The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warinchamrapchalermrajkumari, 2021-02-20 09:55:54

โค

โค

บทท่ี 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หม่นื อาจ

(2) คณุ ภาพของอาหารหยาบและอาหารข้นตอ้ งมคี ุณภาพดี
(3) ควรมีระดับโปรตีนไหลผ่าน 30-35% ของโปรตีนทั้งหมด และมีเย่ือใย ADF
ประมาณ 20-25% หรือ NDF 30-35% มี NFC (แป้ง) ไม่เกิน 35%
(4) ในสูตรอาหาร TMR จ้าเป็นต้องลดขนาดของอาหารหยาบลง เพื่อการผสมให้เข้า
กันดีกับอาหารขน้ ลดความฟ่ามของอาหาร ซ่ึงจะช่วยเพ่มิ ปริมาณการกนิ ได้ และลดการเลือกกิน
อาหารการลดขนาดของอาหารหยาบจะท้าให้ลดการเคี้ยวเอือ้ ง การหมนุ เวียนของน้าลายน้อยลง
ซ่ึงจะมีผลต่อการท้างานของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน ความยาวที่แนะน้าใหใ้ ช้อยู่ระหว่าง 3-5
ซม. หรือยาวกว่านี้ จึงจะท้าให้การย่อยได้ในกระเพาะรูเมนมีประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ และ
สามารถรกั ษาความเป็นกรด-ด่างในกระเพาะใหค้ งทไี่ ด้
(5) การกระจายตัวของอาหารหยาบ และอาหารข้นควรสม้่าเสมอท่ัวถึง ตัวอย่างสูตร
อาหาร TMR ทมี่ คี ่าพลงั งาน (TDN) 70-80% ได้แสดงไวใ้ นตารางที่ 4-7

4.8.2) การผลิตอาหารผสมครบสว่ นจากเปลอื กและซงั ข้าวโพด

วัสดุเศษเหลือจากการผลิตขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ เช่น ต้นข้าวโพด เปลือกฝักข้าวโพด และ
ไหม มมี ากในเกือบทุกภาคของประเทศและเกือบตลอดทง้ั ปี ซ่งึ คุณคา่ ทางโภชนะของเปลือกและ
ซังข้าวโพดมีโปรตีนอยู่ในช่วง 6-8% เยื่อใยหยาบ 23-36% เกษตรกรสามารถน้าไปใช้เลี้ยงโค
แทนหญ้าสดได้ดี เปลือกฝักข้าวโพดเลี้ยงสัตว์นอกจากน้ามาใช้เป็นอาหารหยาบสดได้ดีแล้ว ยัง
สามารถนา้ มาหมกั เพื่อเกบ็ ไวใ้ ช้ในยามขาดแคลนหญา้ สดไดเ้ ชน่ เดยี วกัน

ตวั อย่างสูตรอาหาร TMR ท่ีมเี ปลอื กและซงั ข้าวโพดเป็นอาหารหยาบ และมีค่าพลงั งาน
(TDN) 70-80% ไดแ้ สดงไวใ้ นตารางที่ 4-4

ตารางท่ี 4-4 ตวั อย่างสตู รอาหาร TMR ทีม่ ีเปลือกและซงั ข้าวโพดเปน็ อาหารหยาบ

สว่ นผสม โคเลก็ โคร่นุ

พลังงาน TMR1 TMR2 TMR3 TMR4 TMR5
โปรตนี
ความตอ้ งการโภชนะ
มันเส้น
ขา้ วโพดบด 65 70 70 70 70
กากถวั่ เหลือง
กากปาล์ม 15 14 12 14 16
ยเู รยี
DCP วัตถุดบิ อาหาร
แรธ่ าตรุ วม
8.2 11.7 10.1 7.8

2.6 8.2 9.4 7.5 11.8

3.1 2.1 2.3 5.1 2

15.5 18.5 4.7 17.6

0.26 0.6 0.5 0.5 1.1

0.52 0.4 0.5 0.5 0.4

0.52 0.4 0.5 0.5 0.4

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 43

บทท่ี 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หมื่นอาจ

ส่วนผสม โคเลก็ โครุ่น
TMR1 TMR2 TMR3 TMR4 TMR5

หญ้าเนเปยี รป์ ากชอ่ ง 1 72.3 57.5 65.7 70.7 55

เปลอื กและซงั ขา้ วโพด 5.2 4.1 4.7 5.1 3.9

อาหารหยาบ : อาหารข้น

สภาพสด 77:23 62:38 70:30 76:24 59:41

สภาพแห้ง 37:63 23:77 30:70 35:65 22:78

ราคา (บาท/กก.) 2.9 3.8 3.4 3.4 4.0

องค์ประกอบทางเคมี

%โปรตนี 15.4 14.5 12.0 14.1 16.5

%พลงั งาน (TDN) 65.9 69.6 70.2 69.8 70

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 44

บทท่ี 5

การปฏิบตั สิ าหรบั การดแู ลสขุ ภาพโคเน้อื

รศ.

ผศ.ดร. วิวฒั น์ พฒั นาวงศ์

คณะสตั วศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

5.1 การจัดการสขุ ภาพโคเนอ้ื

5.1.1) การควบคุมปอ้ งกันโรคในโคเนือ้

ในการเลี้ยงโคเนื้อ ในระดบั ฝูงใหญ่ๆ หรือรายยอ่ ย ๆ ก็ตาม เป็นการนาสัตว์เข้ามาเลี้ยง
รวมกันเป็นจานวนมากอาจมีปัญหาในเรื่องของโรคติดต่อหรืออาการเจ็บป่วยจากการจัดการ
เลย้ี งดู ให้อาหาร ดังน้นั จงึ ควรมมี าตรการเพอ่ื ควบคมุ ปอ้ งกันโรค ดังนี้

(1) การจดั การดา้ นคอกพัก โรงเรือน ควรมขี นาดกว้างเพยี งพอตอ่ จานวนสตั ว์ที่
อยู่รวมกันอย่างสบาย ไม่แออัดเกินไป มีร่มเงา รางน้า รางอาหารท่ีเพียงพอที่สัตว์จะไม่
แยง่ กันใชจ้ นเกิดการบาดเจบ็ หรือความเครียดซง่ึ จะเป็นสาเหตุโนม้ นาให้เกดิ การเจ็บปว่ ย
ได้ง่าย มีซองจับสัตว์เพื่อสะดวกในการฉดี ยา ทาวัคซีนผสมเทียมเจาะเลือดเพือ่ ตรวจโรค
หรือทากิจกรรมต่าง ๆ เพอ่ื ลดอันตรายกับตัวสัตวแ์ ละผูป้ ฏิบัตงิ าน

(2) การตรวจโรคทาวัคซนี และถ่ายพยาธิเป็นประจาทุกปี โดยมีการกาหนดการ
ปฏบิ ัติงานที่แน่นอน ตามเวลาท่กี าหนดเพือ่ ปอ้ งกนั โรคทจ่ี ะเขา้ มาในฝูงสัตว์

(3) การนาสัตว์เข้าฝูง เมื่อจะมีการนาสัตว์เข้าฝูงใหม่ควรมีการทาวัคซีนถ่าย
พยาธิให้ครบถ้วน และมีการกักโรคไว้เป็นระยะเวลาหน่ึงเพื่อเฝ้าดูอาการก่อนนาเข้ามา
รวมในฝูง และการพิจารณานาเข้าสัตว์ควรเลือกซ้ือสัตว์ที่มาจากฟาร์ม หรือ พื้นท่ีที่
ปลอดโรค

(4) การควบคุมการเข้าออกในฟาร์ม ควรเข้มงวดในการเข้าออกบริเวณท่ีเล้ียง
สัตว์ทั้งบุคคลและยานพาหนะ มีการทาลายเช้อื โรคก่อนการเข้าฟาร์มเช่น การทาบ่อจุ่ม
นา้ ยาฆ่าเชอื้ การสเปรย์ยาฆ่าเชื้อกอ่ นเข้าสู่บริเวณฟารม์ หรอื เขตเล้ียงสัตว์

(5) การจาหน่ายสัตว์หรือ ซากสัตว์ เมื่อต้องการจาหน่ายสัตว์ หรือ มีสัตว์ป่วย
ตายควรมีสถานที่เฉพาะเพ่ือทาลายพร้อมฆ่าเช้ือ หรือการคัดสัตว์เพื่อจาหน่ายควรนา
ออกมาในสถานที่เตรียมจาหนา่ ยโดยเฉพาะไมค่ วรให้ผ้ซู ื้อเข้าไปเรื่องในฝูงเนื่องจากจะนา
โรคเข้าไปตดิ ต่อกับฝูงสตั วไ์ ด้

5.1.2) หลักการสขุ าภิบาลสตั ว์และการควบคุมปอ้ งกนั โรค

การดูแลสขุ ภาพสัตว์ภายในฝูงอย่างสม่าเสมอจะช่วยลดอตั ราการเกิดโรค หลักของการ
สุขาภิบาลและการควบคมุ ปอ้ งกนั โรค มดี ังต่อไปน้ี

(1) การรกั ษาความสะอาดภายในคอกและโรงเรอื น โดยทาลายเช้ือโรคด้วยการ
พ่นยาฆ่าเชื้ออย่างสม่าเสมอ และกาจัดมูลสัตว์ซ่ึงเป็นสาเหตุในการแพร่กระจายของเชื้อ
และพยาธิ วางตาแหน่งโรงเรือนใหเ้ หมาะสม อากาศถ่ายเทได้สะดวก

(2) ดแู ลเอาใจใส่อาหารและนา้ ใหส้ ะอาดและมีคุณภาพพอเพียง

(3) วางโปรแกรมวัคซีนป้องกันโรค ตามระยะเวลาที่สัตวแพทย์แนะนา พร้อม
ท้งั จดบนั ทกึ ประวัตกิ ารฉีดวัคซีนและฉีดซ้าตามกาหนด

(4) การดูแลสุขภาพสัตว์อย่างสม่าเสมอ หมั่นสังเกตความผิดปกติต่าง ๆ เช่น
ซมึ กนิ นอ้ ยลง เอาแต่นอนขนหยอง ใหร้ บี แก้ไขก่อนทีจ่ ะเกดิ ปญั หารุนแรงขึ้น

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 46

บทที่ 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พัฒนาวงศ์

(5) เมื่อพบสัตว์ท่ีมีอาการผิดปกติหรือสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อให้แยกไว้ไม่ให้
สมั ผัสกับสัตว์ปกติ ทาความสะอาดโรงเรือนด้วยน้ายาฆ่าเช้ือ และแจ้งเจ้าหน้าท่ีปศุสัตว์
เพื่อหาสาเหตุตอ่ ไป

(6) มกี ารทาบนั ทึกประวตั ิศาสตรเ์ พ่ือให้ทราบถึงสภาวะสขุ ภาพสตั ว์ และปญั หา
ทอ่ี าจแฝงอยู่ในฟารม์ เพอ่ื ประโยชน์ในการควบคุมปอ้ งกนั โรค

5.1.3) ข้อควรปฏิบตั ิกรณีสงสัยวา่ เกดิ โรคระบาด

(1) เมอ่ื สตั วป์ ว่ ยดว้ ยอาการคล้ายคลึงกันในเวลาไล่เล่ยี กันต้ังแต่ 2 ตัวข้ึนไป ใหเ้ จ้าของ
แจ้งต่อเจา้ หน้าทส่ี ตั วแพทย์ทอ้ งถิน่ เม่อื พบสตั วป์ ่วยหรือตาย

(2) ในกรณีสัตวป์ ว่ ยดว้ ยโรคระบาดรา้ ยแรงให้ควบคมุ บรเิ วณและห้ามเคลื่อนย้ายสัตว์

(3) ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีสัตวแพทย์ไม่สามารถมาตรวจซากภายใน 48 ชั่วโมง หลังสัตว์
ตายให้ฝังซากสัตว์นน้ั ใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร แล้วราดน้ายาฆ่าเชื้อหรือโรยปูน
ขาวทบั กอ่ นกลบด้วยดิน ตาแหน่งท่ฝี ังควรให้ห่างจากแหล่งนา้ และบริเวณท่อี ยอู่ าศัยของคนและ
สัตว์

(4) เจ้าของสัตว์ควรทาความสะอาด ร่างกายและเปล่ียนเส้ือผ้าหลังดูแลสัตว์ป่วย เพ่ือ
ป้องกนั การแพร่เชื้อไปยังตัวอ่ืน

(5) ไมบ่ ริโภคเนื้อสัตวท์ ีป่ ว่ ยตาย เพราะอาจเปน็ โรคติดต่อระหว่างคนสัตว์ เช่น โรคพิษ
สนุ ขั บ้า โรคแอนแทรกซ์ วัณโรค เปน็ ตน้

5.1.4) โคเนอ้ื ไม่สบายหรือเปน็ โรคมีอาการอยา่ งไร

(1) กินน้อยลง หรอื ไมก่ ินหญ้า

(2) ไม่เคี้ยวเอ้ือง

(3) ซมึ นยั น์ตาขนุ่ มัวหรือมขี ตี้ ามากกวา่ ปกติ

(4) จมกู แห้ง มีไขส้ งู

(5) ขนหรอื ผิวหนงั หยาบกร้าน

5.1.5 เมื่อเกดิ โรคขนึ้ แล้วเราจะตดิ ต่อ หรอื ระบาดไปยังตัวอื่นอย่างไร

(1) ติดต่อโดยตรงระหวา่ งตวั ปว่ ยตัวทีด่ ี เช่น หายใจรด เลีย เสียดสี

(2) ติดตอ่ ทางอปุ กรณ์เคร่อื งใช้ หรอื คนพาไป

(3) แมลง หรอื สตั ว์อ่นื เช่น เห็บ เหลอื บ นก หนู แมลง พาไป

(4) ติดตอ่ จากดนิ เชือ้ โรคบางโรคเม่อื เปน็ แล้วจะคงทนอย่ใู นดนิ นานหลายปี

(5) ติดตอ่ โดยปนกับนา้ หรืออาหาร

(6) ติดต่อโดยทางอากาศ หรือลมหายใจ โดยการไอ หรือจามออกจากสัตว์ป่วย แล้ว
เชอื้ ปนไปกับอากาศหรอื ฝนุ่ ละออง

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 47

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พัฒนาวงศ์

5.1.6 การสงั เกตพฤติกรรมสตั วป์ ว่ ย

ผเู้ ลี้ยงควรสังเกตโคความผิดปกติภายในฟารม์ ตลอดเวลา เช่น การกินอาหาร การถ่าย
อจุ จาระ ปัสสาวะ พฤติกรรมของโคทม่ี ีสุขภาพปกติ และโคปว่ ย ดงั แสดงตอ่ ไปนี้

(1) พฤติกรรมปกติ เม่ือปล่อยแปลงจะแทะเล็มหญ้าประมาณ 1-3 ช่ัวโมง
และหยุดน่ิง 10-20 นาที จากนั้นเริ่มเค้ียวเอื้องประมาณ 10-20 นาที แล้วแทะเลม็ หญ้า
สลับกันไป เม่ืออยู่ในคอกจะเคี้ยวเอ้ืองและหยุดนิ่งสลับกันไป ขณะหยุดนิ่งอาจยืนหรือ
นอน หูและหางยังคงกระดิกไล่แมลงตลอดเวลา ในวันหน่ึง ๆ โคจะดื่มน้า 3-4 คร้ัง ถ้า
แปลงหญา้ ไม่สมบรู ณ์ โคจะใช้เวลาแทะเล็มหญา้ มากที่สดุ อาจจะแทะเลม็ หญ้าตลอดวัน
โดยไม่หยุดพักน่งิ และเค้ยี วเอือ้ งเลย ปัสสาวะปกตมิ ีสีใส หรือสีเหลืองอ่อนๆ

ปกติโคถ่ายอุจจาระวนั ละประมาณ 8 ครั้ง คอื กลางวัน 5 คร้ัง กลางคนื 3 ครั้ง
รวมอุจจาระหนักประมาณ 4-5 เปอร์เซน็ ต์ของน้าหนักตัว ลักษณะอุจจาระข้นึ อยูก่ บั ชนิด
อาหาร

การเต้นของหัวใจปกติ 60-70 คร้ัง/นาที การหายใจปกติ 15 ถงึ 30 ครั้ง/นาที
อณุ หภมู ริ ่างกายโคปกติ 38-39 องศาเซลเซียส วดั โดยใช้ปรอทสอดทที่ วารหนกั

(2) พฤติกรรมเริม่ ป่วย เมอ่ื ปลอ่ ยแปลงจะยืนนิ่งใต้ต้นไมต้ ลอดเวลาโดยไมแ่ ทะ
เล็มหญ้า และไม่เค้ียวเอ้ืองเลย ไม่แกว่งหาง ยืนหรือนอนซึมตลอดเวลา ไม่ชอบ
เคลื่อนไหว ปัสสาวะมีสขี ุ่น หรือเหลืองเข้ม หรือเหลืองปนเขียวมเี ลอื ดปน อุจจาระเหลว
สีแดง หรือมีเลือดปน ถ่ายเป็นมูก มีกล่ินเหม็นมากมีพยาธิปน หัวใจเต้นช้าหรือเร็วกว่า
ปกติ หายใจหอบถ่หี รือหายใจเบาๆ นาน ๆ ครัง้ และอณุ หภมู ิร่างกายสงู กว่าปกติ

5.2 การจัดการดา้ นสขุ ภาพโค
ผู้เลี้ยงโคต้องรู้จากการควบคุมป้องกันโรคท่ีสาคัญ ในการเล้ียงโคระยะต่าง ๆ โปรแกรมการ

ปฏิบตั ดิ า้ นสขุ ภาพโค โดยสรุปตามตารางที่ 5-1

ตารางที่ 5-1 การจัดการดา้ นสขุ ภาพโค

การปฏบิ ัติ 1 เดอื น 3-8 เดือน ทกุ 6 เดือน ทกุ ปี แมพ่ นั ธ์ุ

ถ่ายพยาธิ ฉีด/กรอก ปีละ 2
ครัง้
ฉีดวติ ามิน AD3E 2 มล./
โรคแทง้ ตดิ ต่อ 1 มล.(ซีซ)ี /
ฉีดวคั ซีน กล้ามเน้ือ
โรคแท้งติดตอ่ ใต้หนงั
ฉดี วคั ซีน
โรคคอบวม

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 48

บทที่ 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พัฒนาวงศ์

การปฏบิ ัติ 1 เดอื น 3-8 เดอื น ทกุ 6 เดือน ทกุ ปี แมพ่ ันธ์ุ

ฉดี วคั ซีน โรคปาก 2 มล./ใต้ 1 มล./ใตห้ นัง
และเทา้ เป่ือย หนงั (เฉพาะพ้นื ท่ี

ฉีดวัคซีน เสีย่ ง)
โรคแอนแทรกซ์ ทดสอบโรค
บรเิ วณโคนหาง
ทดสอบวณั โรค เจาะเกบ็ เลอื ด
เจาะเก็บเลือด
ตรวจโรคแท้งตดิ ตอ่
ตรวจโรคพารา ท.ี บ.ี

5.3 โรคทส่ี าคัญในโคเน้อื

ในการเล้ียงโคเนื้อมักมีปัญหาเก่ียวกับการเจ็บป่วยของโคบ้างไม่มากก็น้อย การเจ็บป่วยของโค
บางอย่างหรือบางโรค สามารถติดต่อถึงโคตัวอ่ืน ๆ ได้เรียกว่า โรคติดต่อ และการเจ็บป่วยหรือโรค
บางอย่างของโค เป็นเฉพาะรายตัวไม่ติดต่อไปถึงโคตัวอ่ืน ๆ เรียกว่า โรคไม่ติดต่อ ซึ่งโรคสาคัญในโคหรือ
โรคทพี่ บบอ่ ย ๆ ที่ควรร้จู ักมดี งั นี้

