The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเลี้ยงโคขุน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by warinchamrapchalermrajkumari, 2021-02-20 09:59:24

การเลี้ยงโคขุน

การเลี้ยงโคขุน

บริบทการเพาะเล้ยี งปลาไหลนา

ตลอดระยะเวลาที่ผานมาไดม กี ารศึกษาวจิ ัย เกี่ยวกับปลาไหลนาดา น ตางๆ อยางกวา งขวาง เชน
ชวี วิทยา การเพาะขยายพันธุ การอนบุ าล การเลยี้ ง เปน ตน ทาํ ใหท ราบถงึ ขอ มลู พืน้ ฐานสาํ คัญทเี่ กี่ยวของ และ
นําไปสูการคลี่คลายปริศนาเกยี่ วกับปลาชนดิ น้ีไดใ นระดบั หนง่ึ จนถึงปจ จุบนั สามารถ พัฒนากระบวนการ
เพาะ เลีย้ งปลาไหลนาไดเ ปนผลสําเรจ็ แต ยังไมสามารถผลิตลกู พันธปุ ลาไดในปริมาณมากพอ ( Mass
production) ท่ีนาํ ไปสรู ะบบการเพาะเลย้ี งเชิงพาณิชย จาํ เปน ตอง มีการระดมความคดิ และรว มกนั ถอดองค
ความรเู รอื่ งปลาไหลนาท่มี ใี นปจจุบนั เพอ่ื นําไปสกู ารกําหนดทิศทางการพัฒนา และวางกรอบการศึกษาวจิ ัยเชิง
ลกึ ในประเด็นทสี่ าํ คญั ตอ การพฒั นาการเพาะเล้ียงปลาไหลนาท่ีเหมาะสมกับสภาพพนื้ ท่ี และสอดคลอ งกบั
สถานการณตอไป

วิเคราะหส ภาวะแวดลอมของปลาไหลนา (SWOT analysis)

• เปน ปลาท่ตี ลาดทัง้ ในและตางประเทศมคี วามตองการโดยไมจํากัดปริมาณ
จุดแขง็ • ในประเทศมีผนู ยิ มบริโภคในวงกวาง

• มรี าคาคอ นขางสูงและคงที่ ไมขึ้นลงตามกระแสมากนัก

จดุ ออน • ยังไมส ามารถกาํ หนดปริมาณผลผลิตท่แี นนอนได เน่ืองจากสว นใหญรวบรวมมาจาก
ธรรมชาติเทา นั้น

• ยงั มขี อจาํ กัดในการผลติ ลกู พันธปุ ลาไหลนาใหม ปี รมิ าณท่ีมากเพยี งพอตอ ความ
ตอ งการของเกษตรกร

• รปู แบบการเล้ยี งปลาไหลนาในปจ จุบัน ไมส อดคลองกบั การผลติ อาหารตาม
มาตรฐานการผลิตขัน้ ปลอดภยั

• เม่อื นํามาทาํ เปนน้ํายาขนมจนี ไดร ับการยอมรบั วาเปนอาหารช้นั สงู รสเยีย่ มในหมู
ประชาชนผูนบั ถือศาสนาอิสลามท่ใี ชตอ นรับแขกในเทศกาลสําคัญทางศาสนาเทา นน้ั

โอกาส • มีแหลง เผยแพรอ งคค วามรู ปลาไหลนาคอ นขา งกวางขวาง
• มีขอมูลเบือ้ งตน หรอื การศกึ ษาวิจัยเก่ียวกบั ปลาไหลนาที่พรอ มตอยอดการพฒั นาไดท ันที
• หนวยงานของรัฐทีเ่ ก่ยี วของ พรอ มสนบั สนนุ งบประมาณตอยอดการพัฒนาอยา งเตม็ ท่ี

อปุ สรรค • โรคในปลาขนาดเล็ก หรือในลูกพนั ธุปลา รวมถึงโรคในปลาขนาดใหญ ท้งั ปลาท่ี
เล้ยี งเปน ปลาเน้อื และเล้ียงเปนพอแมพันธุ

