The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warinchamrapchalermrajkumari, 2021-02-20 09:55:54

โค

โค

คู่มือ การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อ
จากการจัดการองค์ความรู้ และเทคโนโลยี

Increasing Beef Production Potential from
Knowledge Management and Technology
Handbook

ศ. (เช่ยี วชาญพเิ ศษ) ดร. สัญชยั จตรุ สิทธา
บรรณาธิการ

คำนำ

การเลี้ยงโคเนื้อเป็นอาชีพทางการเกษตรที่ส่าคัญอีกอาชีพหนึ่งที่สามารถสร้างมูลค่าไม่ต่ากว่า 6.5
หมื่นล้านบาทต่อปี ท้ังน้ี เพราะความต้องการบริโภคเนื้อสตั วเ์ พ่ิมข้ึน อย่างไรก็ตามการเลย้ี งโคเนือ้ ในเขตจงั หวัด
ภาคเหนือ กลับไม่เป็นกิจกรรมหลักทางการเกษตรที่ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงเมื่อเปรียบเทียบการการ
ผลิตไมผ้ ล หรอื ขา้ ว การเล้ียงโคเนื้อในพ้นื ทีจ่ ึงเป็นกิจกรรมที่ขยายตวั อย่างช้า ๆ เนอ่ื งจากเกิดอุปสรรคทางด้าน
พื้นท่ีในการปลูกพืชอาหารสัตว์ แหล่งวัตถุดิบอาหารที่มีอยู่ค่อนข้างจ่ากัด จ่านวนโคที่เป็นแม่พื้นฐานเหลืออยู่
น้อย และตัวเกษตรกรขาดความรู้ในดา้ นการจัดการเลี้ยงดโู คเนื้ออยา่ งเปน็ ระบบฟาร์ม ท่าให้ผลผลิตเน้อื ทีไ่ ด้มี
คณุ ภาพคอ่ นข้างต่า ผลตอบแทนจึงค่อนข้างน้อย อกี ท้ังยงั ขาดการเชือ่ มโยงระหว่างหนว่ ยการผลิตแตล่ ะหน่วย
ท่าใหย้ ากตอ่ การควบคุมคณุ ภาพและวางแผนการผลิต ดังนน้ั จากองคค์ วามร้ทู ่ีมีอยมู่ ากในสถาบนั เพื่อการศึกษา
และการวิจัย เช่น มหาวิทยาลัยต่าง ๆ และส่านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ก็นับว่าเป็นอีกแนวทางการ
แก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ข้นึ ในภำคกำรผลิตโคเนือ้ คุณภำพสงู ในเขตภำคเหนือได้เพื่อลดกำรนำเข้ำจำกตำ่ งประเทศ
องค์ความรู้ท่ีจ่าเป็นต่อการพัฒนาการยกระดับการผลิตเน้ือคุณภาพสูงอย่างครบวงจรต้องเร่ิมต้นต้ังแต่การ
จัดการโคตน้ น้า่ หรือหน่วยทผี่ ลิตโคเพอ่ื นา่ มาขุน ทีต่ อ้ งวางแผนการผลติ ลกู โคออกมาไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องและอยู่ใน
ช่วงเวลาเดียวกันเพ่ือเพ่ิมปริมาณการผลิต และสะดวกในการจัดการ เน่ืองจำกต้นทุนกำรผลิตโคเนื้อ
คณุ ภำพสงู มำจำกพนั ธุ์โคท่ีสงู ถงึ 50% รวมทัง้ องค์ความรู้ด้านการจัดการดา้ นอาหารสตั ว์ แปลงหญ้า โรงผสม
อาหารสัตว์ก็นับว่าเป็นอีกองค์ความรู้ที่มีความส่าคัญ เน่ืองจากรายจ่ายค่าอาหารมีผลต่อต้นทุนในการผลิตโค
เน้ือ อีกท้ังในเขตภาคเหนือท่ีมีส่งิ เหลือทางการเกษตร เช่น ต้นและเปลอื กข้าวโพด อยู่ค่อนข้างมาก หากมีการ
จัดการเพ่ือเพิ่มคุณคา่ ทางอาหารและแปรรูปเป็นอาหารสัตว์ ก็นับว่าเป็นอีกวิธีในการลดต้นทุนการผลติ อีกทั้ง
ยังเป็นการแก้ปัญหาหมอกควันในเขตภาคเหนือได้อีกด้วย และเพ่ือให้การผลิตโคเน้ือคุณภาพสูงประสบ
ความส่าเร็จ เกษตรต้องมีความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ นับว่าเป็นศาสตร์ใหม่ ท่ีมี
ความส่าคัญในการท่าให้เนื้อโคกลายเป็นเนื้อโคคุณภาพสูง โดยเกี่ยวข้องกับการเพ่ิมมูลค่าเนื้อโคโดยการเพ่ิม
ปริมาณไขมันแทรกในเนื้อ การจัดการก่อนการฆ่าที่เริม่ ต้นตงั้ แต่การเลยี้ งที่ฟาร์ม การขนส่ง กระบวนการฆ่าท่ี
โรงฆ่าสัตว์ ควบคุมคุณภาพเน้ือสัตว์ เพราะปัจจัยดังที่กล่าวมาส่งผลถึงคณุ ภาพท่ีเป็นที่ยอมรับจากผู้บริโภคทง้ั
ด้านคุณภาพเน้ือ และความปลอดภัย อกี ท้ังยงั เป็นตวั กา่ หนดราคาท่ีเกษตรกรจะได้รบั จากพ่อค้าผ้แู ปรรูป การ
ถ่ายทอดองค์ความรดู้ ังกลา่ วจะเปน็ กำรเตรยี มตัวให้กับเกษตรกรผเู้ ลี้ยงโคเน้ือท่ีจะต้องสู้กับควำมท้ำทำยใน
เรื่องข้อกำหนดกำรค้ำเสรี (FTA) ซ่ึงประเทศไทยได้ร่วมทำข้อตกลงกับประเทศออสเตรเลียไว้โดยจะมี
ผลกระทบอย่างรุนแรงกับเน้ือโคโดยเฉพาะในปี 2563 ซงึ่ มีผลท่าให้ภาษีน่าเขา้ เนื้อโคจากออสเตรเลียเป็น 0%
ซึ่งอาจจะมีการน่าเข้าเนื้อโคจากประเทศน้ีมากขึ้น ดังน้ันในฐานะนักวิชาการจ่าเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ
เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อท่ีต้องผลิตโคเน้ืออย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ ให้มีความสามารถในการแข่งขัน
มากข้นึ

ในการนี้ส่านักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) ได้อนุมัติทุนอุดหนุนการท่ากิจกรรมส่งเสริมและ
สนับสนุนการท่าวิจัย โครงการ Research for Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ประจ่าปี 2560 เร่ือง กำร
เพ่ิมศักยภำพกำรผลิตโคเนื้อจำกกำรจัดกำรองค์ควำมรู้และเทคโนโลยี โดยทีมงานท่ีมาจากหลากหลาย
มหาวิทยาลัยท่ีมปี ระสบการณ์จากการวจิ ัยโคเน้ือ จึงได้สกัดองคค์ วามรมู้ าเพอื่ ถา่ ยทอดใหก้ ับกลุม่ เกษตรกร อกี
ทั้ง ยังสร้างนักปฏิบัติในพ้ืนท่ีอีกด้วย โดยผู้ใช้ประโยชน์จากคู่มือองค์ความรู้ คือ เกษตรกรผู้เล้ียงโคเนื้อ
เกษตรกรผู้เข้าร่วมที่มีศักยภาพและสามารถเป็นผู้ที่เป็นหลัก (key person) และนักวิชาการในภาครัฐท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั การผลิตโคเน้ือ

ศ. (เชี่ยวชำญพเิ ศษ) ดร. สญั ชยั จตรุ สทิ ธำ

บรรณำธิกำร

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | ก

ขอ้ มลู ทำงบรรณำนุกรม

ผ้แู ตง่ คณะท่างาน โครงการการเพ่มิ ศักยภาพการผลิตโคเนอื้ จากการจดั การ
องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยี
บรรณาธิการ ศ. (เช่ยี วชาญพิเศษ) ดร. สญั ชยั จตุรสิทธา
ปี พ.ศ. 2562
ชือ่ หนงั สือ คมู่ ือ: การเพมิ่ ศกั ยภาพการผลติ โคเนอ้ื จากการจัดการองคค์ วามรู้
และเทคโนโลยี

พิมพค์ ร้งั ท่ี 2 จำนวน 300 เล่ม
พมิ พท์ ี่ โรงพิมพส์ มศักด์ิกำรพมิ พ์ 47/3 ถนนแกว้ นวรฐั ตำบลวดั เกต อำเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่
โทร 053-242164, 089-433-3989

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | ข

สำรบญั

คา่ น่า การผลติ โคเนือ้ คุณภาพสงู ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 หน้ำ
บทที่ 1 การจดั การฟาร์มโคเนื้อ ก
บทที่ 2 การจดั การการสบื พันธใ์ุ นโคเนอื้ 1
บทท่ี 3 อาหารโคเนอ้ื 5
บทที่ 4 การปฏิบตั สิ า่ หรับการดูแลสุขภาพโคเนอื้ 22
บทที่ 5 การจัดการดา้ นสวัสดิภาพสตั ว์ระหวา่ งการขนส่ง 31
บทที่ 6 การฆ่าและตดั แต่งโคขนุ 45
บทที่ 7 การแปรรปู เนือ้ สัตว์ 63
บทท่ี 8 คมู่ อื การท่าบ่อแกส๊ ชวี ภาพ 67
บทท่ี 9 การตลาดและโลจิสตกิ ส์เนอื้ โค 73
บทท่ี 10 82
88

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | ค

สำรบญั รปู ภำพ

รปู ท่ี ระบบก๊าซชีวภาพดว้ ยถุงพลาสติกแบบบอลลูน มช (CMU ballon หน้ำ
รูปท่ี 2-1 digester) 6
ลานตากมูลกนั ความช้ืน
รปู ที่ 2-2 บอ่ จมุ่ น่า้ ยาฆา่ เชอ้ื โรคก่อนเขา้ ฟาร์ม 6
รูปท่ี 2-3 ชอ่ งทางเดนิ โคและที่บังคับสัตว์ 7
รูปที่ 2-4 ตาช่ังน่้าหนักโค 8
รปู ที่ 2-5 การเสียบท่อนพนั ธ์หุ ญา้ ลงดิน 8
รปู ที่ 2-6 การป้อนนมลกู โคและการจดั ท่าทีถ่ กู ตอ้ ง 10
รูปท่ี 2-7 การเขยี นเบอร์หพู ลาสติกและรายละเอยี ดบนเบอร์หูพลาสตกิ 13
รูปที่ 2-8 การเบ่งสดั ส่วนของใบหโู คเพ่ือใชร้ ะบตุ า่ แหนง่ ในการติดเบอร์หู 13
รูปท่ี 2-9 ต่าแหน่งในการติดเบอรห์ ทู ีถ่ กู ต้อง 14
รูปท่ี 2-10 การเตรยี มอปุ กรณต์ เี บอร์รอ้ น 14
รปู ที่ 2-11 การจับบังคับโคให้อยู่ในทา่ ท่ีถกู ตอ้ ง 14
รูปท่ี 2-12 ต่าแหน่งการตีเบอรร์ ้อน 15
รูปท่ี 2-13 ลกั ษณะของเหล็กที่มคี วามรอ้ นเหมาะสมจนเป็นสีเทา 15
รูปที่ 2-14 การตเี บอรร์ อ้ น 15
รูปที่ 2-15 การใชข้ ผี้ ้งึ ทาหลังจากตีเบอร์ 15
รปู ท่ี 2-16 การสญู เขาดว้ ยความรอ้ น 16
รูปท่ี 2-17 การตดั แตง่ ปุ่มเขาทีม่ ีขนาดใหญ่ 16
รูปที่ 2-18 อปุ กรณก์ ารตดั แต่งกบี เท้าของโค 17
รูปที่ 2-19 การสนสะพายโค 18
รปู ท่ี 2-20 โคลูกผสมทนี่ ิยมน่ามาเลย้ี งขุน 19
รูปท่ี 2-21 การตอนโดยวธิ กี ารผา่ เอาลกู อัณฑะออก 20
รปู ที่ 2-22 ต่าแหน่งทใี่ ชป้ ระเมนิ การสะสมของไขมนั 20
รปู ที่ 2-23 ลักษณะเมือกใส่ไหลจากชอ่ งคลอดเมื่อโคเพศเมียเป็นสัดเตม็ ที่ 21
รูปท่ี 3-1 (standing heat) 23
ระยะเวลาทีเ่ หมาะสมสา่ หรบั การผสมพนั ธด์ุ ว้ ยวธิ ผี สมเทยี ม หรือผสม
รูปที่ 3-2 ตามธรรมชาติดว้ ยพอ่ พนั ธุโ์ ค 24
อุปกรณท์ ีส่ า่ คญั สา่ หรบั การผสมเทยี มในโค
รปู ที่ 3-3 25
รปู ที่ 3-4 ฮอรโ์ มน PGF2 และช่ือทางการคา้ 27

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | ง

สำรบญั รูปภำพ (ต่อ)

รปู ท่ี 3-5 ฮอร์โมนโครูลอน (Chorulon) และ โฟลลิกอน (Folligon) หน้ำ
รปู ท่ี 3-6 ฮอร์โมนรเี ซพทอล 27
รูปท่ี 3-7 การฉดี ฮอรโ์ มนเข้ากล้ามเนือ้ บรเิ วณสะโพกของโคเนอื้ 28
รูปท่ี 3-8 ฮอร์โมนซดี า้ ร์® สา่ หรับโค และกระบอกสอดแท่งฮอร์โมน 28
รปู ที่ 3-9 28
รปู ที่ 3-10 การฉีดฮอรโ์ มน GnRH (รเี ซพทอล) และฮอรโ์ มน PGF2 (เอสตรเู มท) 29
การสอดแทง่ ฮอรโ์ มน CIDR® ระยะสน้ั 7 วนั รว่ มกับ การฉดี ฮอร์โมน 30
รปู ที่ 3-11 GnRH (รเี ซพทอล) และฮอรโ์ มน PGF2 (เอสตรูเมท)
การสอดแท่งฮอร์โมน CIDR® ระยะส้ัน 5 วัน ร่วมกบั การฉดี ฮอร์โมน 30
รปู ที่ 4-1 GnRH (รเี ซพทอล) และฮอรโ์ มน PGF2 (เอสตรูเมท)
รปู ท่ี 4-2 หญา้ กนิ นี (Panicum maximum) 32
รปู ท่ี 4-3 หญา้ กนิ นสี ีมว่ ง (Panicum maximum cv.TD 58) 32
รูปท่ี 4-4 หญา้ เนเปยี ร์ (Pannisetum purpureum) 33
รูปท่ี 4-5 หญ้ารซู ี่ (Brachiaria ruziziensis ) 33
รูปที่ 4-6 หญา้ เนเปยี รป์ ากชอ่ ง1 33
รูปที่ 4-7 เปลอื กข้าวโพดหวาน 33
รูปท่ี 4-8 หญ้าแห้ง 33
รูปท่ี 4-9 ฟางขา้ ว 34
รูปท่ี 4-10 เปลือกซงั ข้าวโพดเลยี้ งสตั ว์ 34
รูปท่ี 4-11 พืชหมัก 34
รูปที่ 4-12 กากเบยี รแ์ ห้ง 36
รูปท่ี 4-13 ไดแคลเซียม-ฟอสเฟส 36
รปู ท่ี 5-1 การบรรจุ 41
50
รปู ที่ 5-2 วิการการเกิดปากเท้าเป่ือยโดยจะพบรอยโรคบรเิ วณลนิ้ และเหงอื ก คอ
มตี มุ่ และแผลที่ลิ้นท่าให้เกดิ น่้าลายไหล 51
รปู ที่ 5-3
วิการการเกดิ โรคคอบวมโดยทโ่ี คเปน็ โรคแสดงอาการซึมและมีนา้่ มกู ปน 54
รปู ที่ 5-4 หนอง โคเป็นโรคอาการบวมนา้่ ที่หวั และคอ
56
วิการการเกิดโรคโรคแทง้ ตดิ ตอ่ โดยในโคเพศผ้จู ะพบวกิ ารอัณฑะบวม
ส่าหรับโคเพสเมยี มกั แทง้ ลูกโค

สรุปการทา่ วคั ซีนเพอ่ื ป้องกนั โรคในโคเน้ือ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | จ

สำรบญั รูปภำพ (ตอ่ )

รปู ที่ 5-5 พาหะของโรค สามารถแพร่เชื้ออะนาพลาสม่าไดแ้ ก่ เหลือบเหบ็ ตัวผู้ หนำ้
หลงั จากลอกคราบ 57
รปู ที่ 6-1
รูปที่ 6-2 แสดงทางลาดท่ีเหมาะสมก่อการขนยา้ ยสตั วข์ น้ึ พาหนะขนสง่ 65
รปู ท่ี 6-3 แสดงทางเดนิ ส่าหรับสตั ว์ 66
รูปท่ี 7-1 แสดงเครือ่ งกระตนุ้ ไฟฟ้าเพ่ือการบงั คับสัตว์ 66
รูปที่ 7-2 การตดั แตง่ ซาก 68
รูปท่ี 7-3 แสดงการฆ่าโคแบบไทย 68
รปู ท่ี 8-1 แสดงต่าแหนง่ การตดั แต่งซากโคแบบไทย 70
รูปท่ี 8-2 การบบี เน้ือบดเปน็ ลูกกลม 80
รปู ที่ 8-3 การตม้ ลกู ช้นิ 80
รูปท่ี 9-1 มม่ั เน้ือ 81
รปู ท่ี 9-2 บ่อหมักก๊าซชวี ภาพแบบถุง PVC 83
รปู ที่ 9-3 การเตรยี มบ่อสา่ หรับรองรับถงุ หมักแก๊ส 84
รูปที่ 9-4 การเตรียมและตดิ ตั้งถงุ หมัก 85
รูปที่ 9-5 การจัดทอ่ เติม 85
รูปท่ี 10-1 การใชง้ าน และการจัดการดูแลระบบ 87
รปู ท่ี 10-2 แสดงเนื้อโคท่มี ีขายทั่วไปในตลาดสดหรอื ตลาดเนื้อเขยี ง 89
เน้ือโคเกรดการคา้ ทีม่ ขี ายทัว่ ไปในหา้ งสรรพสินค้า 90