5.3.1 โรคปากเทา้ เปอื่ ย

โรคปากเท้าเปื่อย เกิดจากเช้ือไวรสั ที่พบในประเทศไทยมี 3 ชนดิ คอื โอ เอ และเอเชีย
วัน สตั ว์กีบคู่เท่านั้นที่สามารถเปน็ โรคนไ้ี ด้ ซ่งึ ไดแ้ ก่ โค กระบอื แพะ แกะ สุกร และกวาง

(1) การติดต่อของโรค โดยการสัมผัสกันของสัตว์ หรือการกินอาหารหรือกินน้าท่ีมีเชื้อ
ไวรัสปากเท้าเปื่อยปนเป้ือนอยู่ หรือเชื้อติดกับฝุ่นละอองและถูกพัดไปในท่ีต่าง ๆ นอกจากนี้
พบว่า นก กเ็ ป็นตัวนาโรคทสี่ าคัญ

(2) อาการและวิการ สัตว์จะเกิดแผลเม็ดตุ่มบนเย่ือบุช่องปาก ล้ิน ริมฝีปาก เหงือก
ขนาดของเม็ดตุ่ม จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร ตุ่มจะใส ภายในมีของเหลวสี
เหลืองอ่อนอย่เู ล็กนอ้ ย เม็ดตมุ่ นจี้ ะแตกภายในเวลา 24 ช่วั โมง และเกดิ เป็นแผลแดง สัตว์จะเจ็บ
ปาก ทาให้ไม่กนิ น้าและอาหาร จากน้ัน 2-5 วนั จะเกิดเม็ดตมุ่ ลกั ษณะเดยี วกนั ทีไ่ รกีบ หรือทมี่ ัก
ได้ยินบ่อย ๆ ว่า เชื้อลงกีบ เมื่อเกิดเม็ดตุ่มที่ไรกีบแล้ว จากนั้นเม็ดตุ่มจะแตกเช่นเดียวกันกับท่ี
เกิดท่ีปาก สัตวจ์ ะเจบ็ เทา้ ข้อเทา้ บวม ปวด เดนิ ขากระเพลก (รปู ท่ี 5-1)

(3) การรักษา เนื่องจากเปน็ เชื้อไวรัสยังไม่มียาจาเพาะในการรักษา แตส่ ามารถป้องกัน
โรคได้โดยการฉีดวัคซนี กรณีสตั วป์ ว่ ยเมื่อพบรอยโรคหรือแผลบรเิ วณล้ินหรอื เนอ้ื เยอื่ ภายในช่อง
ปากและแผลท่ีอุ้งกีบ สามารถใช้ยาปฏิชีวนะและยาม่วง (เย็นเช่ียนไวโอเลต) รักษาแผลเพ่ือ
ป้องกนั การติดเช้ือ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 49

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

(4) การป้องกัน ฉีดวัคซีนให้สัตว์ปีละ 2 คร้ัง ห่างกัน 6 เดือน สัตว์ท่ีอายุน้อยเร่ิมฉีด
ครั้งแรกเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดครั้งที่ 2 หลังจากครั้งแรก 1 เดือน จากน้ันฉีดซ้าทุก 6 เดือน
กรณีมโี รคระบาดเกิดข้นึ ใหฉ้ ีดซา้ ทกุ ระยะ 4 เดอื น

รูปท่ี 5-1 วกิ ารการเกิดปากเท้าเป่ือย โดยจะพบรอยโรคบริเวณล้นิ และเหงือกคอมตี มุ่
และแผลท่ีล้ินทาใหเ้ กิด นา้ ลายไหล

ตารางท่ี 5-2 วคั ซนี โรคปากและเท้าเป่อื ยสาหรับโค กระบือ แพะ แกะ

สรรพคุณ เปน็ วัคซีนเช้ือตายชนิดนา้ ผลติ จากเชอื้ ไวรัสโรคปากและเทา้ เป่ือย ซ่งึ เตรียมจากเซลล์
เพาะเล้ียงทาให้เข้มข้น บริสุทธ์ิ และทาให้หมดฤทธ์ิ ใช้ฉีดป้องกันโรคปากและเท้า
เปอ่ื ยสาหรับโค กระบือ แพะ แกะ

วิธีการใช้ 1. ฉดี วัคซีนครั้งแรกตัง้ แตอ่ ายุ 4 เดอื นถึง 6 เดือน
2. ฉดี คร้ังท่ี 2 หลงั จากฉดี คร้งั แรก 3 - 4 สปั ดาห์ และฉดี ซา้ ทุก 6 เดือน
3. ในกรณีทเี่ กิดโรคระบาด ให้ฉีดวคั ซนี ซ้าทนั ทีทกุ ตวั

ขนาดฉดี ตัวละ 2 มล. เขา้ ใตผ้ วิ หนัง
ความคุม้ โรค
การเก็บรกั ษา สตั ว์จะมีความภูมิคุม้ โรคหลงั จากฉีดวคั ซีน 3 - 4 สปั ดาห์ และมีความภูมิคมุ้ โรคอยไู่ ด้
ขนาดบรรจุ นาน 6 เดอื น
ขอ้ ควรระวงั
เกบ็ ในต้เู ยน็ อณุ หภูมิ 2-8 องศาเซลเซยี ส หา้ มเก็บในช่องแชแ่ ข็ง

ขวดละ 40 มล. (20 โดส๊ ) หรืด ขวดละ 20 มล. (10 โด๊ส)
อาจเกิดอักเสบตรงบริเวณที่ฉีดวัคซีน ร่วมกับมีไข้เล็กน้อย และเบ่ืออาหารแต่ไม่เป็น
อันตราย

5.3.2) โรคคอบวม

โรคคอบวม เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ Pasteurella multocida จากการสารวจ
พบว่า เช้ือนี้มักจะมีอยู่แล้วในร่างกายของสัตว์ ถ้าสัตว์มีสภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ กลไก
การป้องกันโรคของร่างกาย จะป้องกันไม่ให้เชอื้ นีเ้ กดิ ความรุนแรงจนสตั ว์แสดงอาการออกมา แต่
ถา้ สัตว์ตัวนนั้ ออ่ นแอลง ไม่วา่ จากสาเหตุใดก็ตาม เช่นขาดอาหาร มีการเคลือ่ นย้ายสัตวท์ าให้สัตว์
เกิดความเครียด ฯลฯ ทาให้ระบบป้องกันโรคของร่างกาย ตามธรรมชาติของสัตว์ลดลง สัตว์จะ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 50

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

แสดงอาการของโรคข้นึ และเช้ือกจ็ ะแพร่ออกมาทางน้าเมือก นา้ ลาย น้าตา และสง่ิ ขบั ถา่ ยอน่ื ๆ
ได้

(1) การตดิ ต่อของโรค โรคนต้ี ิดต่อได้เม่ือสัตว์ที่ปกติมาสัมผัสกบั สัตว์ท่ีมีเชื้อนี้
อยู่ หรือกนิ อาหาร น้า ท่ีมีเชื้อปนเปื้อนอยู่ จะทาใหเ้ กิดโรคนี้ได้ การเกิดโรคมกั จะทาให้
สตั ว์ตายอยา่ งรวดเร็ว

(2) อาการและวิการ อาการที่มักพบได้แก่ สัตว์จะมีไข้สูง 104-107 องศาฟา
เรนไฮต์ มีนา้ มูกนา้ ตาไหลเย่ือเมือกที่อวยั วะเพศ หรือนัยน์ตาจะแดงเข้ม มีการบวมร้อน
ตาม หัว คอ อก ขาหน้า จึงเรยี กว่าโรคคอบวม ส่วนท่ีบวมนี้ จะไปกดทางเดินหายใจ ทา
ให้หายใจมีเสียงดัง และสัตว์ป่วยจะตาย เน่ืองจากหายใจไม่ออก ภายในหลอดลมมี
ของเหลวปนฟองอากาศ ตบั ขยายใหญ่มีเลือดค่ัง (รปู ท่ี 5-2)

(3) การรักษา ยาปฏิชีวนะท่ีใช้ได้แก่ ยาเพนนิซิลิน เตตร้าซัยคลิน สเตรปโต
มัยซิน หรือยากลุ่มซัลฟา ควรรักษาในระยะแรก ๆ ที่เริ่มป่วยจะได้ผลดีแต่ถ้าสัตว์มี
อาการหนัก การรักษาจะไม่ได้ผล

(4) การปอ้ งกัน ฉีดวคั ซีนใหก้ บั สัตว์ตงั้ แตอ่ ายุ 4 เดือนข้นึ ไปและฉีดซา้ ทุก 1 ปี
รักษาสุขภาพสัตว์ให้สมบูรณ์แข็งแรงให้อยู่ในท่ีที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี ให้อาหารที่มี
คณุ ภาพดีทาความสะอาดรางน้าและรางอาหารอยูเ่ สมอ โรคน้ีเปน็ โรคในพระราชบัญญัติ
โรคระบาด พ.ศ. 2499 ดังนั้นเมอื่ สงสัยมสี ตั วป์ ว่ ยหรอื ตายด้วยโรคนี้ให้แจง้ เจา้ หน้าทีส่ ัตว
แพทย์ทันทีเพื่อทาการตรวจรกั ษา ป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรค ถ้ามีสัตว์
ตายให้ฝังหรอื เผา หา้ มนาไปบรโิ ภค

รูปที่ 5-2 วิการการเกิดโรคคอบวมโดยทโี่ คเป็นโรคแสดงอาการซมึ และมีน้ามกู ปนหนอง
โคเป็นโรคอาการบวมน้าท่ีหวั และคอ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 51

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

ตารางที่ 5-3 วัคซนี เฮโมรายิกเซพติซเี มยี ชนดิ น้ามัน

สรรพคุณ เปน็ วัคซนี แบคทเี รยี เชือ้ ตายชนิดน้ามัน ใช้ฉีดป้องกนั โรคเฮโมรายิกเซพตซิ เี มีย
(โรคคอบวม) ในโค และกระบอื

วิธกี ารใช้ 1. ใช้ฉดี สตั ว์ อายุ 4 เดอื นขน้ึ ไป และฉีดปลี ะคร้ัง
2. ควรใช้เขม็ เบอร์ 18 ยาว 1.5 นวิ้ ฉดี เข้า กลา้ มเนือ้ ลึก

ขนาดฉดี โค กระบอื ตัวละ 1 มล. เขา้ กลา้ มเนื้อลกึ

ความคมุ้ โรค สตั ว์จะมคี วามคุ้มโรคหลังจากฉีดวัคซนี ประมาณ 3 สัปดาห์ และความคมุ้ โรคจะ
การเก็บรกั ษา อย่นู าน 15 เดอื น
ขนาดบรรจุ
ขอ้ ควรระวัง เก็บในตเู้ ย็นอณุ หภมู ิ 2-8 องศาเซลเซียส ห้ามเกบ็ ในช่องแชแ่ ขง็

ขวดละ 30 มล. (30 โดส๊ )

1. บริเวณทีฉ่ ดี อาจบวมเล็กน้อย
2. ไม่ควรฉีดวคั ซนี ใหก้ ับสตั ว์ภายใน 45 วนั ก่อนสง่ โรงฆา่

5.3.3) โรคกาลี

โรคกาลี หรือโรคแอนแทรกซ์ เป็นโรคติดต่อท่ีเป็นได้ในสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมทุกชนิด
รวมท้ังคน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Bacillus anthracis เชื้อน้ีถ้าอยู่ในร่างกายสัตว์ที่ตาย ถูก
ทาลายโดยกระบวนการเน่าเป่ือยของซากสัตว์ แต่ถ้าทาการชาแหละซากสัตวท์ ่ีตายเชือ้ จะสัมผัส
กบั อากาศเกิดการสรา้ งสปอร์ เมื่อเชอื้ สรา้ งสปอรก์ ารทาลายเชื้อนี้จะยากขึน้ มาก โดยพบว่าสปอร์
สามารถทนน้าเดือดได้นานถึง 15 นาที หรือทนอุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส ได้นาน 1 ช่ัวโมง
หรอื สปอร์อยู่ตามพื้นดนิ จะสามารถอยู่ได้ถงึ 15-20 ปี

(1) อาการและวกิ าร สัตวท์ ่ีปว่ ยเป็นแอนแทรกซ์ จะมไี ข้สงู โดยจะมีไขป้ ระมาณ
105-107 องศาฟาเรนไฮน์ ซึม กล้ามเน้อื สนั่ หายใจหอบถี่ หัวใจเตน้ เร็ว มอี าการทอ้ งผูก
สลับท้องร่วงแบบมีเลือดปน ปกติแล้วสัตว์ป่วยมักจะตายอย่างรวดเร็ว เม่ือสัตว์ตายจะ
พบเลือดสีดาคล้าไหลออกจากทวารต่าง ๆ เช่น จมูก ปาก ทวารหนัก และเลือดมักไม่
แข็งตัว ซากจะขึ้นอืดอย่างรวดเร็ว ถ้าพบอาการเช่นนไี้ ม่ควรชาแหละซาก แตถ่ ้าวนิ ิจฉัย
ผิดพลาดและทาการเปิดผ่าซาก จะพบมากมีจุดเลือดออกและมีการบวมน้าในทุกส่วน
ของร่างกาย พบของเหลวสีน้าเลือด ภายในช่องอกและช่องท้อง ลาไส้อักเสบ ม้ามมี
ขนาดใหญม่ าก ๆ และ เปอ่ื ยยุ่ย มเี ลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั ตอ่ มน้าเหลืองบวม มจี ุดเลือดออก
ถ้าคนกนิ ซากสัตว์ที่เปน็ โรคนี้จะทาให้คนนัน้ อาจตายได้

(2) การป้องกัน ฉีดวัคซีนให้สัตว์ต้ังแต่อายุ 14 สัปดาห์ขึ้นไปและฉีดซ้าทุกปี
สาหรับพื้นที่ท่ีเคยมีโรคระบาดให้ฉีดซ้าทุก 6 เดือน สัตว์ท่ีตายกะทันหันโดยท่ีไม่ทราบ
สาเหตุ หรือสงสัยเป็นโรคแอนแทรกซ์ต้องรีบแจ้งเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ในท้องถ่ิน และ
หา้ มชาแหละหรือเคล่ือนย้ายซากสัตว์ก่อนที่สัตวแพทย์จะมาถึง สัตวท์ ่ีตายดว้ ยโรคแอน
แทรกซต์ ้องทาลายซากรวมทั้งดนิ และสิ่งของต่าง ๆที่เป้ือนเลอื ด ตลอดจนสิง่ ขับถ่ายของ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 52

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พฒั นาวงศ์

สัตว์ โดยเผาหรือฝังรวมกันให้ลึกประมาณ 2 เมตร แล้วโรยปูนขาวทับก่อนกลบ ส่วน
อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เผา หรือแช่ในน้ายาฆ่าเชื้อ เช่นน้ายาฟอร์มาลดีไฮด์ 5-10 เปอร์เซ็นต์
หรือ กลูเตอราลดีไฮด์ 2% นานไม่ตา่ กว่า 8 ช่ัวโมง ไม่ลักลอบนาโคกระบือแพะแกะที่มี
ชวี ิต ซากหรอื เนอื้ สัตวจ์ ากชายแดนเขา้ มาในประเทศ

ตารางที่ 5-4 วัคซีนแอนแทรกซ์

สรรพคุณ เป็นวัคซีนแบคทีเรียเช้ือเป็น ใช้ฉีดป้องกันโรคแอนแทรกซ์ (โรคกาลี) สาหรับโค
กระบอื แพะ แกะ และชา้ ง
วิธีการใช้ 1. ฉดี วัคซนี คร้ังแรกใหก้ บั สตั วอ์ ายุ 14 สัปดาหข์ ้ึนไปและฉดี วัคซีนซา้ ทกุ ปี
2. ในเขตท่ีเคยมกี ารระบาดของโรคน้ใี หฉ้ ีดซา้ ทุก 6 เดือน
ขนาดฉีด
ความคุมโรค เข้าใต้ผวิ หนงั แพะ แกะ ตวั ละ 0.5 มล. โค กระบอื ตวั ละ 1 มล. ช้าง ตัวละ 2 มล.
การเก็บรักษา
ขนาดบรรจุ สัตวจ์ ะมีความค้มุ โรคหลังจากฉดี วัคซีนแล้ว 2-3 สปั ดาห์และอย่ไู ดน้ าน 1 ปี

ข้อควรระวัง เกบ็ ในต้เู ยน็ อุณหภมู ิ 2-8 องศาเซลเซยี ส หา้ มเกบ็ ในชอ่ งแช่แขง็

ขวดละ 20 มล.

1. ห้ามใช้ในสตั ว์ท้อง เพราะอาจทาให้แท้ง
2. สัตว์อาจมอี าการบวมเลก็ นอ้ ยบรเิ วณทฉ่ี ดี และอาจมีไข้ 2-3 วัน

5.3.4) โรคแทง้ ตดิ ตอ่ (บรเู ซลโลลสิ )

โรคแท้งติดต่อเกิดจากเช้ือแบคทีเรีย Brucella spp. เป็นโรคระบาดที่สาคัญของโค
กระบือ แพะ แกะสุกร รวมท้ังคนด้วย เช้ือบลูเซลลา มีหลายชนิดไม่เหมือนกัน จะเป็นชนิดใดก็
ตามแต่ชนิดของสัตว์ เช่น เชื้อ B. abortus มักพบในโคกระบือ B. malitensis มักพบในแพะ
แกะ และ B. suis มักพบในสุกร โรคแท้งตดิ ต่อทาให้เกิดความเสียหายคือ การผสมติดยาก เป็น
หมนั มักแทง้ ลูกในช่วงกลางและชว่ งท้ายของการตั้งท้อง หรอื ลกู ที่คลอดออกมาไมแ่ ขง็ แรง เชอื่ น้ี
ถ้าถูกแสงโดยตรงจะตายภายใน 2 ช่ัวโมง เชอื้ จะมีชวี ติ อยู่ในดินไดน้ าน 1-3 เดือน และขบวนการ
พาสเจอร์ไรส์สามารถทาลายเช้ือน้ีได้ ยาฆ่าเช้ือท่ีสามารถทาลายเชื้อนี้ ได้แก่ ไลซอล 1% ฟอร์
มาลนี 2 % ครซี อล 3% และฟีนอล 3%

(1) การติดต่อของโรค การติดตอ่ มักเกดิ จากการผสมพันธุ์ การกินอาหาร หรือ
นา้ ทีม่ ีเชื้อปนอยู่ การสัมผัสกับส่ิงขับออกทางช่องคลอดของตวั เมียที่เป็นโรค และการรีด
นม โดยปกติ เช้อื โรคแท้งตดิ ต่อหลังจากเข้าสู่ร่างกายโคจะไปตามกระแสเลือด แล้วไปที่
ต่อมน้าเหลืองจากน้ันจึงจะกระจายไปที่เต้านมและอวัยวะสืบพันธุ์ ในแม่โคตั้งท้องจะ
สง่ ผลให้แมโ่ คแทง้

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 53

บทที่ 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พฒั นาวงศ์

รูปที่ 5-3 วกิ ารการเกิดโรคโรคแทง้ ตดิ ตอ่ โดยในโคเพศผจู้ ะพบวกิ ารอณั ฑะบวม
สาหรับโคเพสเมยี มักแท้งลูกโค

