The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัยถสานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สพป.สตูล, 2022-03-01 22:27:50

คู่มือความปลอดภัยถสานศึกษา

คู่มือความปลอดภัยถสานศึกษา

Keywords: MOE Safetycenter

คูม อื การดำเนนิ งาน

ความปลอดภยั สถานศกึ ษา

MSC

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษาเลม น้ี สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จดั ทำขน้ึ เพอ่ื ใหส ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษและสถานศกึ ษาใชเ ปน แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน
ดานความปลอดภัยสถานศึกษา โดยมีเปาหมายใหนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการปกปอง คุมครอง ดูแล
ชวยเหลือ เยียวยา มีความมั่นคงและปลอดภัย ซึ่งเปนไปตามนโยบายความปลอดภัยของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยในคมู อื การดำเนนิ งานเลม นป้ี ระกอบดว ย ความสำคญั และวตั ถปุ ระสงคข องความปลอดภยั
สถานศกึ ษา องคค วามรดู า นความปลอดภยั การเสรมิ สรา งความปลอดภยั การตดิ ตอ สอ่ื สาร และการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ
ผลสถานศกึ ษาปลอดภยั

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
ใหกับหนวยงานที่เกี่ยวของและผูปฏิบัติไดเปนอยางดี ขอบคุณคณะทำงานทุกทานที่ไดรวมกันจัดทำคูมือการดำเนินงาน
ความปลอดภัยสถานศกึ ษาเลม นีจ้ นสำเรจ็ ลลุ ว ง

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กนั ยายน 2564

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ หนา
1
เร่ือง 2
3
คำนำ 4
สารบัญ 5
สว นท่ี 1 บทนำ 5
5
1. ความสำคัญจำเปนการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 6
2. วตั ถปุ ระสงค 7
3. เปา หมาย 10
4. ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ 16
สว นท่ี 2 องคค วามรดู านความปลอดภัย 17
1. นโยบายดานความปลอดภัย 18
2. กฎหมายท่ีเกี่ยวของ 20
สวนท่ี 3 การเสริมสรางความปลอดภัยสถานศกึ ษา 21
1. ขอบขา ยความปลอดภัยสถานศึกษา 40
2. มาตรการความปลอดภยั สถานศึกษา 41
3. โครงสรา งการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา 42
4. ข้ันตอนการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา 47
สว นที่ 4 การติดตอส่อื สาร 49
1. ชองทางการติดตอส่ือสาร 50
2. หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง
สว นท่ี 5 การกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล
เอกสารอางอิง
รายชื่อคณะทำงาน

คูมอื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

สว นท่ี ๑
บทนำ

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

1. ความสำคัญจำเปนการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา

ยุทธศาสตรชาติ ดานที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มีวัตถุประสงคหลักในการ
เสริมสรางความมั่นคงในชีวิตของคนทุกชวงวัย จากภัยคุกคามในรูปแบบใหม อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบ
ตา ง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภยั จากโรคอบุ ตั ใิ หม และภยั จากไซเบอรเ ปน ตน แผนการศกึ ษาแหง ชาติ (พ.ศ.2560–
2579) จึงไดตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เกิดจากความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกยุค
ศตวรรษที่ 21 เปนพลวัตทีกอใหเกิดความทาทายในดานการเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อันเนื่องจาก
การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ประเทศเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณในอนาคตอันใกล การติดกับดักประเทศ
ที่มีรายไดปานกลาง ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรที่ปรับเปลี่ยนไปตามกระแส
โลกาภิวัตนเปนผลใหเกิดการเรงแกไขปญหา ทั้งยังเกิดภัยคุกคามตอความมั่นคงรูปแบบใหมที่สงผลกระทบตอประชาชน
และประเทศชาติมีความซับซอนและรุนแรงมากขึ้น ซึ่งภัยในแตละดานลวนมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศกอปรกับ
นโยบาย Quick Win 7 วาระเรงดวน ขอที่ 1 ความปลอดภัยของผูเรียน กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภัยที่เกิดแกนักเรียน
ครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่เกิดขึ้นซ้ำและสงผลกระทบตอสภาพรางกายและจิตใจในหลายปที่ผานมา เชน ภัยจาก
การคุกคามทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกลงรังแก (Bully) รวมถึงภัยที่เกิดจากโรคอุบัติใหม ไดแก การแพรระบาดของโรคติด
เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เปน ผลใหเ ปน อปุ สรรคตอ การเรยี นรแู ละสวสั ดภิ าพชวี ติ ของนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษา

นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานใหเปน “การศึกษา
ขั้นพื้นฐานวิถีใหม วิถีคุณภาพ” มุงเนนความปลอดภัยในสถานศึกษา สงเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางเทาเทียม
และบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยมุงเนนพัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยใหแกผูเรียน ครู
และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ
การมีสุขภาวะที่ดี สามารถปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำสงเสริมความปลอดภัยสรางความมั่นใจใหสังคม เพื่อคุมครอง
ความปลอดภัยแกนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหการปองกัน ดูแล ชวยเหลือหรือ
เยียวยา และแกไขปญหามีความเปนเอกภาพ มีขอมูลสารสนเทศที่เปนระบบ สามารถแกไขปญหาและบริหารจัดการ
ความเสย่ี งไดอ ยา งยง่ั ยนื ดว ยการบรหิ ารจดั การตามมาตรการ 3 ป ไดแ ก ปอ งกนั ปลกู ฝง และปราบปราม ใหเ กดิ ความปลอดภยั
ใหม ากทส่ี ดุ และไมใ หเ กดิ เหตกุ ารณน น้ั ซำ้ อกี เพอ่ื สรา งความมน่ั ใจ และความเชอ่ื มน่ั ใหแ กน กั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผปู กครอง และประชาชนทว่ั ไป ในการทจ่ี ะไดเ รยี นรอู ยา งมคี ณุ ภาพ และเกดิ ความปลอดภยั อยา งมน่ั คงและยง่ั ยนื เพอ่ื ใหแ นวทาง
การปฏิบัติสอดคลองและเปนระบบกระทรวงศึกษาธิการจึงไดจัดทำคูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อ
เปนแนวทางในการสรางความปลอดภัยในเกิดแกนักเรียนเปนสำคัญ เพราะความปลอดภัยเปนปจจัยที่สงผลกระทบโดยตรง
ตอคุณภาพและการเรยี นรูของผูเ รียน

4

คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

2. วตั ถปุ ระสงค

2.1 เพอื่ สรา งความรูความเขา ใจในการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา
2.2 เพอ่ื สรางความเขมแขง็ การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
2.3 เพ่อื ดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษาอยา งเปนระบบ
2.4 เพ่ือรายงานการดำเนินการดา นความปลอดภัยตอ หนวยงานตนสังกัด

๓. เปาหมาย

๓.1 สถานศึกษามีแผนความปลอดภยั ตามบริบทของสถานศึกษา
๓.2 สถานศึกษามกี ารปฏบิ ตั ิที่เปนเลศิ ในการเสรมิ สรา งความปลอดภยั สถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนาอยา งย่ังยืน
๓.3 นักเรียน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดรบั ความคุมครองดแู ลใหม คี วามปลอดภัย
๓.4 สถานศึกษากับ หนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคีเครือขายมีสวนรวมในการดำเนินงานดาน
ความปลอดภัยสถานศกึ ษา

๔. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ

๔.๑ สถานศึกษาทุกแหง มีแผนความปลอดภัยตามบริบทของสถานศกึ ษา
๔.๒ รอยละ 80 ของสถานศึกษามีการปฏิบัติที่เปนเลิศ ในการเสริมสรางความปลอดภัยสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา
อยา งยง่ั ยนื
๔.๓ นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนไดร ับความคมุ ครองดูแลใหมคี วามปลอดภัย
4.4 รอยละความรวมมือระหวางสถานศึกษากับหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคีเครือขาย มีสวน
รวมในการดำเนินงานดานความปลอดภัยสถานศึกษา

5

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

สวนท่ี ๒
องคค วามรดู า นความปลอดภัย

SAFETY SCHOOL

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

การศกึ ษามคี วามสำคญั ตอ การพฒั นาประเทศ ในฐานะทเ่ี ปน กระบวนการหนง่ึ ทม่ี บี ทบาทโดยตรงตอ การพฒั นาทรพั ยากร
มนุษยใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการและทิศทางของประเทศ การศึกษาจึงหมายถึงการพัฒนาบุคคลใหมีความเจริญ
งอกงามทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม การสรางความปลอดภัยใหแกนักเรียนเปนสิ่งสำคัญ เพราะความ
ปลอดภัยเปนปจจัยที่สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพการเรียนรูของนักเรียน การพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหประสบผลสำเร็จ
ตามเปา ประสงคข น้ึ อยกู บั ความสขุ และการมชี วี ติ ทป่ี ลอดภยั ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา สามารถปอ งกนั หรอื ไดร บั การ
ปองกันตนเองจากปจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได มีความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และเจตคติที่ดี และมีทักษะในการปองกันภัย
สามารถหรอื ไดร บั การแกไ ขปญ หา ชว ยเหลอื เยยี วยา ฟน ฟู และดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของกฎหมาย ดงั นน้ั จงึ เปน ภารกจิ สำคญั
ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทจ่ี ะตอ งมแี นวนโยบายสถานศกึ ษาปลอดภยั ใหเ กดิ ขน้ึ