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | ฉ

สำรบัญตำรำง

ตารางที่ 2-1 ปรมิ าณการกนิ ได้ของโคในแตล่ ะช่วงน้า่ หนัก หนำ้
ตารางท่ี 4-1 ขอ้ จา่ กดั ในการใช้วตั ถดุ บิ 17
คณุ ค่าทางโภชนะของอาหารหยาบ วสั ดเุ หลอื ใช้ผลพลอยได้ทาง 37
ตารางท่ี 4-2 การเกษตรทีใ่ ช้เป็นอาหารสตั ว์ (%วตั ถแุ หง้ ) 38
คณุ คา่ ทางโภชนะของอาหารโคเลก็
ตารางท่ี 4-3 ตวั อยา่ งสตู รอาหาร TMR ทีม่ ีเปลือกและซงั ขา้ วโพดเปน็ อาหาร 40
หยาบ
ตารางที่ 4-4 การจัดการดา้ นสุขภาพโค 43
วัคซนี โรคปากและเทา้ เป่ือยส่าหรบั โค กระบอื แพะ แกะ
ตารางท่ี 5-1 วัคซนี เฮโมรายกิ เซพติซเี มยี ชนดิ นา้่ มนั 48
ตารางท่ี 5-2 วัคซีนแอนแทรกซ์ 50
ตารางที่ 5-3 วัคซนี บรเู ซลโลซีส 52
ตารางที่ 5-4 แสดงจ่านวนท่ีเหมาะสมของการบรรทกุ สัตว์ตามน้า่ หนกั ตัว (กก.) 53
ตารางท่ี 5-5 วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการท่าบ่อหมกั ก๊าซชวี ภาพแบบถุง PVC 54
ตารางที่ 6-1 ต้นทุนในการเลย้ี งโคขนุ ในกรณที ่ซี อ้ื โคเนอ้ื น้่าหนัก 350 กโิ ลกรมั 64
ตารางที่ 9-1 มาขนุ เป็นเวลา 10 เดอื น 83
ตารางที่ 10-1 ราคาขายและผลตอบแทนการลงทนุ ของการเลีย้ งโคขุน 91
ตน้ ทนุ ในการผลิตโคตน้ น้า่
ตารางที่ 10-2 91
ตารางที่ 10-3 92

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | ช

บทท่ี 1

การผลิตโคเนื้อคณุ ภาพสูง ภาปยรใะตเทย้ ทุศธไทศยารสศ4ต..0ร์

รศ.ดร. ญาณิน โอภาศพัฒนกิจ

คณะสตั วศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้

บทที่ 1 การผลติ โคเนอ้ื คุณภาพสูง ภายใตย้ ทุ ธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 รศ.ดร. ญาณนิ โอภาศพัฒนกิจ

1.1 ประเทศไทย 4.0 คืออะไร?

“ประเทศไทย 4.0” เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดล
พฒั นาเศรษฐกิจของรัฐบาล ภายใต้การนาของพลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรแี ละหัวหนา้ คณะ
รักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) ท่ีเข้ามาบริหารประเทศบนวิสยั ทศั น์ที่ ว่า “ม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน” ที่มี
ภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทาง และสร้าง
หนทางพฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ สามารถรบั มอื กับโอกาสและภยั คุกคามแบบใหม่ ๆ ทีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างเร็ว
รนุ แรงในศตวรรษท่ี 21 ได้

1.2 ประเทศไทย 4.0 มลี ักษณะอยา่ งไร?

ดังนั้น “ประเทศไทย 4.0” จึงควรมีการเปล่ียนวิธีการทาท่ีมีลักษณะสาคัญ คือ เปล่ียนจาก
การเกษตรแบบด้ังเดมิ ในปจั จบุ ัน ไปสู่การเกษตรสมัยใหมท่ ี่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart
Farming) โดยเกษตรกรต้องรา่ รวยขึ้น และเปน็ เกษตรกรแบบเปน็ ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneur) เปลย่ี น
จาก Traditional SMEs หรือ SMEs ท่ีมีอยู่และรัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่การเป็น
Smart Enterprises และ Start ups บรษิ ัทเกดิ ใหมท่ มี่ ศี กั ยภาพสูง เปล่ยี นจาก Traditional Services ซึ่ง
มกี ารสรา้ งมลู ค่าคอ่ นขา้ งตา่ ไปสู่ High Value Services และเปลีย่ นจากแรงงานทกั ษะต่าไปส่แู รงงานท่ีมี
ความรู้ ความเช่ียวชาญ และทักษะสูง

1.3 เกษตร 4.0 ภายใตป้ ระเทศไทย 4.0

เป้าหมายเกษตร 4.0 คือ เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมง่ั ค่ัง สู่การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ผลลพั ธ์ของ
เกษตร 4.0 คือเกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้น หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง โดยมีรายได้เฉล่ีย 390,000
บาทต่อคน ภายในปี 2579 ซ่ึงเป็นผลจากการใช้นวัตกรรมแบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture)
ต้ังแต่การผลิต-แปรรูป-การตลาด ด้วยสินค้าท่ีมีความปลอดภัย ยกระดับมูลค่าด้วยคุณภาพมาตรฐาน
ประหยัดทรัพยากรน้า และการใช้พ้ืนที่การเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเชิงเศรษฐกิจและสังคม ในช่วง
แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12-15 (พ.ศ. 2560-2579)

ดังน้นั เกษตรกรผเู้ ลีย้ งโคเนือ้ ควรได้รบั การถ่ายทอดองคค์ วามร้ดู ้านการผลิตและการจัดการด้วย
การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ได้ผลิตผลท่ีมีคุณภาพ ตามความต้องการของตลาดหรือผู้บริโภค
ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การของสถาบนั เกษตรกร ในรปู ของสหกรณ์หรือกลุ่มวสิ ากิจชมุ ชน

1.4 สถานการณ์โคเนือ้ ในประเทศไทย

โคเน้ือ นับเป็นสัตว์เศรษฐกิจท่ีสาคัญของประเทศไทย โดยการเลี้ยงโคเน้ือจัดเป็นอาชีพของ
เกษตรฐานราก ซง่ึ มูลคา่ สนิ ค้าโคเนอื้ และผลิตภัณฑเ์ ฉลย่ี ไมต่ ่ากว่า 20,000 ล้านบาทตอ่ ปี

• การผลติ
จานวนโคเน้ือในประเทศไทยท้ังหมด 4.5 ล้านตัว คิดเป็นร้อยละ 0.46 ของปริมาณโค

เน้ือโลก จากสถติ กิ รมปศุสตั ว์ในชว่ งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2555-2559) จานวนเกษตรกรเลี้ยงโค
เนื้อและประชากรโคเนื้อมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว โดยปี พ.ศ. 2555 มีเกษตรกรจานวน
1.035 ล้านราย โคเนื้อ 6.333 ล้านตัว สวนในปี พ.ศ. 2558 เกษตรกรลดลงเหลือ 0.764 ล้าน
ราย โคเน้อื เหลือ 4.407 ล้านตัว คิดเป็นรอ้ ยละ 25.18 และ 30.41 ตามลาดบั ส่วนฟารม์ โคเนือ้ ที่

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 2

บทที่ 1 การผลติ โคเนอื้ คณุ ภาพสูง ภายใตย้ ุทธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 รศ.ดร. ญาณนิ โอภาศพัฒนกิจ

ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานจานวน 211 ฟารม์ ซึง่ มีจานวนโคเนอ้ื 21,101 ตัว คิดเป็นรอ้ ยละ 0.48
ของจานวนโคเนื้อทงั้ หมด จานวนโคเนื้อ 4.407 ล้านตัวในปี พ.ศ. 2558 สามารถจาแนกออกเป็น
โคเพศผู้ 1.270 ล้านตัว (28.82%) เพศเมีย 2.97 ล้านตัว (67.39%) ซึ่งเป็นแม่โคท้องแรกข้ึนไป
1.319 ล้านตัว และโคแรกเกิดถึงโคสาวจานวน 1.564 ล้านตัว คาดว่าจะผลิตลูกโคประมาณ
1.427 ลา้ นตวั ตอ่ ปี (55%) ประสทิ ธิภาพการผลิตแม่โคพนื้ เมืองอัตราการให้ผลผลิตลกู รอ้ ยละ 65
ส่วนแม่โคลกู ผสมอตั ราการให้ผลผลิตลูกรอ้ ยละ 50

ในดา้ นเกษตรกรเลยี้ งโคเนอ้ื ฐานราก ทีเ่ ลี้ยงโคเนือ้ ไมเ่ กนิ 30 ตวั จานวน 752,626 ราย
ในปี พ.ศ. 2558 (98.43%) เกษตรกรกลุ่มน้ีมีความสาคัญท่ีภาครัฐจะต้องยกระดับให้มีฐานะ
ความม่ันคงในอาชีพ เป้าหมายเกษตรกรต้องมีการรวมตัวเป็นกลุ่มเพอื่ เขา้ ถึงบริการจากภาครฐั
เช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน หรือ สหกรณ์ ส่วนท่ีเหลือเป็นเกษตรกรที่เลี้ยงโคเน้ือ
จานวนมากท่ีสามารถพัฒนาให้ได้มาตรฐานฟาร์ม และเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันในตลาดเน้ือโค
ระดับประเทศ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ เกษตรกรที่เลย้ี งโคเน้ือต้ังแต่ 31-100 ตัว ต่อราย
จานวน 11,196 ราย (1.46%) และเล้ียงโคเนื้อตั้งแต่ 101-200 ตัวต่อราย จานวน 633 ราย
(0.8%) สาหรับเกษตรกรที่เลี้ยงโคเน้ือขนาดใหญ่จานวนมากกว่า 200 ตัวต่อรายขึ้นไป จานวน
213 ราย (0.3%) ซ่ึงส่วนใหญ่ผ่านการรับรองมาตรฐานฟาร์ม ดังน้ัน การวางแผนพัฒนาโคเนอื้
ของประเทศ ควรกาหนดตามกลมุ่ เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อ และเป้าหมายการเพ่มิ ประสิทธิภาพ
การผลิต รวมท้ังหาตลาดรองรับผลผลิต โคเน้อื ใหส้ อดคล้องกบั เกษตรกรแต่ละกล่มุ

แหล่งเลี้ยงโคเนื้อท่ีสาคัญ และมีจานวนโคเนื้อ มากท่ีสุดของประเทศไทย อยู่ทางภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื เลีย้ งโคเนือ้ จานวน 2.104 ลา้ นตัว (47.76%) ตามประกาศกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ และสามารถเป็นฐานการผลิตส่งออกโคเนื้อและผลิตภัณฑ์ไปยงั ประเทศเพ่ือนบ้าน
ทั้งสาธารณรัฐประชาชนลาว กัมพูชา และเวียดนาม รองลงมา คือภาคกลางเลี้ยงโคเนื้อ 0.941
ล้านตัว (21.36%) ซึ่งเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าและแหล่งบริโภคเน้ือโคที่สาคัญของประเทศ
ภาคเหนอื 0.745 ล้านตวั (16.91%) ภาคใต้ 0.615 ตวั (13.96%) จงั หวดั ท่มี ีการเลยี้ งโคเน้อื มาก
ที่สุด ได้แก่ นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และกาญจนบุรี ตามลาดับ ส่วนใหญ่
อยู่ในพน้ื ที่ Zoning โคเนื้อ

พันธ์ุโคเนื้อท่ีกรมปศุสัตว์ส่งเสริมให้เกษตรกรแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ 1) โคเน้ือพันธ์ุตระกลู
เมืองร้อน เป็นโคพื้นเมืองประมาณ 2.70 ล้านตัว โคพันธุ์และโคลูกผสมบราห์มันประมาณ 1.53
ล้านตวั รวมทัง้ หมด 4.23 ลา้ นตัว คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.98 ของจานวนโคเนอ้ื ทั้งหมด 2) โคเนอื้ พันธ์ุ
ลูกผสมตระกูลเมืองหนาว ได้แก่ โคลูกผสมพันธ์ุชาโรเลส์ โคพันธ์ุตาก พันธุ์กาแพงแสน พันธ์ุ
กบินทร์บุรี พันธ์ุแองกัส และพันธ์ุอ่ืน ๆ มีประมาณ 0.17 ล้านตัว คิดเป็นร้อยละ 3.85 ของ
จานวนโคทงั้ หมด

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 3

บทท่ี 1 การผลติ โคเน้ือคณุ ภาพสงู ภายใต้ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 รศ.ดร. ญาณนิ โอภาศพฒั นกจิ

• ระบบการเลีย้ งโคเน้ือ แบง่ เป็น 2 ระบบ ดงั น้ี

1) ระบบการเลี้ยงโคเน้ือเชิงธุรกิจ (โคขุน) เป็นการเลี้ยงโคเนื้อตามหลักวิชาการ มีการ
ลงทุนสูง จาเป็นตอ้ งวางแผนการผลิตอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ ให้ไดผ้ ลตอบแทนสงู คุ้มคา่ กับการลงทนุ
ต้ังแต่การสร้างโรงเรือน คอกคัด แปลงหญ้า โรงผสมอาหารสัตว์ รวมทั้งมีการจดั การด้านอาหาร
และสุขภาพ จากสถิติกรมปศุสัตว์ ปี พ.ศ. 2559 มีเกษตรกรเลี้ยงโคเน้ือประเภทนี้มีอยู่จานวน
846 ราย จานวนโค 127,000 ตัว คิดเป็นร้อยละ 0.1 และ 2.88 ของการเล้ียงโคเน้ือในประเทศ
ตามลาดับ

2) ระบบการเลี้ยงโคเน้ือเพื่อผลิตลูก (โคต้นน้า) เป็นการเลี้ยงโคเน้ือแบบพ้ืนบ้านที่
เกษตรกรถือปฏิบัติกนั มาอย่างต่อเนื่อง เลี้ยงปล่อยตามทงุ่ หญ้าธรรมชาติ ต้อนโคออกไปหาหญา้
หรือท่ีมีพืชเปน็ อาหารโคทั่วไป เช่น ตามริมถนน พื้นที่ทุ่งหญ้าสาธารณะ ป่าสาธารณะทว่ั ไปรอบ
ๆ หมู่บ้าน ตลอดจนพื้นท่ีเพาะปลูกของเกษตรกรที่เกบ็ เกี่ยวพืชผลแล้ว เช่น ในทุ่งนา อาจมีการ
ปลกู หญา้ เล้ียงบ้าง มเี กษตรกรเลี้ยงโคระบบน้ปี ระมาณ 0.76 ล้านราย จานวนโคประมาณ 4.28
ล้านตวั คดิ เปน็ ร้อยละ 99.34 และ 97.12 ของการเลีย้ งโคเนอ้ื ทงั้ ประเทศ ตามลาดับ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 4

บทที่ 2
การจดั การฟารม์ โครศเน. อ้ื

ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

สาขาสตั วศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร
มหาวิทยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

2.1 การวางแผนการผลิตโคเนือ้

ในการเลี้ยงโคเน้ือมคี วามจาเปน็ ต้องวางแผนการผลิตเป็นอันดับแรก โดยต้องพิจารณาว่าจะผลิต
โคเน้ือแบบใดท่ีตลาดต้องการ เพราะการตลาดนาหน้าการผลิต โดยผู้เขียนขอแบ่งกลุ่มตลาดโคเน้ือ
ออกเปน็ 6 กลุ่ม ดังนี้

2.2 การจดั การสภาพแวดลอ้ มในฟารม์ โคเนอื้

2.2.1) การเลือกทาเลที่ตัง้ ฟาร์ม

ฟาร์มทอี่ ยู่หา่ งไกลจากชมุ ชนเป็นสง่ิ ทพี่ ึงปรารถนา เน่อื งจากฟาร์มโคเนอ้ื ยอ่ มมกี ลนิ่ ทไี่ ม่
พึงประสงค์ต่อชุมชน ดังนั้นจึงควรเลือกทาเลท่ีเหมาะสม โดยห่างจากชุมชนไม่น้อยกว่า 5
กิโลเมตร ที่ต้ังฟาร์มไม่ควรติดถนนใหญ่เพราะอาจนาโรคระบาดที่ติดมาจากยานพาหนะได้ ซึ่ง
ควรต้งั อยู่บนทด่ี อนนา้ ไม่ทว่ มขงั และมีแหล่งนา้ ใช้อดุ มสมบูรณ์

2.2.2) การวางแผนการบาบัดของเสยี ภายในฟารม์

หากจาเป็นต้องต้ังฟาร์มใกล้ชุมชนควรมีระบบบาบัดของเสียท่ีดเี พียงพอ เช่น มีการทา
ระบบกา๊ ซชีวภาพ การนาไปทาเป็นป๋ยุ และการนาไปใชเ้ ป็นอาหารสัตว์ชนิดอ่นื

รูปที่ 2-1 ระบบกา๊ ซชีวภาพดว้ ยถงุ พลาสตกิ แบบบอลลูน มช (CMU ballon digester)

รูปที่ 2-2 ลานตากมลู กันความช้ืน หน้า | 6
คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

2.2.3) การวางแผนผงั ฟาร์ม

ในความเป็นจริงแล้วการวางแผนผังฟาร์มอาจไม่มีรูปแบบตายตัว เน่ืองจากการวาง
แผนผังฟาร์มข้ึนอยู่กับลักษณะพื้นท่ีถือครอง แต่โดยหลักการแล้วควรวางตาแหน่งที่ต้ังของ
โรงเรือนใหส้ อดคลอ้ งกับการทางาน และไม่ควรให้ยานพาหนะเข้าออกทางเดียวกนั เพราะจะทา
ให้นาเช้ือโรคจากภายในฟาร์มออกมาด้านหน้าฟาร์ม และควรมีพ้ืนที่ปลูกแปลงหญ้าให้เป็น
อาหารโคดว้ ย โดยอาจมีองค์ประกอบ ดงั ต่อไปน้ี