(2) อาการ แม่โคท่ีตั้งท้อง ถ้าเป็นโรคนี้มักจะแท้งลูกในเดือนท่ี 4-7 และการ
แท้งมกั จะเกิดในท้องแรกหรือท้องที่ 2 หลังจากน้ัน แมโ่ คจะปรับตัวได้ ซ่ึงอาจไม่พบการ
แท้งในการคลอดคร้ังต่อ ๆ มา แต่ลูกท่ีเกิดมามักอ่อนแอ น้าหนักแรกคลอดน้อย หาก
เลี้ยงรอดจะเป็นตัวแพร่โรคในฝูงต่อไป แม่โคหลังคลอดลูกมักมีปัญหารกค้าง มดลูก
อกั เสบ ถ้าในโคท่ียังไม่ต้ังท้องมักมปี ญั หาผสมตดิ ยาก ถา้ เปน็ ในพ่อพนั ธ์ุลกู อณั ฑะจะบวม
อักเสบขา้ งใดขา้ งหนงึ่ อาจพบขอ้ อักเสบ ซง่ึ สุดท้ายจะเปน็ หมัน

(3) การรักษา ไมแ่ นะนาใหร้ กั ษาเนื่องจากมกั ไม่ไดผ้ ลดีเท่าที่ควร

(4) การป้องกนั ควรตรวจโรคทุก ๆ 6 เดือน ในฝูงโคท่ยี ังไม่ปลอดโรคและทุก
ปีในฝงู ทีป่ ลอดโรค สัตวท์ ต่ี รวจพบวา่ เป็นโรคควรแยกออกจากฝงู คอกสัตว์ทป่ี ว่ ยด้วยโรค
นี้ต้องใช้น้ายาฆ่าเช้ือทาความสะอาดแล้วพักคอกไว้ อย่างน้อย 1 เดือน ก่อนนาสตั ว์ใหม่
เข้าคอก ทาลายลูกทีแ่ ท้ง รก นา้ ครา่ โดยการฝังหรอื เผาและทาความสะอาดพ้ืนทนี่ ั้นด้วย
น้ายาฆ่าเชื้อ กาจัด นก หนู แมลง สุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงอ่ืน ท่ีเป็นตัวแพร่โรค สัตว์ที่
นามาเลี้ยงใหม่ ต้องปลอดจากเชื้อโรคน้ีก่อนนาเข้าคอก โคพ่อพันธุ์ที่ใช้ต้องไม่เป็นโรคน้ี
ควรฉดี วัคซีนป้องกันโรคนี้ในโค เพศเมียอายุ 3-8 เดือน ซ่ึงจะทาให้มีภูมคิ ุ้มกันได้นานถึง
6 ปี

ตารางที่ 5-5 วัคซนี บรเู ซลโลซีส

สรรพคณุ เป็นวัคซีนแบคทีเรียเชื้อเป็นชนิดดูดแห้งบรรจุภายใต้สุญญากาศ ใช้ฉีดป้องกันโรคบรู
เซลโลซีส (โรคแท้งตดิ ต่อ) ในโค กระบอื
วิธกี ารใช้
1. ฉดี ในโคเพศเมยี อายุ 3-8 เดอื น เพยี งครั้งเดียว
ขนาดฉดี 2. ไมค่ วรฉีดวัคซนี บรูเซลโลซีส ชนดิ ใดๆ ซ้าอกี
ความค้มุ โรค
การเกบ็ รักษา ตวั ละ 2 มล. เขา้ ใต้ผวิ หนัง
ขนาดบรรจุ
ฉดี วัคซนี นใี้ ห้กับลูกโคเพียงครั้งเดยี ว จะให้ความคุ้มโรคได้นานประมาณ 7 ปี
ขอ้ ควรระวัง
เก็บในตเู้ ย็นอุณหภมู ิ 2-8 องศาเซลเซียส

ขวดละ 5 โดส๊

1. ผู้ใช้ต้องระวังการตดิ เช้ือจากวคั ซนี อาจทาใหเ้ กดิ อาการไข้
2. ไมค่ วรฉีดวคั ซนี ใหก้ บั ลกู โคภายใน 21 วนั กอ่ นส่งโรงฆา่

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 54

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พัฒนาวงศ์

5.3.5) วณั โรค (ทเู บอรค์ ูโลลิส)

วณั โรคเกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Mycobacterium bovis พบไดใ้ นโคและสตั ว์เล้ียงลูก
ดว้ ยนมทกุ ชนิดรวมทงั้ คน วณั โรคแบ่งเป็น 3 ชนิดคอื Human type, Bovine type และ Avian
type ในโคจะเป็นแบบ Bovine type ลักษณะเฉพาะของวัณโรคคือ เกิดฝีวัณโรคตามอวัยวะ
ตา่ งๆ ลักษณะของฝีจะแห้งเปน็ มันเหลืองคลา้ ยเนยแข็ง ซึ่งภายในมีลักษณะคล้ายเม็ดกรวดทราย
แทรกอยู่ เชื้อน้ีจะทนทานต่อสง่ิ แวดลอ้ มได้ดี โดยจะถูกทาลายได้ดว้ ย แสงอาทิตย์ในเวลา 2 วัน
อยู่ในอุจจาระคนได้ประมาณ 5 เดือน อยู่ในซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยได้ 157 วัน เชื้อนี้สามารถถูก
ทาลายโดยการพาสเจอร์ไรส์ มตี ้มในน้าเดือดนาน 5-10 นาที นอกจากนี้นา้ ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ทาลาย
เชื้อนต้ี ามพ้ืนคอก ได้แก่ ฟีนอล 2-3 % หรอื ยาฆ่าเชื้อในตระกูลฟนี อล

(1) การติดต่อ มักเกิดจากการสัมผัสกันของสัตว์ป่วยและสัตว์ปกติ การผสม
พันธ์ุ การกินอาหาร หรือน้าท่ีมีเชื้อน้ีปนอยู่ การหายใจรดกัน ซ่ึงมักพบจากการเล้ียงที่
แออดั

(2) อาการและการวินิจฉัย อาการของสัตว์แต่ละตัวท่ีเป็นโรคนี้จะไม่แน่นอน
ตาแหนง่ ทเี่ กดิ โรค แตอ่ าการท่ัว ๆ ไป ได้แก่ โคจะผอม อ่อนเพลยี ไมค่ ่อยกินอาหาร มีไข้
เล็กน้อย ถ้าพบว่าเป็นวัณโรคที่ระบบทางเดินหายใจ ต่อมน้าเหลืองที่บริเวณคอจะบวม
ทาให้ไปกดทางเดนิ หายใจ โคจะหายใจลาบาก หอบและเกิดฝีวณั โรคในปอด ทาใหโ้ คเกิด
อาการไอ เม่ือเคาะท่ีทางเดินหายใจจะเจบ็ ปวด ถ้าเป็นวัณโรคท่ีเต้านม ต่อมน้าเหลืองที่
เต้านมจะขยายใหญ่ เต้านมจะบวมแบบเป็นตุ่มก้อนเล็ก ๆ หรือบวมแบบเป็นแผ่นแผ่
กระจาย จากน้ัน น้านมจะลด และโคจะหยุดให้นม ซ่งึ คนหรือสัตวถ์ ้ากินน้านมจากคนที่
เป็นวณั โรคโดยไม่ผา่ นการตม้ เพอื่ ทาลาย เชื้อจะติดต่อได้

 วณั โรคท่ีระบบสบื พันธุจ์ ะทาให้สตั วเ์ ป็นหมัน
 วณั โรคท่ีระบบประสาท สัตว์จะเป็นอมั พาตออ่ นๆ หรือตน่ื เตน้ ผิดปกติ
 วณั โรคท่ีลาไส้ จะมีอาการท้องรว่ งเรื้อรัง อุจจาระมมี ูกปนออกมา ถ้าทา
การผ่าซากมกั จะพบต่มุ ฝีตามตอ่ มน้าเหลือง ตบั ปอด มา้ ม และเย่ือบุชอ่ งทอ้ ง

ในการตรวจโรคน้ีมักใช้ทูเบอร์คูลินเทส โดยใชน้ ้ายา ทูเบอร์คูลิน 0.1 ซีซี. ฉีด
เข้าใต้ผิวหนังบริเวณท่ีไม่ค่อยมีขน เช่น โคนหางด้านล่าง หรือแผงคอ ท้ิงไว้ 72 ชั่วโมง
ถา้ หนังตรงบริเวณที่ฉีดเกิดอาการบวมแดงแข็ง และความหนาของหนัง เพ่ิมขึ้นจากเดิม
มากกว่า 4 มิลลิเมตร แสดงว่าเป็นโรค ถ้าบริเวณท่ฉี ีดบวมแข็งแต่ไม่แดง ความหนาของ
หนงั เพิ่มขึน้ จากเดมิ มากกว่า 4 มิลลิเมตร ให้สงสัยวา่ เป็นโรค และทาซ้าอีกคร้ังหลังจาก
คร้ังแรก 90 วัน

5.3.6) วัณโรคเทียม (พาราทูเบอร์คูโลสสิ )

โรควณั โรคเทยี ม เกิดจากเชื้อแบคทีเรยี ชอ่ื Mycobacterium para-tuberculosis โรค
นี้พบได้ในโคกระบือ แพะ แกะ ลักษณะของเช้ือ Mycobacterium para-tuberculosis คล้าย
กั บ เช้ื อ Mycobacterium tuberculosis ท่ี ท า ให้ เกิ ด วั ณ โร ค แ ต่ ต่ า งกั น เพี ย งเช้ื อ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 55

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

Mycobacterium tuberculosis มีขนาดเล็กกว่า และชอบอยู่รวมกันเป็นกระจุก เชื้อน้ีถูก
ทาลายไดง้ ่ายดว้ ยแสงแดดและดา่ ง

(1) การติดต่อ ส่วนใหญ่ติดต่อกันได้โดยการกินอาหารท่ีมีเชื้อน้ีปนเปื้อนอยู่
เชื้อจะอยู่ในลาไส้ของสัตว์ป่วย และถูกขับออกมากับอุจจาระของสัตว์ป่วย ถ้าสัตว์ปกติ
กนิ อาหารทมี่ อี จุ จาระที่มีเชอ้ื ปนเป้ือนอยจู่ ะติดโรคได้

(2) อาการและวิการ โคแรกเกดิ ถงึ 6 เดือน ติดเช้ือโรคน้ไี ด้ง่าย แต่จะไม่แสดง
อาการมักจะแสดงอาการหลังจากอายุ 3 ปี โคที่เป็นโรคนี้ จะมีอาการท้องร่วงเรื้อรัง
อุจจาระเหลวใสเป็นเนื้อเดียว ไม่มีกลิ่นผิดปกติ ไม่มีเลือดหรือมูกปน โคจะผอมแห้ง
บรเิ วณขากรรไกรหรอื ใต้คางมักบวมน้า ไม่มีไข้ กนิ อาหารได้ตามปกติ แต่จะผอมลงเรื่อย
ๆ ในท่ีสุดจะไม่มีแรง ล้มลงนอน และตาย ต้องทาการผ่าซากจะพบว่าตั้งแต่ลาไส้เล็กถึง
ลาไสใ้ หญม่ ีการอกั เสบ ลาไสห้ นาตัวกว่าปกติ 3 ถงึ 4 เท่า โดยเฉพาะลาไส้เลก็ ส่วนปลาย
(Ileum) การตรวจวินิจฉยั ทาไดโ้ ดยการนาอจุ จาระหรือซีรมั่ ของโคท่ีมอี าการท้องรว่ งไป
ตรวจในหอ้ งปฏิบตั กิ าร

รปู ท่ี 5-4 สรปุ การทาวคั ซีนเพ่อื ป้องกนั โรคในโคเนื้อ

5.3.7 โรคพยาธิที่สาคญั ในโคเนอ้ื
(1) โรคพยาธใิ นเลอื ด
 โรคอะนาพลาสโมสสิ
สาเหตุ เชื้อโรคอะนาพลาสมา มาร์จินาเล เป็นจุดขนาดเล็กอยู่ท่ีขอบเม็ดเลือด
แดงของโค โรคน้ี มีสาเหตุจากแมลงดูดเลือดหลายชนิดเป็นพาหะโดยเฉพาะ เหลือบ
แมลงวันคอก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 56

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

รูปที่ 5-5 พาหะของโรค สามารถแพรเ่ ช้ืออะนาพลาสมา่ ไดแ้ ก่ เหลอื บเห็บตวั ผู้
หลงั จากลอกคราบ

อาการ โคที่เป็นโรคอาจมีอาการทั้งแบบรุนแรงและแบบเรื้อรัง โคที่มีอายุมาก
จะมีอาการรุนแรงกว่า โคอายุน้อย อาการที่สาคัญคือ มีไข้สูง เยื่อเมือกซีด เบื่ออาหาร
หายใจหอบ โคที่ต้งั ท้องอาจแทง้ ลูกได้ บางครั้งมีอาการดีซ่านร่วมด้วย อายุนอ้ ยมกั แสดง
อาการปว่ ยแบบเรือ้ รัง

การรกั ษา ออกซ่ีเตตรา้ ซยั คลินชนิดออกฤทธิ์ยาว ฉีดเข้ากลา้ มเน้อื ในขนาด 10-
20 มิลลิกรัมตอ่ น้าหนักตัวหนึง่ กิโลกรัม

มิโซล ฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือกล้ามเน้ือในขนาด 1 ถึง 2 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว
หนึ่งกโิ ลกรัม การใช้ยาอาจใชค้ ร้ังเดยี วหรือแบ่งฉดี เช้า-เยน็

การปอ้ งกัน กาจัดเห็บแมลงดูดเลือด บนตวั โค หลีกเลี่ยงการเล้ยี งโคในบรเิ วณ
ท่ีเคยมีการระบาดของโรคหรือมีเห็บชุกชมุ

 โรคบาบซี โี อซสิ

สาเหตุ เกิดจากเชื้อโปรโตซัวท่ีอยู่ในเม็ดเลือดแดงของโคมี 2 ชนดิ คือ บาบีเซีย
ไบเจมีน่าและบาบีเซีย โบวสิ มรี ูปรา่ งเป็นรูปลูกแพรค์ ู่ทามุม โดยปกตมิ ีโอกาสพบเช้อื นีใ้ น
เม็ดเลือดแดงได้น้อย แต่จะพบได้มาก เมื่อโคใกล้ตายหรอื ตายแล้ว นอกจากน้ียังพบเชื้อ
ในอวัยวะอื่น ๆ เช่นสมอง หัวใจ ม้าม ไต การติดต่อมีเห็บโคเป็นพาหนะนาเชื้อ เห็บโค
ชนิดนพ้ี บไดท้ ัว่ ทุกภาคของประเทศไทย

อาการ มีไข้สูงกว่า 41 องศาเซลเซียส ไม่กินอาหารหายใจหอบ ในรายท่ีตาย
อย่างเฉียบพลัน โคจะตายโดยไม่ทันสังเกตอาการ หรือมีอาการทางประสาทเช่น เดิน
โซเซ ชัก คอแหนงบิด หรือบ้าคลั่ง ไล่ชนคน หรือโคท่ีอยู่ใกล้ ซึ่งพบมากในการติดเชื้อ
บาบีเซีย โบวิส ถ้าโคไม่ตาย เมด็ เลอื ดแดงจะถูกทาลาย ทาให้เกดิ โลหติ จางสงั เกตได้จาก
เยอื่ เมือกทีป่ ากและตาซดี หายใจหอบ น้าปสั สาวะมีสีแดงหรอื น้าตาล ในรายท่เี ป็นเรอื้ รัง
จะพบอาการดีซ่าน สังเกตไดจ้ ากเยอ่ื เมือกเปน็ สีเหลอื ง

การรักษา เบเรนิล ฉีดเข้ากล้ามเนื้อในขนาด 3.5 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1
กิโลกรัม หรือ อิมิโซล ฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือเข้ากล้ามเน้ือในขนาด 1.2 มิลลิกรัมต่อ
น้าหนักตัวหนึ่งกิโลกรัม หรือขนาด 1 ซ.ี ซี.ต่อน้าหนักสัตว์ 100 กิโลกรมั การให้ยาอาจให้

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 57

บทที่ 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พัฒนาวงศ์

ครั้งเดียว หรือแบ่งฉีดเช้า-เย็น การใช้ยาน้ีถ้าใช้เกินขนาด สัตว์จะมีอาการกล้ามเน้ือสั่น
นา้ ลายไหลทอ้ งอดื โคทใี่ ช้ยานีไ้ ม่ควรสง่ เขา้ โรงฆ่าภายใน 28 วนั

การป้องกัน กาจัดเห็บบนตัวโค ใช้ยาบางชนิดเช่น อิมิโซล ขนาด 2 มิลลิกรัม
ต่อน้าหนกั ตวั หนง่ึ กโิ ลกรัม ฉีดในสตั ว์ท่ีนาเข้ามาในฝูงใหม่ ยานี้จะมีผลปอ้ งกันโรคไดน้ าน
3-12 สัปดาห์

 โรคทรพิ าโนโซโมซสิ

สาเหตุ เช้ือโปรโตซัวชนิดที่พบในประเทศไทยคือ ทริพาโรโนโซมา อีแวนซาย
เชื้อน้ีอยู่นอกเม็ดเลือดแดง มแี มลงดูดเลือดชนิดต่าง ๆ เป็นตัวนาโรค แมลงที่สาคัญเช่น
เหลือบแมลงวันคอก

อาการ โดยธรรมชาติโคเนื้อไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็นเด่นชัดนอกจาก ในโค
ท้องอาจแท้งลูก บางรายอาจมีอาการทางระบบประสาทเช่น เดินวน ต่ืนตระหนก
กระโดด ดรุ ้าย ซมึ เป็นอมั พาต และตายในทส่ี ุด

การรักษา เบเรนิล ฉีดเข้ากล้ามเนื้อในขนาด 3.5 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัวหน่ึง
กิโลกรัม

การป้องกัน กาจัดแมลงดูดเลอื ดโดยใชย้ าฆ่าแมลงพ่นบนตัวโคบริเวณท่ีหางโค
ปดั ไมถ่ ึงเช่น ขา คอ ใตท้ ้อง ตรวจเลือดโคเพื่อดู อัตราการติดเช้ือในฝงู และทาการรักษา
เม่ือมกี ารตรวจพบเชื้อเพื่อป้องกนั ไม่ให้เชอ้ื โรคแพร่กระจายไปยังสตั ว์ชนิดอ่ืน และเมื่อมี
การนาโคเข้ามาในฝูงใหม่ ต้องฉีดยาฆ่าเชื้อ ทริพาโรโนโซมา อีแวนซาย ยาเบเรนิลใน
ขนาด 3.5 มิลลิกรมั ต่อนา้ หนกั ตวั หนึ่งกิโลกรมั

(2) โรคพยาธิภายใน

แบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ พยาธิตัวกลม พยาธิใบไม้ และพยาธิตวั แบน
 พยาธติ วั กลม

พยาธิตัวกลม ในสัตว์เค้ียวเอื้องมีมากกว่า 20 ชนิด พบได้ท่ัวไปในร่างกายโค
เช่น ปอด ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ขนาดแตกต่างกันออกไป ตามชนิดของพยาธิ อาหารที่
พยาธิกิน ก็ตามแต่ชนิดและตาแหน่งที่อยู่อาศัยในร่างกายโค เช่น พยาธิในปอด จะกิน
ของเหลวในปอด แต่มักมีการไชทะลุปอด ทาให้เกิดปอดอักเสบ พยาธิในกระเพาะและ
พยาธปิ ากขอ จะกนิ เลือด พยาธิในลาไส้ กนิ ส่งิ ต่างๆ ในลาไส้ รวมท้ังอาหารท่ีโคยอ่ ยแล้ว
ด้วย

การติดต่อ มหี ลายวธิ เี ช่น ไชผ่านผิวหนัง ผ่านทางสายรกไปสู่ลูก ผ่านทางน้านม
เหลอื ง และผา่ นทางนา้ นม แต่ท่พี บท่วั ไปมกั เกิดจากการกินตวั อ่อนของพยาธิ ที่ตดิ มากับ
หญา้ หรืออาหาร จากนัน้ พยาธิจะเจริญในร่างกายโค จนโตเตม็ วัย ผสมพันธแุ์ ละวางไข่ ไข่
จะปนออกมากับอุจจาระ และเจรญิ เป็นตัวอ่อน ซึ่งตวั ออ่ นจะคลานออกจากกองอจุ จาระ
และเกาะตามใบไม้ใบหญ้า เมื่อโคกินหญ้าที่มีตัวอ่อนของพยาธิเกาะอยู่ โคจะติดพยาธิ
อกี ซง่ึ เป็นวงจรเช่นน้ีเร่อื ยไป