• รปู แบบ หรอื วิธกี ารเลีย้ งปลาไหลนาในปจ จุบนั สวนใหญเปนลกั ษณะการเล้ียงที่ทํา
ใหปลาไหลเปนพาหะทส่ี าํ คัญของพยาธใิ บไมในตบั

• เปน ปลาท่มี ีภาพลักษณเพ่ือใชในการทาํ พธิ ีกรรมสะเดาะเคราะห

1

กลยุทธ/แนวทางพฒั นาการเพาะเลี้ยงปลาไหลนา

ภายใตผลการวิเคราะห สภาวะแวดลอมของปลาไหลนา (SWOT analysis) สามารถนําจุดแขง็
และโอกาส มาปรบั ใชเพอื่ แกไ ข จดุ ออน และอุปสรรค การเพาะเลยี้ งปลาไหลนา โดยกําหนดกลยทุ ธ หรอื
แนวทางพฒั นาการเพาะเลยี้ งปลาไหลนาเชิงพาณิชยในอนาคต ดงั น้ี

1. ใหค วามสําคัญในกระบวนการจดั การพอ แมพ นั ธุปลาไหลนา โดยมีเปาหมาย เพื่อเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพในการเพาะพันธุใหไดลูกพนั ธปุ ลาไหลนาในปรมิ าณที่มากเพียงพอตอ ความตองการของเกษตรกร
โดยการแยกเล้ียงปลาไหลนาเพศผู และเพศเมีย ออกจากกัน มกี ระบวนการสรางความสมบูรณใหพอ แมป ลา
ดว ยวิธีการตางๆ เชน การเลอื กใชอ าหารท่เี หมาะสม การเสริมดวยวติ ามนิ หรอื แรธาตุ เปน ตน

2. ปรบั ปรุงระบบการเพาะพันธปุ ลาไหลนา โดยการมขี ั้นตอนการจดั การท่ีมุงเนนการเพาะพนั ธุ
อยางชัดเจน ไมใ ชก ารเลยี้ งพอ แมพ ันธุปลาไปพรอ มกบั การเพาะพันธอุ ยูในบอเดยี วกันอยา งเชน ปจจุบัน เพ่ือ
เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการเพาะพนั ธุปลาในแตล ะคร้งั ใหไ ดล ูกพนั ธุปลาไหลนาในแตละรุน ในปริมาณท่มี าก
เพยี งพอตอ ความตองการของเกษตรกร

3. ปรับปรงุ ระบบการอนบุ าลลกู ปลาไหลนา เพ่อื ใหไดพ นั ธุปลาทมี ีคุณภาพ มีความพรอ มในการ
นาํ ไปเล้ียงในรูปแบบ หรอื วธิ กี ารเลี้ยงตา งๆ ท้ังในเร่ืองเทคนิคการอนุบาลลกู พันธุป ลาไหลนา ในระยะตางๆ
ความหนาแนน ที่เหมาะสม ชนดิ อาหารท่ีเหมาะสม รปู แบบบอ อนุบาลทีเ่ หมาะสม ฯลฯ

4. ปรับปรุงระบบการเล้ียงปลาไหลนาใหส อดคลอ งกบั มาตรฐานการผลิตอาหารขนั้ ปลอดภยั
ปลอดจากพยาธิตางๆ โดยเฉพาะพยาธิใบไมในตับ ทัง้ ในเรอื่ งเทคนคิ การเล้ียงปลาไหลนา ในรูปแบบตางๆ
ความหนาแนน ทีเ่ หมาะสม ชนดิ อาหารท่ีเหมาะสม รปู แบบบอ เลย้ี งทเี่ หมาะสม ฯลฯ

5. หาชองทางเพิ่มมูลคา ผลติ ภัณฑป ลาไหลนา นอกเหนือจากการนําปลาสดมาประกอบอาหารใน
การบริโภค เชน ปลาไหลนาอบน้ําผ้ึง ปลาไหลนารมควัน หอ หมกปลาไหลนา ขา วหนา ปลาไหลนา ฯลฯ

แผนการพัฒนาปลาไหลนา (เมษายน - กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔)