(1) บ่อจมุ่ นา้ ยาฆ่าเช้อื โรค

เมื่อยานพาหนะทุกชนิดเข้ามาภายในฟาร์มควรต้องมีการฆา่ เชื้อโรคท่ีตดิ มากบั
ยานพาหนะเสียก่อนเข้าฟาร์มเพ่ือเป็นการป้องกันเช้ือโรคเข้ามาสู่ฟาร์ม หากไม่มีบ่อจุ่ม
น้ายาฆ่าเช้ือโรคอาจใช้เป็นท่ีพ่นน้ายาก็ได้ โดยต้องพ่นที่บริเวณล้อและรอบ ๆ
ยานพาหนะ

รปู ที่ 2-3 บอ่ จ่มุ นา้ ยาฆา่ เชอ้ื โรคกอ่ นเขา้ ฟารม์

(2) สานักงานฟาร์ม
เป็นส่วนท่ีใช้ติดต่อประสานงานภายในฟาร์มในการซ้ือขายโคเน้ือ ซื้อวัตถุดิบ

อาหารสัตว์ และการประสานงานอื่น ๆ ซ่ึงสานักงานฟาร์มควรตั้งอยู่ด้านหน้าสุดของ
ฟารม์ เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หบ้ ุคคลภายนอกนาเชอ้ื โรคเขา้ มาสู่ฟารม์

(3) โรงเรือนเก็บวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์
เปน็ ส่วนท่สี าคญั ยง่ิ เน่ืองจากในการเล้ียงโคเนอ้ื มคี วามจาเปน็ ตอ้ งมีท่ีเกบ็ รักษา

วัตถุดิบอาหารสัตว์หรืออาหารสัตว์ไว้อย่างเป็นสัดส่วน เพราะในโรงเรือนเก็บวัตถุดิบ
อาหารสัตวต์ ้องสามารถกันฝน กันแดด กนั สัตว์อ่นื ๆ เขา้ มากดั กินอาหารสตั ว์ท่ีเก็บไว้

(4) คอกปฏบิ ตั ิการกับตัวสัตว์
เป็นส่วนท่ีใช้ในการทาให้การปฏิบัติงานกับตัวสัตว์ได้สะดวกขึ้น โดยประกอบ

ด้วยช่องทางเดิน ท่บี ังคบั สัตว์ ตาช่ังน้าหนัก

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 7

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รปู ที่ 2-4 ชอ่ งทางเดนิ โคและทบี่ งั คับสตั ว์

รปู ที่ 2-5 ตาชั่งนา้ หนักโค

(5) โรงเรอื นโค

โรงเรือนท่ีมีลักษณะดีจะช่วยให้สัตวอ์ ยสู่ บาย ไม่ร้อน มีการระบายลมที่ดี ซึ่งโค
เน้ือเป็นสัตว์ที่ทนร้อนได้พอสมควร นอกจากนี้การคานวณพ้ืนท่ีต่อตัวของโคมี
ความสาคัญมากในการวางผังสร้างโรงเรือน ในคอกโคขุนแบบขังเด่ียวโดยควรมีพื้นท่ี
ประมาณ 6 ตารางเมตรต่อตัว (2×3 เมตร) เพ่ือให้โคอยู่สบาย แต่ถ้าเป็นคอกขังรวมให้
คานวณโดยเอาพืน้ ที่ 6 ตารางเมตร × จานวนตัว

ส่วนพ้ืนคอกควรเป็นพื้นปูนขัดหยาบเพื่อมิให้โคลื่นล้ม รางอาหารควรอยู่
ทางด้านหนา้ ของโรงเรอื น โดยรางอาหารควรไม่มีเหลี่ยมมุม และสูงจากพนื้ ประมาณ 60
เซนติเมตร สว่ นรางน้าควรติดตง้ั ทีด่ า้ นหลงั ของคอกเพ่อื มิให้พืน้ คอกแฉะเวลาทโี่ คด่มื นา้

(6) ร้วั

เป็นแนวกันขอบเขตฟาร์ม สามารถป้องกันการบุกรุกของบุคคลภายนอก และ
ยงั สามารถปอ้ งกันไมใ่ ห้สัตว์ภายนอกเข้ามาหรือสัตว์ภายในออกไปได้ โดยรปู แบบของรั้ว
มีหลายแบบ ข้นึ อยู่กบั งบประมาณที่มี สว่ นความคงทน ความแขง็ แรง และความสวยงาม
ขึ้นอยกู่ บั วัสดุที่เลือกใช้

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 8

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

(7) แปลงหญา้ เลีย้ งสัตว์

การเล้ียงโคเนื้อมีความจาเป็นต้องทาแปลงหญ้า เน่ืองจากหญ้าทุ่งหญ้า
ธรรมชาตมิ คี ุณค่าทางโภชนะทคี่ ่อนข้างตา่ ผลผลิตท่ีไดม้ ีปริมาณท่ีน้อย จงึ ไม่เพียงพอต่อ
การเลยี้ งโคเนอ้ื ทั้งในเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ

2.3 พชื อาหารสัตวท์ นี่ ยิ มปลูก

2.3.1) หญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1

เป็นหญ้าลูกผสมข้ามสายพนั ธุ์ระหวา่ งเนเปียร์ยักษ์และหญ้าไข่มุก เป็นพืชท่ีมีศักยภาพ
สูงในเร่ืองของผลผลิตและมีคุณค่าทางโภชนะทด่ี ีตรงตามความต้องการของสัตว์ เหมาะสาหรับที่
จะใช้เล้ยี งสตั วเ์ คย้ี วเอ้ือง เช่น โคเนอื้ โคนม กระบือ เปน็ ต้น

(1) ลักษณะเด่น

เติบโตเร็ว ผลิตต่อไร่สูงให้ผลผลิตตลอดท้ังปี มีความน่ากินสูง โปรตีนสูง มี
ปริมาณของน้าตาลภายในลาต้นและใบสูง ใบและลาต้นอ่อนนุ่ม ขอบใบไม่มีขนไม่คม มี
ความสามารถปรับตัวได้ดีในดินทุกสภาพ หากนาไปทาเป็นหญ้าหมักไม่จาเป็นต้องเติม
สารใด ๆ เพิ่ม

(2) พืน้ ทีเ่ ลือกปลูกท่ีเหมาะสม

สามารถปลูกได้ทกุ สภาพพ้นื ทีท่ ั่วประเทศไทยและยังมกี ารเจริญเตบิ โตได้ในดนิ
ทุกสภาพ เช่น ดินร่วนปนทราย ดินเหนียว แต่จะชอบดินที่มีคุณสมบัติในการระบายน้า
ไดด้ ี ทนแลง้ แต่ไม่ทนน้าทว่ มขัง

(3) ชว่ งเวลาปลูก

ในเขตพน้ื ที่ชลประทานสามารถปลูกได้ตลอดท้ังปี แต่ในพนื้ ทใี่ นเขตอาศยั น้าฝน
ควรจะปลกู ในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดอื นพฤษภาคม ถงึ เดอื นกรกฎาคม

(4) การเตรียมดิน

ควรปลูกในพ้ืนทโ่ี ล่งเพื่อให้หญ้าได้รับแสงเต็มท่ี แต่ในกรณที ต่ี อ้ งการให้น้าแบบ
ทาร่องลกู ฟกู ควรปรบั พ้ืนท่ีใหม้ คี วามลาดเอียงเพ่ือสะดวกในการใหน้ า้

(5) การเตรยี มทอ่ นพนั ธปุ์ ลูก

การเตรยี มทอ่ นพนั ธถุ์ อื เป็นข้ันตอนสาคัญอยา่ งยง่ิ เพราะท่อนพนั ธ์ุทจ่ี ะนามาใช้
ในการปลูกควรจะมกี ารคดั เลอื กทอ่ นพันธท์ุ ีม่ าจากแปลงทมี่ ีความสมบูรณ์ กล่าวคอื ท่อน
พนั ธ์ุควรมีอายุ 3–4 เดอื นข้นึ ไป มีลกั ษณะผวิ เปน็ มนั วาวเม่ือได้ทอ่ นพันธุท์ ี่มอี ายตุ รงตาม
ความต้องการแลว้ นาทอ่ นพันธุ์ท่ีได้มาตัดให้มีความยาว 30–40 เซนตเิ มตรหรอื ประมาณ
1 ไมบ้ รรทดั โดยที่ปลายทง้ั 2 ด้านเฉยี ง 45 องศาเวน้ ระยะตา หรอื ขอ้ ประมาณ 2 ตาต่อ
1 ทอ่ น

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 9

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

(6) การปลกู

หลังจากการเตรียมดินเสร็จแล้วควรจะมีการลงมือปลูกทันที โดยการนาท่อน
พันธุ์ที่เตรียมไว้ไปปลูกโดยมีระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 120 เซนติเมตร และ
ระหว่างต้นประมาณ 80 เซนติเมตร ปลูกหลุมละ 2 ท่อน เฉียง 30–45 องศา ปักให้จม
ลงดนิ 1 ขอ้

รปู ที่ 2-6 การเสยี บทอ่ นพนั ธห์ุ ญ้าลงดิน

(7) การให้นา้

หญ้าสายพนั ธน์ุ มี้ กี ารตอบสนองตอ่ การให้น้าทดี่ ีมาก หากมีการวางระบบน้าท่ีดี
จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและส่งผลผลิตที่ดีขึ้นตลอดทั้งปี การให้น้าสามารถทาได้
หลายรูปแบบ เช่น แบบสปริงเกิลน้าเหว่ียง เทปน้าหยด เป็นต้น การให้น้าสามารถทา
พร้อมกับการใสป่ ุย๋

(8) การเกบ็ เกี่ยวผลผลติ

การตัดคร้ังแรกใหต้ ดั ประมาณ 45 จากนนั้ ตัดทุก ๆ 45 - 60 วนั การตัดสามารถ
ทาได้โดยการใช้ มีด เคียว เคร่ืองตัดหญ้าแบบสะพายไหล การเก็บเก่ียวหญ้าสายพนั ธุน์ ้ี
ต้องตัดให้ชิดดินท่ีสุด เพื่อให้ง่ายต่อการแตกหน่อใหม่จากดินและจะทาให้ลาต้นมีขนาด
อวบอ้วน

2.3.2) หญา้ แพงโกล่า (Pangola grass)

หญา้ แพงโกล่า มลี กั ษณะใบดก ออ่ นนุม่ สตั วช์ อบกนิ เหมาะสาหรบั ทาเป็นหญ้าแห้งและ
ให้กนิ สด เจริญเตบิ โตดใี นสภาพพื้นทลี่ มุ่ ชน้ื แฉะ ทนนา้ ขงั ทนต่อสภาพความแหง้ แล้งไดด้ ี ดงั น้ัน
หญ้าแพงโกล่าจงึ สามารถปลูกได้ทงั้ พนื้ ท่ลี ุ่ม และพื้นท่ดี อน

(1) การเตรยี มดินปลกู

การเตรียมดนิ ทาคล้ายกับการทานาหว่านน้าตม เร่มิ จากการปล่อยน้าเขา้ แปลง
สาหรับปลูกหญ้าแพงโกล่าปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 2 - 3 วัน เพื่อการฆ่าวัชพืชในแปลง
(รอบแรก) ระบายน้าจากแปลงให้แหง้ ท้ิงไว้ประมาณ 7 - 10 วัน เพื่อให้วัชพืชงอก (รอบ
สอง) ปล่อยนา้ เข้าแปลง 2-3 วนั จนดนิ อิม่ ตัว ไถพลิกกลบั หน้าดนิ และทาการตีเทอื ก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 10

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

(2) การเตรียมทอ่ นพันธ์ุ

ท่อนพันธุ์แพงโกล่าเมอื่ อายุประมาณ 50 - 60 วนั ท่อนพันธุ์ที่ตดั แลว้ หว่านหรอื
ปลกู ทันที หรือลดน้าใหช้ ่มุ ทิง้ ไวใ้ นร่ม ไมว่ างทับถมหญ้าใหส้ งู มากนักเพราะหญา้ จะตาย

(3) การปลกู หญ้าแพงโกลา่

หลงั จากเตรียมดินเรยี บรอ้ ยควรปรบั ระดับนา้ ในแปลงปลูก 10 - 15 เซนตเิ มตร
หว่านท่อนพันธใุ์ ห้ทั่วแปลงในอตั ราสว่ นไร่ละ 250 - 300 กโิ ลกรัม ตอ่ ไร่ แล้วใชท้ อ่ PVC
ขนาดประมาณ 2 น้ิว นาบแตะท่อนพันธ์ุพอให้จมน้า ท้ิงไว้ประมาณ 1 อาทิตย์ เมื่อ
สังเกตปลายยอดเริ่มต้ังขึ้น ให้ระบายน้าออกจากแปลงปลูกจนหมด ท่อนพันธ์ุจะสัมผัส
กับผิวดนิ และระบบรากจะเจรญิ เตบิ โตตอ่ ไป

2.4 การจัดการกบั ตัวสตั ว์

ในสว่ นนี้จะเปน็ เร่อื งเกย่ี วกับการปฏิบตั กิ ารกบั ตัวสัตวใ์ นแตล่ ะชว่ งวยั ซงึ่ การจดั การยอ่ มแตกต่าง
กันออกไป โดยผเู้ ขยี นลาดบั ดงั นี้

2.4.1) การจดั การแม่โคระยะก่อนผสมพนั ธ์ุ

ในระยะนี้เป็นระยะท่ีมีความสาคัญมากท่ีจะเตรียมพร้อมเพ่ือให้แม่โคมีความพร้อมใน
การผสมพันธ์ุ มีการตกไข่ท่ีสมบูรณ์ และแสดงอาการเป็นสัดอย่างชัดเจน ซ่ึงจาเป็นต้องมีการ
จัดการดา้ นอาหารท่ีดพี อ มกี ารเสรมิ อาหารข้นหรอื แหล่งอาหารพลงั งานเพ่อื กระตนุ้ ฮอรโ์ มนและ
เหน่ียวนาใหเ้ ข้าสู่การเป็นสัดได้ดีข้นึ ซ่ึงในการสังเกตอาการเปน็ สัดสามารถสังเกตไดไ้ ม่ยาก แต่ผู้
เลี้ยงต้องหมั่นสังเกตโดยดูจากอาการข้ึนทับกนั ของโค หากโคที่โดนทับยืนนิง่ ให้ยืนข่ีคือจะแสดง
อาการเป็นสัดอย่างเต็มท่ี ส่วนตัวใดท่ีข้ึนขี่มักเป็นโคท่ีเร่ิมเป็นสัด แต่ต้องสังเกตเพิ่มจากอาการ
บวมของอวยั วะเพศและน้าเมือกทไ่ี หลออกมาจากช่องคลอดด้วย หากมีอาการดังกลา่ วรว่ มกนั ให้
ทาการผสมเทียมหลงั จากทีโ่ คเปน็ สัดเต็มท่ี 12-18 ชัว่ โมง

2.4.2) การผสมเทียม

การผสมเทยี มมีเป้าหมายการเพ่ิมผลผลติ ท่ีเน้นการปรับปรุงพนั ธใุ์ ห้ดขี ึ้นในระยะเวลาสนั้
โดยได้ผลดีกว่าการผสมตามธรรมชาติ เช่น ได้สายพันธุ์โคลูกผสมต่างประเทศ คุณภาพเน้ือ
คุณภาพซาก โครงสรา้ งของรา่ งกายใหญ่ข้ึน การเจริญเติบโตสูง ผลผลติ เพิม่ มากข้ึน และผลกาไร
ทสี่ งู ขึ้นใหก้ ับเกษตรกรผเู้ ลยี้ งโคในการทาฟารม์ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่

2.4.3) การจดั การแมโ่ คระยะตัง้ ท้อง 1 ถึง 3 เดือนแรก

ภายหลังจากการผสมเทียม ผู้เล้ียงต้องทาการสังเกตว่าแม่โคกลับเป็นสัดหรือไม่ ด้วย
การสังเกตอาการเป็นสัดหลังจากทาการผสมไปแล้ว 21 วัน หากไม่มีอาการเปน็ สัดแสดงว่าผสม
ติดและอาจทาการสังเกตซ้าทุก 21 วันเพ่ือตรวจสอบให้แนใ่ จว่าผสมติดแล้ว ในกรณีโคท่ีผสมติด
แลว้ ควรแยกแมโ่ คท่ผี สมแล้วออกจากฝงู และทาการเลย้ี งแยกอกี คอก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 11

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

ด้านการให้อาหารแม่โคในระยะ 3 เดือนแรกต้องการโปรตีนไม่สูงมาก ซึ่งแม่โคระยะนี้
ต้องการโปรตีน 570 กรัม ซึ่งคิดเป็นระดับโปรตีนเฉลี่ย (0.57/8.2)×100 = 6.95% ท่ีวัตถุแห้ง
หรอื ประมาณ 7%

2.4.4) การจดั การแม่โคระยะตงั้ ทอ้ ง 4 ถงึ 6 เดอื นแรก

ในระยะน้ีเป็นระยะท่ีตัวอ่อนในท้องแมโ่ คยังเล็กอยู่ จึงต้องการสารอาหารต่ากว่าระยะ
อื่น ๆ ดังน้ัน การจัดการในระยะน้ี จะเป็นการเสริมอาหารข้น 1-2 กิโลกรัม (อาหารข้นที่ระดับ
โปรตีน 14%) ร่วมกับให้กินหญ้าสดประมาณ 7-8 กิโลกรัมที่วัตถุแห้ง หรือประมาณ 25-30
กิโลกรัมต่อวัน ซึ่งต้องระมัดระวังมิให้โคมีการสะสมไขมันมากเกินไปและมิให้ผอมจนเกินไป ใน
ระยะนอ้ี าจปลอ่ ยลงแทะเล็มแปลงหญา้ ได้บ้าง