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 58

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ฒั น์ พัฒนาวงศ์

อาการ ท่ีพบโดยท่ัวไปได้แก่ การซูบผอม จนถึงผอมแห้ง ท้องเดิน ถ่ายเหลว
เป็นน้า ผิวหนังหยาบแห้งบางคร้ัง พบอาการท้องผูก โลหิตจาง ถ้าเป็นพยาธิที่ไชไปใน
ปอด โคมักมีอาการไอ หอบ ถ้านาอุจจาระของโคไปตรวจ โดยดูจากกล้องจุลทรรศน์จะ
พบไข่พยาธิ ซ่ึงพยาธิแต่ละชนิด ลักษณะของไข่จะไม่เหมือนกัน ทาให้สามารถทาการ
แยกชนดิ ของพยาธิได้

การรักษา ทาได้โดยให้โคกินยาถา่ ยพยาธิ ซ่งึ ยากลุ่มนที้ น่ี ิยมใช้ ไดแ้ ก่ ไทอะเบน
ดาโซล 66 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีเบนดาโซล 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฟนเบนดาโซล
7.5 มลิ ลกิ รมั ตอ่ กโิ ลกรัม อนั เบนดาโซล 7.5 มิลลกิ รมั ต่อกโิ ลกรัม นอกจากนี้ การฉดี ไอโว
เมค เขา้ ใตผ้ ิวหนังกไ็ ด้ผล

การป้องกัน ทาได้โดยมีการถ่ายพยาธิอย่างสม่าเสมอจัดการปรับปรุงด้านสุขภิ
บาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกาจัดอุจจาระ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของไข่หรือตัวอ่อน
ของพยาธิมากบั อาหาร และคอกหรือทุง่ หญ้าท่ีใชเ้ ล้ียงสตั ว์ ไม่ควรปล่อยให้มนี ้าขัง ควรมี
การระบายน้าทีด่ ี เน่อื งจากความชมุ่ ชน้ื จะเหมาะสม ในการเจรญิ ของตัวอ่อนพยาธิ

 พยาธใิ บไม้

พยาธิใบไม้มีหลายชนิด เช่น พยาธิใบไม้ในปอด พยาธิใบไม้ในกระเพาะ พยาธิ
ใบไมใ้ นลาไส้ พยาธิใบไม้ในเลอื ด พยาธใิ บไม้ในตบั แตท่ ี่สาคัญซ่งึ ก่อให้เกดิ ผลเสียในทาง
ปศุสัตว์อย่างมากได้แก่ พยาธิใบไม้ในตับ พยาธิใบไม้ในตับของโคกระบือ ท่ีพบมากใน
ประเทศไทยเกิดจาก พยาธฟิ าสซิโอลา ไจแกนตกิ า (Fasciola gigantica) เปน็ พยาธทิ ่ีมี
ขนาดใหญ่ ขนาดของตัวยาว 30-50 มลิ ลิเมตร กว้าง 9-15 มลิ ลิเมตร รูปร่างคล้ายใบไม้
อาศยั อยู่ตามทอ่ น้าดี และถงุ น้าดขี องสตั ว์

อาการ พบได้ในโคอายตุ ้ังแต่ 8 เดือนขึ้นไป อาการของโคที่เป็นโรคพยาธิใบไม้
ในตับ จะมีอาการโลหิตจาง เยื่อเมือกตาและอวัยวะเพศซีด สัตว์จะผอมอ่อนเพลียไม่มี
แรงเบ่อื อาหาร อาจมีอาการบวมน้าใตค้ าง ผิวหนังและขนหยาบกระด้าง สัตว์มกั ท้องผูก
อุจจาระแขง็ เป็นกอ้ น แต่เมือ่ ใกล้ตายจะท้องเสีย

การรกั ษา ทาได้โดยใหก้ ินยาถ่ายพยาธิ เป็นยากลุ่มท่นี ิยมใช้ไดแ้ ก่ ไทอะเบนดา
โซล 66 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีเบนดาโซล 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฟนเบนดาโซล 7.5
มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรัม อนั เบนดาโซล 7.5 มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรัม นอกจากนี้ การฉีดไอโวเมค
เอฟ และโทรแดรก 10 มลิ ลิกรัมตอ่ กโิ ลกรมั เขา้ ใตผ้ วิ หนงั ก็ได้ผล

การป้องกนั ทาได้โดยมกี ารถ่ายพยาธอิ ย่างสม่าเสมอ จัดการปรบั ปรุง สขุ ภิบาล
โดยเฉพาะอย่างย่ิง หนองน้าที่โคใช้กินไม่ควรให้มีหอย เนื่องจากเป็นตัวกลางท่ีจะนา
พยาธมิ าสโู่ ค

 พยาธติ ัวแบน

พยาธิตัวแบน ท่ีมักสร้างปัญหาให้แก่โคได้แก่ พยาธิตัวตืด (Taenia saginata)
พยาธิตัวตืดที่พบในโคท่ีโตแล้ว มักไม่ค่อยรุนแรง แต่ที่พบในลูกโคมักรุนแรง จะทาให้ลูก

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 59

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พัฒนาวงศ์

โคแคระแกรน ลาตัวของพยาธิตัวตืดจะเป็นปล้องๆ มีส่วนปากยึดเกาะท่ีผนังลาไส้ ส่วน
ของลาตัวจะรออยู่ในลาไส้ ซ่ึงมักพบ ที่ลาไส้เล็ก สว่ นอีเลียม เมื่อพยาธิโตเต็มท่ี จะผสม
พันธ์ุและวางไข่ ไข่จะปะปนออกมากับอุจจาระ และถูกตัวกลาง เช่น เห็บ ไร กินเข้าไป
ไข่จะเจริญเป็นตัวอ่อน และพัฒนาตนเองเป็นถุง อยู่ในตัวกลางนั้น เมื่อโคกินอาหารที่มี
ตัวกลาง (ซ่ึงมีไข่ของพยาธิอยู่ภายใน) เข้าไปในลาไส้เล็ก ตัวอ่อนจะออกจากถุง และ
เจริญเปน็ พยาธิเต็มวยั อย่ใู นลาไส้ตอ่ ไป

อาการ ของโคท่ีมีพยาธิตัวตืด มักคล้ายคลึงกับการติดพยาธิทั่ว ๆ ไป ได้แก่ มี
การซูบผอม จนถึงผอมแห้ง ท้องเดิน ถ่ายเหลวเป็นน้า ผิวหนังหยาบแห้ง บางครั้งพบ
อาการท้องผูก โลหิตจาง ความรุนแรงมักข้ึนกับอายุของโค ถ้าเป็นลูกโคอาการมักจะ
รนุ แรงกวา่ โคทีโ่ ตเต็มไว

การรักษา เช่นเดียวกับการรักษาพยาธิตัวกลม เนื่องจากยาปัจจุบัน มีการ
พัฒนาจนเกือบรักษาพยาธิได้ทุกชนิด แต่ขนาดที่ให้สาหรับการรักษาพยาธิตัวตืดมักสูง
กว่า ซ่ึงดไู ด้จากเอกสารกากบั ยาที่มากับยาชนดิ นัน้ ๆ เชน่ ไทอะเบนดาโซล มเี บนดาโซล
เฟนเบนดาโซล อลั เบนดาโซล

การป้องกัน ทาได้โดยมีการถ่ายพยาธิอย่างสม่าเสมอ จัดการปรับปรุงด้าน
สขุ าภิบาล โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการกาจัดอุจจาระ เพ่อื ปอ้ งกันการปนเปื้อนของตัวกลางทม่ี ี
ตัวออ่ นของพยาธมิ ากับอาหาร พรอ้ มท้ังกาจัดเห็บเหาไรซง่ึ อาจเป็นตัวกลางให้หมดไป

(3) โรคพยาธภิ ายนอก

 แผลหนอนแมลงวนั

สาเหตุ แมลงท่ที าให้เกิดแผลหนอนในสัตว์ตา่ งๆ รวมทั้งโคมหี ลายชนิด แต่ท่พี บ
บ่อยท่ีสดุ คอื แมลง ครสิ ซอเมีย ซึง่ แมลงตัวแก่จะมีลักษณะคล้ายกับแมลงวนั หัวเขียว จะ
บินมาวางไขท่ ่ีแผลของสัตว์เชน่ แผลทส่ี ะดือลูกโค แผลจากการตัดเขา แผลจากอุบัติเหตุ
แผลจากถูกเห็บแมลงวันคอกกดั ไขจ่ ะฟักเป็นตัวหนอนเจริญอยู่ในแผล 3-6 วัน จากน้ัน
ตัวหนอนจะหล่นลงดนิ กลายเป็นดักแด้ และเจริญเป็นตวั แก่ต่อไป หนอนแมลงวันมักจะ
เกิดในช่วงฤดูฝน ซ่ึงเป็นฤดูที่เหมาะสมในการแพร่พันธ์ุ ลูกโคท่ีเกดิ ใหม่มักมีแมลงวันมา
วางไข่ทีบ่ รเิ วณสะดอื

อาการ อุบัติเหตุจะเปิดกว้างเป่ือยยุ่ยส่งกลิ่นเน่าเหม็น อาจมีเลือดออก
เนือ่ งจากตวั หนอนของแมลงวันชอนไช โคจะแสดงอาการเจ็บปวด

การรักษา โกนขนรอบบรเิ วณแผลใหก้ วา้ งหา่ งจากขอบแผลพอสมควร ล้างแผล
ให้สะอาดโดยใช้น้ายาฆ่าเช้อื หรือน้าต้มสุกอุ่น ถ้ามีหนอนให้ล้างแผลด้วยไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ จากน้ันใช้สาลีเช็ดขูดเน้ือตายออกให้หมด โรยผงเนกาซันลงในแผล เพ่ือฆ่าตัว
หนอนท่ีเหลืออยู่ ทาแผลด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน ควรโรยผงเนกาซันไว้อีกเพื่อป้องกันการ
วางไข่ซา้ ทาเชน่ นี้ทุกวันจนกวา่ แผลจะหายสนทิ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 60

บทท่ี 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเนื้อ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

 เหบ็ โค
สาเหตุ เห็บโคที่พบในประเทศไทยเป็น บูฟิลัส ไมโครพลัส เป็นเห็บโฮสต์เดียว
หมายถึงตั้งแต่ ตัวอ่อนเห็บขึ้นเกาะบนตัวโคดูดเลือดโคกินเป็นอาหาร เจริญเติบโต
จนกระทั่งเจริญเป็นตัวแก่อยู่บนตัวโคตัวเดียว เป็นพาหะที่สาคัญของโรคบิซิโอซิส อะ
นาพลาสโมซิส โดยเช้ือจะอยู่ท่ีต่อมน้าลาย ของเห็บตัวอ่อนและออกมากับน้าลายเห็บ
เข้าสกู่ ระแสโลหติ
อาการ บริเวณที่เห็บชอบเกาะ ได้แก่ ใบหู แผงคอ ซอกขาหนีบ ใต้ท้อง โคน
หาง บริเวณที่เห็บตัวแก่กัดผิวหนังจะเป็นแผล เมื่อมีแมลงวันมาวางไข่ ทาให้เกิดแผล
หนอนแมลงวนั โคตวั หน่ึงอาจดูดเลือดไดม้ ากถึง 0.5 ซ.ี ซ.ี ทาใหโ้ คมอี าการโลหิตจาง

การรักษา ยาที่ใช้ฆ่าเห็บโคมีหลายกลุ่มได้แก่ ยากลุ่มออแกนโนฟอสเฟต เช่น
อาซุนโทล นีโอซิด เนกูวอน ยากลุ่มไพรีทรอยด์ เช่น คูเพ็กซ์ ซอลแพค10 ดับบลิวพี
ไบทรอด์ เอช 10 ดบั บลิวพี บูทอ๊ กซ์ ยากลุ่มอะมิดีน เช่น อะมีทราซ และยากลุ่มไอโวเม
คตนิ เช่น ไอโวเม็ค

การป้องกัน การควบคุมเห็บในทุ่งหญ้าซ่ึงมักเป็นเห็บตัวอ่อน ควรจัดการทุ่ง
หญ้าโดยการปล่อยทุ่งหญ้าท้ิงไว้นาน ๆ หรือใช้ไฟเผา ไม่ควรใช้สารเคมี หรือยาฆ่าเห็บ
พ่นในทุ่งหญ้า การควบคุมเห็ดตามธรรมชาติ ได้แก่ การเลี้ยงไก่พ้ืนเมืองเพื่อกินเห็บตัว
เมียทด่ี ูดเลือดอิ่มก่อนทจี่ ะวางไข่ในแปลงหญ้า การควบคุมเห็บโคโดยนกทอ้ งถน่ิ เชน่ นก
เอ้ียง เป็นต้น

 เหาโค

สาเหตุ เหาโคมีหลายชนิดได้แก่ เหาสกุลดามาลิเนีย พบได้ในบริเวณท่ีขนยาว
เช่น ท่ีหัว คอ ไหล่ หลัง พหู่ าง ส่วนเหาสกุลลโิ นงาธัส และโซลิโนโปเตส มกั พบที่บริเวณ
หัวคอ และเหนียง เหาสกลุ ฮมี าโตไพนสั มกั พบท่บี ริเวณรอบเขาตา จมูก บรเิ วณทพ่ี บเหา
มักพบไขเ่ หาตดิ อย่ทู ีเ่ สน้ ขนด้วย

อาการ โคท่ีมเี หามักจะแสดงอาการคนั อย่างเห็นไดช้ ดั โคจะเลียหรอื ใชต้ าแหน่ง
ท่ีมเี หากัด เหาจะดดู กนิ เลือด โคทาใหโ้ ลหติ จางออ่ นเพลีย

การรักษา ยาที่ใช้กาจัดเห็บทุกชนิดสามารถใช้ควบคุมเหาได้ดี แต่ควรใช้
ติดตอ่ กนั 2 คร้ัง ห่างกัน 2 อาทิตย์ เพ่อื ฆา่ ตวั ออ่ นของเหาที่เพิง่ จะออกจากไข่

 โรคข้เี รอื น

สาเหตุ ไรขี้เร้ือนท่ีสาคัญของโคมี 2 ชนิดคือ ไรขี้เร้ือนขุมขน เกิดจากไรชนิดดี
โมเดกซ์ พบได้บ่อยในโคไรขี้เร้ือนชนดิ โคริออบติก เกิดจากไรชนดิ โคริออบเทส

อาการ ไรขี้เรือ้ นขุมขนมักเป็นแบบเฉพาะท่ี ขนจะหักหรือขนร่วงหลุดเป็นวงๆ
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2-5 เซนติเมตร เมื่ออยู่ใกล้ๆ จะเห็นเป็นรอยนูนคล้าย
เป็นตุ่มเล็ก ๆ ไรขี้เร้ือนชนิดโคริออบติก จะพบรอยโรคที่บริเวณโคนหาง รอบก้น หลัง

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 61

บทที่ 5 การปฏิบัติสาหรับการดูแลสุขภาพโคเน้ือ ผศ.ดร. ววิ ัฒน์ พฒั นาวงศ์

และเต้านม โดยอาจจะเกดิ ตุม่ พองหรอื รังแค หรอื รอยโรคทเี่ ป็นลักษณะของการระคาย
เคือง หนงั บรเิ วณนน้ั จะหยาบ ย่น สกปรก ขนร่วง

การรักษา ไรขี้เรื้อนแบบเฉพาะที่อาจไม่จาเป็นต้องรักษา เพราะโรคมักไม่
แพร่กระจาย แต่ถ้าโคเป็นทั่วตวั ควรจาหน่ายออก เพราะรักษายากมาก ยกเวน้ ในรายท่ี
เปน็ ไม่มาก อาจใช้ยาชาเฉพาะท่ีเชน่ ยากลุ่มออแกนโนฟอสเฟต หรืออะมทิ ราซ การรักษา
ไรข้ีเรื้อนชนิดไรขี้เรื้อนชนิดโคริออบติก ทาไดไ้ มย่ ากเนอ่ื งจากไรชนิดน้ี จะไม่ฝังตวั ลงไป
ในผิวหนัง การใช้ยาที่เป็นยาฆ่าเห็บและไรทุกชนิด ในขนาดท่ีแนะนาสามารถใช้ได้ แต่
ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมประหยัด ปลอดภัย และพิษตกค้าง ยาอื่น ๆ ที่ปลอดภัย
เช่น ปูนขาวผสมกามะถันในอัตราส่วนกามะถัน 2.5 กิโลกรัม ปูนขาว 1 กิโลกรัมน้า 20
ลติ ร ผสมให้เข้ากันตั้งท้ิงไว้ 24 ชั่วโมง และเติมน้าจนครบ 200 ลิตรใช้พ่นตัวโค หรือชุบ
ด้วยผ้าหรอื ฟองน้าเชด็ บริเวณที่เปน็ ทกุ 10 วนั

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 62

บทที่ 6
การจัดการดา้ นสวัสดิภาพสัตว์ระหว่างการขนส่ง

Best practice for the welfare of animals
during transรpศo. rt

ดร. ธนาพร บุญมี

สาขาสตั วศาสตร์ คณะเกษตรศาสตรแ์ ละทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวทิ ยาลัยพะเยา

บทท่ี 6 การจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ระหว่างการขนส่ง ดร.ธนพร บุญมี

6.1 การเตรยี มสัตว์กอ่ นการเดินทาง (Pre-transport selection of livestock)

6.1.1) หลักการ

(1) ปศุสัตว์ต้องได้รับการประเมินว่าเหมาะสมกับการเดินทางตามท่ีต้ังใจไว้ในทุก ๆ
การบรรทกุ โดยผูร้ บั ผิดชอบ

(2) สัตว์ใดก็ตามท่ีได้รบั การประเมินวา่ ไม่เหมาะสาหรบั การเดนิ ทางที่ต้ังใจไว้จะต้องถูก
ขนสง่ ภายใตค้ าแนะนาด้านสัตวแพทย์เทา่ นน้ั

(3) เจ้าของ หรือผู้จัดการต้องไม่คัดเลือกสัตว์ท่ีไม่เหมาะสมต่อการเดินทางไปกับรถ
ขนสง่

(4) ผู้รับผิดชอบต้องไม่บรรทุกและไม่อนุญาตให้มีการบรรทุกสัตว์ท่ีไม่เหมาะสาหรับ
การเดินทางท่ีต้ังใจไว้ยกเว้นในคาแนะนาดา้ นสัตวแพทย์

(5) หากสัตว์ได้รับการประเมินว่าไม่เหมาะสาหรับการเดินทางท่ีต้ังใจไว้ก่อนที่จะ
บรรทกุ ผูท้ ี่รับผดิ ชอบต้องจดั เตรยี มอยา่ งเหมาะสมสาหรบั การดแู ลรักษาหรือการทาลายสัตวอ์ ยา่ ง
มเี หตผุ ลตามหลกั มนษุ ยธรรม

6.1.2) การพกั สัตวก่อนการขนสง

(1) พักสตั วกอ่ นการขนสง ในกรณที ีส่ ตั วเกดิ ความเครียดสงู ขณะจบั หรอื รวบรวมสตั ว์
(2) บริเวณรวบรวม/พกั สตั วก่อนการขนสงควรมลี ักษณะ ดังนี้

 ควรจัดอาหารและน้าใหสัตวกินในชวงก่อนการเดินทาง หากพิจารณาแล
วเหน็ วาระยะเวลาที่ใชใน การเดนิ ทางนานเกนิ กวาระยะเวลาท่ีสัตวจะสามารถอด
อาหารได้ ยกเว้นสัตวบางชนดิ ท่ีไมจ่ าเปน็ ตองให อาหาร

 กรง ภาชนะบรรจุและพาหนะขนส่ง

- ออกแบบโดยคานึงถึงสวัสดิภาพสัตวและการใชงาน เหมาะสมกับ

ชนิด ขนาด นาหนกั และจานวนของสตั ว์เพ่อื ใหสตั วได้รบั ความปลอดภัยและ
เกดิ ความเครยี ดน้อยทส่ี ดุ

- มั่นคงแข็งแรงพอที่จะรองรับน้าหนักสัตว์ไม่มีโครงสร้างที่แหลมคม

พน้ื ไม่ล่นื กรณพี ื้นมี รูหรือช่อง ควรมผี ิวเรยี บ และไม่มีลักษณะทจี่ ะทาใหสตั ว
ไดร้ บั บาดเจ็บหรอื ทรมาน

ตารางที่ 6-1 แสดงจานวนทเี่ หมาะสมของการบรรทกุ สัตวต์ ามน้าหนกั ตัว (กก.)