กิจกรรม เดือน
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

• พัฒนารูปแบบและวธิ กี ารเล้ียงพอ แมพ นั ธปุ ลาไหลนา

• ปรบั ปรงุ รูปแบบและวธิ กี ารเพาะขยายพันธุป ลาไหลนา

• ปรบั ปรุงรปู แบบและวิธีการอนบุ าลลูกพนั ธุป ลาไหลนา

• ถา ยทอดเทคโนโลยกี ารเพาะเลี้ยงปลาไหลนาใหแกเ กษตรกร

• จดั ตงั้ จดุ สาธติ การเพาะเลยี้ งปลาไหลนา ในระดับฟารม
ขนาดเลก็ ของเกษตรกร

2

“ชวี วทิ ยาปลาไหลนา”

ปลาไหลนาเปน ปลาน้าํ จดื กลุม ปลากระดกู แขง็
ชนดิ หนง่ึ ลกั ษณะลําตวั ยาว ครีบอก (pectoral fin)
และครบี ทอง (ventral fin) เสือ่ มหายไมเหลืออยูเลย
ครบี หลัง (dorsal fin) เร่ิมตน ตรงกับแนวของรูกน ทอด
ไปตามแนวสันลาํ ตวั ดานบน สวนครีบกน (anal fin)
เริม่ ตนจากจุดก่งึ กลางของระยะรกู น กบั ปลายหาง โดย
ทงั้ ครีบหลงั และครีบกน จะไปรวมกบั ครีบหาง (caudal
fin) ทาํ ใหป ลาไหลนามหี างแบบ diphycercal tail มี
ลกั ษณะปลายหางเรียวแหลม แบง ครีบหางออกเปนสอง
สว นเทา ๆ กัน

Kingdom Animalia
Phylum Chordata
Subphylum Vertebrata
Supperclass Osteichthyes
Class Actinopterygii
Subclass Neopterygii
Infraclass Teleostei
Supperorder Acanthopterygii
Order Synbranchiformes
Suborder Synbranchoidei
Family Synbranchidae
Genus Monopterus
Species albus (Zuiew, 1793)
ชอ่ื สามัญไทย : ปลาไหลนา
ช่ือสามัญอังกฤษ : Swamp Eel, Asian Swamp Eel
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Monopterus albus, Zuiew (1793)

3

1. แหลง ท่อี ยู (Habitat)
พบไดท ว่ั ไปตามแหลง นาํ้ ธรรมชาติ เชน คูนํา้ หว ย หนอง

คลอง บึง ท่ีคอ นขา งเปน แหลง นา้ํ นงิ่ จึงเรยี กวาปลาไหลบึง
(swamp eel) และยังสามารถเจริญเตบิ โตไดดใี นนาขาว จงึ นยิ ม
เรียกกันวา ปลาไหลนา (rice-field eel) ชอบอาศยั อยูตามพืน้
โคลนทีม่ ซี ากพชื ซากสตั วเ นา เปอยสะสมอยูหรอื บรเิ วณทีป่ กคลมุ
ดวยวชั พชื พวกหญานาํ้ ที่รกและชนื้ แฉะ ในฤดแู ลง ขุดรอู ยูอ าศัย
ลึก 1 - 1.5 เมตร หรอื ชอบฝงตัวในลกั ษณะจําศีลใตพ้นื โคลน
บรเิ วณกนหนองบงึ ดวยลักษณะพเิ ศษทางกายวิภาคและสรรี ะ
วิทยาของปลาไหลนา ทาํ ใหส ามารถอยูอาศัยในที่แหง แลงไมม ีนา้ํ
ไดน านๆ
2. อาหารตามธรรมชาติ