2.4.5) การจดั การแมโ่ คระยะก่อนคลอด 3 เดอื น

ในระยะนี้ เป็นระยะที่สาคัญย่ิงเนื่องจากเป็นระยะท่ีแม่โคต้องทาน้าหนัก เน่ืองจาก
หลังจากการคลอดแม่โคจะเสียน้าหนักมาก ดังนั้นในระยะนี้แม่โคต้องได้รับสารอาหารคุณภาพดี
หรือมีอาหารอย่างเพียงพอเพื่อชดเชยน้าหนักท่ีหายไป แต่ในระยะน้ีแม่โคมักกินอาหารได้ลดลง
กว่าปกติ จึงจาเป็นต้องเพิ่มความเข้มข้นของโภชนะให้มากขึ้น โดยเฉพาะแหล่งของพลังงาน
เพอื่ ใหแ้ มโ่ คมีพฒั นาการของเซลล์สงั เคราะหน์ ้านม จะมกี ารเพม่ิ จานวนและพรอ้ มทางาน และจะ
เริ่มการสังเคราะห์น้านมใน 7 วันก่อนคลอด ดังนั้นแม่โคต้องได้รับอาหารพลังงานอย่างเพียงพอ
เพื่อสร้างน้านมและเพ่ือให้แม่โคพร้อมเข้าสู่การกลับเป็นสัดเร็วข้ึน เมื่อครบ 282 วัน แม่โคก็จะ
คลอดลูกออกมา

2.4.6) การจดั การลกู โคแรกคลอด

เม่ือลูกโคคลอดออกมาแล้วจะต้องรีบให้การช่วยเหลือลูกโคโดยมีการเช็ดทาความ
สะอาดเมอื กท่ีตดิ มากบั ลกู โค ลว้ งเมอื กที่จมกู และปากของลูกโคออกให้หมดและเรว็ ทส่ี ุด เพื่อเป็น
การกระตนุ้ ระบบการหายใจและช่วยใหล้ ูกโคท่ีคลอดออกมาแลว้ สามารถหายใจได้ดว้ ยตวั เองเป็น
เพม่ิ อตั ราการรอดตายของลกู โคแรกเกดิ

ภายหลังจากการเชด็ เมอื กออกจากตัวลูกโคแล้ว ต้องทาการผูกสายสะดอื ตดั สายสะดือ
ที่เกิน และใช้ยาฆ่าเชื้อโรคจุม่ ท่ีสายสะดือ จากน้ัน นาลูกโคเข้าไปกินนมแม่อย่างรวดเร็ว ควรทา
ให้ลูกโคยืนทรงตัวให้ได้เสียก่อน เนื่องจากเป็นการป้องกันไม่ให้แม่โคเหยียบลูกตัวเอง ลูกโค
จาเป็นได้กินนมแม่โดยเร็ว เนื่องจากภายในนมแม่โค ณ ช่วงเวลานั้นจะมีนมท่ีเรียกว่า “นม
น้าเหลือง” เพราะนมน้าเหลืองมีคุณค่าทางโภชนะท่ีเหมาะสมสาหรับลูกโคระยะแรกคลอดและ
เป็นแหล่งของสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่จะส่งผลให้ลูกโคแรกคลอดมีการเจริญเติบโตท่ีสมบูรณ์
แขง็ แรง

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 12

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รปู ท่ี 2-7 การปอ้ นนมลกู โคและการจัดทา่ ทถ่ี กู ต้อง

เมื่อลูกโคมีอายุได้ประมาณ 30-90 วันควรมีการจัดการในส่วนของการทาบันทึก
ประจาตัวสัตว์เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลของฟาร์มเพื่องา่ ยและสะดวกในการจัดการตอ่ ไป แต่ในชว่ งเวลานี้
ไม่ควรปล่อยให้ลูกโคไปตามฝูงควรจะจัดให้อยู่ในคอกท่ีมีการให้น้าให้อาหารท่ีเหมาะสม ควรมี
การทาความสะอาดคอกและโรงเรือน เป็นประจา เพ่ือมิให้เป็นแหล่งของเช้ือโรคที่จะส่งผลต่อ
สุขภาพลกู โค

(1) การปฏบิ ตั ิดา้ นการจดั การลูกโค

 การทาสัญลกั ษณป์ ระจาตัวสัตว์

เป็นการระบุตัวตนของลูกโคว่าเป็นเพศอะไร สายพันธอ์ุ ะไร เกิดวันเดือนปไี หน
แมค่ อื ใคร เปน็ ลกู ของพ่อตวั ไหน เปน็ ตน้ เพื่อเป็นการปอ้ งกันการผสมแบบเลือดชิด และ
เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่ดีท่ีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการผลิตของฝูงโค การทาสัญลักษณ์ที่
นิยมนามาใช้มี 2 แบบ คอื

 การติดเบอรห์ แู บบพลาสตกิ

จะประกอบด้วยกัน 2 ส่วน คือ เบอร์หูตัวเมียจะมีลักษณะเป็นแผ่น
กว้างขนาดประมาณ 4 เซนติเมตรเป็นพ้ืนท่ีในการเขียนเบอร์ แผ่นตัวผู้จะมี
ลักษณะกลม มีเดือยย่ืนออกมาเพื่อใช้ในการเจาะหูลูกโคและสามารถสอดกับ
แผ่นตัวเมีย การใช้เบอร์หูพลาสติกจะมาพร้อมกับคีมที่ใช้บีบแผ่นตัวผู้ให้เจาะ
ผ่านใบหลู ูกโคไปลอ็ คกบั แผน่ ตวั เมียบรเิ วณกงึ่ กลางของ ใบหู (รูปที่ 2-10)

รปู ท่ี 2-8 การเขยี นเบอรห์ ูพลาสติกและรายะละเอยี ดบนเบอรห์ พู ลาสตกิ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 13

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รปู ท่ี 2-9 การเบง่ สัดส่วนของใบหโู คเพือ่ ใชร้ ะบตุ าแหน่งในการตดิ เบอร์หู

รปู ที่ 2-10 ตาแหนง่ ในการติดเบอรห์ ทู ถี่ กู ตอ้ ง

 การตีเบอรร์ ้อน
เปน็ การทาสญั ลักษณ์แบบถาวรเนอื่ งจากจะสามารถติดกับตวั ของโคไป

จนตลอดชวี ิต การตเี บอรใ์ นลกั ษณะนี้เป็นใช้เหล็กไปเผาไฟจนร้อนจัด แลว้ นาไป
นาบท่ีตัวของโค หลังจากน้ันใช้ยาทาแผลสดทาร่วมกับการโรยยากันหนอน
แมลงวนั เจาะเพื่อรกั ษาบาดแผลและป้องกนั แมลงวนั มาวางไข่ท่แี ผล

รูปท่ี 2-11 การเตรยี มอปุ กรณ์ตีเบอร์รอ้ น

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 14

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รูปที่ 2-12 การจบั บังคบั โคใหอ้ ยู่ในทา่ ท่ีถูกต้อง
รปู ท่ี 2-13 ตาแหน่งการตเี บอรร์ ้อน

รปู ท่ี 2-14 ลกั ษณะของเหล็กทม่ี ีความรอ้ นเหมาะสมจนเปน็ สีเทา

รูปที่ 2-15 การตเี บอร์ร้อน หนา้ | 15
คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รปู ที่ 2-16 การใชข้ ผ้ี ง้ึ ทาหลงั จากตีเบอร์

 การทาลายเขาโค

การทาลายเขาของโคมีความจาเป็น เน่ืองจากเขาของโคไม่มีราคา อาจทา
อันตรายกบั เกษตรกรได้ รวมถึงลดการบาดเจบ็ ของโคจากการขวิดกัน ฉะน้ันการทาลาย
เขาของโคจึงนิยมทาต้งั แต่โคท่ีมียายุน้อยเพราะจะลดการเจ็บปวดและแผลหายเร็ว การ
สูญเขามีอย่ดู ้วยกนั หลายวธิ ี คอื

 สารเคมี

โดยส่วนมากจะนิยมใช้แท่งโซดาไฟ การทาแบบน้ีจะทาในโคที่อายุ 10
วัน โดยทาการขดู ทีป่ ่มุ เขาของโค จากนั้นใช้แท่งโซดาไฟทา รอประมาณ 1 – 20
นาที ขอ้ ควรระวงั คือจะตอ้ งมกี ารใชข้ ้ผี ้ึงทา เพื่อกันโซดาไฟไหลไปโดนทอ่ี นื่ ซึ่งจะ
เกิดอันตรายกับโคได้ หลังจากน้ันประมาณ 7 - 14 วัน ปุ่มเขาจะมีลักษณะเปน็
สะเกด็ หลุดออกไปเอง

 การสญู เขาด้วยความร้อน

วิธีน้ีจะสามารถทาได้ตั้งแต่อายุ 30 - 90 วัน โดยการใช้เหล็กที่มี
ลักษณะเปน็ ทรงกระบอกน้าไปเผาใหร้ ้อนคล้ายกับการตีเบอร์ร้อน จากน้ันทาไป
จี้ท่ีปุ่มเขาลักษณะการขูดแต่จะต้องมีการจับให้มั่นคงและหากพบว่ามีปุ่มเขาที่
งอกมาขนาดใหญ่ก็ให้ใช้มดี คม ๆ ปาดออกกอ่ นแล้วถึงขูด เม่ือเสร็จแล้วใช้ยาทา
แผลสดร่วมกบั การโรยยากนั หนอนแมลงวนั เจาะ

รูปที่ 2-17 การสูญเขาดว้ ยความรอ้ น หนา้ | 16
คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี

บทท่ี 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รปู ท่ี 2-18 การตดั แต่งปมุ่ เขาท่ีมีขนาดใหญ่

2.4.7) การจดั การลูกโคระยะหลงั หยา่ นม

การจัดการลกู โคหลังหย่านมเป็นเร่ืองสาคัญอย่างยิ่ง เพราะจะส่งผลต่อการเจริญเตบิ โต
โครงสรา้ งร่างกายของลกู โค ซง่ึ ลกู โคควรไดร้ บั คุณค่าทางโภชนะท่ีเหมาะสมกบั ความต้องการของ
ลูกโค ควรมีการเสริมอาหารข้น และหญ้าสดคุณภาพดีให้กับลูกโค จึงควรหย่านมลูกโคเม่ืออายุ
ประมาณ 6-7 เดอื น หรือเสรมิ นมเทียม อาหารข้น ใหส้ าหรบั ลกู โค นา้ หนักของลกู โคหย่านมควร
เฉลีย่ ประมาณ 180-200 กโิ ลกรัม

(1) สัดสว่ นของอาหารหยาบต่ออาหารขน้ (Ratio of roughage per concentrate)

สัดส่วนของอาหารหยาบต่ออาหารข้นเป็นส่ิงสาคัญที่ต้องคานึง โดยท่ัวไป
ปริมาณวัตถุแห้งที่กินได้ของโคเฉล่ีย 3% ของน้าหนักตัว แต่ข้ึนอยู่กั บระยะการ
เจรญิ เติบโต โคที่อายนุ ้อย น้าหนกั น้อยจะมีปรมิ าณการกินไดส้ ูงกวา่ โคท่ีอายุและน้าหนัก
มากกวา่ ดังตารางที่ 2-1

ตารางที่ 2-1 ปรมิ าณการกินได้ของโคในแตล่ ะช่วงนา้ หนัก

นา้ หนักตัว ปริมาณการกนิ ได้ คดิ เปน็ เปอรเ์ ซน็ ตต์ ่อน้าหนักตัว
(กโิ ลกรมั ) (กิโลกรัม) (เปอร์เซน็ ต)์

136 4.0 2.94
182 4.8 2.64
227 5.7 2.51
273 6.6 2.41
318 7.5 2.35
364 8.2 2.25
409 9.1 2.22
455 10.0 2.19
500 10.5 2.10

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 17

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

เมอ่ื สามารถประมาณปริมาณการกนิ ได้ของวัตถุแหง้ แล้วจึงควรมีการจัดสัดส่วน
ของหญา้ ต่ออาหารข้น โดยรปู แบบการใหอ้ าหารมหี ลายรูปแบบ ได้แก่ ให้หญ้าตอ่ อาหาร
ขน้ ในอัตราสว่ น 70:30, 60:40, 50:50, 40:60 และ 30:70 ขน้ึ อยู่กบั ระยะการเลีย้ ง หาก
โคอายุน้อยและมีน้าหนักน้อยควรใช้อัตราส่วนของหญ้าสูงกว่าอาหารข้น และค่อยเพ่ิม
สัดส่วนอาหารข้นให้สูงข้ึนภายหลัง เพื่อให้โคได้รับคุณค่าทางโภชนะเพ่ือสร้างการ
เจริญเติบโตและโครงสรา้ งรา่ งกายของลูกโค

(2) การตดั แต่งกีบเทา้ โค

ด้วยรูปแบบการเลี้ยงโคแตกต่างจากสมัยกอ่ น ที่เปน็ การเลยี้ งแบบปลอ่ ยทุ่งท่ีโค
ได้เดินอย่างอิสระ มีการสึกกร่อนของกีบเท้าเม่ือโคเดิน แต่เม่ือมีการปรับเปลี่ยนมาเลีย้ ง
แบบยืนโรง เลี้ยงขังคอก ซ่ึงพื้นส่วนใหญ่จะเป็นพื้นคอนกรีต จึงทาให้กีบเท้าของโคมี
รูปร่างผิดปกติ ซึ่งต้องมีการตัดแต่งกีบโคให้รูปทรงปกติน้ัน ผู้เลี้ยงโคสามารถทาได้เอง
โดยอุปกรณเ์ บื้องตน้ มีดังนี้ มีดแต่งกบี แอลกอฮอล์ สาลี และตะไบ สาหรับลบคมในการ
แต่งกีบ

รปู ที่ 2-19 อปุ กรณ์การตดั แต่งกีบเท้าของโค

ข้นั ตอนการปฏิบตั กิ ารตดั แต่งกบี โค
1) จับบังคบั โคเขา้ ซองบังคับ โดยใช้เชอื กผูกท่ีขาของโคเพ่ือตรวจสอบความ

ผดิ ปกติของพ้ืนกีบ
2) ทาความสะอาดบริเวณเท้าของโค เพือ่ ทาใหบ้ ริเวณกีบเท้าออ่ นนุ่ม ซ่ึงจะ

สะดวกตอ่ การตัดแต่งกีบ
3) ทาการตัดแตง่ กีบดว้ ยมดี ตดั แต่งกีบ

(3) การสนสะพายโค

การปฏิบัติงานในฟาร์มที่ไม่มีคอกปฏิบัติการหรือซองบังคับย่อมทาได้ยาก
เพราะโคจะไม่ยอมอยนู่ ่ิงหรือไมส่ ามารถจูงได้โดยง่าย แต่การสนสะพายโคจะชว่ ยใหก้ าร
จบั และบงั คับโคสะดวกขึ้น ซง่ึ การสนสะพายสามารถทาได้ โดยขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 18

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

1) นาโคมาเขา้ ซอง ล็อกคอเขา้ กับเสาหลัก
2) ใช้เชอื กเข้าคางเรือบรเิ วณสันจมกู โค
3) นาเหล็กแหลมทรงกลมหรือไม้ท่ีเหลาแหลม (เอาเสี้ยนไม้ออก) แทงไป
บรเิ วณดา้ นในสว่ นปลายของจมกู ท่ไี ม่มกี ระดกู
4) รอ้ ยเชอื กออ้ มคอผ่านจมูก

รูปที่ 2-20 การสนสะพายโค

2.4.8) การจดั การโคระยะขุน

ดงั ทีไ่ ด้กลา่ วมาในขา้ งต้น โคขนุ คณุ ภาพมี 2 รูปแบบ คือ โคเน้ือหนุ่มและโคไขมันแทรก
ท้ัง 2 รูปมีความแตกต่างกันทช่ี ่วงระยะเวลาการขุน และอาหารที่กินแต่การเลือกพันธุน์ ามาเลี้ยง
ยอ่ มเหมือนกนั คือต้องใชส้ ายพนั ธุ์ลูกผสมสายเลอื ดยุโรป เพอื่ ให้เนือ้ มคี ณุ ภาพดีเพยี งพอ

ในการเลี้ยงระยะขุนทั้งสองแบบจะใช้ทั้งอาหารข้นและอาหารหยาบให้กินแบบเต็มที่
โดยมากระยะโคหนุ่มมักใช้อาหารข้นประมาณ 1% ของน้าหนักตัว โดยท่ีต้องการระดับโปรตีน
ประมาณ 12-14% รว่ มกบั หญา้ สดหรอื หญา้ หมกั แบบเตม็ ท่ี เพือ่ ใหโ้ คมกี ารสร้างกลา้ มเนื้อ แต่โค
ท่ีเลี้ยงในระบบไขมันแทรกจะให้อาหารข้น 1-1.5% ของน้าหนักตัว ร่วมกับหญ้าหมักหรือฟาง
ข้าวและกากน้าตาล แต่โคท่ีเล้ียงแบบไขมันแทรกจะต้องทาการตอนที่น้าหนักประมาณ 400
กิโลกรัม (ก่อนขุน) เพื่อให้มีการสะสมไขมันท่ีมากขึ้น โดยการตอนนิยมวิธีการผ่าเอาลูกอัณฑะ
ออกหรือใช้คีมเบอรด์ ิซโซ่ (Burdizzo) หนีบทข่ี ั้วอณั ฑะ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 19

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเนื้อ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

รูปที่ 2-21 โคลกู ผสมท่ีนิยมนามาเลีย้ งขุน

รปู ท่ี 2-22 การตอนโดยวธิ กี ารผ่าเอาลกู อัณฑะออก

(1) การผสมอาหารสตั ว์ด้วยมือ

เป็นวิธีการผสมอาหารที่เหมาะสมกับเกษตรกรรายย่อยที่มีต้นทุนต่า โดยมี
อุปกรณ์ไม่มาก ได้แก่ พลั่ว กะละมัง เครื่องชั่ง เป็นต้น โดยในการผสมมีลาดับขั้นตอน
ดังตอ่ ไปน้ี