1. นโยบายดา นความปลอดภัย

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดก ำหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การเพอ่ื
ลดความเสย่ี งดา นภยั พบิ ตั เิ พอ่ื ใหเ กดิ ความเสยี หายนอ ยทส่ี ดุ และนำไปสกู ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1. บูรณาการการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเขาสูกระบวนการวางแผน ทั้งระดับชาติ ระดับชุมชนทองถิ่นและสาขา
การผลิตตาง ๆ พัฒนาองคความรู สนับสนุนการประเมินและจัดทำแผนที่ความเสี่ยงจากภัยพิบัติในพื้นที่และภาคการผลิตที่มี
ลำดบั ความสำคญั สงู

2. เสรมิ สรา งขดี ความสามารถในการเตรยี มความพรอ มและการรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ สนบั สนนุ การจดั ทำแผนรบั มอื ภยั พบิ ตั ิ
ในระดับพื้นที่ สงเสริมแนวทางการจัดการภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนศูนยกลาง สงเสริมภาคเอกชนในการจัดทำแผนบริหาร
ความตอ เนอ่ื งของธรุ กจิ สรา งจติ สำนกึ ความปลอดภยั สาธารณะ สง เสรมิ บทบาทของภาคเอกชนและชมุ ชนทอ งถน่ิ ในการรว มกนั
ดำเนนิ การปอ งกนั และลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ิ

3. พัฒนาระบบการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบการเตือนภัยใหมีความแมนยำ นาเชื่อถือ และมี
ประสิทธิภาพ สงเสริมกลไกการเขาถึงขอมูลขาวสารผานเทคโนโลยีสมัยใหม พัฒนาระบบฐานขอมูลใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
และสามารถเชอ่ื มโยง แลกเปลย่ี นขอ มลู ระหวา งหนว ยงานทง้ั ในและตา งประเทศได พฒั นากลไกบรู ณาการความรว มมอื ทกุ ภาคสว น
เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการจดั การภยั พบิ ตั ใิ นภาวะฉกุ เฉนิ

4. พัฒนาระบบการฟนฟูบูรณะหลังการเกิดภัย ใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูประสบภัยไดอยางทั่วถึง
และเปน ธรรม ยกระดบั มาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภยั ภายหลงั การเกดิ ภยั พบิ ตั ิ และปรบั ปรงุ มาตรฐานความปลอดภยั
ของสง่ิ กอ สรา งและโครงสรา งพน้ื ฐาน รวมถงึ พฒั นามาตรฐานความปลอดภยั ของโครงสรา ง

แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดก ำหนดยทุ ธศาสตรใ นการพฒั นาการศกึ ษาภายใต 6 ยทุ ธศาสตรห ลกั
ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เพื่อใหแผนการศึกษาแหงชาติบรรลุเปาหมายตามจุดมุงหมาย
วิสัยทัศน และแนวคิดการจัดการการศึกษา โดยไดกำหนดใน ยุทธศาสตรที่ 1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของสงั คมและ
ประเทศชาติ ปจจุบันภัยคุกคามตอความมั่นคงรูปแบบใหมที่สงผลกระทบตอประชาชนและประเทศชาติมีความซับซอนและ
รนุ แรงมากขน้ึ อาทิ ความรนุ แรงในรปู แบบตา ง ๆ ยาเสพตดิ ภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ ภยั จากโรคอบุ ตั ใิ หม ภยั จากไซเบอร เปน ตน
ความมน่ั คงของชาตจิ งึ มไิ ดค รอบคลมุ เฉพาะมติ ดิ า นการทหารหรอื อำนาจอธปิ ไตยเทา นน้ั แตย งั ครอบคลมุ มติ ติ า ง ๆ ทง้ั เศรษฐกจิ
สังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งในแตละมิติลวนมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศ

7

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปองกันภัยคุกคามเหลานี้จะตองพิจารณาในมิติที่มีความเชื่อมโยงกัน และการดำเนินการเพื่อวางรากฐานและกลไก
การสรางความมั่นคงเพื่อปองกันและปองปรามภัยเหลานี้นั้นจะตองเริ่มที่กระบวนการจัดการศึกษาของประเทศ การดูแลและ
ปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม ไมวาจะเปนอาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจาก
ธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบตั ใิ หม ภัยจากไซเบอร เพื่อสง เสรมิ ใหเ กดิ ความปลอดภยั และความมัน่ คงในชวี ติ ลดความเส่ียงจากภัย
คกุ คามตาง ๆ