ปลาไหลนาจัดเปน พวกปลากนิ เนือ้ (carnivorous fish) ทชี่ อบฉก หรือแทะกินเนื้อสตั วท ต่ี ายแลว ท้งั
สภาพสดท่มี กี ล่ินคาวจัด จนเนา เปอ ยจนมกี ลนิ่ เหมน็ รวมถงึ ลกู ปลาขนาดเล็กตัวหนอน ตวั ออ นแมลง ไสเ ดือน
หรือสัตวหนาดินตา งๆ (benthos) ซากวัชพืชทีม่ สี ่งิ มีชีวิตเล็กๆ เกาะอาศัยอยู เปนปลาทม่ี ีตาขนาดเล็ก แตจมูก
และเสนขา งลําตวั พัฒนาการดี จึงชอบกินอาหารในท่มี ืด สิง่ แวดลอ มสงบเงยี บ และมีนิสัยรวมกลมุ ในการอยู
อาศัยหรือกนิ อาหาร

3. ขนาดสมบรู ณเพศ
Liem (1963) ศึกษาเกี่ยวกบั reproductive cycle ของปลาไหลนา จากลูกปลาทเี่ พาะฟกจากไข และ

เลยี้ งไวจนโตพบวาลกู ปลาจะเตบิ โตมคี วามสมบูรณเพศเม่ืออายคุ รบ 1 ป และมีความยาวเหยียดประมาณ 17
เซนตเิ มตร ปลาขนาดนี้จะเปน ปลาเพศเมียลว น และ สรปุ วา ปลาไหลนาเมอื่ ขนาดยังเล็ก (ความยาวตัว < 28
เซนติเมตร) เปนปลาเพศเมียเมือ่ โตข้ึนขนาดตัวปานกลาง (ความยาวตัว 28.0 - 45.9 เซนติเมตร) เปน ปลา
เพศรวมและเมื่อปลาขนาดใหญ (ความยาวตวั > 46 เซนตเิ มตร) และอายุมาก เปนปลาเพศผู ปลาไหลนาจึง
เปน พวก Genetic Sex Reversal แบบ Protogynous Hermaphrodite

4

4. ความแตกตา งระหวา งเพศ

สวุ รรณดี และคณะ (2536) รายงานลักษณะความแตกตางระหวา งเพศปลาไหลนา ดงั น้ี

เพศผู เพศเมีย
• ความยาวตวั > 60 เซนติเมตร • ความยาวตัว 29 - 50 เซนตเิ มตร
• นา้ํ หนักตัว > 300 กรัม • นํา้ หนกั ตวั 70 – 250 กรมั
• ทองไมอ มู • ทอ งอูมเปง
• ตัวยาวเรียว • ตวั อวน ทอ งปอ ง
• ชอ งเพศสีขาวซีด ไมบ วม • ชองเพศสีแดงเรอื่ บวม
• ลําตวั สเี หลอื งออกคลา้ํ เขม • ลาํ ตวั สเี หลืองเปลงปล่ัง

เพศเมยี เพศผู

5. อตั ราสว นเพศ (Sex Ratio)
Liem (1963) ไดอ างผลการศกึ ษาของ Wu และ

Liu (1942) วา ปลาไหลนาเปน พวก Polygamous fish ที่
ตัวเมยี ตอตัวผเู ทากับ 3 ตอ 1

สุวรรณดี และคณะ (2536) รายงานผลการศกึ ษา
อตั ราสว นเพศปลาไหลนา จากแหลง บานกวั ลอตะ หมทู ่ี 4
ตําบลนานาค อําเภอตากใบ จังหวดั นราธวิ าส เพศผตู อ
เพศเมีย มคี า เทากับ 3.19 ตอ 1

5

6. ฤดูวางไข (Spawning season)
สุวรรณดี และคณะ (2536) รายงานผลการศึกษาดัชนีการเจริญพนั ธใุ นรอบปข องปลาไหลนา

Gonadosomatic Index, GSI) พบวา ปลาเพศเมียมีคา GSI สงู ที่สดุ ชวงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน สว นเพศ
ผมู คี า GSI สงู ทีส่ ุดชวงเดอื นเมษายน - มิถุนายน