1) ทาความสะอาดพื้นท่ีที่จะทาการผสม ควรเป็นพื้นปูนขัดมัน เพ่ือให้ง่ายต่อ
การทาความสะอาด

2) ทาการช่ังวัตถุดิบอาหารสัตว์ตามท่ีคานวณไว้ โดยทั่วไปนิยมผสมวัตถดุ ิบที่มี
ปริมาณมากก่อนคือแหล่งวัตถุดิบพลังงาน เช่น ข้าวโพดบด มันเส้น หรือราข้าว โดยควร
แบ่งส่วนประกอบไว้บางส่วนในกะละมังเพื่อเก็บไว้ผสมกับแร่ธาตุ วิตามิน หรือพรีมิกซ์
หลังจากนั้นจึงชั่งแหล่งวัตถุดิบประเภทโปรตีนมาผสมในกอง วัตถุดิบประเภทแร่ธาตุ
วติ ามินหรือพรีมกิ ซค์ วรนามาคลกุ เคล้ากบั แหลง่ วัตถดุ บิ พลงั งาน แล้วจึงนามาผสมในกอง
ใหญ่ตอ่ ไปโดยใช้พล่วั สว่ นวัตถดุ บิ ประเภทของเหลว เช่น กากน้าตาล นา้ มันพชื ควรผสม
กับวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์ทม่ี ีเนอ้ื หยาบเลก็ น้อยในกะละมัง แลว้ จึงนามาผสมในกองใหญ่

3) คลุกเคล้าใหเ้ ข้ากนั จนเปน็ เนอ้ื เดียวกนั

(2) การผสมอาหารสัตวด์ ว้ ยเคร่อื งผสมอาหารสตั ว์

เป็นการผสมอาหารปริมาณมาก ๆ ซ่ึงใช้หลักการ เช่นเดียวกับการผสมด้วยมือ
แต่การผสมนี้จะใช้เวลานอ้ ยกว่า เน่ืองจากเคร่ืองมีความสามารถในการคลุกเคล้าได้ เร็ว
กวา่ ลาดบั ของการนาวตั ถุดบิ เข้าผสมมคี วามสาคัญต่อการการทาให้ผสมไดท้ วั่ ถึงและรวด
เร็ว เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย เริ่มด้วยการใส่อาหารพวกเมล็ดธัญพืช เช่น ข้าวโพด
ปลายข้าวหรือรา ประมาณ 25 - 35 เปอร์เซ็นต์ แล้วจึงใส่อาหารประเภทอื่น ๆ คือ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 20

บทที่ 2 การจัดการฟาร์มโคเน้ือ ผศ.ดร. ณรกมล เลาหร์ อดพนั ธ์

อาหารประเภทโปรตีน วติ ามิน และแร่ธาตุ เปิดเคร่อื งผสมกนั สกั คร่กู ่อนแลว้ จึงใสอ่ าหาร
ท่ีเหลือเข้าไป ถ้ามีการผสมอาหารท่ีเป็นของเหลวผสมเข้าด้วยควรรอใหอ้ าหารทุกอยา่ ง
ผสมให้ท่ัวถึง โดยใชเ้ วลาไปก่อน 60 - 70 เปอรเ์ ซ็นต์ ของเวลาท่ีต้ังผสม แลว้ จึงใสอ่ าหาร
ที่เป็นของเหลวตาม

ในการให้อาหารโคขนุ จาเป็นต้องให้กากนา้ ตาลใสภ่ าชนะบรรจุเพิ่มใหเ้ ลียกินอีก
วันละ 1-2 กิโลกรัม เพ่ือให้โคขุนมีพลังงานเพิ่มเติมจนเกิดการสะสมเป็นไขมันแทรก
เพม่ิ ขึ้น ในการขนุ โคระยะไขมันแทรกควรใช้เวลาในการขนุ ประมาณ 260 วัน จะไดไ้ ขมนั
แทรกในระดับท่ีเพียงพอและได้รับผลกาไรตอบแทนสูงสุด โดยปกติผู้ประเมินการสิน้ สุด
การขุนจะประเมินที่ตาแหน่งโคนหางและซี่โครง โดยจะพิจารณาการสะสมไขมันท่ี
ตาแหนง่ ดงั กล่าว

รปู ที่ 2-23 ตาแหนง่ ท่ีใช้ประเมินการสะสมของไขมัน

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 21

บทท่ี 3

การจัดการการสบื พนั ธุใ์ นโคเนอ้ื

รศ.

ผศ. ดร. ทศพล มูลมณี

ภาควชิ าสัตวศาสตร์และสัตว์น้า
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

บทท่ี 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเน้ือ ผศ.ดร.ทศพล มูลมณี

3.1 วัยเจรญิ พันธุ์ในโคเนอ้ื

เมอื่ เขา้ ส่วู ยั หนมุ่ สาว (puberty) ระบบสืบพนั ธุ์จะเริ่มทางาน โดยในเพศผู้จะเริ่มผลิตอสจุ ิ และใน
เพศเมยี จะเรมิ่ การเปน็ สดั และเกดิ การตกไข่ ในโคเนอื้ อายแุ ละนา้ หนักเม่อื ถึงวัยเจรญิ พันธุใ์ นโคแต่ละพันธมุ์ ี
ความแตกต่างกัน คือ โคสายพันธ์ุยุโรป (Bos taurus) มีอายุเมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ท่ีเร็วกว่าโคสายพันธ์ุ
อินเดีย (Bos indicus) เช่น โคสายพันธ์ุยุโรป มีอายุเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว อยู่ในช่วงระหว่าง 11-15 เดือน
และมีน้าหนกั เมอื่ เขา้ สวู่ ัยหนุม่ สาว อยู่ในชว่ งระหว่าง 300-355 กโิ ลกรัม
โคเนอื้ สาว (heifers) เม่อื เขา้ สู่วยั หนุม่ สาว และจะดาเนนิ การผสมพนั ธุห์ รือการผสมเทียม ต้องพิจารณาถึง
ปัจจัยที่สาคัญ คือ อายุและน้าหนกั ตัวโคท่ีเหมาะสมจงึ จะทาการทาการผสมพันธ์ุ โดยท่ัวไปแล้วในโคเน้อื
สาว เม่อื มีอายุ 15 เดอื น และมีน้าหนัก คดิ เปน็ 65% ของนา้ หนกั ตวั เมือ่ โตเตม็ ที่

3.1.1 ) วงรอบการเป็นสดั ในโคเพศเมีย

เม่อื เข้าสู่วยั หนมุ่ สาวในโคเพศเมียระบบสืบพนั ธจ์ุ ะเร่ิมทางาน ซ่ึงการทางานของรงั ไข่ใน
โคเนื้อจะเกิดข้ึนเป็นวงรอบที่ต่อเนื่อง เรียกว่า “วงรอบการเป็นสัด (estrous cycle)” ซึ่งในโค
เพศเมีย มีระยะเวลาของวงรอบการเป็นสัด อยู่ในช่วงระหว่าง 18–24 วัน มีระยะเวลาที่แสดง
อาการเป็นสัด อยู่ในช่วงระหว่าง 15–18 ชั่วโมง มีระยะเวลาท่ีเกิดการตกไข่ อยู่ในช่วงระหว่าง
10–11 ช่ัวโมง หลังหมดสัด และมีระยะเวลาในการผสมเทียม อยู่ในช่วงระหว่าง 12–18 ชั่วโมง
หลงั เปน็ สดั

ระยะที่โคเป็นสัดอาการเป็นสัด (estrus) เป็นระยะที่มีการผลิตฮอร์โมนเพศเมีย
(ฮอร์โมนเอสโตรเจน) สูงสุด ทาให้โคเพศเมียแสดงพฤติกรรมยอมพฤติกรรมยอมรับการสืบพันธุ์
คือ เมื่อโคเพศเมียเป็นสัดเต็มที่ (standing heat) จะยืนน่ิงยอมให้ตัวอ่ืนข้ึนทับ มีเมือกที่มี
ลักษณะใสไหลจากช่องคลอด (รูปที่ 3-1) อวัยวะเพศบวมแดง ระยะแสดงอาการเป็นสัด จะมี
ช่วงเวลาอยู่ในช่วงระหว่าง 15-18 ชั่วโมง ต่อจากน้ันหลังโคเพศเมียหมดสัด (หยุดยืนนิ่ง)
ประมาณ 10-11 ชั่วโมง จะเกิดการตกไข่

รปู ที่ 3-1 ลักษณะเมอื กใส่ไหลจากชอ่ งคลอดเม่ือโคเพศเมียเป็นสัดเตม็ ท่ี (standing heat)

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 23

บทที่ 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเนื้อ ผศ.ดร.ทศพล มลู มณี

3.2 เวลาที่เหมาะสมสา้ หรบั การผสมพนั ธุใ์ นโคเพศเมยี

ระยะเวลาที่เหมาะในการปล่อยน้าเชื้อของพ่อพันธุ์โคเน้ือเข้าสู่ท่อทางเดินสืบพนั ธุ์ ท้ังโดยวธิ ีการ
ผสมเทียม หรือการผสมตามธรรมชาติ ถือได้ว่ามีความสาคัญอย่างยิง่ ต่ออตั ราการตง้ั ท้อง โดยโคเพศเมยี มี
ระยะเป็นสัดเตม็ ท่ี (standing heat) เฉลี่ย 16 ช่ัวโมง หากทาการผสมเทียม ที่ระยะ 0-6 ช่ัวโมง หลังเป็น
สดั เต็มท่ี เปน็ ชว่ งระยะเวลาท่ีไมเ่ หมาะสมเนื่องจากเรว็ เกนิ ไปสาหรับการผสมพนั ธุ์ ระยะ 6-12 ชวั่ โมง และ
ระยะ 18-24 ช่ัวโมง หลงั เป็นสดั เตม็ ที่ เป็นระยะทเี่ หมาะสมสาหรับการผสมพันธ์ุ และระยะ 12-18 ชวั่ โมง
ชวั่ โมง หลงั เปน็ สัดเต็มที่ เปน็ ระยะทเ่ี หมาะสมที่สดุ สาหรบั การผสมพันธ์ุ แตร่ ะยะเวลามากกวา่ 24 ชัว่ โมง
หลังเป็นสัดเต็มที่ เป็นระยะท่ีไม่เหมาะสมเน่ืองจากช้าเกินไปสาหรับการผสมพันธุ์ และหากทาการผสม
พันธดุ์ ้วยวธิ ผี สมพนั ธุ์ตามธรรมชาตโิ ดยใช้พ่อพนั ธ์ุ ระยะเวลาทีเ่ หมาะสมท่ีสุด คือ 3-18 ชวั่ โมง หลังเปน็ สดั
เต็มท่ี (รูปที่ 3-2)

รปู ท่ี 3-2 ระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรบั การผสมพนั ธุ์ดว้ ยวธิ ีผสมเทียม หรอื ผสมตามธรรมชาติ
ดว้ ยพอ่ พนั ธโ์ุ ค

3.3 การผสมเทียมในโคเน้อื
การผสมเทียม (artificial insemination หรือ AI) หมายถึง การนานา้ เชอ้ื ท่ีรดี เกบ็ ไดจ้ ากพอ่ พนั ธ์ุ

โคเน้ือมาฉีดเข้าไปในระบบสืบพันธุ์ของโคเนื้อเพศเมียโดยมนุษย์ ซ่ึงไม่ต้องอาศัยการผสมพันธุ์ตาม
ธรรมชาติจากพ่อพันธุ์ โดยโคเน้ือเพศเมียต้องอยู่ในช่วงระยะเวลาการเป็นสัดท่ีเหมาะสมสาหรับการผสม
พันธ์ุ

การผสมเทียมมีข้อดีหลายประการ เช่น ลดปัญหาและปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคติดตอ่ ทาง
ระบบสืบพันธุ์ สามารถใช้เทคนิคการผสมเทียมร่วมกบั การควบคมุ การเปน็ สดั ได้ ใช้ในการแพร่พันธุ์โคเนอื้
ที่ดีได้อย่างรวดเร็ว ใช้ในงานการปรับปรุงพันธ์ุโคเนื้อ สามารถนาน้าเช้ือไปผสมในสถานท่ีไกล ๆ ได้
สามารถลดค่าใช้จา่ ยในการเล้ยี งพอ่ พันธุ์โคเนื้อ และลดปัญหาการปาดเจ็บของแม่พันธุ์โคเนือ้ ทมี่ ขี นาดเล็ก
เมือ่ ผสมพนั ธ์ตุ ามธรรมชาตโิ ดยใช้พอ่ พันธโ์ุ คเนอื้ ขนาดใหญ่

การผสมเทียมจาเปน็ ต้องใช้เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ที่สาคัญ ประกอบดว้ ย ปืนฉีดน้าเชื้อผสมเทยี ม
(AI gun) หลอดพลาสตกิ (plastic sheath) ท่ใี ช้สวมทับปนื ฉดี น้าเช้ือ แซนนติ ารีชที (sanitary sheath) ท่ี

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 24

บทที่ 3 การจัดการสืบพันธุ์ในโคเน้ือ ผศ.ดร.ทศพล มลู มณี

ใช้สวมทับหลอดพลาสติกอีกหนึ่งช้ัน ถุงมือผสมเทียมในโค ถังไนโตรเจนเหลวบรรจุน้าเช้อื แบบภาคสนาม
คีมปากโคง้ สาหรบั จบั หลอดน้าเชื้อ กระติกน้าร้อน กระบอกอนุ่ นา้ เช้ือ เทอร์โมมิเตอร์วดั อณุ หภมู ิ กรรไกร
ตัดหลอดน้าเชือ้ (รูปที่ 3-3) เป็นต้น สงิ่ ท่ีสาคญั ท่ีสุดสาหรบั การใชอ้ ปุ กรณ์สาหรับผสมเทียม คือ การรักษา
ความสะอาด ควรฆ่าเชื้อโรคทกุ ครั้งทง้ั กอ่ นและหลงั ใช้อุปกรณ์ แต่ต้องระวังอย่าให้สารฆา่ เชอ้ื โรคเป็นตวั ฆา่
อสุจิกอ่ นการฉดี นา้ เช้อื

รปู ที่ 3-3 อปุ กรณท์ ีส่ าคัญสาหรับการผสมเทียมในโค

การเตรยี มน้าเช้อื แช่แข็ง เพื่อการผสมเทียม มขี ้ันตอนหลัก ๆ ท่ีสา้ คญั ดงั นี้

1) เตรียมน้าอุ่นในกระบอกอุ่นน้าเช้ือ ซ่ึงน้าอุ่นต้องมีอุณหภูมิประมาณ 35-37 องศา
เซลเซียส โดยใช้เทอร์โมมิเตอรว์ ัดอณุ หภมู ิ

2) ใช้คีมปากโค้งจับหลอดน้าเช้ือออกจากกระบอกบบรรจุน้าเช้ือ (goblet) ภายในถัง
ไนโตรเจนเหลวบรรจุน้าเชื้อแบบภาคสนาม ข้อควรระวัง คือ ไม่ควรคีบกระบอกบบรรจุน้าเช้ือ
ออกมานอกถังไนโตรเจนเหลว

3) นาหลอดน้าเชื้อแช่ในกระบอกอุ่นน้าเช้ือทันทีหลังจากนาออกมาจากกระบอกบบรรจุ
นา้ เชื้อ โดยแช่หลอดน้าเชอ้ื ไวใ้ นนา้ อ่นุ เปน็ เวลา 30 วินาที ข้อควรระวงั คือ ควรใช้เวลาไม่เกิน 15
วินาที ต้ังแต่นาหลอดน้าเช้ือออกจากถังไนโตรเจนเหลว จนถึง แช่ลงในกระบอกอุ่นน้าเช้ือ
เนื่องจากหากใชเ้ วลานานอาจทาใหต้ วั อสจุ ติ ายได้

4) เมอ่ื แช่น้าเช้ือในนา้ อ่นุ ครบ 30 นาที จากนั้นใช้คีมปากโคง้ จบั หลอดน้าเชื้อข้ึนจากนา้ อนุ่
ข้อควรระวัง คือ ไม่ควรใช้มอื สัมผสั หลอดนา้ เชือ้

5) เช็ดหลอดน้าเชื้อให้สะอาดและแห้งด้วยกระดาษทิชชู่ จากน้ันสอดปลายหลอดน้าเชื้อ
ด้านท่ีมีจุกด้ายเข้าไปในกระบอกของปืนฉีดน้าเช้ือ ดันหลอดน้าเชื้อเพ่ือให้ก้านเล่ือนของปืนฉีด
น้าเชื้อเลื่อนลง โดยดันให้เหลือส่วนปลายของหลอดน้าเช้ือท่ีจะตัดเพียงเล็กน้อย จากน้ันใช้
กรรไกรตัดสว่ นปลายของหลอดนา้ เชอ้ื ออก ขอ้ ควรระวัง คอื ไมค่ วรใช้มือสัมผสั กบั สว่ นปลายของ
หลอดนา้ เชอ้ื ทจ่ี ะตดั ออก

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 25

บทที่ 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเนื้อ ผศ.ดร.ทศพล มูลมณี

6) นาหลอดพลาสติกสวมทับปืนฉีดน้าเชอ้ื ท่ีภายในมีหลอดน้าเชื้อบรรจอุ ยู่ จากนั้นทาการ
สวมแซนนิตารีชีททบั หลอดพลาสตกิ อีกชัน้ หนงึ่

การสอดปืนผสมเทียมท่ีประกอบเรียบร้อยเข้าสู่ท่อทางเดินสืบพันธ์ุของโคเนื้อเพศเมีย มีข้ันตอน
หลกั ๆ ทีส่ า้ คญั ดังน้ี

1) ใช้มือซ้ายหรือมือขวา (ตามถนัด) ล้วงผ่านทวารหนักของโคเพศเมียท่ีเป็นสัดผ่านทวาร
หนักเพ่ือประเมินลักษณะของท่อทางเดินสืบพันธุ์ โดยใช้มือท่ีล้วงผ่านทวารหนักจับบริเวณคอ
มดลกู (cervix)