ขนาดพ้นื ที่บรรทกุ จ้านวนตวั ที่บรรทกุ ตามนา้ หนักของสตั ว(์ กก.) น้าหนักรวม (กก.)

14x6 450 540 630 720 <2925
16x6 <3330
18x6 6554 <3780
22x6 7655 <4590
8765
10 8 7 6

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 64

บทท่ี 6 การจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ระหว่างการขนส่ง ดร.ธนพร บุญมี

ขนาดพื้นที่บรรทุก จ้านวนตวั ทบ่ี รรทุกตามนา้ หนักของสตั ว์(กก.) น้าหนักรวม (กก.)

24x6 450 540 630 720 <4995
26x6 <5400
30x6 11 9 8 7 <6255
34x6 12 10 9 8 <7065
20x7 14 12 10 9 <4860
24x7 16 13 11 10 <5850
28x7 11 9 8 7 <6795
32x7 13 11 9 8 <7785
15 13 11 9
17 14 12 11

6.2 การไล่ต้อนขึ้นรถ การเดินทาง และการขนถ่ายสัตว์ลง (Loading, transporting and
unloading livestock)

6.2.1) หลักการ

ผู้รับผิดชอบต้องจัดการปัจจัยต่าง ๆ ท่ีจาเป็นเช่น การให้อาหารและน้าก่อนการขนส่ง
การจดั หาอุปกรณ์ เครื่องอานวยความสะดวก เพื่อลดความเสี่ยงต่อสวัสดิภาพของปศสุ ัตว์ รวมถึง
ผูร้ ับผิดชอบต้องดาเนินการอย่างเหมาะสมเพ่ือลดผลกระทบของสภาพอากาศท่ีรุนแรงต่อสวัสดิ
ภาพของสตั วใ์ นระหวา่ งกระบวนการขนส่งอีกดว้ ย

รปู ที่ 6-1 แสดงทางลาดทเ่ี หมาะสมกอ่ การขนยา้ ยสัตวข์ ึ้นพาหนะขนสง่

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 65

บทท่ี 6 การจัดการด้านสวัสดิภาพสัตว์ระหว่างการขนส่ง ดร.ธนพร บุญมี

รูปท่ี 6-2 แสดงทางเดินสาหรับสตั ว์

รปู ท่ี 6-3 แสดงเคร่ืองกระต้นุ ไฟฟ้าเพอ่ื การบงั คับสตั ว์

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 66

บทท่ี 7
การฆา่ และการตดั แต่งโรคศข.ุน

ศ. (เช่ียวชาญพเิ ศษ) ดร. สญั ชยั จตุรสทิ ธา

ภาควชิ าสตั วศาสตร์และสตั วน์ ้า
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

บทที่ 7 การฆ่าและการตัดแต่งโคขุน ศ. (เชีย่ วชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตุรสทิ ธา

โค ที่นาเข้าโรงฆ่าสัตว์ในอดตี ส่วนใหญ่เป็นโคอายมุ ากกว่า 8 ปีขึ้นไป เป็นโคที่ถูกปลดจากงาน
แลว้ เพราะจุดประสงค์หลกั การเล้ยี งโคในอดีตเพื่อไว้ใชง้ าน เมื่อหมดประโยชน์จากแรงงานก็จะถูกนาเขา้ สู่
โรงฆ่าสตั ว์ ฉะน้ันโคเหลา่ นี้จึงมีนา้ หนกั ประมาณ 150-300 กิโลกรัม แต่ปัจจบุ ันมกี ารเลยี้ งโคมัน น้าหนักท่ี
ส่งเข้าโรงฆ่าสัตว์จึงสูงขึ้นเป็น 250-400 กิโลกรัม และบางส่วนเป็นโคขุน ซ่ึงมักเป็นโคลูกผสมกับพันธุ์
บราห์มัน ชาโรเลย์ แบล็คแองกัส หรือวากวิ นอกจากนย้ี ังมพี นั ธุ์ท่ีนักวชิ าการของไทยได้ปรับปรุงพฒั นาขึ้น
มา เชน่ พนั ธ์กุ าแพงแสน พนั ธ์ุตาก เปน็ ต้น สามารถขุนสง่ ตลาดท่ีมนี ้าหนกั ตัวสูงกว่า 550 กิโลกรมั ดงั น้ัน
จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมกี ารพัฒนาวงการการเลยี้ งโคเนอ้ื อย่างมาก ทีจ่ ะใหค้ ุณภาพเน้ือโคขนุ มมี าตรฐาน
เทยี บเทา่ ต่างประเทศ นบั ว่าเป็นการทดแทนการนาเขา้ จากตา่ งประเทศ อกี ท้งั ยงั สามารถสรา้ งอาชีพใหก้ บั
เกษตรกรไดอ้ กี ด้วย

รปู ท่ี 7-1 การตัดแต่งซาก

รูปที่ 7-2 แสดงการฆา่ โคแบบไทย

7.1 การตดั แต่งซากโคแบบไทย (Thai style carcass cutting in cattle)

การตดั แต่งซากสัตว์กระทาเพื่อการจาหนา่ ย และยงั สะดวกตอ่ การเก็บรักษา การบรรจุ การขนส่ง
การนาไปประกอบอาหาร หรือแปรรูปทาผลิตภัณฑ์ อีกท้ังช่วยทาให้เกิดความยุติธรรมระหว่างผู้ซ้ือและ
ผู้ขาย เพราะเนื้อส่วนที่มีคุณภาพดยี ่อมราคาแพงกว่าส่วนท่ีมีคุณภาพรองลงไป ซ่ึงการตัดแต่งซากจะแยก
สว่ นของเนอ้ื แต่ละคณุ ภาพออกไปให้ชดั เจน

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 68

บทท่ี 7 การฆ่าและการตัดแต่งโคขุน ศ. (เชี่ยวชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

การตัดแต่งจาเป็นต้องอาศัยความรู้ทางด้านกายวภิ าค (anatomy) และทักษะความชานาญเป็น
พเิ ศษ จงึ จะทาให้การตดั แต่งเป็นไปดว้ ยความรวดเร็ว และเกดิ การสญู เสียอันเน่อื งจากเศษเน้อื น้อยทีส่ ดุ

การตัดแต่งซากสัตว์แบบไทย เป็นวิธีการท่ีนิยมในแถบทวีปเอเชียและแอฟริกา เพราะวิธีน้ีเป็น
วิธีการเลาะแยกเอาส่วนของเน้ือแดง ไขมัน เศษเนื้อ เอ็นพังผืด และกระดูกออกจากกัน ซึ่งเป็นกรรมวธิ ีท่ี
ง่ายไมย่ งุ่ ยาก เหตผุ ลทม่ี กี ารตัดแตง่ แบบนี้ เพราะ

 นิสัยการบริโภค (habit eating) คนเอเชียจะกินข้าวเป็นอาหารหลัก และใช้เน้ือสัตว์เป็น
สว่ นประกอบอาหารร่วมกบั ผัก ธัญพชื ต่าง ๆ ดงั นนั้ จึงใช้เน้อื สตั วใ์ นปรมิ าณน้อยและหน่ั ออกเป็นช้นิ เลก็ ๆ
บาง ๆ ไม่คานึงถึงรสชาติ หรือรสเน้ือท่ีแท้จริง และความนุ่มของเน้ือสัตว์ แต่จะเน้นเครื่องปรุงจาพวก
เคร่ืองเทศเป็นหลกั

 ฐานะทางเศรษฐกิจ (economic status) คนไทยไม่นิยมการบริโภคเนื้อเป็นหลักเน่ืองจาก
เน้ือสัตว์มีราคาค่อนข้างแพง จึงหันไปบริโภคอาหารจากแป้ง เพราะราคาถูกกว่ามาก มีกลุ่มคนเพียง
เล็กน้อยทมี่ ีฐานะทางเศรษฐกิจดีสามารถบรโิ ภคเน้ือสตั ว์เปน็ หลกั ได้

 นิยมบรโิ ภคเนอื สด (fresh meat) ค่านยิ มการบริโภค ชอบเน้อื สตั วท์ ี่ผา่ นการฆ่ามาใหม่ๆ ไม่
นิยมบริโภคเนื้อแช่เย็นเพราะมีความเชื่อว่าเนื้อสดจะให้รสชาติดีกว่าเน้ือแช่เย็น และเนื้อแช่เย็นมักเป็น
เน้อื สัตว์ตายก่อนจะทาการฆา่ (แตจ่ ริง ๆ แลว้ ก็ไปซอื้ เนื้อมาเก็บไว้ในตเู้ ย็น)

 แรงงาน (labor) ค่าจ้างแรงงานในประเทศไทยถูก ไม่เหมือนต่างประเทศที่ค่าแรงแพงมาก
จงึ ต้องตัดเนื้อติดทั้งกระดูก แต่ในประเทศไทยสามารถเลาะแยกเอาส่วนตา่ ง ๆ ออกจากซากไดเ้ ปน็ เนื้อแดง
ไขมัน กระดกู เศษเนอ้ื เป็นต้น

1.1.1) การตัดแตง่ ซากโคแบบไทยทา้ โดยลูกเขียง ซึ่งมีขันตอนการตดั แตง่ ซาก ดังนี

(1) แยกเอาเนอ้ื สันในออก
(2) ตัดแยกขาหน้าออกจากลาตวั โดยเลาะตามรอยพับของขาหน้าออกจากซากแล้วจึง
เลาะเอาเนื้อส่วนต่าง ๆ ออกจากขาหน้า โดยค่อยๆ เซาะเอาเน้ือน่องออกจากกระดูก radius
ulna และกระดกู humerus และเนอ้ื แดงสว่ นอ่ืนออกจากกระดกู scapula จากนน้ั เลาะเอาเสือ
รอ้ งไหอ้ อก
(3) ตดั แยกขาหลงั ออกจากลาตัวตามแนวกระดกู lumbar vertebrae ข้อสุดท้ายและ
ปาดตามรอยพับของขาหลัง จากน้ันเซาะเอาเน้ือสะโพกออกจากกระดูก pelvis และกระดูก
femur จากน้นั เซาะเอาเนือ้ น่องออกจากกระดูก tibia fibula
(4) เซาะเนื้อสันนอกออกจากใต้กระดูกสันหลัง แล้วเลาะเอากระดูกซี่โครงออกทีละซี่
จนหมดแล้วตดั เนื้อใตซ้ ่โี ครงออก
(5) จากนัน้ ทาการตดั แตง่ เน้ือทไี่ ด้เป็น เนอื้ แดง เศษเนอ้ื เอน็ พงั ผืด และไขมัน

7.2 การฆ่าโคตามมาตรฐานสากล

ขั้นตอนการฆา่ โคตามมาตรฐานสากล มีดงั นี้

1.2.1 ) การอดอาหาร (fasting) ก่อนทาการฆ่าจะต้องกัก โคเป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยไม่ให้
อาหาร ให้แต่เพียงน้าสะอาดกินเท่าน้ัน เหตุผลการอดอาหารเพ่ือให้มีเศษอาหารคงค้างในระบบทางเดิน
อาหารน้อยทส่ี ุด เพราะอาจเกดิ การผิดพลาดขณะใช้มีดกรีดทอ้ งไปโดนลาไส้ทาให้มีเศษอาหารปะปนเปน็

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 69

บทที่ 7 การฆ่าและการตัดแต่งโคขุน ศ. (เชี่ยวชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

การเพ่ิมจานวนจุลนิ ทรีย์ทาให้เนอ้ื เสียได้ง่าย และนอกจากน้ีต้องการให้หลอดเลือดบีบตวั ใหม้ ากท่ีสุดเวลา
แทงคอเอาเลอื ดออกอีกด้วย

1.2.2) การท้าให้สลบ (stunning) นับว่าเป็นวิธีการฆ่าท่ีจะไม่ทรมานสัตว์และเป็นท่ียอมรับ
กันแบบสากล โดยใช้ปืนยิงเข้าบริเวณจุดเส้นทแยงมุมระหวา่ งเขากับตาตัดกัน เพราะจุดน้ีเป็นรอยตอ่ ของ
กะโหลกทจี่ ะทาให้เหล็กทะลวงเข้าไปไดง้ า่ ย จะทาใหโ้ คสลบแต่ยงั ไมต่ าย

1.2.3) เอาเลือดออก (bleeding) เม่ือโคสลบแล้ว ใช้โซ่คล้องขา ใช้รอกไฟฟ้ายกตัวให้ลอย
กลางอากาศ แล้วใช้มีดยาว 6 น้ิว ผ่าหนังบริเวณใต้เสือร้องไห้ แล้วจึงเสือกมีดเข้าอกให้ตัดเส้นเลือดแดง
ใหญ่ (carotid artery) และเสน้ เลอื ดดาใหญ่ (jugular vein) เลือดกจ็ ะพ่งุ ออกมา

1.2.4) การเลาะหนัง (skinning) หมายถึง การเลาะหนงั ออกจากตวั สัตว์ดว้ ยเครื่องลอกหนัง
หรือใช้มีดเริ่มเลาะหนังจากแขง้ หน้าเลาะเร่ือยไปโดยเลาะเขา้ หาอก จากนั้นเปิดหนังแนวกลางทอ้ งไปจรด
ขาหลังท้ัง 2 ท่เี ลาะผ่านบริเวณทวารหนกั เลาะไปจนหมดท้ังตวั คลา้ ย ๆ กบั การถอดเส้ือ

1.2.5) การตัดแข้ง (shanking) ใช้มีดคม ๆ เซาะรอยต่อกระดูกขาหน้าบริเวณเข่า ซ่ึงเป็น
กระดูกขอ้ ตอ่ บริเวณเขา่ (break joint) กอ่ นที่จะหกั ออกมา ส่วนแขง้ หลังท้ัง 2 ก็ทาเชน่ กนั

1.2.6) การตัดหัว (heading) หลังจากเลาะหนงั หมดทั้งตัวแล้วจึงใช้มีดคม ๆ ปาดกล้ามเน้อื
บริเวณศีรษะให้รอบ แล้วใช้มีดเซาะรอยต่อกระดูกคอข้อแรก (atlas joint) แล้วใช้มือบิด ก็จะได้หัวหลุด
ออกจากลาตัว

1.2.7) การผา่ กระดูกอก (breast bone) ใช้เลอื่ ยคม ๆ เล่อื ยกระดูก sternum ท่บี ริเวณอก

1.2.8) การผ่ากระดูกเชิงกราน (aitch bone) ใช้เลื่อยตัดกระดูกเชิงกราน แต่ถ้าสัตว์อายุ
นอ้ ยสามารถใชม้ ดี คม ๆ ตดั ตามแนวกระดกู ออ่ นของ pubis symphysis ได้

1.2.9) การเอาอวัยวะภายในออก (evisceration) ใช้มีดกรีดกลางท้องแนวใต้กระดูกเชิง
กรานถึงอก แลว้ ดงึ เอาอวัยวะภายในออก คงเหลือไตและมนั หุม้ ไตติดกับตวั ซาก และล้างให้สะอาด

1.2.10) การผ่าเป็น 2 ซีก (splitting) เลื่อยแนวกระดูกสันหลังกลางลาตัว ให้ซากแบ่งออก
จากกนั เปน็ 2 ซกี เท่า ๆ กนั แล้วฉดี นา้ ทาความสะอาด ขูดเอาไขกระดกู สนั หลังออก ตัดแตง่ เน้อื รุ่งร่ิง และ
เศษจุดเลือดใหเ้ รยี บรอ้ ย

1.2.11) การห่อผ้า (shrouds) ใช้ผ้าขาวห่อหุ้มซากให้ตึงและแน่นติดซาก โดยผ้าควรแช่น้า
ร้อนมาใหม่ ๆ การห่อผ้าเพื่อเป็นการซับเศษเลือด ทาให้ซากดูสวย สะอาด ไขมันหุ้มซากสีขาวเด่นชัดข้นึ
พร้อมท้งั ป้องกันจุลินทรีย์ท่จี ะเขา้ ซากไดอ้ ีกด้วย

1.2.12) การแช่เยน็ (chilling) นาซากที่หอ่ หุม้ ผา้ ขาวเอาแช่หอ้ งเยน็ ท่อี ณุ หภมู ิ 3°C เปน็ เวลา
24 ช่ัวโมง กอ่ นจะไดท้ าการตดั แตง่ ซากตอ่ ไป

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 70

บทที่ 7 การฆ่าและการตัดแต่งโคขุน ศ. (เช่ียวชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชยั จตุรสิทธา

เส้นเลือดดา
เสน้ เลือดแดง

ตาแหน่งท่ีเชือด

รปู ท่ี 7-3 แสดงตาแหนง่ ในการแทงคอเอาเลือดออก

7.3 การตดั แตง่ ซากโคแบบสากล

การตัดแต่งซากโคแบบสากลจะถือแบบของ National Livestock and Meat Board ซึ่งจะทา
การตัดแต่งซากหลังจากแช่เย็นที่ 3°C เป็นเวลา 24 ช่ัวโมง โดยก่อนตัดแต่งซากจะต้องมีการจดบันทึก
น้าหนักซากเย็น เพ่ือคานวณหาสัดส่วนของช้นิ ส่วนเป็นเปอร์เซ็นต์ต่อน้าหนักซากเย็น แล้วนาซากจากราง
เหนอื ศีรษะวางลงบนโตะ๊ ตัดแตง่ ซึ่งมขี ้นั ตอนการตัดแต่ง

• การตัดแตง่ ชินส่วนใหญ่ (wholesale cuts or primal cuts) ทาได้ ดงั น้ี

1) การตดั หน่งึ ในส่ี (Quartering) ซากโคซีกหน่งึ ๆ แบ่งได้ 2 ส่วนใหญ่ คอื เสยี้ วหนา้
(fore quarter) และเสี้ยวหลงั (hind quarter) โดยตดั ผา่ ระหวา่ งซ่ีโครงท่ี 12 และ 13 ส่วนหน้า
ตัดของกล้ามเนอ้ื สนั นอก (Longissimus dorsi) ใชเ้ ป็นข้อมูลในการวดั พนื้ ท่ีหนา้ ตัดเนื้อสนั (loin
eye area) ท่ีบ่งชี้ถึงปริมาณกล้ามเน้ือจากซากโค นอกจากน้ียังใช้ดูปริมาณระดับไขมันแทรก
(marbling) ระดับสีของเนือ้ (color) และความหนาของไขมันหมุ้ ซาก (fat thickness) อกี ดว้ ย

2) การตัดแต่งซากเสียวหน้า (fore quarter) ชิ้นส่วนนี้จะมีน้าหนักน้อยกว่าเส้ียว
หลังจงึ ควรรบี ตดั และบรรจุห่อเก็บในหอ้ งเย็น แบง่ ออกเป็น 5 ส่วน คือ

