
ความหมาย
1. พัฒนาตนเองตาม ระดบั 4 ขน้ั การประเมินผล (e
D บทบาทหน้าท่ีความ เกิดขึ้นจาก การเรียนรู้จากคอ
= Development รบั ผดิ ชอบ ทางการเรยี นได้
= มีการพฒั นา ระดบั 1 มีแผนพัฒนาตนเอง
ระดบั 2 มแี ผนพัฒนาตนเอง
ก.ค.ศ.กาหนด
ระดบั 3 มีแผนพัฒนาตนเอง
ก.ค.ศ.กาหนด ประมวลความร
การจัดการเรยี นรู้
ระดบั 4 มีแผนพฒั นาตนเอง
ก.ค.ศ.กาหนด ประมวลความร
การจดั การเรียนรู้ แลกเปลีย่ น
คุณภาพของผู้เรยี นอยา่ งต่อเน

2. พัฒนาผู้เรียนให้มี ระดบั 1 พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณ
คณุ ภาพ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ระดับ 2 พัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ครบท้ัง
ระดับ 3 พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ครบทั้ง
ระดับ 4 พฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณ
การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ครบทั้ง

หนา้ | 30

พจิ ารณาระดับคุณภาพ วิธีการ/เครือ่ งมอื /แหล่งข้อมูล

evaluation) ประเมนิ ผลการเรียนการสอนที่ 4.นาไปใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบและ
อมพวิ เตอรช์ ่วยสอน ในลักษณะของผลสัมฤทธ์ิ ให้ขอ้ เสนอแนะ

(ID Plan) 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐานท่ี
(ID Plan) พัฒนาด้วยตนเอง ตามหลกั เกณฑ์ที่ แสดงถงึ การปฏบิ ัติตามระเบียบของทาง
ราชการ จดั การระบบดแู ลชว่ ยเหลือ
(ID Plan) พัฒนาด้วยตนเอง ตามหลักเกณฑ์ที่ ผู้เรียน รายงานการปฏิบตั ิงาน วจิ ัย สอื่
รู้ เทคนคิ กระบวนการเรียนรู้มาใช้ประเมนิ ผล การเรียนการสอน เกยี รตบิ ตั ร รางวลั
ในระดบั ต่างๆเป็นต้น
(ID Plan) พัฒนาดว้ ยตนเอง ตามหลักเกณฑ์ที่ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์
รู้ เทคนคิ กระบวนการเรยี นรู้มาใช้ประเมนิ ผล 3. การนเิ ทศติดตาม
นเรยี นรู้ทางวิชาชพี สมา่ เสมอจนส่งผลดีต่อ 4. การเผยแพรผ่ ลงานทางอนิ เตอร์เน็ต
นื่อง นาเสนอในสถานทีต่ ่างๆ
5. การเป็นผเู้ ชย่ี วชาญ วทิ ยากร
ณภาพตามจุดหมายของหลกั สตู รแกนกลาง
1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน
ณภาพตามจดุ หมายของหลักสตู รแกนกลาง ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรียนรู้ รายงาน
5 ขอ้ การปฏบิ ตั งิ าน วิจัย นวัตกรรม ส่อื
ณภาพตามจดุ หมายของหลักสูตรแกนกลาง เกียรติบตั ร รางวลั ในระดบั ต่างๆเป็นตน้
5 ข้อ อย่างตอ่ เน่ือง 2. สอบถาม/สัมภาษณ์
ณภาพตามจดุ หมายของหลกั สูตรแกนกลาง 3. การนเิ ทศตดิ ตาม
5 ข้อ อยา่ งตอ่ เนื่องและเปน็ แบบอยา่ งได้ 4. การเผยแพรผ่ ลงาน
5. การเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญ วทิ ยากร

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คุณลักษณะ : ประเด็นการพิจารณา การพ
ความหมาย 3. พฒั นาสถานศึกษาและ
สงั คม ระดบั 1 พฒั นาสถานศึกษาเ
E1 ระดบั 2 พฒั นาสถานศึกษาใ
= Evaluation 1. ครูมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ครบองคป์ ระกอบตามกฎกระท
= การวัดผล ประเมินผล ในการวดั ผลประเมนิ ผล ระดบั 3 พัฒนาสถานศึกษาใ
ครบองคป์ ระกอบตามกฎกระท
2. สรา้ งและเลอื กใช้ ช่วยเหลือการดาเนนิ งานให้มีค
เคร่อื งมือวัดผลที่ ระดับ 4 พัฒนาสถานศึกษาใ
หลากหลายมคี ณุ ภาพเหมาะ ครบองคป์ ระกอบตามกฎกระท
กบั ผเู้ รียน ชว่ ยเหลอื การดาเนินงานให้มีค
ระดับ 1 การวัดผลประเมนิ ผ
หนา้ | 31 ระดบั 2 การวัดผลประเมินผ
ประเมนิ ความรู้ ทกั ษะ ความส
ระดับ 3 การวดั ผลประเมนิ ผ
ประเมินความรู้ ทักษะ ความส
นักเรยี นที่เกิดข้นึ ในสภาพการ
ระดับ 4 การวัดผลประเมนิ ผ
ประเมนิ ความรู้ ทักษะ ความส
นักเรยี นท่ีเกดิ ข้ึนในสภาพการ
ระดบั 1 วางแผนการวัดและ
ระดบั 2 วางแผนการวดั และ
ประเมินผลทหี่ ลากหลายเหมา
ระดับ 3 วางแผนการวดั และ
เครอื่ งมือวัดและประเมินผลท่ี