ดงั นน้ั การจดั การศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ ประเดน็ หลกั สำคญั ทม่ี ผี ลดา นความมน่ั คงแกค นในชาตจิ ะสง ผลใหท กุ คนมจี ติ สำนกึ
ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ความคดิ ทศั นคติ ความเชอ่ื คา นยิ ม และพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสม รเู ทา ทนั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม
และโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถดำรงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งสนั ตแิ ละสงบสขุ อนั จะสง ผลใหส งั คมและประเทศเกดิ ความมน่ั คง
ธำรงรักษาอธิปไตย และผานพน จากภยั คกุ คามตาง ๆ ได

ความเขา ใจเกย่ี วกบั กรอบความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี น (Comprehensive School Safety Framework : CSSF)
ไดป รากฏอยูใ นกรอบการดำเนินงานระดบั โลก ท้ังท่เี ปน กรอบความคิดรเิ ริม่ และขอตกลงหลายฉบบั CSSF ต้ังอยูใ จกลางของ
กรอบการดำเนนิ งานทท่ี บั ซอ นกนั หลายดา น ไดแ ก เปา หมาย การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
อนุสัญญาวา ดว ยสทิ ธิคนพกิ าร (Convention on the Rights of Persons with Disabilities: CRPD) การลดความเสย่ี งจาก
ภยั พบิ ตั ิ (Disaster Risk Reduction : DRR) และSendai Framework for DRR โดยมหี ลกั การสำคญั คอื การศกึ ษาเปน สทิ ธิ
ขั้นพื้นฐานของเด็ก ซึ่งชวยใหประชาคมโลกเกิดความชัดเจนถึงภัยคุกคามจากภัยธรรมชาติ ความขัดแยง ความรุนแรง
และการพลัดถนิ่

ความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรียน เปา หมายของความปลอดภยั รอบดานในโรงเรยี น

เพื่อคุมครองนักเรียนและบุคลากรดานการศึกษา เพื่อใหโรงเรียนวางแผนจัดการศึกษา
จากการเสียชีวิต การบาดเจ็บ และอันตรายในโรงเรียน ตอเนื่องแมในระหวางที่เกิดภัยพิบัติ

เพื่อปกปองการลงทุนในภาคการศึกษา เพื่อสรางความเขมแข็งในการลดความเสี่ยง
และการฟนตัวของภาคการศึกษา
8

คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

สามเสาหลกั ของความปลอดภัยรอบดานในโรงเรยี น
ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน ซึ่งอยูภายใตนโยบายและการปฏิบัติดานการศึกษา มีความสอดคลองกับ
การบรหิ ารจัดการภยั พบิ ัติ ในระดับสากล ระดบั ประเทศ ภูมภิ าค จังหวัด และระดบั พืน้ ท่ี รวมทงั้ ในโรงเรยี น
กรอบแนวคดิ ดวามปลอดภยั รอบดานในโรงเรียน ประกอบดวยสามเสาหลกั (Three Pillars) ไดแ ก

1
ดานอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในโรงเรียน
ที่ปลอดภัย (Safer Learning Facilities)
2
ดานการบริหารจัดการภัยพิบัติในสถานศึกษา
(School Disaster Management)
3
ดานการศึกษาดานการลดความเสี่ยงและการรูรับปรับตัวจากภัยพิบัติ
(Risk Reduction and Resilience Education)

รากฐานของการวางแผนสำหรับความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียนคือการจัดทำการประเมินความเสี่ยงแบบภัย
หลายชนิด การวางแผนนี้ควรเปนสวนหนึ่งของระบบขอมูลการจัดการการศึกษาในระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและในระดับ
พื้นที่ ขอมูลเรื่องความเสี่ยงจากภัยพิบัติเปนสวนหนึ่งของการวิเคราะหนโยบายของภาคการศึกษาและการจัดการในภาพรวม
ซง่ึ จะใหข อ มูลเชิงประจกั ษและหลักฐานทีส่ ำคญั สำหรบั การวางแผนและการดำเนนิ งาน

ความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี นและความสอดคลอ งกบั เปา หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development
Goals) พ.ศ. 2558 - 2573 และกรอบการดำเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573
ผลสมั ฤทธข์ิ องการบรู ณาการความปลอดภยั รอบดา นในโรงเรยี นเขา ไปในกรอบการพฒั นาท่ียง่ั ยนื และนโยบายและการลดความ
เสย่ี งภยั พบิ ัตเิ รอื่ งการลดความเส่ียง ไดแ ก