(1) ไหล่ (chuck) จัดเป็นชิ้นส่วนที่มีปริมาณมากท่ีสุดของซาก การตัดแยก
กระทาไดโ้ ดยการตดั แยกระหว่างซ่โี ครงซ่ีท่ี 5 และ 6 จากนนั้ ตดั ส่วนของไหลอ่ อกโดยตัด
ตามรอยพับของขาหน้าให้ขนานกับลาตัว ซึ่งส่วนน้ีจะพบกระดูกหลักคือ scapula และ
humerus กล้ามเน้ือท่ไี ดม้ ขี นาดเล็ก

(2) ยอดอก (brisket) ได้จากการใช้มีดตัดเซาะตามแนวของขาหน้าออกไป
ช้ินส่วนนี้จัดเปน็ เนื้อทมี่ ีไขมันคุณภาพสูงคือ มันแข็ง และเหลือง ประกอบไปด้วยกระดกู
ซีโ่ ครง (rib) 5 ชิ้น และกระดูกอก (sternum) เน้อื ชิน้ นีม้ ีชอ่ื พ้ืนบ้านว่า เสอื รอ้ งไห้

(3) ขาหน้า (fore shank) เป็นส่วนที่ติดกับยอดอก ซึ่งเซาะตามแนวขาหน้า
ประกอบไปด้วยกระดกู radius ulna เนอ้ื ทีไ่ ด้กค็ อื เนอ้ื น่อง มเี อน็ มาก

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 71

บทท่ี 7 การฆ่าและการตัดแต่งโคขุน ศ. (เชย่ี วชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

(4) สันหลัง (rib) จดั เปน็ ชิ้นส่วนท่ีให้เนอ้ื คุณภาพสูง คอื เน้ือสันนอก ซงึ่ สามารถ
ตดั ไดโ้ ดยใช้เลอื่ ยตัดใหห้ า่ งจากกระดูกสนั หลงั ประมาณ 6 น้วิ ดังน้นั จึงมีกระดกู ซีโ่ ครงติด
กับหางเนอื้ สันประมาณ 1-2 นิ้ว เลื่อยให้ขนานกับแนวกระดูกสันหลัง ช้ินสว่ นน้ีมกี ระดูก
ซีโ่ ครงซที่ ่ี 6 ถงึ 12

(5) พื้นอก (plate) เป็นส่วนท่ีตัดแยกจากสันหลัง และกระดูกซี่โครง แต่มี
กระดกู อก (breast bone) ติดมาด้วย เนือ้ สว่ นนมี้ ีมนั สงู และเปน็ กลา้ มเนอ้ื รวมกบั ไขมัน

3) การตัดแต่งซากเสียวหลัง (hind quarter) ชิ้นส่วนนี้มีน้าหนักสูง และให้เน้ือที่มี
คุณภาพสงู กวา่ เสีย้ วหน้า แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 สว่ น คือ

(1) ไขมันหุม้ ไต (kidney knob) เปน็ ไขมนั ในชอ่ งทอ้ ง เชิงกรานรวมท้งั ที่ห่อหุ้ม
ไต เปน็ ไขมนั ที่มีปริมาณมาก ใช้เป็นตวั บง่ ช้ีคุณภาพซากได้

(2) พื้นท้อง (flank) ตัดโดยการใช้มีดปาดข้างขาสะโพกแล้วขนานไปกับแนว
กระดูกสันหลงั จนจรดกับกระดูกซโี่ ครงซท่ี ่ี 13 จากนัน้ ใช้เล่อื ยตดั ส่วนนป้ี ระกอบไปดว้ ย
กล้ามเน้อื เป็นแผน่ บาง ๆ และมีปริมาณไขมนั ค่อนข้างสงู

(3) สันสะเอว (short loin) ตัดแยกโดยใช้เลื่อยตัดกระดูกเอว (lumbar
vertebrae) ข้อสดุ ทา้ ย ซ่งึ ส่วนน้ปี ระกอบด้วยเนอื้ คณุ ภาพสงู 2 ส่วนคอื กลา้ มเนือ้ สนั ใน
และกลา้ มเนือ้ สันนอก

(4) สันสะโพก (sir loin) แยกได้โดยใช้เล่ือยตัดห่างจากกระดูก aitch bone 1
นิ้ว ตัดในแนวต้ังฉากกับขาสะโพก จะได้เน้ือคุณภาพสูงรองลงมาจากเนื้อส่วนของสัน
สะเอว

(5) ขาสะโพก (round) เปน็ กลา้ มเนอื้ ทม่ี ขี นาดมดั ใหญ่ คุณภาพดี ให้สว่ นท่ีเป็น
เน้อื แดงมากท่ีสุด กระดกู ท่ีพบคอื femur, tibia fibula และ pelvic bone

4) การตัดแต่งซากโคแบบสากล จะได้ส่วนประกอบท่ีมีเนื้อแดง 4 ส่วนใหญ่ (Four

primal cuts) คือ

ไหล่ (chuck) นา้ หนักประมาณ 26% ของน้าหนักซาก

ขาสะโพก (round) น้าหนักประมาณ 23% ของนา้ หนกั ซาก

สนั สะเอว-สันสะโพก (loin) นา้ หนกั ประมาณ 17% ของน้าหนักซาก

สนั หลงั (rib) น้าหนักประมาณ 9% ของนา้ หนกั ซาก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 72

บทที่ 8
การแปรรูปเนอ้ื รสศตั . ว์

ศ. (เชย่ี วชาญพิเศษ) ดร. สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

ภาควชิ าสัตวศาสตร์และสัตว์น้า
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

บทท่ี 8 การแปรรูปเนื้อสัตว์ ศ. (เชี่ยวชาญพเิ ศษ) ดร.สัญชยั จตรุ สิทธา

8.1 การแปรรูปเนอื้ สตั ว์ (Meat processing)

การแปรรูปเนอื้ สตั ว์มีวัตถุประสงค์ ลกั คือ

1) เพ่ือยืดอายุการเกบ็ รกั ษา และผลิตเปน็ ผลติ ภณั ฑ์เนือ้ สตั ว์ โดยการเติมสารชะลอการเนา่ เสีย
2) เพื่อเพ่ิมมูลค่าของเนื้อสัตว์ โดยกระบวนการแปรสภาพจากเน้ือสดไปเป็นเนื้อที่พร้อมจะ
บริโภคได้

เนอื้ แปรรปู (processed meat) หมายถึง เนื้อท่ีมีคณุ สมบตั เิ ดิมของเน้ือสดไดถ้ ูกแปรเปลี่ยนไป
โดยการใช้วิธีการใดวิธีหน่ึง หรือหลาย ๆ วิธีร่วมกัน ได้แก่ การบด การสับละเอียด (chopping) การเติม
สารเพิ่มรส (seasoning) การแปลงสี และการใช้ความร้อน เป็นต้น เน้ือแปรรูปสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 2
กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ผลิตภัณฑ์ลดขนาด (comminuted products) และผลิตภัณฑ์ขนาดเดิม (non-
comminuted products) (Danner and Stoll, 1993; Pearson and Gillett, 1999)

8.2 การเลอื กเนอื้ สัตว์ทเี่ หมาะในการทา้ ผลิตภณั ฑ์ (Selection of suitable meat for processing)

เนื้อท่ดี ี เหมาะแกก่ ารนาไปทาผลิตภณั ฑ์ คอื เนอื้ ปกติ (normal meat) เพราะมคี วามสามารถใน
การอุ้มน้าสูง (water holding capacity) ทาให้ผลิตภัณฑ์มีโครงสร้างแน่น ความชุ่มฉ่าสูง และน่า
รับประทาน

สาหรับเนอื้ คลา้ แห้ง และแข็ง (DFD) สามารถอุ้มนา้ ไดด้ ีกว่าเนอ้ื ปกติ เมื่อวัด pH ที่ 24 ชวั่ โมงจะ
มคี า่ สูง คือประมาณ 6.2 ซึ่งปกตหิ ลังฆ่าใหม่เนอ้ื จะมี pH ประมาณ 7.2 แต่เน้ือชนดิ นจ้ี ะทาให้ได้ผลติ ภณั ฑ์
ท่ีมอี ายุการเก็บรักษาส้นั เพราะมปี รมิ าณจลุ นิ ทรีย์สูง

ส่วนเน้ือซีด เหลว และไม่คงรูป (PSE) ไม่เหมาะท่ีจะนาเน้ือมาเป็นวัตถุดิบทาผลิตภัณฑ์ เพราะ
เนอ้ื PSE ไมอ่ ุ้มน้า ผลติ ภัณฑจ์ ะแห้ง รว่ น ไมน่ า่ รบั ประทาน

8.3 เครื่องปรงุ แต่งรส (seasoning)

8.3.1 ) เกลือปน่ (salt) ทาหน้าที่เปน็ ส่วนผสมทใ่ี หร้ สเค็ม เปน็ สารกนั เสยี ในผลิตภัณฑ์
เน้อื ช่วยยืดอายุการเกบ็ รกั ษา เป็นตัวลดความชน้ื หรือช่วยลดค่า water activity ของผลติ ภัณฑ์
ลง โดยเกลอื จะรวมตัวกับนา้ ทาให้จลุ ินทรยี ์ไมส่ ามารถใช้ประโยชนจ์ ากนา้ นัน้ ได้ นอกจากน้ียังทา
หน้าท่ลี ะลายโปรตีนจากเน้อื สตั ว์อกี ดวย

8.3.2 ) น้าตาล (sugar) ทาหน้าท่ีเป็นสารให้ความหวาน ยืดอายุการเก็บรักษา และ
ช่วยลดค่า water activity ของผลิตภัณฑ์

8.3.3 ) ไนไตรท์ (nitrite) และไนเตรท (nitrate) มีชื่อทางการค้าว่า ผงเพรก (preg)
เป็นส่วนผสมที่ใช้แพร่หลายมาประมาณ 30 ปี ทางานรวดเร็วกว่าดินประสิวหลายเท่า และ
ปลอดภัยเสมอเม่อื ใช้ในอตั ราส่วนท่แี นะนา

หนา้ ทขี่ องเกลือไนไตรท์ คือ ทาใหไ้ สก้ รอก และแฮม มีสชี มพูอมแดงโดยธรรมชาตแิ ละมี
ความคงตัว ถนอมให้ไส้กรอก และแฮม มีคุณภาพทนนาน ป้องกันการเจริญของจุลินทรีย์
โดยเฉพาะจลุ นิ ทรยี ์พวก Clostridium นอกจากนย้ี ังทาใหร้ สชาติดี

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 74

บทที่ 8 การแปรรูปเนื้อสัตว์ ศ. (เชย่ี วชาญพเิ ศษ) ดร.สัญชยั จตรุ สิทธา

อตั ราส่วนทใี่ ช้
- 250-375 กรัมต่อเน้อื ทาไสก้ รอก 100 กโิ ลกรัม
- 375 กรัมตอ่ เบคอน 100 กิโลกรัม
- 2-3 กโิ ลกรมั ตอ่ น้าท่ใี ช้ทานา้ เกลือ 100 ลติ ร

สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดปริมาณ
การใช้ของไนเตรท (NO2-) < 125 ppm และไนไตรท์ (NO3-) < 500 ppm แต่ถ้าใช้ท้ัง ชนิด
ร่วมกัน ไม่เกิน 125 ppm นอกจากน้ียังสามารถใช้เกลือแกง (NaCl) 99.4 เปอร์เซ็นต์ ผสมกับ
โซเดียมไนไตรท์ (NaNO2) 0.6 เปอร์เซ็นต์ เพื่อใช้ในการ แปรรูปเนื้อสัตว์ จะทาให้ผลิตภัณฑ์ท่ี
ผา่ นการแปรรูป เชน่ ตม้ อบ มคี วามปลอดภยั มากข้ึน เพราะสามารถช่วยลดปริมาณไนไตรท์ (ไม่
แนะนาให้ใชด้ ินประสิว)

8.3.4 ) ฟอสเฟต (phosphate) สาหรบั ถนอมเนอ้ื ในการทาแฮมและเบคอน คุณสมบตั สิ าคัญ

1) ทาให้โมเลกุลของเน้ือประสานกันเหมือนตาข่าย กันไม่ให้เลือดและน้าเกลือซึมออก
จากแฮมและเบคอน

2) ไม่มีการสูญเสียนา้ หนกั เมื่อใหค้ วามร้อน (cooking process) เพราะลดปฏกิ ิรยิ าการ
หดตัวของเนอ้ื หลงั ต้ม

3) เมื่อเลือดและน้าไม่ไหลออกจากเน้ือ แฮมและเบคอนจึงมีรสชาติอร่อย นอกจากนี้
แฮมและเบคอนจะมีรสชาตินุ่มนวล ไมแ่ ห้งจนเกนิ ไปและห่นั เนอื้ ได้ง่าย

อตั ราส่วนทใ่ี ช้ : 3.6 กโิ ลกรมั ตอ่ น้าเกลือ 100 ลติ ร

8.3.5 ) อีริโธรเบท (erythrobate, isoascobate) หรือ วติ ามินซี (vitamin C) ใช้
ในรูป โซเดียมแอสคอร์เบท (sodium ascorbate) และโซเดียมอีริทอร์เบท (sodium
erythorbate) โดยทาหนา้ ที่ช่วยเร่งให้เกดิ สีในปฏิกริ ยิ าการบ่มเนื้อ เรง่ ใหเ้ กิดความคงตวั ของสีใน
ผลิตภัณฑ์หมักนา้ เกลือ (cured meat) ช่วยลดปริมาณไนไตรทใ์ นเกลือของเนอื้ ที่ไดจ้ ากการหมัก
เกลอื ไมก่ อ่ ให้เกดิ มะเร็ง ช่วยชะลอการเจริญของจลุ นิ ทรียเ์ ปน็ สารถนอมอาหาร (preservative)

8.3.6 ) โปรตีนเสรมิ (protein supplement) เปน็ โปรตนี ทส่ี กดั จากถว่ั เหลอื งบรสิ ทุ ธ์ิ
โปรตีนจากนม โปรตีนไข่ขาว โปรตีนจากพลาสมา หรือไขกระดูก คุณสมบัติและหน้าท่ีสาคัญมี
ดงั นี้

1) เพ่ิมโปรตนี ใหแ้ ก่ผลผลติ เพราะมโี ปรตีนสงู ถงึ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์
2) เนอ่ื งจากการใชโ้ ปรตีนเป็นส่ือสาคัญ สามารถผสมเนอ้ื แดง มัน เน้อื หรอื มัน
หมู และน้า ให้เป็นเนื้อเดียวกัน เม่ือบดละเอียดในกระทะตัดเน้ือ (chopper) ซ่ึงเป็น
จดุ สาคญั ทสี่ ดุ ท่จี ะไม่ทาใหไ้ ขมนั แยกตวั ออกจากแป้ง
3) ทาหนา้ ท่ใี หไ้ สก้ รอกตงึ กรอบดีกวา่ แป้งหลายเท่า
4) เม่ือเทียบกิโลกรัมต่อกิโลกรัม ถึงแม้ราคาแพงกว่าแป้งแต่โปรตีนเสริม
สามารถดูดซึมน้าได้ถึง 4 เท่าตัว เมื่อคิดราคาเฉลี่ยของผลผลิตแล้วกาไรจะมากกวา่ การ
ใช้แป้ง อกี ทัง้ ไสก้ รอก จะไมม่ กี ล่ินแปง้
อัตราสว่ นทใ่ี ช้ - 3 กโิ ลกรมั ตอ่ เนอื้ ทาไส้กรอก 100 กโิ ลกรัม

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 75

บทท่ี 8 การแปรรูปเน้ือสัตว์ ศ. (เช่ยี วชาญพเิ ศษ) ดร.สัญชยั จตุรสิทธา

8.3.7 ) ผงชูรส (monosodium glutamate, MSG) หรือเวจามีน เป็นผงชูรสเน้ือ
หมู และไก่ ชนดิ เข้มข้น ใชแ้ ทนซอสปรุงรสได้ แตเ่ ข้มขน้ กวา่ ซอสปรุงรส 3 เทา่ ตัว เวจามีนควรใช้
แตน่ อ้ ย ไม่ควรใสจ่ นกลิน่ จดั เกินไป

อตั ราสว่ นที่ใช้ - 150-200 กรมั ต่อไส้กรอก 100 กิโลกรมั
- 300 กรมั ต่อนา้ เกลือ 10 ลิตร

8.3.8 ) คาราจีแนน (carageenan) เป็นสารสกัดจากสาหร่าย เป็นแป้งหลายพันธะ
(polysaccharide) ทาหนา้ ที่อมุ้ น้าเกลอื ที่ดีจงึ นิยมใชก้ บั การผลติ แฮม

8.3.9 ) เจลาติน (gelatin) เป็นโปรตีนที่เกิดจากการไฮโดรไลซ์ของคอลลาเจนของ
หนงั เอน็ พงั ผืดของสัตว์ เจลาตินทาหนา้ ทีเ่ ชอื่ มตอ่ ชิ้นเนอ้ื ให้ติดกนั ผลิตภัณฑ์นี้ได้แก่ หมูต้งั เปน็
ต้น

8.3.10) สารกันบูด (sodium benzoate) เป็นสารที่ใช้เพื่อถนอมผลิตภณั ฑ์ โดยจะ
ทาหนา้ ท่ียบั ยง้ั การเจริญของระดับการใช้ 0.1 % ของผลติ ภณั ฑ์

8.3.11) เคร่ืองเทศ (spice) ใช้เป็นสารให้กลิ่นรส อีกท้ังยังชูรสอีกด้วย เคร่ืองเทศ
เหล่าน้ี ทาใหผ้ ลติ ภัณฑม์ ีรสชาติถกู ปากผู้บริโภค เคร่อื งเทศแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ

1) เครอื่ งเทศบด ซ่งึ รวมท้งั บดหยาบ และละเอียด ได้จากพืช แล้วนามาทาแหง้
จากน้ันบด เช่น พริกไทย (pepper) พริก (chilli) กระเทียม (garlic) หอม (onion)
ตะไคร้ (lemon grass) สะระแหน่ (mint) โหระพา (basil) เป็นต้น

2) สารระเหย คือเคร่ืองเทศท่ีผ่านกระบวนการกลั่น เพ่ือสกัดเอากลิ่น
เครื่องเทศ วิธีน้ีสามารถควบคุมปริมาณที่แนน่ อน อีกท้ังยังป้องกันการเกิดผลข้างเคียงท่ี
อาจเกิดกับการใช้เครื่องเทศบด เช่น สี การปลอมปน เช้ือรา เปน็ ต้น

8.3.12) ควนั (smoke) แบง่ ตามแหล่งกาเนิดควันได้ 2 ประเภท

1) แหลง่ ธรรมชาติ ใชข้ เี้ ลอื่ ยของไมเ้ น้ือแขง็ ซงั ขา้ วโพด กากชานอ้อย
2) ควนั สงั เคราะห์ สกัดจากควันธรรมชาติ และเตมิ สารจบั ควนั ดังนี้

- ควนั ผง ใช้แป้งจับ
- ควันน้าใช้แอลกอฮอล์เป็นตัวทาละลาย วิธีใช้จะทาที่ผิว และรมควัน
ผา่ นไอนา้

8.3.13) ไสบรรจุ (casing) การทาผลิตภัณฑ์ไส้กรอกชนิดต่าง ๆ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ลด
ขนาดจนกระทั่งเหลวและเหนยี วข้นเปน็ เน้ือเดียวกัน จาเป็นตอ้ งการสิ่งบรรจุทีจ่ ะสามารถรองรับ
เน้ือผสมเข้าไปอัดภายใน และได้รูปแบบตามที่ต้องการ ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
ดังน้ี

