The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pengsiritp, 2022-05-05 03:08:07

Flex of May_QC

สารก่อภูมิแพ้ในอาหาร







Food Allergen

คุณเคยแพ้อาหารบ้างหรือไม่ ???

การแพ้อาหาร (Food Allergy – ฟู้ดสสออ ลเลอจี้)





ี่
➢ การแพ้อาหารเกิดสจากการทร่างกายเราสร้างภูมิคุ้มก น

เฉพาะที่ผิดสปกติต่ออาหารที่ร บประทานเข้าไป



➢ โดสยร่างกายเข้าใจว่าอาหารชนิดสน ้นเป็นสิ่งแปลกปลอมหรือ


สารก่อภูมิแพ้ (Allergen - อ ลเลอเจ้น)




➢ จึงท าให้เกิดสปฏิกิริยาการอ กเสบและแสดสงอาการแบบ


เฉียบพล นภายใน 2 ช ่วโมง ภายหล งการร บประทาน


อาหาร





ผู้ผลิตอาหารในปัจจุบ นควรท าอย่างไร ???





ข ้นตอนส าค ญในการก าหนดสแผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ในอาหารส าหร บผู้ผลิต

อาหารและเครื่องดสื่ม มีดส งนี้

1. การประเมินความเสี่ยง




➢ มีโอกาสที่จะมีสารก่อภูมิแพ้โดสยไม่ไดส้ต ้งใจในอาหาร หรืออุปกรณอการผลิตในโรงงาน

ของคุณหรือไม่ ?


➢ การประเมินความเสี่ยงเป็นการวิเคราะหออ นตรายโดสยทีมงานจากหลากหลายหน่วยงาน

อ นประกอบดส้วยสมาชิกจากฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายความ

ปลอดสภ ยของอาหาร ฝ่ายสุขาภิบาล ฝ่ายวิจ ยและพ ฒนา และการปฏิบ ติตาม

กฎระเบียบของหน่วยงานที่ก าก บดสูแล


➢ การประเมินความเสี่ยงจะช่วยระบุแหล่งที่มาของสารก่อภูมิแพ้ในอาหาร และสร้างแผน

ที่การเดสินทางของสารดส งกล่าวในแต่ละข ้นตอนของกระบวนการผลิต เมื่อเราทราบ

เส้นทางของสารก่อภูมิแพ้ การควบคุมจะสามารถกระท าไดส้ในพื้นที่เป้าหมาย เช่น

การร บ และการเก็บร กษา การก าหนดสตารางการผลิต ความแปรผ นของการผลิต

การออกแบบและติดสต ้งอุปกรณอ และการจ ดสหาและอุปกรณอการท าความสะอาดส


➢ คุณจะต้องท าการทบทวน และประเมินความเสี่ยงของคุณใหม่เป็นระยะๆ เช่น เมื่อมี

ผลิตภ ณฑอใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงสูตร หรือมีการเปลี่ยนแปลงผู้จ าหน่ายอาจน ามาซึ่ง

การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการผลิต

2. การบริหารความเสี่ยง





➢ เมื่อมีความเสี่ยง ก็ต้องมีการจ ดสการก บความเสี่ยง

กุญแจส าค ญในการจ ดสการความเสี่ยงที่ประสบ

ความส าเร็จคือ การพ ฒนาค าแนะน าในการท างาน

และข ้นตอนการปฏิบ ติงานมาตรฐานที่สามารถ

ควบคุมความเป็นไปไดส้ที่จะก่อให้เกิดสการปนเปื้อนสาร

ก่อภูมิแพ้โดสยไม่ไดส้ต ้งใจ


➢ ข ้นตอนและค าแนะน าในการปฏิบ ติงานเหล่านี้หมาย

รวมถึงข้อก าหนดสดส้านคุณภาพของว ตถุดสิบจากผู้

จ าหน่าย การค ดสแยก การควบคุมการผลิต การ

ก าหนดสตารางการผลิต การออกแบบและติดสต ้ง

เครื่องมือและอุปกรณอ รวมถึงกระบวนการท าความ

สะอาดสและสุขาภิบาล


➢ ดส งน ้นการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตรอเพื่อท าการ

ตรวจสอบว่าข ้นตอนและการปฏิบ ติงานเหล่านี้มี

ประสิทธิภาพจึงมีความส าค ญอย่างมาก


➢ นอกจากนี้ ย งควรทบทวนและประเมินผลกิจกรรม


ต่างๆ อย่างสม่ าเสมอเพื่อให้มีประสิทธิภาพ


➢ แผนควบคุมสารก่อภูมิแพ้ที่ประสบความส าเร็จน ้น

ขึ้นอยู่ก บการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง ความช ดสเจนของ

ข ้นตอนและเอกสาร และประสิทธิผลของแผนที่ใช้

3. การสื่อสารความเสี่ยง








➢ ข ้นตอนต่อไปหล งจากการประเมินความเสี่ยง

และการบริหารความเสี่ยง คือการสื่อสารความ

เสี่ยง




➢ หากคุณมีอาหารที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ในโรงงาน

ของคุณ ซึ่งอาจพบโดสยไม่ไดส้ต ้งใจในผลิตภ ณฑอ

อาหารส าเร็จรูป คุณจะต้องแจ้งข้อมูลนี้บน

ฉลากอาหาร




➢ การประเมินความเสี่ยงสามารถช่วยก าหนดส

ล กษณะของสารก่อภูมิแพ้ที่อาจเกิดสขึ้นไดส้

ผลิตภ ณฑอข ้นสุดสท้ายผลิตจากส่วนผสมที่มีสารก่อ

ภูมิแพ้ หรือผลิตบนอุปกรณอที่ส มผ สก บส่วนผสม

ที่เป็นสารก่อภูมิแพ้โดสยตรงหรือไม่




➢ การวิเคราะหอนี้สามารถร บประก นการติดสฉลากที่

เหมาะสมท ้งในส่วนของส่วนประกอบของอาหาร

หรือบนฉลากแจ้งเตือนอาการแพ้ (PAL)

จบแล้วคร๊าฟฟฟฟ ……



อย่าลืมท าแบบสอบถามกันนะ



ครับ มาลุ้นกันสว่าคุณเข้าใจ



สารก่อภูมิแพในอาหาร กันมาก


น้อยขนาดไหนผ่าน QR โค้ด



หรือ


Click to View FlipBook Version