1) ปรบั ปรงุ การเขาถงึ การศึกษาของเดก็ อยา งเทาเทียม ไมเ ลอื กปฏิบัติ และปลอดภยั
2) พัฒนาและสรางความเขมแข็งใหแกสถาบัน กสไกและเครือขายประสานงาน รวมทั้งศักยภาพระดับประเทศ
ในการสรา งความสามารถในการรรู บั ปรบั ตวั และฟน คนื กลบั (Resilience) จากภยั และอนั ตรายทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ แกภ าคการศกึ ษา
ท้ังในระดับนานาชาติ ระดบั ชาติ ระดบั ภูมิภาค และระดบั ทองถ่ิน
3) บรู ณาการแนวทางการลดความเสย่ี งเขา ไปในการดำเนนิ งานเกย่ี วกบั การเตรยี มพรอ มรบั ภยั ฉกุ เฉนิ การตอบสนอง
และการฟน ฟูจากภยั พิบตั ิในภาคการศกึ ษา
4) ตดิ ตามและประเมนิ ผลความกา วหนา ของการดำเนนิ งานดา นการลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั แิ ละความขดั แยง
5) เพม่ิ จำนวนและความสามารถในการเขา ถงึ ขอ มลู หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วกบั ภยั เชน ขอ มลู เกย่ี วกบั ระบบเตอื นภยั ลว งหนา
สำหรบั ภัยหลายชนิด (multi-hazard early warning system) และขอ มลู เกีย่ วกบั ความเสี่ยงภยั พิบัติ

9

คูมือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2. กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง

พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546
สาระสำคญั
พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม 120 ตอนท่ี 95 ก วนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2546
มผี ลบงั คบั ใชเ มอ่ื วนั ท่ี 30 มนี าคม 2547 สาระสำคญั ของ พ.ร.บ. ฉบบั น้ี เกย่ี วกบั เรอ่ื งสทิ ธเิ สรภี าพของเดก็ และเยาวชนทต่ี อ ง
ไดร บั ความคมุ ครองจากรฐั โดยไมเ ลอื กปฏบิ ตั ิ และคำนงึ ถงึ ประโยชนส งู สดุ ของเดก็ เปน สำคญั พ.ร.บ. ฉบบั น้ี มที ง้ั หมด 9 หมวด
88 มาตราดว ยกนั แยกเปน มาตรา 1-6 อธบิ ายความหมายเกย่ี วขอ งกบั พ.ร.บ. ฉบบั น้ี

หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5

ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง
คณะกรรมการ การปฏบิ ตั ติ อ เดก็ การสงเคราะหเ ดก็ การคมุ ครอง ผคู มุ ครอง
คมุ ครองเดก็ (มาตรา 22-31) (มาตรา 32-39) สวสั ดภิ าพเดก็ สวสั ดภิ าพเดก็
(มาตรา 7-21) (มาตรา 40-47) (มาตรา 48-50)

หมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 บทเฉพาะกาล

ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง ทว่ี า ดว ยเรอ่ื ง (มาตรา 87-88)
สถานรบั เลย้ี งเดก็ การสง เสรมิ กองทนุ คมุ ครองเดก็ ออกกำหนดโทษ
สถานพฒั นาและฟน ฟู ความประพฤติ (มาตรา 68-77) (มาตรา 78-86)
(มาตรา 51-62) นกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
(มาตรา 63-67)

10

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั เพศ และความผดิ ตอ เสรภี าพ

พรากผเู ยาว

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 บัญญัตวิ า ผูใ ดโดยปราศจากเหตอุ ันสมควรพรากเดก็ อายุยงั ไมเ กินสิบหา ป
ไปเสียจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจำคุกตั้งแต 3 ป ถึง 15 ป และปรับ ตั้งแต 6,000 บาท ถึง
30,000 บาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 บญั ญตั วิ า ผใู ดพรากผเู ยาวอ ายกุ วา สบิ หา ปแ ตย งั ไมเ กนิ สบิ แปดปไ ปเสยี
จากบดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื ผดู แู ล โดยผเู ยาวน น้ั ไมเ ตม็ ใจไปดว ย ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 2 ปถ งึ 10 ป และปรบั ตง้ั แต
4,000 บาท ถงึ 20,000 บาท ความผดิ ฐานพรากเดก็ หรอื พรากผเู ยาว เปน การพาเดก็ หรอื ผเู ยาวไ ป หรอื แยกเดก็ หรอื ผเู ยาว
ออกไปจากความปกครองดูแลของบิดา มารดา หรือผูปกครองของเด็กหรือผูเยาว หากการพรากเด็กหรือผูเยาวไปเพื่อการ
อนาจาร เชน พาไปกอดจูบ ลูบคลำ ผูนั้นจะตองไดรับโทษหนักยิ่งขึ้น โดยเฉพาะหากมีการรวมประเวณีหรือมีเพศสัมพันธ
ผนู น้ั จะตอ งถกู ดำเนนิ คดขี อ หาขม ขนื กระทำชำเราอกี ขอ หาหนง่ึ มโี ทษหนกั มาก แมผ เู ยาวน น้ั จะยนิ ยอมไปดว ย ผทู พ่ี รากกต็ อ ง
มคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ซง่ึ บญั ญตั วิ า ผใู ดพรากผเู ยาวอ ายเุ กนิ กวา สบิ หา ปแ ตย งั ไมเ กนิ สบิ แปดปไ ป
เสยี จากบดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื ผดู แู ล เพอ่ื หากำไร หรอื เพอ่ื การอนาจาร โดยผเู ยาวน น้ั เตม็ ใจไปดว ย ตอ งระวางโทษจำคกุ
ตั้งแต 2 ป ถงึ 10 ป และปรับตั้งแต 4,000 บาท ถงึ 20,000 บาท เชน