2) เม่อื จบั และประคองคอมดลูกได้แล้ว ใช้มอื อกี ดา้ นหน่ึงสอดปนื ฉดี นา้ เชือ้ ผา่ นท่อทางเดิน
สืบพันธข์ุ องโคเพศเมยี ใหป้ ลายของปนื ฉดี นา้ เชือ้ ไปสัมผัสกบั มืออีกดา้ นทก่ี าลงั ประคองคอมดลูก
ไว้

3) จากน้ันสอดปลายปืนฉีดน้าเช้ือผ่านจากคอมดลูกเข้าสู่ตัวมดลูก ลึกประมาณ 0.5
เซนติเมตร

4) จากนัน้ ดันก้านเล่อื นของปืนฉีดนา้ เชือ้ เพอื่ ปลอ่ ยนา้ เช้ือทบ่ี รเิ วณตวั มดลกู

3.4 การใชฮ้ อร์โมนเพอื่ การสบื พันธุ์

ปัจจบุ ันไดม้ ีการผลิตฮอรโ์ มนเชงิ การค้าท้ังที่เป็นฮอรโ์ มนที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และฮอร์โมน
สังเคราะห์ เพื่อใช้ในการความคุมวงรอบการเป็นสัดและการตกไข่ในโคเนื้อ ซ่ึงฮอร์โมนทางการค้าที่ผลิต
ข้ึนมามีหลากหลายชนิด และแต่ละชนิดมีหน้าที่และคุณสมบัติท่ีแตกต่างกัน โดยฮอร์โมนที่ใช้เพื่อการ
สบื พนั ธท์ุ สี่ าคัญในฟาร์มโคมี ดงั นี้

3.4.1) กลุ่มฮอร์โมนพรอสตาแกลนดิน เอฟ ทู แอลฟ่า (PGF2) เช่น เอสตรูเมท
(Estrumate) และ ลูทาไลส์ (Lutalyse) ซึ่งเป็นชื่อทางการค้า (รูปท่ี 3-4) ท้ังเอสตรูเมท และ ลู
ทาไลส์เป็นฮอร์โมนสาหรับฉีดเพือ่ เหนย่ี วนาวงรอบการเป็นสดั พร้อมกนั และเหนี่ยวนาให้โคกลบั
เข้าสู่วงรอบการเป็นสัด โดย เอสตรูเมท เป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ ใช้คร้ังละ 2 มิลลิลิตร ฉีดเข้า
กล้ามเนื้อ และ ลูทาไลส์ เป็นฮอร์โมนที่เกิดข้ึนตาธรรมชาติ ใช้คร้ังละ 5 มิลลิลิตร ฉีดเข้า
กลา้ มเน้อื

คาแนะนาในการฮอร์โมนกลุ่ม PGF2 คือ โคจะแสดงอาการเป็นสัดหลังฉีด ฮอร์โมน

PGF2 แล้วประมาณ 2-5 วันในโคสาว ประมาณ 50 ช่ัวโมง โคนาง 72 ช่ัวโมง โคจะตอบสนอง

โดยการเป็นสัดประมาณ 60-65% การจะทาให้โคนมเป็นสัดเพ่ิมข้ึนต้องฉีดฮอร์โมน PGF2
จานวน 2 เขม็ ห่างกนั 11 วัน โดย หากโคตอบสนองต่อการฉีด PGF 2α เขม็ ท่ี 1 ใหท้ าการผสม

พันธ์ุโคทุกตัว ให้ทาการฉีด PGF 2α เข็มท่ี 2 ในโคท่ีไม่ตอบสนองต่อการฉีดในเข็มท่ี 1 โดยฉีด
เขม็ ท่ี 2 หากจากเขม็ ที่ 1 เป็นเวลา 11 วนั และหากตรวจพบการเป็นสัดจงึ ทาการผสมพันธุ์

ข้อควรระวังในการฮอรโ์ มนกลมุ่ PGF2 คือ หากฉีด PGF2 ในโคนมที่ตง้ั ทอ้ งจะทาให้

เกิดการแท้งได้ โคจะไม่มีการตอบสนองต่อ PGF2 หากโคนมไม่มี CL บนรังไข่ เช่น โคไม่มี
วงรอบการเปน็ สดั

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 26

บทที่ 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเนื้อ ผศ.ดร.ทศพล มลู มณี

3.4.2) กลุ่มฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน (gronadotrophin) เช่น โครูลอน (Chorulon)
และ โฟลลิกอน (Folligon) (รูปท่ี 3-5) ซ่ึงเป็นชื่อทางการค้า ใช้เพื่อกระตุ้นให้ถุงไข่เจริญเติบโต
กระตุ้นใหเ้ กิดการตกไข่ และชว่ ยเพิ่มการผสมติดสงู ขึน้ โดย โครลู อน ใชค้ รง้ั ละ 1,500-3,000 ไอ.
ยู ฉีดเขา้ กลา้ มเน้ือ และ โฟลลกิ อน ใช้ครั้งละ 500-3,000 ไอ.ยู ฉีดเขา้ กลา้ มเนอ้ื

คาแนะนาในการฮอรโ์ มนโครลู อน คือ กรณีเพม่ิ การผสมติด ใหฉ้ ดี ขนาด 1,500 ไอ.ยู ใน
วันท่ผี สมพนั ธุ์ กรณเี ป็นสัดเงียบ ให้ฉีดขนาด 1,500-3,000 ไอ.ยู

คาแนะนาในการฮอรโ์ มนโฟลลกิ อน คอื กรณกี ระตนุ้ การเป็นสัดและเพิ่มการผสมติด ให้
ฉีดขนาด 500-3,000 ไอ.ยู กรณีเป็นสัดเงียบ ให้ฉีดขนาด 500-3,000 ไอ.ยู กรณีกระตุ้นให้เกิด
การตกไข่ ให้ฉีดขนาด 1,500-3,000 ไอ.ยู

รูปท่ี 3-4 ฮอรโ์ มน PGF2 และชอื่ ทางการคา้

รูปท่ี 3-5 ฮอรโ์ มนโครลู อน (Chorulon) และ โฟลลกิ อน (Folligon)

3.4.3) รีเซพทอล (receptal) เป็นชื่อฮอร์โมนทางการค้า (รูปท่ี 3-6) ซ่ึงเป็นฮอร์โมน
สงั เคราะห์ชนิดน้าสาหรบั ฉดี เพ่อื กระตุน้ ให้รา่ งกายให้หลงั่ ฮอร์โมน FSH ที่กระตนุ้ การเจริญเตบิ โต
ของถุงไข่ (ฟอลลิเคิล) และฮอร์โมน LH ท่ีกระตุ้นการตกไข่ ฮอร์โมนรีเซพทอลใช้เพื่อเพ่ิมอัตรา
การผสมในการทาผสมเทยี ม หรอื ในกรณีกระตุ้นใหเ้ กดิ การตกไขใ่ กล้เคียงกนั นอกจากน้ียังใช้เพอื่
รกั ษาภาวะถงุ น้าบนรังไข่ โดยใช้คร้งั ละ 2.5-5 มลิ ลิลติ ร ฉดี เขา้ กล้ามเน้อื โดยการฉดี ฮอร์โมนเข้า
กล้ามเน้อื สามารถฉดี ไดห้ ลายบรเิ วณ เชน่ การฉดี เขา้ กล้ามเนอื้ บรเิ วณสะโพก (รูปท่ี 3-7)

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 27

บทที่ 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเน้ือ ผศ.ดร.ทศพล มูลมณี

รปู ท่ี 3-6 ฮอรโ์ มนรเี ซพทอล รูปท่ี 3-7 การฉีดฮอรโ์ มนเขา้ กลา้ มเนื้อ
บริเวณสะโพก

ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนสังเคราะห์แบบสอดช่องคลอด เช่น ซีด้าร์® (CIDR®) ซึ่งเป็นช่อื
ทางการค้า (รปู ท่ี 3-8) ใช้สาหรบั ควบคมุ วงรอบการเป็นสัด และเหนย่ี วนาวงรอบการเป็นสดั และ
ทาใหเ้ กิดการเป็นสัดพรอ้ ม ๆ กนั เพ่ือจดั โปรแกรมการผสมเทยี มแบบกาหนดเวลา โดยใช้ซดี า้ ร์®
1 แทง่ ตอ่ โค 1 ตวั สอดเขา้ ช่องคลอด นานเป็นเวลา 7-9 วัน เมื่อครบกาหนดจาถอดซดี ้าร์® ออก
จากชอ่ งคลอด

รูปท่ี 3-8 ฮอรโ์ มนซีด้าร®์ สาหรับโค และกระบอกสอดแทง่ ฮอรโ์ มน

3.5 โปรแกรมฮอรโ์ มนเพื่อเหนี่ยวน้าการตกไขใ่ นโคเพศเมยี
วัตถุประสงค์หลักของการใช้โปรแกรมฮอร์โมนในการเหน่ียวนาการเป็นสัดและการตกไข่ เพ่ือจัด

กลุ่มโคเน้ือสาหรับการคลอด ลดแรงงาน ได้ลูกโคเน้ือเม่ือหย่านมซึ่งมีอายุ และน้าหนักใกล้เคียงกัน ลด
ระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อการตรวจเช็คสัด (จับสัด) และขจัดปัญหาเร่ืองการตรวจเช็คสัดเพ่ือการผสมเทียม
การใช้ฮอร์โมนสาหรับโปรแกรมเหน่ียวนาการเป็นสัด และตกไข่ มีหลากหลายโปรแกรมท่ีเกษตรกร
สามารถเลือกใชไ้ ด้ตามความเหมาะสม เช่น

โปรแกรมการสอดใช้ฮอร์โมน GnRH ร่วมกับ PGF2 คือ โปรแกรม Ovsynch ท่ีพัฒนาเพื่อเป็น
โปรแกรมการใช้ฮอร์โมนในการเหน่ียวนาการตกไข่และกาหนดเวลาการผสมเทียม และลดการตรวจสัด
โดยใช้ฮอร์โมน 2 ชนิด คือ ฮอร์โมน GnRH ที่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของถุงไข่และกระตุ้นการตกไข่

และฮอร์โมน PGF2 ท่ีทาให้ CL เกิดการเสอ่ื มสาย โดยมวี ิธกี ารปฏบิ ตั ิ (รูปที่ 3-9) ดังน้ี

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 28

บทท่ี 3 การจัดการสืบพันธ์ุในโคเน้ือ ผศ.ดร.ทศพล มูลมณี

1) วันเร่ิมต้นโปรแกรม ฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เข็มท่ี 1 เข้ากล้ามเนือ้
ขนาด 2.5 มลิ ลิลติ ร

2) จากนั้น 7 วัน ฉีดฮอร์โมน PGF2 (เอสตรูเมท) เข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 2.0
มลิ ลลิ ติ ร จากน้นั 2 วนั ฉดี ฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เขม็ ที่ 2 เขา้ กล้ามเนอื้ ขนาด 2.5
มิลลิลติ ร

3) กาหนดเวลาการผสมเทียม ท่ี 16-20 ช่ัวโมง หลังฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพ
ทอล) เขม็ ที่ 2

รูปที่ 3-9 การฉีดฮอรโ์ มน GnRH (รเี ซพทอล) และฮอรโ์ มน PGF2 (เอสตรเู มท)

โปรแกรมใช้ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนสังเคราะห์แบบสอดช่องคลอด (CIDR®) ระยะสั้น 5 และ 7
วัน ร่วมกับ การใช้ฮอร์โมน GnRH และฮอร์โมน PGF2 คือ โปรแกรมที่ใช้ฮอร์โมน 3 ชนิด คือ ฮอร์โมน
CIDR® ท่ีช่วยควบคุมการเจริญเติบโตของถุงไข่ ฮอร์โมน GnRH ท่ีช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของถุงไข่
และกระต้นุ การตกไข่ และฮอรโ์ มน PGF2 ท่ที าให้ CL เกดิ การเสือ่ มสาย มี 2 โปรแกรม คอื

• โปรแกรมใช้ CIDR® ระยะสั้น 7 วัน ร่วมกับ การใช้ฮอร์โมน GnRH และฮอร์โมน PGF2
โดยมีวิธกี ารปฏบิ ตั ิ (รปู ที่ 3-10) ดังน้ี

1) วันเร่ิมต้นโปรแกรม (วันท่ี 0) ฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เข็มที่ 1 เข้า
กลา้ มเน้อื ขนาด 2.5 มิลลลิ ิตร รว่ มกบั การสอดแทง่ ฮอร์โมน CIDR® เข้าสู่ช่องคลอด

2) จากนั้น 7 วัน (วันท่ี 7) ฉีดฮอร์โมน PGF2 (เอสตรูเมท) เข้ากล้ามเนื้อ
ขนาด 2.0 มิลลิลติ ร พรอ้ มกับ ถอดแท่งฮอรโ์ มน CIDR® ออกจากชอ่ งคลอด

3) จากนั้น 2 วัน (วันที่ 9) ฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เข็มท่ี 2 เข้า
กลา้ มเนอ้ื ขนาด 2.5 มิลลิลิตร และทาการผสมเทยี ม

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 29

บทท่ี 3 การจัดการสืบพันธุ์ในโคเนื้อ ผศ.ดร.ทศพล มลู มณี

รปู ที่ 3-10 การสอดแท่งฮอร์โมน CIDR® ระยะส้นั 7 วนั รว่ มกับ การฉดี ฮอรโ์ มน GnRH (รเี ซพทอล)
และฮอร์โมน PGF2 (เอสตรเู มท)

• โปรแกรมใช้ CIDR® ระยะสนั้ 5 วัน ร่วมกับ การใช้ฮอรโ์ มน GnRH และฮอร์โมน PGF2 โดย
มวี ิธกี ารปฏบิ ัติ (รูปที่ 3-11) ดงั นี้

1) วันเร่ิมต้นโปรแกรม (วันท่ี 0) ฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เข็มท่ี 1 เข้า
กลา้ มเนือ้ ขนาด 2.5 มิลลลิ ิตร ร่วมกบั การสอดแทง่ ฮอร์โมน CIDR® เขา้ ส่ชู อ่ งคลอด

2) จากน้นั 5 วนั (วันที่ 5) ถอดแทง่ ฮอรโ์ มน CIDR® ออกจากชอ่ งคลอด พร้อม
กับ ฉีดฮอรโ์ มน PGF2 (เอสตรูเมท) เข็มท่ี 1 เข้ากลา้ มเนอ้ื ขนาด 2.0 มิลลิลติ ร

3) จากนั้น 1 วัน (วันท่ี 6) ฉีดฮอร์โมน PGF2 (เอสตรูเมท) เข็มท่ี 2 เข้า
กลา้ มเนอ้ื ขนาด 2.0 มลิ ลิลิตร

4) จากน้ัน 1 วัน (วันท่ี 7) ฉีดฮอร์โมน GnRH (รีเซพทอล) เข็มท่ี 2 เข้า
กลา้ มเน้ือ ขนาด 2.5 มลิ ลิลิตร และทาการผสมเทียม

รปู ที่ 3-11 การสอดแท่งฮอร์โมน CIDR® ระยะส้ัน 5 วนั รว่ มกบั การฉดี ฮอรโ์ มน GnRH (รเี ซพทอล)
และฮอร์โมน PGF2 (เอสตรูเมท)

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 30

บทที่ 4

อาหารโคเนอ้ื

รศ.