• ไส้แท้ (natural casing) ได้จากไส้หมู ไส้แกะ ไส้วัว และกระเพาะ มีขนาด
ไม่แน่นอน และไม่สม่าเสมอ มีรูเล็ก ๆ กระจายอยู่ท่ัว ฉีดขาดง่าย เก็บรักษายาก ราคา
แพง แตร่ สชาติดี

• ไส้เทียม (artificial casing) แบง่ ได้ 2 ชนดิ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 76

บทที่ 8 การแปรรูปเน้ือสัตว์ ศ. (เช่ยี วชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

- ไส้เทียมท่ีรับประทานได้ (edible artificial casing) ทา
จากหนังสัตว์ ต้มกับด่าง แล้วไปทาปฏิกิริยากับกรด เกิดการพองตัว และ
เหลวข้น ผา่ นเขา้ แม่แบบ ทาใหแ้ หง้

- ไส้เทียมที่รับประทานไม่ได้ (inedible artificial casing)
ทาจากเซลลูโลสจากพืชคอลลาเจน และพลาสติก มีความแข็งแรงทนทาน
และมีทุกขนาด

8.4 ไสกรอก (Sausage)

หมายถึง เนื้อและไขมันท่ีผสมกับน้า เคร่ืองเทศ เกลือ และเคร่ืองปรุงรสต่าง ๆ ที่ผ่านการบดจน
เปน็ เนือ้ เดียวกันนามาบรรจุในไส้ หรือแมแ่ บบ (mold) ความแตกตา่ งของไสก้ รอกข้ึนกับชนิดของเน้ือสัตว์
เคร่อื งเทศ ไสบ้ รรจุ และวธิ กี ารทา โดยท่ัว ๆ ไป ไส้กรอกแบง่ ได้ 5 ชนดิ คอื

1) ไส้กรอกสด (fresh sausage) หมายถึง ไส้กรอกที่ทาจากเน้ือสุกร ผสมด้วยเคร่ืองเทศบด
บรรจุลงในไส้ มัดเป็นท่อน ๆ เก็บไว้ในตู้เย็น เวลาจะรับประทาน ต้องทาให้สุกเสียก่อน ด้วยการ ย่าง ป้ิง
อบ หรือทอด เชน่ Bratwurst, Bockwurst ไสก้ รอกอีสาน และไสอ้ ัว่ เปน็ ตน้

2) ไสก้ รอกแหง้ (dry sausage) หมายถึง ไส้กรอกทีผ่ า่ นกระบวนการผลติ มเี ทคนิคในการทาให้
แหง้ โดยการดึงน้าออก สามารถเกบ็ รักษาได้นาน เช่น Thuringer และกนุ เชียง เป็นตน้

3) ไส้กรอกหมักแห้ง (fermented dry sausage) หมายถึง ไส้กรอกท่ีต้องหมักให้มีรสเปรี้ยว
ก่อนทาใหแ้ ห้ง เกบ็ รกั ษาได้นาน เนอื่ งจากแห้ง มีความชื้นตา่ เช่น Salami, Pepperoni และมั่ม เป็นต้น

4) ไสก้ รอกรมควนั (smoked sausage) หมายถงึ ไส้กรอกท่ีผา่ นการหมกั มกี ารรมควนั ใหก้ บั ไส้
กรอก (รปู ที่ 8-7) เช่น Metwurst, Vienna, Frankfurter และ Bologna เป็นตน้

5) ไส้กรอกสุก (cooked sausage) หมายถึง ไส้กรอกที่ผ่านกระบวนการผลิต ต้องทาให้สุก
พรอ้ มทจ่ี ะรบั ประทานได้ทนั ที เชน่ Liver sausage และ Blutwurst เป็นตน้

8.4.1 ) ข้นั ตอนการทา้ ไสกรอก (Step in sausage processing)

การทาไสก้ รอกโดยทั่วไปน้ัน สว่ นผสมของเน้ือ ไขมนั รวมทั้งเครื่องปรุงรส ต้องผ่านการ
บดสบั ละเอียดจนอย่ใู นสภาพอิมัลชนั ทาใหเ้ ปน็ เน้ือเดยี วกัน สามารถบรรจุในไส้ได้ ขัน้ ตอนการทา
ไสก้ รอกมี ดงั นี้

1) การเลือกเน้ือสัตว์ที่เหมาะในการทาผลิตภัณฑ์เป็นเน้ือปกติ ส่วนเนื้อ PSE ไม่เหมาะ
ทีจ่ ะนามาเป็นวัตถดุ บิ เนื้อทาผลติ ภัณฑ์น้ี

2) เครอื่ งปรงุ รสต่าง ๆ
3) การบดเนื้อ เน้ือท่ีจะใช้ทาไส้กรอกต้องผ่านการลดขนาดโดยการหั่น และบดผ่าน
ตะแกรงทมี่ ีขนาดตา่ ง ๆ กัน แตถ่ ้าต้องการใหล้ ะเอยี ดมาก ตอ้ งใชต้ ะแกรงขนาด 8 มิลลิเมตร
4) การสับละเอียด (chopper) เปน็ กระบวนการทาอิมัลชนั จาเปน็ ต้องมกี ารเติมนา้ แขง็
ลงไป เพ่ือลดอณุ หภมู ิจากการสบั ละเอียด และเปน็ การเพ่มิ นา้ ลงไปอกี ดว้ ย
5) การบรรจลุ งในไส้
6) การทาให้สกุ เชน่ การตม้ และรมควัน
7) การหบี ห่อและบรรจุ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 77

บทที่ 8 การแปรรูปเน้ือสัตว์ ศ. (เชยี่ วชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชัย จตรุ สทิ ธา

8.5 ตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์เนอื้ และวธิ ที ้า (Some meat products and instruction)

8.5.1) การท้าไสกรอก

เน้อื ววั บด 60%
เน้อื หมบู ด 10%
มันหมู (แขง็ ) บด 30%
โปรตนี ถ่ัวเหลอื ง หรอื โพรแมกซ์ 3%
เครือ่ งเทศ เชน่ เวยี นนา, พริกไทย, กระเทียม ฯลฯ 0.5-1.0%
เกลอื ป่น 2%
เกลอื ไนไตรท์ 0.375%
ฟอสเฟต 0.3-0.5%
เวจามนี 0.5%
เอนดูรทิ 685 (ไม่จาเป็น) 2%
น้าแขง็ บด 40%
รกี ัลเบส 2567 0.5-1.0%

• ขอควรระวงั
เน้ือหมู เน้ือวัว และมันหมูจะต้องเย็นจัด 5 °C (ประมาณ 40 °F) เมื่อเทใส่
กระทะตีเนือ้ ถึงแม้ในขณะทบ่ี ดก็ควรรักษาอณุ หภูมิให้เยน็ เสมอ และใบมีดของกระทะตี
เนือ้ จะต้องคมมากเช่นกัน ถึงจะได้ไส้กรอกที่ดี

• วธิ ีท้า
เทเน้อื วัว และหมลู งในกระทะตเี น้อื เป็นอันดับแรก แลว้ ใสน่ า้ แข็งเพยี งคร่ึงหนึ่ง
ของที่เตรียมไว้ เดินเครื่องพร้อมกับใส่ผงเพรก ฟอสเฟต เวจามีน เอนดูริท เกลือ
เครอื่ งเทศ รอสกั ครู่จึงใส่โปรตนี ถวั่ เหลือง หรือโพรแมกซ์ เม่อื เดินเครือ่ งได้ 5 นาที ใหใ้ ส่
นา้ แขง็ ล้วนที่เหลอื ตามดว้ ยมันหมูบด แลว้ เปิดเคร่อื งต่ออกี 2-3 นาที ควรใชเ้ วลาทั้งหมด
ไม่เกิน 10-12 นาที เม่ือเสร็จแล้ว ต้องสังเกตว่าอุณหภูมิของเน้ือท่ีตีแล้ว ไม่ควรเกิน 13
°C ถ้าเกินกว่าน้ีแสดงว่าแช่เนื้อมาไม่เย็นพอ และ/หรือ กระทะตีเนื้อไม่มีประสิทธิภาพ
เพียงพอจะทาให้ไส้กรอกจบั ตวั กัน ไมเ่ ด้งกรอบ และเกบ็ ไดไ้ มน่ าน

• วธิ ีการอัดไสกรอก
ควรอัดไส้กรอกในขณะท่ีเนื้อยังเย็น เมื่ออัดและผูกเป็นข้อ ๆ เรียบร้อยแล้ว
แขวนผึ่งเอาไว้ประมาณ 1 ช่ัวโมง กอ่ นเขา้ เตาอบรมควนั

• วิธีการอบรมควัน
เปิดเตาอบให้มีอุณหภูมิภายใน 50 °C (ประมาณ 122 °F) แล้วแขวนไส้กรอก
เข้าเตาให้เป็นระเบียบ ระวังอย่าให้ผิวของไส้กรอกสัมผัสกัน อบอุณหภูมิน้ีเป็นเวลา 30
นาทโี ดยไม่ตอ้ งรมควนั
ในช่วงเวลาต่อจากนี้ให้รมควันได้โดยใช้แกลบ หรือชานอ้อยแห้งจุดให้มีควัน
พร้อมกับเร่งไฟให้ความร้อนในเตาสูงข้ึนถงึ 80 °C (ประมาณ 176 °F) ใช้เวลาทั้งหมด 1

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 78

บทท่ี 8 การแปรรูปเน้ือสัตว์ ศ. (เช่ยี วชาญพเิ ศษ) ดร.สัญชยั จตุรสทิ ธา

ชั่วโมง หรือจนกว่าไส้กรอกสุก 80% โดยสังเกตได้ง่าย ๆ คือ ใช้น้ิวบีบดู ถ้ายังรู้สึกน่ิม
หรอื เละอยู่ ก็แสดงว่ายงั ไม่สุก แตถ่ า้ บีบดูแล้วรู้สกึ แข็ง ตึงดี ก็แสดงว่าสุกแลว้ รีบนาออก
จากเตา แล้วแช่ลงในน้าร้อนจัด 87 °C เป็นเวลา 5 นาที แล้วล้างด้วยน้าเย็นธรรมดา
ทนั ทีจนผิวสะอาด ผง่ึ จนแหง้ ก็นาออกจาหน่าย หรอื บรรจซุ องได้

8.5.2) การทา้ เนือ้ แดดเดียว

• สูตรส้าหรบั เนอื้ วัวคร่ึงกโิ ลกรมั

เนื้อวัว นา้ ปลา 1 ชอ้ นโตะ๊

นา้ มนั หอย 2 ช้อนโต๊ะ นา้ ตาลทราย 1 ช้อนชา

งาขาว 2 ชอ้ นโต๊ะ กระเทียมสับ 2-3 กลบี

รากผักชีบบุ 5 ราก พรกิ ไทยเมด็ ประมาณ 1 ชอ้ นชา

• วิธีทา้

(1) ล้างเนื้อวัวให้สะอาด หั่นเป็นช้ิน ๆ ไม่ต้องช้ินเล็กมาก กะให้พอดี ๆ ไม่หนา

ไปหรอื บางเกนิ ไป ซับน้าให้แห้ง

(2) รากผักชี พริกไทยและกระเทยี ม เอามาโขลกรวมกัน ใส่ลงไปคลุกกบั เนือ้

(3) เตมิ น้าปลา น้ามนั หอย นา้ ตาลและงาขาว และนวดให้ส่วนผสมเขา้ เน้อื

(4) ถึงเวลานาไปตากแดด ใช้เวลา 4-5 ชั่วโมง หากแดดแรงจัดก็สัก 3 ชั่วโมง

กลบั ด้านให้โดนแดดทง่ั สองด้าน เมื่อเนอ้ื แหง้ ดีแล้วกน็ ามาทาอาหารได้

8.5.3) การท้าลูกชน้ิ เนอ้ื

• ส่วนผสม
เน้ือบด แบบไรม้ นั (แช่เยน็ จัด) ประมาณ 450 กรมั
นา้ เย็นจัด 1/2 ถว้ ย
นา้ ปลา 1 ชอ้ นโต๊ะ
น้าตาลทราย 1/2 ชอ้ นโตะ๊
เกลอื ปน่ 1 ชอ้ นชา
แป้งข้าวโพด 2 ชอ้ นโต๊ะ
พรกิ ไทยขาวป่นละเอยี ด 1 ชอ้ นโตะ๊
น้ามนั พชื 1/2 ชอ้ นโต๊ะ
ผงแอกคอด (Accord Powder)

*ผงแอกคอดจะช่วยใหลูกช้ินเนียนและเดงเหมือนลูกช้ินท่ัวไป ถาไม่ใส่ลูกช้ินจะ
เหมอื นเนอ้ื บดท่ไี วใสใ่ นสปาเกตตี้ และถาไม่มีสามารถใชผงฟแู ทนได

**หมายเหตุ: เนอ้ื บดท่นี ามาใชต้ อ้ งแช่เย็นจัดเพอ่ื ทาให้ลูกชิ้นมเี นอ้ื เดง้

• ข้นั ตอนการท้า
(1) ผสมนา้ เย็นจัดกับนา้ ปลา นา้ ตาลทราย เกลือป่น แป้งขา้ วโพด พริกไทยขาว

ปน่ ละเอยี ด นา้ มนั พชื และผงแอกคอด คนผสมใหเ้ ขา้ กัน เตรียมไว้

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 79

บทท่ี 8 การแปรรูปเนื้อสัตว์ ศ. (เชย่ี วชาญพเิ ศษ) ดร.สญั ชยั จตรุ สิทธา

(2) ใสเ่ นอื้ บดแช่เย็นจัดลงในเครอ่ื งปนั่ อาหาร แล้วคอ่ ย ๆ เทสว่ นผสมของเหลว
เม่ือครู่ลงไป ปั่นจนเน้อื เนียนละเอยี ดเปน็ เน้อื เดยี วกัน

เคล็ดลับ: เนื้อบดและส่วนผสมท้ังหมดที่นามาใช้ต้องแช่เย็นจัดจะทาให้ลูกชิ้นเด้ง
และเนือ้ บดตอ้ งไม่ติดมนั เพราะจะทาให้ลูกชิ้นแตกและแยกตัว

(3) ตักเนื้อบดใส่ภาชนะ ปิดด้วยพลาสติกถนอมอาหาร นาเข้าแช่แข็งประมาณ
20 นาที เพื่อให้ส่วนผสมเย็นจดั อีกครั้ง (เพราะหลังจากท่ีนาเนื้อไปบดในเครื่องจะทาให้
ส่วนผสมอุ่นลง)

(4) ต้มน้าในหม้อจนร้อนจัดแต่ไม่เดือด (ถ้าน้าเดือดจะข้ึนมาถูกผิวลูกช้ินทาให้
ลกู ช้ินไม่เรียบเนียน)

รูปท่ี 8-1 การบีบเนอ้ื บดเปน็ ลูกกลม
(5) ตักสว่ นผสมใสม่ ือแลว้ มือบบี เป็นลกู ลม ๆ (บบี ขึ้นมาใหผ้ ่านระหว่างนว้ิ ชแี้ ละ
นิ้วโป้ง) จากน้นั ใชช้ อ้ นตกั ใส่ลงตม้ ในหม้อ

รูปท่ี 8-2 การตม้ ลกู ช้ิน
(6) ตม้ จนลูกชน้ิ ลอยขึ้น ตักใสล่ งในน้าเยน็ จดั พรอ้ มรับประทานค่กู ับนา้ จิม้

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 80

บทที่ 8 การแปรรูปเนื้อสัตว์ ศ. (เชยี่ วชาญพเิ ศษ) ดร.สัญชัย จตรุ สทิ ธา
8.5.4) การท้ามม่ั เนอื้

รูปท่ี 8-3 มม่ั เนือ้

• สว่ นผสมทใ่ี ชทา้

เนอื้ ววั บด 1 กิโลกรัม ตับวัวบด 300 กรัม
กระทยี มซอย 5 ช้อนโต๊ะ เกลือปน่ 3 ½ ชอ้ นโตะ๊
ตะไครซ้ อย 3 ช้อนโตะ๊ ขา้ วเหนยี วนึง่ สุก ½ ถ้วย
ไส้หมู 2 กโิ ลกรมั เครอ่ื งเคียง- ขิงออ่ น พริกขห้ี นูสด
กระเทยี มแกะเป็นกลีบ

• ขั้นตอนการท้า
(1) โขลกเกลือ กระเทียม ตะไครจ้ นละเอยี ด
(2) เคล้าเนอื้ บด ตับบดและข้าวเหนยี วนึ่ง นวดจนผสมคลุกเคล้าให้เข้ากนั

• วธิ ที ้าเตรียมไสหมสู า้ หรบั บรรจุไส

(1) บรรจุสว่ นผสมในไสห้ มปู ลายผูกด้านหนง่ึ
(2) ใชเ้ ขม็ จิ้มลมออกบรรจุใหแ้ นน่ พอควร จนหมดสว่ นผสม
(3) มกั ปลายอีกดา้ นหนึง่ ตากแดด 3 วนั จนแหง้ เปน็ สีนา้ ตาลเข็ม
(4) นามาแขวนที่รม
(5) เก็บไว้ได้นาน 3-7 วันมีรสออกเปรียวเค็มปานกลาง (เวลารับประทาน
ปรงุ สกุ ด้วยการทอด หรอื ปิง้ ยา่ ง ทานร่วมกับขงิ พริกขห้ี นูสวน หรอื กระเทยี ม)

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 81

บทท่ี 9
การทาบ่อแกส๊ ชีวรภศา.พ

ดร. นริ าภรณ์ ชยั วงั

สาขาเทคโนโลยแี ละพัฒนาการเกษตร
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

บทที่ 9 การทาบ่อแก๊สชีวภาพ ดร.นิราภรณ์ ชัยวัง

9.1 บอ่ หมักกา๊ ซชีวภาพแบบถงุ PVC

สาหรับฟาร์มเล้ียงสัตว์ขนาดเล็กและขนาดย่อย รูปร่างมีลักษณะทรงกระบอกวางแนวนอนทา
จาก PVC มปี รมิ าตรประมาณ 8 ลบ.ม. กาลงั ผลติ ก๊าซชีวภาพประมาณ 2 ลบ.ม/วนั

รูปท่ี 9-1 บอ่ หมกั กา๊ ซชีวภาพแบบถงุ PVC ราคา บาท)

ตารางท่ี 9-1 วสั ดุอุปกรณใ์ นการทาบอ่ หมกั ก๊าซชีวภาพแบบถุง PVC 900

ชนดิ 280
100
1. ท่อพลาสติกพวี ีซี ความหนา 0.25 มลิ ลิเมตร กว้าง 1.8 เมตร ยาว 6 เมตร 20
จานวน 3 ผนื
2. ท่อพีวซี ีเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 4 นว้ิ ยาว 1.2 เมตร จานวน 2 อัน -
3. กาวอีแวป๊ 1/2 กระปอ๋ ง พรอ้ มแปรง -
4. เกลียวนอก-ใน พวี ซี ี 3/4-1 นวิ้ จานวน 1 ชดุ
5. ยางในรถจักรยานยนตเ์ กา่ 500
6. แผน่ พลาสติกแข็ง ขนาด 3 นิ้ว 2 แผ่น (กระป๋องน้ามันเครือ่ งเก่า)
7. ทอ่ พีอี หรือทอ่ พวี ีซี ขอ้ ต่อ ขนาด 3/4-1 นว้ิ จานวนข้ึนกลับความยาวของท่อสง่ 10
ก๊าซทีต่ อ้ งการ (20 ม.) -
8. สามทางพีวซี ี 3/4 -1 นิว้ จานวน 1 อัน 40-100
9. ขวดรองรบั ไอนา้ 1 ใบ (ขวดนา้ ด่มื ทใ่ี ชแ้ ลว้ ) 600-800
10. วาล์วทองเหลอื ง 4 หุน หรือบอลวาล์ว จานวน 1 อัน 100
11. หัวกา๊ ซ 1 หวั 110-200
12. สายสง่ กา๊ ซความยาว 2 เมตร 100-200
13. ปนู ซเี มนต์ 1 ถุง พร้อมทราย
14. วงบอ่ ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 50-80 ซม.