“แดงพบเดก็ หญงิ เขยี ว จงึ ชวนไปเทย่ี วคา งคนื ทพ่ี ทั ยา
โดยไมไ ดข ออนญุ าตจากบดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว
แมแ ดงจะไมไ ดล ว งเกนิ เดก็ หญงิ เขยี วกต็ าม ถอื วา มคี วามผดิ
ฐานพรากเดก็ ไปเสยี จากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตุ
อนั สมควร หากแดงลว งเกนิ ทางเพศเดก็ หญงิ เขยี ว
แดงจะตอ งไดร บั โทษทห่ี นกั ขน้ึ ”
กระทำอนาจาร

ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278 บัญญัติวา ผูใดกระทำอนาจารแกบุคคลอายุกวาสิบหาป โดยขูเข็ญดวย
ประการใด ๆ โดยใชก ำลงั ประทษุ รา ย โดยบคุ คลนน้ั อยใู นภาวะทไ่ี มส ามารถขดั ขนื ได หรอื โดยทำใหบ คุ คลนน้ั เขา ใจผดิ วา ตนเปน
บุคคลอื่น ตองระวางโทษจำคุกไมเกิน 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 279 บญั ญตั วิ า ผใู ดกระทำอนาจารแกเ ดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป โดยเดก็ นน้ั จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม ตอ งระวางโทษจำคกุ
ไมเกิน 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความผิดฐานกระทำอนาจารเปนการกระทำที่นาอับอาย
นา บดั สี ลามก เชน กอด จบู ลบู คลำ หรอื จบั อวยั วะเพศหญงิ หนา อก รวมถงึ การจบั เนอ้ื ตอ งตวั หญงิ กต็ าม กถ็ อื วา เปน ความผดิ
ขอ หากระทำอนาจาร แมว า เดก็ ทถ่ี กู กระทำจะยนิ ยอมใหก ระทำการดงั กลา วกย็ งั มคี วามผดิ หากเดก็ นน้ั อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป เชน

11

คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

“แดงพาเดก็ หญงิ เขยี ว (อายุ 14 ป) ไปดภู าพยนตร โดยไดร บั อนญุ าตจาก
บดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แตแ ดงไดก อดจบู เดก็ หญงิ เขยี วขณะดภู าพยนตร
แมเ ดก็ หญงิ เขยี วจะยนิ ยอมใหแ ดงกอดจบู กต็ าม ถอื วา แดงมคี วามผดิ ขอ หา
กระทำอนาจาร และหากเปน กรณที แ่ี ดงพาเดก็ หญงิ เขยี วไปดภู าพยนตรโ ดย
ไมไ ดร บั อนญุ าตจากบดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แดงมคี วามผดิ ฐานพราก
เดก็ ไปเสยี จากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตอุ นั สมควรอกี ขอ หา”
ขม ขนื กระทำชำเรา

ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 บัญญัติวา ผูใดขมขืนกระทำชำเราหญิงอื่น ซึ่งมิใชภริยาของตน โดยขูเข็ญ
ดวยประการใด ๆ โดยใชกำลังประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทำใหหญิงเขาใจผิดวาตน
เปน บุคคลอ่ืน ตองระวางโทษจำคุกตัง้ แต 4 ป ถึง 20 ป และปรับตั้งแต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท ความผิดฐานขม ขนื
กระทำชำเราเปน การบงั คบั ใจ ฝน ใจหญงิ อน่ื ทม่ี ใิ ชภ รยิ าของตน โดยหญงิ นน้ั ไมย นิ ยอม หรอื ใชก ำลงั บงั คบั จนหญงิ นน้ั อยใู นภาวะ
ที่ไมสามารถขัดขืนได จนผูกระทำผิดลวงเกินทางเพศ หรือมีเพศสัมพันธกับหญิงนั้น หากเปนการขมขืนกระทำชำเราเด็กหญิง
อายไุ มเ กนิ สบิ หา ป ซง่ึ มใิ ชภ รยิ าของตน โดยเดก็ หญงิ นน้ั จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม ผนู น้ั จะตอ งไดร บั โทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป
และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท เชน นายหมกึ ไดใ ชก ำลงั ฉดุ นางสาวนนุ อายุ 22 ป ในขณะทน่ี างสาวนนุ กำลงั
กลับจากที่ทำงาน และนำนางสาวนุนไปกักขังไวพรอมทั้งขมขืนกระทำชำเราเชนนี้ นายหมึกมีความผิดขมขืนกระทำชำเรา
และกกั ขงั หนว งเหนย่ี วรา งกายผอู น่ื ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท

“นายสนิ ไดห ลอกลอ เดก็ หญงิ พะยอมอายุ 12 ป ไปจากบา นและลงมอื
กระทำชำเราเดก็ โดยเดก็ มคี วามเตม็ ใจเชน น้ี นายสนิ กม็ คี วามผดิ ฐานขม ขนื
กระทำชำเราเดก็ หญงิ ไมเ กนิ สบิ หา ปซ ง่ึ มใิ ชภ รยิ าของตน โดยเดก็ หญงิ นน้ั
จะยนิ ยอมหรอื ไมก ต็ าม นายสนิ จะตอ งไดร บั โทษจำคกุ ตง้ั แต 4 ป ถงึ 20 ป
และปรบั ตง้ั แต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท”

12

คูมอื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษ

ยาเสพติดใหโทษ หมายถึง สารเคมี หรือวัตถุพิษ ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อเสพเขาสูรางกาย ไมวาจะโดยรับประทาน
ดม สูบฉีด หรือดวยประการใดๆ แลวทำใหเกิดผลตอรางกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เชน ตองเพิ่มขนาดการเสพขึ้น
เปน ลำดบั มอี าการถอนยาเมอ่ื ขาดยา มคี วามตอ งการเสพทง้ั รา งกายและจติ ใจอยา งรนุ แรงอยตู ลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทว่ั ไปจะ
ทรุดโทรมลง

เสพ หมายถงึ การรบั ยาเสพตดิ ใหโทษเขาสรู า งกาย ไมวา ดวยวธิ ใี ดๆ ยาเสพตดิ ใหโทษ แบงออกเปน 5 ประเภท คือ

ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนดิ รายแรง เชน เฮโรอนี

ประเภท 2 ยาเสพติดใหโ ทษท่ัวไป เชน มอรฟ น โคคาอีน ฝน ยา
ประเภท 3 ยาเสพติดใหโ ทษทีม่ ลี กั ษณะเปนตำรบั ยา
และมียาเสพติดใหโ ทษในประเภท 2 ผสมอยดู วย
ประเภท 4 สารเคมีทใี่ ชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษประเภท 1
หรอื ประเภท 2 เชน อาเซติกแอนดไ อไดร
ประเภท 5 ยาเสพตดิ ใหโ ทษทม่ี ไิ ดเ ขา อยใู นประเภท 1 ถงึ ประเภท 4
เชน กญั ชา พชื กระทอ ม

13

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ความผดิ เกย่ี วกบั เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ

เสพกญั ชา

ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 92 บญั ญตั วิ า ผใู ดเสพ
ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 5 ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเ กนิ 1 ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ
20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ดงั นน้ั ผใู ดเสพกญั ชาไมว า ดว ยวธิ กี ารใด ๆ
เชน เอากัญชาผสมบุหรี่แลวสูบ หรือเสพกัญชาโดยใชบองกัญชาถือวาผูนั้น
มคี วามผดิ ฐานเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 5 ซง่ึ มโี ทษจำคกุ ไมเ กนิ 1 ป หรอื
ปรบั ไมเ กนิ 20,000 บาท

เสพยาบา หรอื เฮโรอนี

ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 91 บญั ญตั วิ า ผใู ด
เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต 6 เดอื น ถงึ 3 ป
หรอื ปรบั ตง้ั แต 10,000 บาท ถงึ 60,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ดงั นน้ั ผใู ด
เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 เชน ยาบา เฮโรอนี ไมว า โดยวธิ กี ารสดู ดมจาก
การรมควนั หรอื ฉดี เฮโรอนี เขา เสน เลอื ด สดู ดมเขา ทางจมกู ถอื วา ผนู น้ั มคี วามผดิ
ฐานเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 1 ซง่ึ มโี ทษจำคกุ หนกั กวา กญั ชา