7. ความดกของไข
กําธร และถาวร (2516) ไดร ายงานความดกของไขป ลาไหลนา ดังน้ี
 ปลาความยาวตวั 29.5 เซนติเมตร นา้ํ หนัก 35 กรมั มีเม็ดไข 376 ฟอง
 ปลาขนาดความยาว 53 เซนตเิ มตร นาํ้ หนัก 165 กรัม มีเม็ดไข 898 ฟอง
 ปลาขนาดความยาว 65 เซนตเิ มตร น้าํ หนกั 380 กรัม มีเมด็ ไขจาํ นวน 910 ฟอง

สอดคลองกับศูนยว ิจัยและพัฒนาประมงนา้ํ จดื ปตตานี ไดต รวจสอบพบวาแมพันธปุ ลาไหลนาขนาด
ความยาวตวั 52 เซนติเมตร นํา้ หนกั 200 กรัม วางไข ในรงั เปนจํานวน 928 ฟอง

6

8. พฤติกรรมการวางไข หวอดปลาไหลนา
แมป ลาไหลจะกอหวอดในโพรงดนิ ท่ีมโี พรงอากาศ

กอ นวางไขป ระมาณ 1 - 2 วนั ลักษณะของไขป ลาหลงั
การวางไขใ หมๆ เปนเมด็ กลมใสเสน ผา นศูนยก ลาง
ประมาณ 2 มิลลเิ มตร และจะคอ ยๆ บวมนา้ํ ขยายขนาด
โตขึน้ จนมขี นาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 3 มิ ลลเิ มตร
ไขม ีสเี หลืองออ นกลมทึบแสง

พอแมป ลาไหลนาจะหวงแหนไขมาก คอยเฝา
บรเิ วณปากโพรงดนิ บรเิ วณท่วี างไข ปลาไหลนาจึงเปน
ปลาที่มพี ฤติกรรม ท่ีพอแมปลาคอยดูแลรักษาไข เพอ่ื
ปองกนั อันตรายจากศัตรตู า งๆ

รวบรวมลกู ปลาไหลนา ลูกปลาไหลนา ในโพรงดิน

ลกู ปลาไหลนา

บอเพาะพันธุ ปลาไหลน า

7

9. พฒั นาการของตวั ออนปลาไหลนา (Embryonic Development)
ไขป ลาไหลนาทไ่ี ดรับการปฏิสนธิ จะมกี าร

พัฒนาการคอ นขา งชา ใชเ วลาประมาณ 70 - 78 ชว่ั โมง
ถึงจะทยอยฟก ออกเปนตัว ทอี่ ณุ หภูมนิ ํา้ ประมาณ 26.5
องศาเซลเซียส

10. วิธกี ารเพาะพนั ธุ
“เพาะพันธโุ ดยวธิ ีเลยี นแบบธรรมชาติ”
ในถงั ไฟเบอร ขนาดปริมาตรความจุ 2 ตัน สูง 1 เมตร
ในทอ ซเี มนตกลม ขนาดเสน ผานศนู ยก ลาง 1 เมตร สูง 0.8 เมตร
ในบอ ซีเมนต ขนาด 5.0 × 5.0 × 1.0 เมตร

ใสด นิ เหนยี วลงในบอ ระดบั ความสงู 0.30 เมตร และอยใู นลักษณะลาดเอียง ใหด ินสูงอยูดา นใดดาน
หนึง่ เติมน้าํ ใหสูงกวา ผวิ ดนิ ประมาณ 10 เซนตเิ มตร ใสพชื นํา้ หรือปลกู พชื น้ําตางๆ ใหเ ปน ทหี่ ลบซอ น และ
วางไข

ปลอ ยพอแมพันธุใ นสัดสว นเพศผู ตอเพศเมยี เทา กบั 1 ตอ 3 ตอพ้นื ท่ี 1 ตารางเมตร หลงั ปลอยพอแม
พันธุ จะตองเลีย้ งใหป ลาปรบั ตวั 2 - 4 เดอื น ปลาจงึ เริ่มจบั คู กอหวอดผสมพนั ธวุ างไข จากนัน้ 7 - 10 วนั
รวบรวมลกู ปลาอนุบาลตอไป