9.1.1) วัสดุอุปกรณ์และราคา สาหรับทาบอ่ หมกั ขนาด 7-8 ลูกบาศก์เมตร รวมต้นทุน
ในการสรา้ ง 2,550 - 2,750 บาท ไมร่ วมค่าจา้ งในการขดุ หลุม

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 83

บทท่ี 9 การทาบ่อแก๊สชีวภาพ ดร.นิราภรณ์ ชัยวัง

9.1.2) ขน้ั ตอนเตรยี มอปุ กรณ์ในการทาแกส๊ ชวี ภาพ

1) ถุงหมักแกส๊ ชีวภาพพลาสติกพวี ีซีหนา 0.25 มิลลิเมตร กว้าง 1.8 เมตร ยาว
ประมาณ 6 เมตร 3 ผืน ทาด้วยกาวพีวีซีอแี ว๊ปต่อกันเป็นทรงกระบอก เจาะรูใส่ท่อแกส๊
ออก 1 ถงึ 2 จุด มดั ปลายถุงใหแ้ นน่ ดว้ ยยางในรถจักรยานยนตห์ รือรถยนต์ กบั ทอ่ พีวซี ี 4
นิ้ว ยาว 1 เมตร ทงั้ 2 ดา้ น

2) ท่อส่งแกส๊ พีอีขนาด 6 หนุ ยาวประมาณ 15 เมตร 1 เสน้
3) ชดุ ดกั ไอน้า วาลว์ นิรภัยขวดน้าพลาสตกิ ขนาด 0.6 ลติ ร ท่อพีอี ขนาด 6 หนุ
ขอ้ ตอ่ 3 ทาง 1 อนั
4) ชดุ วนแกส๊ ทอ่ พวี ซี ี ขนาด 4 หุน ข้องอ 4 หุน สามทาง 4 หุน วาล์วน้าพีวีซี 4
หนุ 2 ตัว นาอปุ กรณท์ งั้ หมดทากาวประกอบกนั เปน็ ชุดวนแก๊ส
5) หวั แก๊สเป็นหวั 2 ชัน้ วงในและวงนอก

9.1.3) ขัน้ ตอนและวธิ กี ารติดตั้ง

1) การเตรยี มบ่อ (สำหรับรองรับถงุ หมกั แกส๊ ) ขุดให้ส่วนของก้นหลุมมลี ักษณะ
เป็นรูปตัวยู (U shape) ขนาดของบ่อดินมีความกว้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร ลึก 1 เมตร
มีปริมาตร รวม 7.8 ลูกบาศก์เมตร แยกเป็นส่วนของเหลว 5.9 ลูกบาศก์เมตร ก๊าซ 1.7
ลูกบาศก์เมตร สามารถผลิตก๊าซชีวภาพต่อวันได้ประมาณ 35% ของของเหลว หรือ
เทา่ กับ 2 ลกู บาศก์เมตร ซ่งึ เพยี งพอตอ่ การนาก๊าซจานวนนี้ ไปใช้กบั เตาหุงต้มสาหรับใช้
ทาอาหารในครัวเรอื นไดพ้ อดี (ใชก้ ๊าซ 0.15 ลูกบาศก์เมตรต่อช่วั โมง)

รปู ท่ี 9-2 การเตรียมบ่อสาหรับรองรบั ถงุ หมกั แก๊ส

2) การเตรยี มและตดิ ต้งั ถุงหมัก
(2.1) คลี่ถุงหมักแก๊สออกแล้วใช้ถุงพลาสติกปิดปากท่อส่งแก๊สและทอ่ พวี ีซี

4 นิ้ว หนึ่งด้าน ข้อควรระวังในขั้นตอนน้ีคือ ควรวางแผ่นพลาสติกบนพ้ืนราบ ไม่มีกรวด
หินหรือทราย เพราะจะทาให้พลาสตกิ มรี อยขีดขว่ นหรือรวั่ ได้

(2.2) เป่าลมเขา้ ถุงให้พองขน้ึ (ใชเ้ ครื่องเป่าลมหรือควนั เสียรถยนต)์ แลว้ ปิด
ทอ่ ด้วยพลาสติก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 84

บทท่ี 9 การทาบ่อแก๊สชีวภาพ ดร.นิราภรณ์ ชัยวัง

(2.3) ยกถุงลงในหลุมทเ่ี ตรยี มไว้ โดยให้ท่อสง่ แก๊สอย่สู ่วนบนสดุ เสมอ
(2.4) การจัดท่อล้น (เป็นอันดับแรก) จัดให้ท่อเอยี งประมาณ 45 องศา วาง
ปลายท่อด้านบน ให้อยู่ในระดับผิวดินหรือสูงกว่าเล็กน้อย ตอกหลักยึดแล้วตรึงให้แน่น
ดว้ ยคอนกรีต (ปนู ซีเมนต์+ทราย)

3) การจัดท่อเติม จัดท่อให้เอียงทามุมมากขึ้นหรือเกือบต้ังตรง (ไม่ต้องดึงข้ึน)
วางปลายท่อสว่ นบนใหส้ งู กว่าปลายทอ่ ลน้ 10-15 ซ.ม. แล้วตอกหลักยึดใหแ้ น่น นาวงบอ่
ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 60-100 ซม. มาวางครอบปลายท่อเติมด้านบน เทและฉาบพ้นื วง
บ่อด้วยคอนกรีตให้ได้รูปแบบท่ีสะดวกและง่ายในการเติมมูล โบกปูนทับส่วนท่ีพันด้วย
ยางในรถจักรยานยนตใ์ หแ้ นน่ หนาทั้งสองด้าน

รูปที่ 9-3 การเตรียมและติดตง้ั ถงุ หมัก

รปู ท่ี 9-4 การจัดท่อเตมิ

4) การเติมน้าเขา้ ถงุ หมกั

(4.1) เติมน้าด้วยสายยางทางท่อส่งแกส๊ หรือท่อล้นกไ็ ด้ (ข้ึนอยู่กับขนาดท่อ
น้าทีใ่ ช)้ )

(4.2) เติมให้นา้ ท่วมปลายทอ่ ทอ่ี ยใู่ นถงุ หมกั ทงั้ สองดา้ นเล็กนอ้ ย
(4.3) เมื่อถุงพองลมและตึงมากข้ึน (น้าเข้าแทนที่อากาศในถุง) ให้เปิดและ
ปิดปากท่อเพ่อื ระบายลมออกเปน็ ระยะ ๆ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 85

บทท่ี 9 การทาบ่อแก๊สชีวภาพ ดร.นิราภรณ์ ชัยวัง

(4.4) กรีด/ตัดพลาสติกที่ปิดปลายท่อออกทุกด้าน เม่ือน้าได้ระดับตามท่ี
ต้องการแล้ว

5) การติดต้งั ทอ่ สง่ ชดุ กับดกั น้า และหวั แก๊ส
(5.1) การเดินสายส่งแก๊สไม่ควรไกลเกินไป และอย่าให้หย่อนหรือตกท้อง

ช้าง
(5.2) ติดตั้งชุดดักน้าในจุดท่ีท่อแก๊สตกท้องช้าง (ถ้ามี) ป้องกันน้าอุดตันท่อ

แก๊ส ปกตกิ า๊ ซชวี ภาพท่ผี ลติ ไดจ้ ะมีความชื้นสูง เมื่อก๊าซไหลผ่านท่อส่งท่ีมอี ุณหภูมิต่า จะ
ทาให้ความชน้ื ในก๊าซกลน่ั ตัวเป็นหยดนา้ และจะสะสมจนทางเดินของท่อส่งก๊าซอุดตัน

(5.3) เตมิ นา้ ในชุดดกั น้าให้ท่วมปลายทอ่ ภายใน 1-2 ซม. เสมอ
(5.4) ประกอบชดุ วนแก๊สกับหวั แกส๊ แลว้ จัดวางในจดุ ทมี่ คี วามสะดวกและใช้
งานงา่ ย

9.1.4) การเก็บและจัดการกากจากบ่อแก๊ส

- กากจะเริ่มล้นหลังเติมมูลในสภาพของเหลวเข้มข้นประมาณ 1เดือน ความถี่
3-4 วัน/ครัง้

- ในกากมไี นโตรเจน 1.35% ฟอสฟอรัส 0.76% และโปแตสเซียม 0.55% มคี ่า
เปน็ ด่างเล็กน้อย pH 7. 52

9.1.5) ข้อแนะนาและขอ้ ควรระวังในการดแู ลรกั ษาระบบ

กรณีมีรูรั่วให้ทากาวอีแว๊ปและปะปิดรูร่ัวด้วยพลาสติก PVC เมื่อติดตั้งระบบ
เรียบร้อยแล้ว เปิดวาล์วท่ีหัวแก๊สให้ลมในถุงหมักแกส๊ ออกให้หมด ปิดหัวแกส๊ แลว้ จงึ เตมิ
มลู สตั วต์ ามคาแนะนา จะทาให้ใชแ้ กส๊ ไดเ้ ร็วขึ้น

9.1.6) ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั

1) ลดค่าใช้แก๊สหงุ ต้มในครวั เรือนได้เดือนละประมาณ 300-500 บาท
2) ไดป้ ุ๋ยอินทรยี ห์ ลังการหมกั ใชแ้ ทนปุ๋ยเคมสี าหรับเพาะปลกู ในครัวเรอื น
3) ลดผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม เช่น กล่ิน แหล่งเพาะเชื้อโรคแมลงวัน และ
ช่วยลดภาวะโรคร้อน

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 86

บทท่ี 9 การทาบ่อแก๊สชีวภาพ ดร.นิราภรณ์ ชัยวัง

กับดักน้า

รปู ท่ี 9-5 การใชง้ าน และการจัดการดแู ลระบบ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 87

บทท่ี 10

ตลาดและโลจิสตกิ สเ์ นรื้อศ.โค

Beef Market and Logistics

ศ. (เชยี่ วชาญพเิ ศษ) ดร. สัญชัย จตรุ สิทธา

ภาควชิ าสัตวศาสตร์และสตั วน์ า้
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

บทที่ 10 ตลาดและโลจิสติกส์เน้ือโค ศ. (เช่ียวชาญพิเศษ) ดร. สัญชัย จตุรสิทธา

10.1 การแบง่ กลมุ่ ตลาดโคเนอ้ื ตามคณุ ภาพ

การแบ่งกลุ่มตลาดตามคุณภาพของเนื้อโค โดยจะจัดแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ตามลักษณะคุณภาพ
เนื้อ ดังน้ี

10.1.1) ตลาดสดหรอื ตลาดเนอ้ื เขียง

ตลาดน้ีหมายถึงเนื้อโคที่วางจำหน่ายท่ีเขียงตามตลาดสดทั่วไป ซึ่งเน้ือโคเหลานี้มี
ลักษณะเสนเนื้อหยาบ สีแดงเข้มและไขมันสีเหลืองหุ้มพอประมาณ สวนไขมันแทรกน้ันไม่มีเลย
ในดานความเหนียวนุมนนั้ ไดก้ ลา่ วไว้วา่ เปน็ เนอ้ื ที่เหนยี ว

สาหรับเนื้อโคที่ใชทาลูกชิ้นน้นั ตองการเนือ้ แดงลวน ๆ ที่ไม่มีไขมัน ท้ังนี้เพราะจะทาให
ลูกชน้ิ เกาะตวั กนั แน่น

รูปท่ี 10-1 เนือ้ โคท่ีมีขายทวั่ ไปในตลาดสด หรือตลาดเน้อื เขยี ง

10.1.2) ตลาดห้างสรรพสินคา รา้ นอาหารและโรงแรมระดับทั่วไป
เนือ้ โคท่ีเขามาวางจาหน่ายในห้างสรรพสินคานั้นจะผ่านการตัดแต่งเปน็ ชนิ้ สวนยอ่ ยแลว

บรรจุถาดโฟมสีขาวหอดวยกระดาษใส พีวีซีติดสต๊ิกเกอรบอกชื่อห้างสรรพสินคา ชื่อชิ้นสวน
ขนาด น้าหนักและราคาไว้ เรียบรอ้ ย โดยวางขายในตูเยน็ ที่

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 89

บทท่ี 10 ตลาดและโลจิสติกส์เน้ือโค ศ. (เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร. สัญชัย จตุรสิทธา

รปู ท่ี 10-2 เนอื้ โคเกรดการค้า (commercial grade) ที่มขี ายท่ัวไปในหา้ งสรรพสินค้า

10.1.3) ตลาดห้างสรรพสินคา รา้ นอาหารและโรงแรมระดบั ห้าดาว

ตลาดระดับน้ีกล่าวได้ว่า มีความพิถีพิถันและเจาะลกึ อย่างมีความรูในเร่ืองของเนื้อโคท่ี
จะนามาบริการลูกคา ดังนั้นจึงมีการวางรายละเอียดเง่ือนไข (specification) ที่ค่อนข้างจะเป็น
มาตรฐานสากลโดยมีการระบุ ขอ้ ความท่เี ขมงวดในด้านแหล่งที่มาของสตั ว วธิ กี ารฆา แปรสภาพ
การแชเยน็ การตัดแต่งตลอดจนมาตรฐานของบคุ ลากรและโรงงานทีด่ าเนนิ การ จงึ ทาใหมีผจู้ ดั ส่ง
สินคาเน้ือโคไมก่ ่ีรายในประเทศ ทั้งน้ี เพราะตองมกี ารลงทุนสูง

10.2 การวิเคราะหต์ ้นทนุ อาหารและการผลติ โคเนื้อคุณภาพสูง

ตน้ ทนุ ในการผลิตโคเน้อื คุณภาพสงู สว่ นใหญเ่ ปน็ อาหารท่ีใชเ้ ล้ยี งโคเนอ้ื ทัง้ ในสว่ นของอาหารข้น
และอาหารหยาบ

ตวั อย่างคา่ ใชจ้ า่ ย

คา่ ใช้จา่ ยหมุนเวยี นในการเลยี้ งแมโ่ คเน้ือเฉลยี่ 5,600 บาท/ตัว/ปี

1. ค่าอาหารขน้ 0.5 กก. x 10 บ. x 360 วัน = 1,800 บาท/ตวั /ปี

2. ค่าอาหารหยาบ 18 กก. x 0.5 บ. x 360 วนั = 3,240 บาท/ตัว/ปี

3. คา่ เวชภัณฑ์ (ยารกั ษาโรค ยาถา่ ยพยาธิ) = 100 บาท/ตวั /ปี

4. คา่ ผสมเทียม = 100 บาท/ตัว/ปี

5. คา่ ใช้จา่ ยอืน่ ๆ (นา้ ไฟฟา้ เสื่อมราคาคอก) = 360 บาท/ตวั /ปี

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 90

บทท่ี 10 ตลาดและโลจิสติกส์เนื้อโค ศ. (เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร. สัญชัย จตุรสิทธา

คา่ ใชจ้ ่ายหมุนเวยี นในการเลี้ยงลกู โคเฉลี่ย 3,340 บาท/ตัว/ปี

1. ค่าอาหารข้น 0.3 กก. x 10 บ. x 360 วัน = 1,080 บาท/ตัว/ปี

2. คา่ อาหารหยาบ 10 กก. x 0.5 บ. x 360 วัน = 1,800 บาท/ตวั /ปี

3. คา่ เวชภณั ฑ์ (ยารักษาโรค ยาถ่ายพยาธ)ิ = 100 บาท/ตวั /ปี

4. ค่าใชจ้ ่ายอนื่ ๆ (น้า ไฟฟา้ เสื่อมราคาคอก) = 360 บาท/ตัว/ปี

ตารางที่ 10-1 ต้นทุนในการเล้ียงโคขุน ในกรณีที่ซ้ือโคเน้ือน้าหนัก 350 กิโลกรัม มาขุนเป็นเวลา 10
เดือน

รายการ กก. บาท ผลตอบแทนการ
ลงทุน

ขายโดยนา้ หนกั เป็น (กก.ละ 105-110 บาท) 650 71,500 43.28
377 79,170 58.65
ขายโดยนา้ หนักซาก (กก. ซากละ 210-230 บาท)
เปอร์เซ็นตซ์ าก 58% ของนา้ หนกั มชี ีวติ

ตารางที่ 10-2 ราคาขายและผลตอบแทนการลงทุนของการเล้ียงโคขุน

รายการ กก. บาท ผลตอบแทนการ
ลงทนุ
ขายโดยน้าหนกั เปน็ (กก.ละ 105-110 บาท) 650 71,500 43.28
377 79,170
ขายโดยน้าหนักซาก (กก. ซากละ 210-230 บาท) 58.65
เปอร์เซ็นต์ซาก 58% ของนา้ หนักมีชีวิต

สาหรับราคาขายของโคขุนนั้นแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1. ประเมินโดยสายตา และทาการ ตก
ลงกันระหว่างผ้ซู อ้ื และผู้ขาย 2. ขายโดยใชน้ ้าหนกั เปน็ โดยผูช้ ้อื และผูข้ ายจะตกลงราคากนั เองโดยมีราคา
กลางทไี่ ดจ้ ากตลาดซื้อขายวัว และ 3. ขายโดยคดิ จากน้าหนักซาก

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 91

บทที่ 10 ตลาดและโลจิสติกส์เน้ือโค ศ. (เชี่ยวชาญพิเศษ) ดร. สัญชัย จตุรสิทธา

ตารางที่ 10-3 ต้นทนุ ในการผลิตโคตน้ นา้

รายการ โคแม่ รวม โคเล็ก อายุ รวม
พนั ธ์ุ (ต่อป)ี นอ้ ยกวา่ (ต่อปี)
คา่ อาหารขน้ 5,040
อาหารหยาบ บาท/เดือน/ตวั 840 10,080 1 ปี 1,200
ค่ายา วคั ซีน บาท/เดอื น/ตวั 200
ค่าเสอื่ มแม่พันธุ์* บาท/เดอื น/ตัว 25 420 300
ค่าผสมพนั ธ์(ุ 300 บาท/ครงั้ ) 5,000
ตัว 2,400 100
11,540
300 25

5,000

บาท/คร้ัง 600 600

3,345

ต้นทุนต่อตัวของลูกโคเมื่อขายที่อายุ 14,885 บาท
1 ปี
ราคาต่อตัว (180 กก. ราคากก.ละ 135 24,300
บาท) 9,415 บาท
63.25 %
กา้ ไร

ผลตอบแทนการลงทุน

สาหรับต้นทนุ ในการผลติ โคตน้ นา้ จะประกอบดว้ ยคา่ ใชจ้ ่ายในสว่ นของแมพ่ นั ธแ์ุ ละของลกู โค ซึง่
ประเดน็ สาคัญทีจ่ ะทาใหเ้ กษตรกรประสบความสาเรจ็ คือ การท่ีเกษตรกรสามารถผลิตลูกไดป้ ลี ะ 1 ตัว ให้
ได้ เพราะเม่ือการใหล้ กู ของโคชา้ ออกไปจะเป็นการเปลอื งต้นทุนค่าอาหารมากขน้ึ นน่ั เอง จากตารางพบวา่
ผลตอบแทนการลงทุนของกลุ่มโคต้นน้าจะสูงกว่ากลุ่มที่เล้ียงโคขุน แต่เกษตรกรต้องให้เวลาในการลงทนุ
นานกวา่ กลุ่มเลี้ยงขนุ และต้องใชเ้ ทคโนโลยรี วมถึงการดูแลเอาใจใสม่ ากกวา่ กลุม่ ผู้เล้ียงโคขุน

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 92


Click to View FlipBook Version