ผศ.ดร. เสาวลักษณ์ แยม้ หมืน่ อาจ

ภาควิชาสัตวศาสตร์และสตั ว์น้า
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่

บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แย้มหมน่ื อาจ

4.1 ความตอ้ งการโปรตนี ของโคเนอ้ื
โปรตนี เปน็ สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมโี มเลกุลขนาดใหญ่ มโี ครงสร้างซับซอ้ น ประกอบด้วยกรดแอ

มโิ นเรยี งตวั ตอ่ กันเป็นสายด้วยพนั ธะเพปไทด์ (Peptide bond) รา่ งกายของสัตว์มโี ปรตนี เปน็ องค์ประกอบ
ประมาณ 12-16 เปอร์เซ็นต์ พบในทุกส่วนของร่างกาย ยกเว้นปัสสาวะ และน้าดี หนึ่งในสามของโปรตีน
ในร่างกายพบในกลา้ มเน้อื โปรตีนมคี วามส้าคัญและหนา้ ทเี่ ปน็ โครงสรา้ งของร่างกาย ช่วยบ้ารุงรักษาและ
ซ่อมแซมเน้ือเยอ่ื ท่ีสึกหรอ ใช้ในการสงั เคราะหส์ ารอินทรีย์ที่จา้ เป็นตอ่ รา่ งกาย เชน่ เอนไซม์ ฮอร์โมน และ
สารภูมิคุ้มกัน ช่วยในการควบคุมสภาพหรือสภาวะของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ และใช้เป็นแหล่ง
พลงั งานได้ (โปรตีน 1 กรมั จะให้พลังงานประมาณ 16.736 กโิ ลจูล หรอื 4.0 แคลอร)ี

4.2 คุณค่าทางโภชนะของอาหารโคเนอื้

4.2.1 แหล่งอาหารหยาบ
อาหารหยาบหมายถึงอาหารที่มีความเข้มข้นของโภชนะต่อหน่วยน้าหนักน้อยมีความ

ฟ่ามมาก และมเี ยื่อใยสูงเกนิ 18% ของวตั ถุแห้ง ส่วนใหญแ่ ลว้ อาหารหยาบได้แก่สว่ นต่าง ๆ ของ
ต้นและใบพืชซ่ึงจัดเป็นอาหารหลักของโคเน้ือและเป็นแหลง่ อาหารท่ีมีราคาถูกอาหารหยาบหรอื
อาหารทม่ี ีเยอ่ื ใยสูงเป็นอาหารที่จา้ เป็นอย่างย่ิงส้าหรบั โคเนอื้ เพราะช่วยกระตุน้ ให้กระเพาะบีบตัว
ท้าให้สัตว์ขยอกอาหารออกมาเคี้ยวเอ้ือง ซึ่งในการเคี้ยวเอื้องนี้จะมีน้าลายถูกขับออกมาเป็น
จ้านวนมากน้าลายของสัตว์เคี้ยวเอ้ืองจะช่วยต้านความเป็นกรดในกระเพาะหมักไม่ให้ลดต้่า
เกินไป มิฉะน้ันจุลินทรีย์จะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ เนื่องจากในกระเพาะหมักมีการหมักอาหารอยู่
ตลอดเวลา ดังน้ันจึงมีกรดไขมันระเหยได้ผลติ ออกมาเสมอ ถ้าสัตวไ์ ด้รับอาหารขน้ ในระดับสงู กจ็ ะ
มีกรดถกู ผลติ ออกมาในอัตราเร็วมากเพราะอาหารข้นมีคารโ์ บไฮเดรตท่ยี อ่ ยได้งา่ ยอยูม่ าก ถ้าไมม่ ี
สารในน้าลายมาช่วยต้านทานความเป็นกรดไว้กระเพาะจะมีความเป็นกรดสูง จุลินทรีย์ใน
กระเพาะหมักจะมชี ีวติ อยู่ไมไ่ ด้ ซงึ่ จะมีผลท้าใหส้ ัตว์ปว่ ยหรอื ตายในทส่ี ุด ด้วยเหตนุ ้อี าหารหยาบ
หรืออาหารทม่ี ีเยอ่ื ใยสูงจงึ นับว่าจ้าเปน็ ตอ่ สัตว์เคยี้ วเอ้อื งมาก

(1) อาหารหยาบแบ่งได้ 3 ประเภทใหญ่ คอื

 อาหารหยาบสด เช่น หญ้าสด ต้นและเปลือกข้าวโพดฝักอ่อน ข้าวโพด
ตน้ และใบถ่วั สด ยอดอ้อยและเปลอื กสับปะรด เป็นตน้

รปู ที่ 4-1 หญา้ กนิ นี รปู ที่ 4-2 หญ้ากินนสี ีมว่ ง
(Panicum maximum) (Panicum maximum cv.TD 58)

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 32

บทท่ี 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แย้มหมนื่ อาจ

รปู ที่ 4-3 หญา้ เนเปยี ร์ รูปที่ 4-4 หญา้ รูซ่ี
(Pannisetum purpureum) (Brachiaria ruziziensis )

รปู ท่ี 4-5 หญา้ เนเปยี ร์ปากชอ่ ง1 รปู ท่ี 4-6 เปลือกข้าวโพดหวาน

 อาหารหยาบแห้ง เช่น หญ้าแห้ง ฟางข้าว ต้น และใบถ่ัวแห้ง หรือพืช
อ่ืน ๆ ที่เกบ็ ถนอมไวโ้ ดยการตากแดดหรอื อบให้น้าระเหยไปจนเหลอื ความช้ืนอยู่
ในระดบั ท่สี ามารถเก็บไว้ได้โดยปลอดภยั

รปู ท่ี 4-7 หญา้ แหง้ หน้า | 33
คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี

บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แย้มหมืน่ อาจ

รปู ที่ 4-8 ฟางข้าว รูปที่ 4-9 เปลอื กซังขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์

 พชื หมกั (Silage) ไดแ้ ก่ ตน้ และใบพืชที่นา้ ไปถนอมไวใ้ นสภาพท่ีอวบนา้
และอบั อากาศเชน่ หญ้าหมักและต้นขา้ วโพดหมัก

รปู ที่ 4-10 พืชหมกั

4.2.2) แหล่งอาหารข้น
อาหารข้น ประกอบด้วยแหล่งอาหารโปรตีน เช่น พวกกากถ่ัวเหลือง กากเมล็ด

ทานตะวัน กากงา กากเมล็ดฝ้าย ใบพืชโปรตนี สูง เชน่ ใบกระถินแห้ง ใบมนั ส้าประหลงั แห้ง เปน็
ต้น แหลง่ อาหารพลงั งาน เช่น มันเส้น ขา้ วโพด รา้ ข้าวฟา่ ง เปน็ ตน้

ในการเลี้ยงโคเนื้อควรเสริมอาหารข้นด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในโคที่ก้าลังเจริญเติบโต
และ/หรือใหผ้ ลผลิตน้านมสูงเพราะโคเนอื้ เหลา่ นีต้ อ้ งการสารอาหารสงู ถา้ หากใหก้ ินเฉพาะอาหาร
หยาบอย่างเดียวจะได้สารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายย่ิงโคเน้ือให้ผลผลิต
น้านมสูงข้ึนเท่าใดย่ิงต้องให้อาหารข้นสูงมากข้ึน ดังนั้นการให้อาหารข้นต้องพิถีพิถันเพ่ือความ
ประหยัดและโภชนะครบถ้วน อาหารข้นเป็นอาหารท่ีมีความเข้มข้นของโภชนะต่อหน่วยน้าหนกั
สูงมีเยื่อใยต้่ากว่า 18% ของวัตถุแห้งย่อยได้ง่าย แม้ว่าสัตว์จะกินเข้าไปน้อยก็สามารถให้
สารอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ไดม้ าก

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 34

บทที่ 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หมื่นอาจ

4.3 อาหารและวัตถุดิบในการผลติ อาหารโค

4.3.1วัตถดุ ิบแหลง่ พลงั งาน

(1) มนั เส้น/มนั ส้าปะหลัง ใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงานหลักมีโปรตีนประมาณ 2.6% มโี ภชนะ
ที่ย่อยได้ทั้งหมด (TDN) 79% ก่อนน้ามาใช้ควรตากแดดให้แห้งสนิท เพื่อลดสารพิษและลดการ
เกดิ เชือ้ ราระวงั ในเรอ่ื งการปลอมปนของตน้ มันทีต่ ดิ มากับหัวมัน

(2) ปลายข้าว ใชเ้ ปน็ แหลง่ พลงั งานมีโปรตนี ประมาณ 8% และโภชนะท่ยี อ่ ยได้ทง้ั หมด
80% สง่ิ ทตี่ ้องระวงั คอื แกลบและความช้ืน

(3) รา้ ขา้ ว ใช้เปน็ แหลง่ ของพลงั งานมไี ขมันสูงอยา่ เก็บไวน้ านจะเหมน็ หืนทา้ ให้คณุ ภาพ
ลดต้า่ ลง

(4) เมล็ดข้าวโพด เป็นแหล่งพลังงานที่มีโภชนะที่ย่อยได้ทั้งหมด 80% และมีโปรตีน
ประมาณ 8% และยังมีวติ ามินตา่ ง ๆ ทีจ่ า้ เป็นเชน่ ไวตามิน A, B1 สูงกอ่ นนา้ มาผสมควรตหี รอื บด
ให้แตกก่อนจะท้าให้โคเนื้อสามารถนา้ ไปย่อยและใชป้ ระโยชน์ได้ดยี ง่ิ ข้ึนสิ่งทคี่ วรระวังคือความชืน้
ในเมล็ดข้าวโพดไม่ควรให้สูงเกิน 14% เพราะจะท้าให้เกิดเช้ือราและสารพิษจากเชื้อราท้าให้
เกิดผลเสียต่อการเจรญิ เติบโตและการใหน้ ้านมของโคเน้อื ได้

(5) กากน้าตาล เป็นผลพลอยไดจ้ ากโรงงานน้าตาลมีโปรตีนตา้่ เพยี ง 2% และโภชนะท่ี
ย่อยได้ทั้งหมด 70% ลักษณะเป็นของเหลวข้นเหนียวสีน้าตาลเข้มมีกล่ินหอมรสหวานท้าให้
อาหารทนี่ ้ามาผสมเกดิ ความนา่ กนิ

(6) ไขมัน เป็นแหลง่ ทใ่ี หพ้ ลงั งานสงู เช่น ไขสตั ว์ แตใ่ ช้ในอาหารโคได้ไมเ่ กนิ 5% เพราะ
จะทา้ ให้การกินได้และการยอ่ ยอาหารลดลง

4.3.2) วตั ถดุ ิบแหล่งโปรตนี

(1) กากถั่วเหลือง มีโปรตีนประมาณ 44-48 % มีโภชนะย่อยได้ท้ังหมด (TDN)
ประมาณ 80-70% แต่มีข้อจา้ กัดที่ราคาทีย่ ังคงแพงการเลอื กใชต้ ้องขนึ้ อยกู่ ับราคา

(2) เมลด็ ฝ้าย ใชเ้ ปน็ แหลง่ ของโปรตนี และยังเป็นแหลง่ พลังงาน คือ มโี ปรตนี ประมาณ
15-20% แต่เมล็ดฝ้ายมีสารพิษที่เรียกว่ากอสซิปอลจึงไม่ควรใช้เมล็ดฝ้ายเกิน 25% ในสูตร
อาหาร

(3) ใบกระถินแห้ง ใช้เป็นแหล่งของโปรตีน 20-25% มีโภชนะที่ย่อยได้ท้ังหมด 75%
และยังเป็นแหล่งของวติ ามินต่าง ๆ เช่นวิตามิน A การเลือกใช้เป็นวตั ถุดิบควรระวังไม่ให้ก่งิ หรอื
กา้ นใบปลอมปนมากจะท้าใหค้ ณุ ภาพลดลง

(4) กากเมล็ดฝ้าย ใช้เป็นแหล่งของโปรตีนและโปรตีนไหลผ่านคือมีโปรตีนประมาณ
40-50% มสี ารพษิ ต่า้ แตม่ ขี อ้ จ้ากดั เรอื่ งราคาทแี่ พง

(5) กากเบียรแ์ ห้ง ใช้เปน็ แหลง่ ของโปรตีน 20-27% และมโี ปรตนี ไหลผา่ นสูงใช้ได้ดีแต่
ไม่ควรใชม้ ากเกนิ ไปจะท้าให้การยอ่ ยได้และความนา่ กินลดลง

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 35

บทที่ 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แย้มหม่ืนอาจ

รูปท่ี 4-11 กากเบียรแ์ ห้ง

(6) ยูเรีย ยูเรีย (46-0-0) เป็นแหล่งของโปรตีนไม่แท้ แต่จุลินทรีย์ในกระเพาะของโค
สามารถย่อยสลายยูเรียแล้วได้เป็นแอมโนเนีย เพื่อน้าไปสร้างเป็นจุลินทรีย์โปรตีน ซ่ึงสามารถ
ย่อยสลายเป็นโปรตีนส้าหรับโคได้ อย่างไรก็ตามความสามารถในการใช้ประโยชน์ของยูเรียมี
จ้ากัด ดงั นั้นหากใช้มากไปก็สามารถมีความเป็นพิษได้ โดยปกตแิ ล้วระดับที่ปลอดภัยในการเสริม
ยูเรียในอาหารโค คือ 3%

4.3.3) วัตถดุ ิบแหลง่ แร่ธาตุ และอ่นื ๆ

เชน่ กระดกู เปลอื กหอย เกลือ ไดแคลเซยี มฟอสเฟต วติ ามนิ และแร่ธาตปุ ลีกย่อย เปน็ ตน้

(1) เกลือ เปน็ แหลง่ โซเดียมและคลอไรดใ์ ชป้ ระมาณ 1% ในสตู รอาหารช่วยเพม่ิ รสชาติ
และความนา่ กินของอาหาร

(2) ไดแคลเซยี ม-ฟอสเฟส เปน็ แหลง่ ของแคลเซียมและฟอสฟอรสั มแี คลเซียมประมาณ
20-24% และฟอสฟอรัส 16-18% ใชใ้ นสตู รอาหารโคไมค่ วรเกิน 2%

รูปที่ 4-12 ไดแคลเซยี ม-ฟอสเฟส

(3) เปลือกหอยปน่ เปน็ แหล่งของแคลเซยี มโดยมแี คลเซียมประมาณ 30-40%

(4) กระดูกป่น มีแคลเซยี มประมาณ 30-35% และฟอสฟอรัสประมาณ 15% กา้ มะถนั
ผงมีลักษณะเป็นผงสีเหลืองใส่เพื่อให้การย่อยอาหารได้ดีข้ึนโดยเฉพาะอาหารที่มียูเรียเป็น
องค์ประกอบใชใ้ นอตั รา 1 สว่ น เมื่อใชย้ ูเรยี 10 สว่ น

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 36

บทที่ 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หม่นื อาจ

ตารางท่ี 4-1 ข้อจา้ กัดในการใช้วัตถุดิบ

วัตถดุ ิบ ปรมิ าณท่ีนยิ มใช้ ระดบั สูงสดุ เหตุผล
(%) (%)
ข้าวโพดบด 0 – 40 80 ถา้ ใช้มากซากจะมีไขมนั เหลว
รา้ ละเอียด 5 – 20 30
อาหารผสมฟ่ามเปน็ ฝนุ่ หนื ง่าย
มนั สา้ ปะหลงั 20 – 50 70 อาหารฟ่าม เป็นฝุ่น ท้าให้ได้รับโภชนะอื่นไม่
(มันเสน้ ) เพียงพอ ต้องใช้ปลาป่น หรือกากถ่ัวเหลือง
5–6 15 เพม่ิ ขึ้นเพราะโปรตนี ตา่้
กากนา้ ตาล ผสมอาหารยาก ถา้ ใชม้ ากสตั ว์ถ่ายเหลว

กากถวั่ ลิสง 3–5 10 ถา้ ใช้มากต้องใช้ปลาป่นเพม่ิ
ขาดไลซีน เมไทโอนี มอี ะฟลาท็อกซนิ

ใบกระถนิ 4 – 5 10 มี mimosine ถ้ามากจะเจรญิ เตบิ โตลดลง

กากเมล็ดฝ้าย 3–5 20 มี gossypol เป็นพิษต่อสตั วก์ ระเพาะเดยี่ ว
กากมะพร้าว 10 – 15
กากปาล์ม 5 – 15 20 ฟ่าม เยื่อใยสูง หืนง่าย สัตว์กินอาหารลดลง
กากนนุ่ 3–5 ใชม้ ากซากจะมีไขมนั แขง็
กากเรปสีด 5 – 15
20 ฟา่ ม เยอื่ ใยสูงมาก มกี ะลาปน

15 สด ๆ มสี ารพิษ cyclopropenoid มีผลตอ่
สัตวก์ ระเพาะเดยี่ ว

20 มสี ารพิษ glucosinolate และ tannic acid

ปลาปน่ 3 – 7 10 ราคาแพง มีเกลือสูง อาจมี salmonella

ขนไก่ปน่ 0–5 10 ขาดกรดอะมิโนทจ่ี า้ เป็น ตอ้ งเพ่มิ ปลาป่น ยอ่ ย
ยาก
แกลบก้งุ 5 – 10
กากเบยี ร์ 15 – 20 15 มเี กลือสูง Ca และ P สูงเกนิ ไป โปรตีนย่อย
ยเู รยี 1–2 ได้ตา่้

25 เยื่อใยสงู พลงั งานตา่้ มไี ลซีนตา้่ มาก

3 เป็นพิษ ต้องผสมกากน้าตาลด้วย แตกตัวเร็ว
ในกระเพาะ รสชาติเฝอ่ื นขม

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 37

บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หมืน่ อาจ

ตารางท่ี 4 -2 คุณค่าทางโภชนะของอาหารหยาบ ผลพลอยได้ทางการเกษตรท่ใี ช้เป็นอาหารสัตว์
(%วัตถแุ หง้ )

ชนิดอาหาร วัตถุ โปรตนี เยอ่ื ใย (%) TDN แรธ่ าตหุ ลัก
แหง้ รวม (%) (%)
หญา้ โรด้
หญ้ากนิ นีสีมว่ ง (%) (%) NDF ADF 53 Ca P
หญ้าขน 49
หญา้ ซิกแนลตง้ั อาหารหยาบคุณภาพดี 56 0.43 0.22
หญ้าซิกแนลนอน 58 0.42 0.25
หญา้ ซกิ แนลเลือ้ ย 27.4 7.4 72.8 42.8 60 0.43 0.22
หญา้ เนเปียร์ 57 0.28 0.20
หญา้ เนเปยี รแ์ คระ 22.5 7.4 70.5 40.9 54 0.30 0.23
หญ้าเนเปียรย์ กั ษ์ 52 0.22 0.28
หญ้าพลแิ คทูล่มั 22.6 8.0 66.8 37.8 51 0.35 0.33
หญา้ แพงโกลา่ 57 0.66 0.31
หญา้ รซู ่ี 27.8 7.9 70.9 40.7 55 0.62 0.31
หญา้ อะตราตัม้ 54 0.69 0.16
26.5 7.4 70.0 39.1 54 0.91 0.24
ฟางข้าว 0.57 0.26
ใบอ้อย 27.7 8.2 70.9 38.2 44 0.91 0.19
ยอดอ้อย 54
กากนา้ ตาล 18.7 10.1 65.4 37.2 54 0.32 0.13
ต้นข้าวโพดฝกั ออ่ น 64 0.29 0.15
เปลือกและไหม 23.6 10.8 65.0 36.5 59 0.30 0.13
ตน้ ขา้ วโพดหวาน 66 0.80 0.05
ทางปาลม์ 21.1 8.6 67.3 36.9 64 0.36 0.23
ใบปาลม์ นา้ มัน 70 0.27 0.33
ต้นถวั่ ลิสงแห้ง 24.9 6.9 69.1 40.3 53 0.35 0.30
ต้นถ่วั เหลอื งหลงั เก็บฝัก 55 0.67 0.11
26.9 10.5 66.2 34.5 52 1.05 0.17
เปลอื กแหง้
จกุ สด 20.2 8.5 65.5 37.6 62 --
ใบสด 64 1.43 0.15
เปลอื กรวม (โรงงาน) 21.9 7.1 66.7 41.1 65
64 0.23 0.10
วัสดุเหลือใช/้ ผลพลอยได้การเกษตร 0.69 0.19
0.68 0.13
88.8 3.6 68.8 42.3 0.44 0.19