8

แหลงปลาไหลนาทส่ี าํ คญั

1. แหลง ชะอวด
เปนแหลง ปลาไหลนาธรรมชาติจากพ้นื ทร่ี าบกวาง

ใหญตอนกลางของภาคใต ครอบคลมุ พื้นที่พรคุ วน เคร็ง
และพนื้ ที่ราบของอําเภอชะอวด อาํ เภอรอ นพิบลู ย และ
อําเภอเชียรใหญ จงั หวดั นครศรีธรรมราช รวมท้งั พ้นื ที่
ราบลมุ รอบๆ ทะเลนอ ย หรือตอนเหนอื ของทะเลสาบ
สงขลาในเขตพนื้ ท่อี ําเภอควนขนุน อาํ เภอเมอื งพทั ลงุ
และอําเภอปา พะยอม จังหวัดพทั ลุง ปรมิ าณการจบั ไมต่ํา
กวา 45 เมตริกตนั ตอป มลู คา 2 ลา นบาทตอป โดยมี
ตลาดอําเภอชะอวดเปนศนู ยกลางการจําหนา ย รองลงมา
คอื ตลาดเทศบาลเมอื งพทั ลงุ

2. แหลงสุไหงโก-ลก
เปน ศูนยกลางตลาดปลาไหลนาท่จี ับจากแหลงนํา้

ธรรมชาติ พื้นท่ีราบลมุ จังหวัดนราธิวาส จากพรตุ างๆ
ถกู รวบรวมและจําหนา ย ณ ตลาดเทศบาลสุไหงโก -ลก
และตลาด ในพน้ื ที่ตําบลนานาด อําเภอตากใบ ปริมาณ
การจบั รวม 35 เมตริกตนั ตอ ป คิดเปน มูลคา 1.6 ลาน
บาท) ยงั มีปลาไหลนานําเขา จากประเทศมาเลเซีย
บริเวณแนวชายแดนรัฐกลันตนั ชวงเดือนมกราคมถงึ ตน
เดือนพฤษภาคม ประมาณ 20-30 รายตอวัน ใน
ลกั ษณะกองทพั มด มีศนู ยกลางรบั ซือ้ ในหมบู า นกัวลอตะ
หมู 4 ตาํ บลนานาด อําเภอตากใบ คิดเปนปรมิ าณปลา
ประมาณ 20 เมตรกิ ตันตอ ป (มูลคา 0.9 ลา นบาท)
สว นหน่ึงจะสง จาํ หนายในตลาดปต ตานี ยะลา สงขลา
และหาดใหญด ว ย

3. แหลง ตลาดไท
ตลาดกลางสินคาเกษตรแหง ประเทศไทย ต้ังอยทู ถ่ี นน พหลโยธิ น กม. 42 ( เยื้อง
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร ศูนยร งั สิต ) ตาํ บลคลองหน่ึง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เปนศนู ยก ลางการ
รวบรวมปลาไหลนาทง้ั ทจี่ ับจากแหลง น้าํ ธรรมชาติ และจากการเลย้ี งบริเวณพื้นท่รี าบลมุ ภาคกลาง ภาคเหนอื
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ถอื เปนศนู ยก ลางการรวบรวม และแหลง ซ้ือ -ขาย ปลาไหลนาท่ีใหญทส่ี ุดของ
ประเทศ รวมปริมาณผลผลิตปลาไหลนาไมตา่ํ กวา 350 เมตรกิ ตนั ตอ ป คิดเปนมูลคา 20 ลานบาทตอป

ปริมาณ/มลู คา ปลาไหลนาทัง้ หมด (จับจากธรรมชาติ+เพาะเล้ียง)
ปรมิ าณ/มลู คา พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2550

9

ผลผลิต (กก.) 500,000 500,000 400,000 300,000
มลู คา (บาท) 19,000,000 33,000,000 25,400,000 23,700,000
ทม่ี า : กลุมวิจยั และวิเคราะหสถติ ิการประมง, ศูนยสารสนเทศ, กรมประมง

บรรณานกุ รม

กาํ ธร โพธ์ทิ องคาํ และถาวร ชละเอม. 2516. ชวี วทิ ยาปลาไหลนา. แผนกทดลองเพาะเล้ียง, กองบาํ รุงพนั ธุสตั ว
นํ้า, กรมประมง.