พจิ ารณาระดับคุณภาพ วธิ ีการ/เคร่อื งมอื /แหล่งข้อมูล

หมาะกับการบริหารจัดการ 1. ตรวจสอบจากเอกสาร/หลักฐาน
ใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่เี ข้มแขง็ ไดแ้ ก่ SAR แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
ทรวงฯ สารสนเทศ ฯลฯ
ให้มรี ะบบการประกันคณุ ภาพภายในท่เี ขม้ แขง็ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์
ทรวงฯ มีการนิเทศ กากับ ตดิ ตาม และ 3. การนเิ ทศตดิ ตาม
คณุ ภาพ 4. การเผยแพรผ่ ลงาน
ใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพภายในท่ีเขม้ แขง็
ทรวงฯ มีการนเิ ทศ กากับ ติดตาม และ 1.ใชเ้ ครื่องมือวดั ทผ่ี ู้สอนสร้างและ
คุณภาพ และผา่ นการรับรองคณุ ภาพภายนอก ผู้อน่ื สรา้ งข้นึ หรือเคร่อื งมือ ท่ี
หนว่ ยงานหรือโครงการตา่ งๆ เป็น
ผลทห่ี ลากหลายตามสภาพจรงิ ของผ้เู รยี น ผสู้ รา้ งข้ึน
ผลทห่ี ลากหลายตามสภาพจรงิ ของผู้เรียน การ 2. สอบถาม/สัมภาษณ์
สามารถ 3. การนเิ ทศตดิ ตาม
ผลที่หลากหลายตามสภาพจรงิ ของผู้เรียน การ 4. การเผยแพรผ่ ลงาน
สามารถ คณุ ลักษณะหรือพฤติกรรมของ 5. การเปน็ ผ้เู ชย่ี วชาญ วทิ ยากรด้าน
รณจ์ รงิ การวัดผลประเมินผล
ผลที่หลากหลายตามสภาพจริงของผเู้ รียน การ 1. การประเมินตามสภาพจรงิ ใช้
สามารถ คุณลักษณะหรือพฤตกิ รรมของ เครอื่ งมือและวิธกี าร ประเมินท่ี
รณจ์ ริงโดยเล็งเห็นความแตกต่างของบคุ คล หลากหลาย
2. สอบถาม/สัมภาษณ์
ะประเมนิ ผล 3. การนิเทศติดตาม
ะประเมินผล รวบรวม จัดทา เครอ่ื งมือวัดและ 4. การเผยแพรผ่ ลงาน
าะสมกับผเู้ รียน
ะประเมินผล รวบรวม จดั ทา หาคณุ ภาพ
หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน

ค่มู อื การบรหิ ารจดั การคุณภาพการศึกษา สพม.๓๓ โดยใช้ TPS Model คณุ ลักษณะ : ประเด็นการพิจารณา การพ
ความหมาย
3. วดั และประเมนิ ผลตาม ระดบั 4 วางแผนการวดั และ
สภาพจริง เครอื่ งมือวดั และประเมินผลท่ี
การทดสอบระดบั เขตพ้ืนที่ ร
4. นาผลการวดั และ ระดบั 1 การวัดประเมนิ ด้วยแ
ประเมนิ ผลมาปรบั ปรงุ การ ความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ
เรียนการสอน ระดบั 2 การวัดประเมนิ ด้วยแ
ความรู้ ทักษะ ความสามารถ
หนา้ | 32 เพียรพยายาม ความกา้ วหน้า
ระดบั 3 การวดั ประเมนิ ดว้ ยแ
ความรู้ ทักษะ ความสามารถ
เพียรพยายาม ความกา้ วหนา้ แ
ระดับ 4 การวดั ประเมนิ ด้วยแ
ความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ
เพียรพยายาม ความก้าวหน้าแ
เก็บรวบรวมและจัดเรียงอย่าง
ระดบั 1 วเิ คราะหผ์ ล วางแผ
เรียนการสอน
ระดบั 2 วเิ คราะหผ์ ล วางแผ
เรียนการสอน แก้ไขซ่อมเสริม
เรียนร้หู รือจุดประสงค์ของการ
ระดับ 3 วิเคราะหผ์ ล วางแผ
เรียนการสอน แก้ไขซ่อมเสริม
เรยี นรู้หรอื จดุ ประสงคข์ องการ
ผ้เู รียน


Click to View FlipBook Version