- 4.4 80.2 47.9

28.0 7.2 71.3 44.5

73.7 4.5 - -

25.6 8.0 62.1 37.4

15.7 11.5 57.8 27.2

25.5 8.6 61.0 34.6

31.0 5.0 78.7 55.6

89.9 10.1 49.3 30.1

86.6 13.3 51.2 42.1

86.8 7.0 57.4 42.1

สับปะรด

87.0 3.5 - -

19.0 9.5 51.2 27.2

- 6.5 46.6 25.8

14.2 5.7 56.9 29.9

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 38

บทที่ 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หม่ืนอาจ

ชนิดอาหาร วตั ถุ โปรตนี เยื่อใย (%) TDN แร่ธาตุหลัก
แหง้ รวม NDF ADF (%) (%)
ตน้ และใบสด (%) (%)
กากมะเขอื เทศสด Ca P
47.8 4.6 45.0 23.2 64 0.53 0.12
ถัว่ คาวาลเคด 80.2 30.2
ถั่วทา่ พระสไตโล 76.16 49.17 56.48 82.42 65.63
ถว่ั ฮามาตา้ 1.07 0.24
ถ่วั ไมยรา พืชเสรมิ โปรตีน 1.36 0.25
ใบผักตบชวาแห้ง 1.62 0.20
ใบมนั สา้ ปะหลังแห้ง 19.9 16.6 49.8 32.9 57 0.95 0.15
ใบกระถนิ แห้ง 1.77 0.50
25.4 15.9 50.8 36.2 56 2.05 0.24
1.79 0.22
26.5 15.9 50.6 31.6 62

27.1 17.8 39.9 27.5 55

87.0 14.8 - - 52

90.6 22.2 41.4 31.3 69

91.6 24.4 31.2 23.9 73

4.4 การจดั การอาหารโคแรกเกิด

อาหารของลูกโคแรกคลอดที่สา้ คัญคือ น้านมเหลือง (Colostrum) ดังนั้น ลูกโคจ้าเป็นต้องไดร้ บั
นมนา้ เหลอื งเร็วทีส่ ุดเท่าที่จะท้าได้ และลกู โคควรไดร้ ับนมน้าเหลอื ง 10-12% ของน้าหนกั ตวั จากน้านมท่ี
รีดออกมาครง้ั แรกภายใน 4 ชั่วโมงหลังคลอด

4.4.1) นมผงทดแทน (Milk replacer)
นมผงทดแทนท่ดี คี วรมโี ปรตีนประมาณ 22% ซึ่งส่วนใหญม่ าจากนา้ นม (Milk protein)

และจากถว่ั (Soy protein) ซ่งึ ย่อยได้ง่ายและบางส่วนไดม้ าจากเนื้อปลา กากเบียร์-ยสี ต์ ขา้ วโอต๊
และข้าวสาลี นอกจากนี้นมผลทดแทนควรมีไขมันอย่างน้อย 15% และควรสูงถึง 20% เพราะ
การที่มีไขมันสูงจะช่วยลดการเกิดท้องร่วงในลูกโคได้ นอกจากน้ียังเป็นพลังงานส้าหรับการ
เจรญิ เตบิ โตของลูกโคดว้ ย

4.4.2) อาหารโคเลก็ (Creep feed)

อาหารโคเล็ก คือ อาหารเสริมท่ีใช้ทดแทนน้านมแม่โคที่ไม่พอกับความต้องการของลกู
โค เนื่องจากลูกโคจะมีความต้องการน้านมมากข้นึ ตามอายุและน้าหนักตัวที่เพ่ิมขึ้น แต่แม่โคจะ
ให้น้านมไดน้ อ้ ยลงหลังจาก 1-2 เดือน ซ่งึ จะต่างกบั โคนมที่จะมีปรมิ าณน้านมสูงขึ้นและยังคงอยู่
ในระดับสูงจะกระทั่ง 3-5 เดอื น

โดยปกติลูกโคจะต้องการน้านมประมาณ 10% ของน้าหนักตัว เช่น ลูกโคท่ีมีน้าหนัก
50 กก. จะตอ้ งการน้านมวันละ 5 กก. แต่ถ้าลกู โคมนี า้ หนกั 200 กก. จะต้องการนา้ นมวนั ละ 20
กก. แต่แม่โคเนื้อสามารถให้น้านมได้แค่วันละประมาณ 6 กก. เท่าน้ัน ดังน้ันโคต้องการลูกโคมี
ความต้องการเพิ่มอีก 14 กก. จึงต้องให้อาหารลูกโคเพ่ิมขึ้น 14 กก. เพ่ือให้ลูกโคได้รับโภชนะ
เพียงพอความตอ้ งการ

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 39

บทท่ี 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หม่นื อาจ

สูตรอาหารโคเล็กควรมีความน่ากินสูงและมีทั้งอาหารเยื่อใยผสมอยู่ด้วย (Complete
feed) เพ่ือช่วยกระตุ้นการพัฒนาของกระเพาะรูเมนของลูกโค ตัวอย่างคุณค่าทางโภชนะของ
อาหารโคเลก็ แสดงไวใ้ นตารางที่ 4-3

4.5 การจัดการอาหารโคสาวทดแทนฝูง

เปา้ หมายของการเลยี้ งโคสาวทดแทนฝูงคอื การทา้ ให้โคมนี ้าหนักและขนาดถึงพิกัดทีส่ ามารถผสม
พันธ์ุได้โดยเร็ว อย่างไรก็ตามแค่ต้องรักษาอัตราการเจริญเติบโตไมใ่ ห้มากเกินไปซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อ
สมรรถภาพการสืบพนั ธุ์ได้ โคสาวที่มีน้าหนกั ตวั ประมาณ 250 กก. มีความตอ้ งงการพลังงานเพอ่ื การด้ารง
ชีพอยู่ในระหว่าง 118 - 128 kcal/BW0.75 โดยปกติแล้วโคสาวควรมีอัตราการเจริญเติบโตต่อวัน
ประมาณวันละ 500 กรัม และไม่ควรเกิน วันละ 700 กรัม ดังน้ันส้าหรับโคสายพันธ์ุจากอังกฤษ เช่น
Angus, Shorthorn และ Hereford

ตารางที่ 4-3 คณุ คา่ ทางโภชนะของอาหารโคเล็ก

โภชนะ (%) อาหารสูตร 1 อาหารสตู ร 2
โปรตนี 14.30 15.10
ไขมัน 3.20 3.00
ลกิ โนเซลลูโลส 8.30 12.70
แคลเซียม 0.32 1.04
ฟอสฟอรสั 0.50 0.73
โภชนะยอ่ ยไดร้ วม (TDN,%) 69.60 64.90

4.6 การจดั การอาหารแม่โค

เป้าหมายของการให้อาหารส้าหรับแม่โคเน้ือน้ัน มี 2 ประการคือ 1. เพ่ือให้ลูกโคคลอดด้วย
สุขภาพดี มีน้าหนักแรกคลอดมาก 2. เพื่อให้แม่โคหลังคลอดมีสุขภาพดี ซึ่งจะท้าให้สามารถผสมพันธ์ุได้
ภายใน 2 เดือนหลังคลอดลูก โคในระยะนี้ต้องการอาหารเพ่ือการด้ารงชีพและเพื่อการเจริญเติบโตเป็น
ส่วนใหญ่ ท่เี หลอื มีการใชเ้ พอื่ การพฒั นาระบบสบื พนั ธ์ุและสะสมเป็นไขมัน

4.6.1) ระยะแรกของการตั้งท้อง (Early pregnancy)

ในระยะน้ีแม่โคต้องการโภชนะเพ่ือการเจริญของตัวอ่อน (Fetus) และเน้ือเย่อื ต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวข้อง ความต้องการพลังงานเพื่อการด้ารงชีพใน 3 เดือนแรกของการตั้งท้องประมาณ 40
kcalME/d และความตอ้ งการโภชนะจะเพ่มิ ขึ้นตามพัฒนาการของตวั อ่อน

4.6.2) ระยะทา้ ยของการตงั้ ท้อง (Late pregnancy)

เป็นระยะ 3 เดือนสุดท้ายของการต้ังท้อง ความต้องการพลังงานของตัวอ่อน (Fetal
metabolizable energy requirement) เพิม่ ขน้ึ ประมาณ 1 kcalME/d เพราะนอกจากต้องการ

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 40

บทที่ 4 อาหารโคเน้ือ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หมน่ื อาจ

เพ่ือการพัฒนาของตัวอ่อนแล้วยังต้องการเพ่ือพัฒนาของต่อมสร้างน้านมและอาจเพ่ิมขึ้นอย่าง
มากในเดอื นท่ี 8-9 โคเนอ้ื อายุทอ้ งชว่ งทา้ ยมคี วามต้องการพลังงานเป็น 150% ของโคที่ไมท่ ้อง

4.7 การจดั การด้านอาหารหยาบ

พืชหมัก (Silage) หมายถงึ พืชสดที่เก็บเกย่ี วในขณะท่ีมคี วามช้นื พอเหมาะ แล้วน้ามาหมักเก็บไว้
ในสภาพไร้อากาศ (Anaerobic condition) เม่ือพืชอาหารสัตวเ์ หล่านไ้ี ด้เปลี่ยนสภาพเป็นพืชหมักแล้วจะ
สามารถอยู่ได้เป็นเวลานาน โดยคุณค่าทางโภชนะเปล่ียนแปลงน้อยได้สุด การที่พืชหมักมีสภาพคงท่ี
เน่ืองจากกรดแลคติก (Lactic acid) ซ่ึงเกิดจากการท้างานของแบคทีเรียทีผ่ ลิตกรดแลคติกท่ีติดมากับพชื
มีการใช้คาร์โบไฮเดรตที่ละลายน้าได้ (Water Soluble Carbohydrate, WSC) ที่มีในพืชอาหารสัตว์ ได้
ผลผลติ เป็นกรดแลคตกิ ในปริมาณมากพอท่จี ะทา้ ใหค้ า่ pH ลดลง หยุดกระบวนการตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ข้ึน มผี ล
ยับย้ังการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ท่ีไม่เป็นประโยชน์หรือท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่อพืชหมัก ท้าให้พืช
หมักท่ไี ด้มคี ณุ ภาพดีเก็บไวไ้ ดน้ าน

4.7.1) หลักของการทา้ พชื หมัก

(1) ตัดพืชในระยะที่เหมาะสม เพ่ือให้พืชมีความชื้นพอเหมาะ คือ ประมาณ 65-75%
หรือมีวัตถแุ หง้ ประมาณ 25-35% เชน่ ขา้ วโพดควรอยใู่ นระยะที่เมล็ดเป็นแปง้ ประมาณคร่ึงหนึ่ง
ของเมลด็ หรอื ใบล่างเปลย่ี นเป็นสีน้าตาลประมาณ 3-4 ใบ

 ถ้าพืชออ่ นเกนิ ไป จะทา้ ให้มนี า้ ไหลออกจากกอง ทา้ ใหส้ ูญเสียคณุ ค่าทางอาหาร
 ถ้าพืชแก่ไป จะอัดใหแ้ นน่ ได้ยาก มอี ากาศเหลอื อยใู่ นกองมาก ข้นึ ราไดง้ า่ ย

(2) การหมัก น้าพืชที่หั่นแล้วใส่ในภาชนะโดยเร็ว อัดให้แน่น ปิดกองให้มิดชิดอย่าให้
อากาศเข้าได้ มิฉะนั้นจะเกิดการเน่าเสีย เก็บไว้อย่างน้อยเป็นเวลา 3 สัปดาห์ หรือนานหลาย
เดอื นจนกว่าจะตอ้ งการใช้

(3) การหั่น ต้องหั่นพืชให้เป็นช้ินเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 1 นิ้ว เพื่อให้สามารถอัดพืชได้
แนน่

รูปที่ 4-13 การบรรจุ

4.7.2) การทา้ หญา้ แหง้
หญ้าแห้ง เป็นพืชอาหารสัตว์ท่ีน้ามาท้าให้แห้งอย่างรวดเร็ว โดยการอบหรือตากให้มี

ความช้ืนลดลงเหลือ ประมาณ 15% การท้าหญ้าแห้งเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยถนอมพืชอาหาร

คู่มือ: การเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หน้า | 41

บทท่ี 4 อาหารโคเนื้อ ผศ.ดร. เสาวลกั ษณ์ แยม้ หม่นื อาจ

สัตว์ที่มีอยู่มากในช่วงฤดูฝนเพ่ือส้ารองไว้ใช้ช่วง ขาดแคลน โดยท่ียังคงคุณค่าใกล้เคียงกับหญ้า
สดและเก็บไว้ได้นาน หญ้าแห้งท้าได้หลายวิธี แต่วิธีการท่ีท้ากันโดยทั่วไป ส้ินเปลืองค่าใช้จ่าย
นอ้ ย และสะดวก กโ็ ดยการผ่งึ แดดลกั ษณะของหญา้ ทใ่ี ชท้ า้ หญ้าแห้งไดด้ ีควรมผี ลผลติ สูง ใบมาก
กงิ่ กา้ นและล้าต้นไมแ่ ขง็ ไมอ่ วบน้า ได้แก่ หญ้าโร้ด หญา้ ซิกแนล หญ้าโคไร หญา้ รูซ่ี หญา้ มอรซิ สั
ถัว่ เวอราโนสไตโล เป็นตน้

 วธิ ีการท้าหญ้าแห้ง

(1) การตดั หญา้ ระยะทีเ่ หมาะสมในการตัดหญา้ เพอ่ื นา้ มาทา้ หญ้าแห้งควรเป็น
ระยะท่ีหญ้าเร่ิมออกดอก ซ่ึงหญ้าจะให้ผลผลิตสูงและยังมีคุณภาพดี โดยเลือกวันที่
อากาศแหง้ และคาดว่าจะไมม่ ฝี นในช่วง 3-5 วนั ควรตัดในชว่ งเช้า เพ่ือได้ตากในช่วงบา่ ย
เป็นการชว่ ยใหห้ ญ้าแห้งเร็ว ทา้ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี คุณคา่ ทางอาหารนอ้ ยที่สุด

(2) การตากหญ้า เกลี่ยหญ้าให้กระจายสม้่าเสมอ คราดเป็นแถวเพื่อสะดวกใน
การกลับหญา้ ตากประมาณ 2-3 แดด ใหแ้ หง้ โดยทวั่ ระวังอยา่ ให้หญา้ แห้งกรอบและใบ
หลุดร่วงจะท้าให้เสียคุณค่าทางอาหาร การตรวจสอบว่าหญ้าแห้งได้ที่แล้วท้าได้โดย น้า
หญ้ามาสักก้ามือแล้วบิดสวนทางกัน สังเกตที่ต้นหญ้าท่ีแตก ถ้าไม่ช้ืนก็ใช้ได้ หรือใช้เล็บ
ขดุ ท่ีผวิ ล้าต้น ถา้ ขูดไม่ออกกใ็ ช้ได้

(3) การเก็บหญ้าแห้ง ควรเก็บหญ้าแห้งในตอนสาย ๆ เป็นเวลาท่ีความชื้น
ระเหยออกและหญ้ายังออ่ นตวั อยู่ การเกบ็ ทา้ ไดโ้ ดยการอัดฟ่อน โดยใชเ้ คร่อื งอดั ฟ่อนติด
ท้ายรถแทรคเตอร์ หรือใช้ลังไม้แล้วอัดโดยใช้คนเหยียบให้แน่นแล้วมัดด้วยเชือก ม้วน
เป็นก้อนกลม โดยม้วนจากแถวที่คราดไว้ในแปลง มัดเป็นฟ่อนคล้ายฟ่อนข้าวจากน้ัน
น้าไปเกบ็ ไว้ในโรงเรอื นทม่ี กี ารระบายอากาศดี ไม่ถูกฝน

4.8 การทา้ อาหารผสมครบส่วนส้าหรับโคเนอื้

อาหารแบบผสมครบส่วน (Total Mixed Ration :TMR) หมายถึง อาหารที่ประกอบด้วย
อาหารหยาบและอาหารข้นผสมรวมกัน โดยมกี ารค้านวณสตู รอาหารให้มีโภชนะเพยี งพอกับความต้องการ
ของโคท่ีให้นมระดับหนึ่ง โดยปกติมักนิยมใช้กับโคท่ีให้นมสูง เพ่ือลดปัญหาความเป็นกรดของกระเพาะ
หมักอันเกิดเน่ืองจากได้รับอาหารข้นปริมาณสูงในสภาพการเลี้ยงท่ีให้อาหารหยาบและอาหารข้นแยกกนั
โดยต้องค้านวณสัดส่วนของอาหารทั้ง 2 ชนิด จากน้าหนักแห้งให้ได้ตามความต้องการของโค แล้วน้าไป
เล้ียงโคนม-โคเน้ือ แทนการเล้ียงแบบเดิม ซ่ึงจะแยกการให้อาหารหยาบและอาหารข้น ปัจจุบันมีบริษัท
ผลิตอาหารผสมส้าเร็จรูปออกมาจ้าหน่ายท้ังในรูปอาหารผสมส้าเร็จรูปอัดเม็ด อาหารผสมส้าเร็จรูปแบบ
ผง หรอื อาหารผสมสา้ เร็จรูปแบบหมกั

4.8.1) ลกั ษณะของอาหาร TMR

(1) ประกอบด้วย อาหารหยาบ และอาหารข้นในสัดส่วนที่เหมาะสมควรมีระดับ
พลงั งาน และโปรตนี ครบตามความตอ้ งการของสัตวร์ ะยะต่าง ๆ โดยคา้ นวณจากน้าหนกั แหง้ ตาม
อายุ และผลผลติ ของโคโดยค้านวณจากน้าหนักแห้งปกติใช้สัดส่วน 60:40 หรือ 40:60 ขน้ึ อยกู่ บั
ปรมิ าณน้านมท่ไี ด้ ถ้าให้นา้ นมมากสดั สว่ นอาหารข้นจะมากกว่า

คู่มือ: การเพ่ิมศักยภาพการผลิตโคเน้ือจากการจัดการองค์ความรู้และเทคโนโลยี หนา้ | 42


Click to View FlipBook Version