บุญยนื โชคคิรี และยงยุทธ ทักษิณ. 2527. การทดลองเล้ียงปลาไหลนาโดยเปรยี บเทียบชนดิ อาหารตางๆ กัน.
รายงานประจําป 2527. สถานปี ระมงนํา้ จืดจังหวดั นครสวรรค, กองประมงนาํ้ จืด, กรมประมง.

ประดษิ ฐ เพช็ รจรญู และการุณ อุไรประสทิ ธิ.์ 2548. ผลของความหนาแนนตอการเจรญิ เตบิ โตของลูกปลาไหล
นา. เอกสารวชิ าการ ฉบับท่ี 5/2548. สํานักวิจัยและพฒั นาประมงนา้ํ จดื , กรมประมง. 14 หนา .

ประดิษฐ เพช็ รจรญู , อไุ รวรรณ สมั พันธารักษ และสุขาวดี กสสิ วุ รรณ. 2549. การเลีย้ งปลาไหลนาในทอซีเมนต
กลม. สารวชิ าการประมง ฉบบั ที่ 3. สาํ นกั วจิ ยั และพัฒนาประมงนาํ้ จดื , กรมประมง.

วเิ ชียร เปลงฉวี. 2517. การทดลองเลี้ยงปลาไหลนาในบอ ดิน . รายงานประจําป 2517. กองบาํ รุงพันธุส ัตวน า้ํ
กรมประมง.

วทิ ย ธารชลานุกิจ ประจติ ร วงศรัตน สขุ มุ เราใจ ประทกั ษ ตาบทิพยว รรณ และลดั ดา วงศรตั น . 2533 .
การศึกษาคุณภาพนํ้าและทรัพยากรสัตวน้ําในพื้นทพี่ รุโตะแดง จังหวัดนราธวิ าส . คณะประมง ,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. 111 หนา.

ศราวุธ เจะโสะ และสวุ รรณดี ขวัญเมอื ง. 2536. ปลาไหลนาคณุ ลักษณะดา นชีววทิ ยาและธุรกจิ การเพาะเลยี้ ง.
เอกสารวชิ าการ ฉบบั ท่ี 1/2536. กองประมงน้าํ จดื , กรมประมง. 40 หนา .

สวัสด์ิ วงศสมนึก. 2510. การศึกษาฤดูกาลวางไขแ ละขนาดสมบูรณเพศของปลาไหลนา . วิทยานิพนธ. คณะ
ประมง, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

สวุ รรณดี ขวญั เมอื ง บษุ ราคมั หม่ืนสา จรี นันท อจั นากิตติ และสชุ าติ รัตนเรอื งส.ี 2536. การศึกษาเบอ้ื งตน
ทางชีววิทยาบางประการ และการทดลองเพาะพนั ธุป ลาไหลนา. เอกสารวิชาการ ฉบับท่ี 54/2536.
กองประมงน้ําจืด, กรมประมง. 37 หนา.

สุวรรณดี ขวญั เมือง บุษราคมั หมื่นสา จรี นันท อจั นากติ ติ และสุชาติ รตั นเรอื งสี. 2538. เปรียบเทยี บการ
อนบุ าลลูกปลาไหลนาในบอ ซีเมนตโ ดยใชป ลาเปด กับหนอนแดง. เอกสารวิชาการ ฉบบั ท่ี 6/2538.
กองประมงนํ้าจดื , กรมประมง. 17 หนา .

G.V Nikolsky 1963. The Ecology of fishes Dept. of Ichthyology, Biology-soil Faculty, Moscow
state Uni. Acadamic press. 352 p.

H.M.Smith 1965. The Fresh Water Fishes of Siam T.F.H. Publication Inc. USA.
Karel F. Liem 1963 Sex Reversal as a Natural Process in The Synbranchi form fish Monopterus

albus Copeia. No 2, 303-312
T.O. Yamamoto 1969 Sex Differentation Fish Physiology Vcl. 3 Acadamic Press. 117-158

10


Click to View FlipBook Version