เสพสารระเหย

สารระเหย หมายความวา สารเคมี หรือผลิตภัณฑที่รัฐมนตรีประกาศวาเปน
สารระเหย เชน กาวตา ง ๆ ผตู ดิ สารระเหย หมายความวา ผซู ง่ึ ตอ งใชส ารระเหย
บำบดั ความตอ งการของรา งกายและจติ ใจเปน ประจำความผดิ ฐานเสพสารระเหยนน้ั
ตามพระราชกำหนดปอ งกนั การใชส ารระเหย พ.ศ. 2533 มาตรา 17 บญั ญตั ิ
วา “หา มมใิ หผ ใู ดใชส ารระเหยบำบดั ความตอ งการของรา งกาย หรอื จติ ใจ ไมว า
โดยวธิ กี ารสดู ดม หรอื วธิ อี น่ื ใด หากผใู ดฝา ฝน มโี ทษจำคกุ ไมก นิ 2 ป หรอื ปรบั
ไมเ กนิ 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ”

14

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ความผดิ เกย่ี วกบั ครอบครองยาเสพตดิ ใหโ ทษ

ความผดิ ฐานครอบครองยาบา้ หรอื เฮโรอนี ตาม พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 บญั ญตั วิ า่ หา้ มมใิ ห้
ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ซึ่งมาตรา 67 บัญญัติว่า ผู้ใดมีไว้
ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือปรับ
ตง้ั แต2่ 0,000 บาท ถงึ 200,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั หากผใู้ ดครอบครองยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 1 ประเภทยาบา้
เกิน 15 เม็ด กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นได้ครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ไว้เพื่อจำหน่าย ซึ่งมีอัตราโทษ
จำคกุ ต้งั แต่ 4 ปี ถึงตลอดชวี ิต

“ ผใู ดมไี วใ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท 1
โดยไมไ ดร บั อนญุ าต ตอ งระวางโทษจำคกุ ตง้ั แต
1 ปถ งึ 10 ป หรอื ปรบั ตง้ั แต 20,000 บาท
ถงึ 200,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ”

ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั การจราจรทางบก และการใชร ถ

ผูขับขี่รถยนตหรือรถจักรยานยนตจะตองไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่นายทะเบียนเสียกอน โดยกลาวคือ ตองมี
ใบอนุญาตขับรถ หรือใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต ซึ่งออกใหโดยนายทะเบียน มิฉะนั้นจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ
รถยนต พ.ศ.2522 มาตรา 42 ซง่ึ บญั ญตั วิ า ผขู บั รถตอ งไดร บั ใบอนญุ าตขบั รถ และตอ งมใี บอนญุ าตขบั รถ และสำเนาภาพถา ย
ใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขับรถ และมาตรา 34 บัญญัติวา ผูใดขับรถโดยไมไดรับใบอนุญาตขับรถตองระวางโทษจำคุก
ไมเ กนิ 1 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั นอกจากน้ี ขณะขบั รถหรอื ขบั ขร่ี ถจกั รยานยนต สภาพรา งกาย
ของผขู บั ขจ่ี ะตอ งปกติ สมบรู ณ ไมม อี าการหยอ นความสามารถในการขบั ข่ี หรอื อาการเมาสรุ า หรอื ของเมาอยา งอน่ื มฉิ ะนน้ั ผู
ขบั ขจ่ี ะตอ งมคี วามผดิ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 160 วรรคสาม ซง่ึ มโี ทษจำคกุ ไมเ กนิ 3 เดอื น หรอื ปรบั
ตง้ั แต 2,000 บาท ถงึ 10,000 บาท หรือทัง้ จำท้ังปรับ

15

คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

สว นที่ ๓
การเสริมสรางความปลอดภัย

ในสถานศึกษา

คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

1. ขอบขา ยความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา

ขอบขายความปลอดภัยของสถานศึกษา 4 กลุมภัย ดังนี้ 1) ภัยที่เกิดจากการใชความรุนแรงของมนุษย (Violence)
2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) 3) ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) 4) ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ
ทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) มอี งคป ระกอบดังนี้

1.๑ ภยั ที่เกิดจากการใชค วามรุนแรงของมนุษย (Violence)
1) การลวงละเมิดทางเพศ 2) การทะเลาะวิวาท
3) การกลั่นแกลงรงั แก 4) การชุมนุมประทวงและการจลาจล
5) การกอ วินาศกรรม 6) การระเบิด
7) สารเคมแี ละวัตถอุ ันตราย 8) การลอ ลวง ลกั พาตวั

1.2 ภยั ที่เกิดจากอบุ ตั เิ หตุ (Accident)
1) ภยั ธรรมชาติ 2) ภัยจากอาคารเรยี น สง่ิ กอสราง
3) ภัยจากยานพาหนะ 4) ภยั จากการจัดกจิ กรรม
5) ภัยจากเครื่องมอื อุปกรณ

1.3 ภยั ทเ่ี กดิ จากการถูกละเมดิ สิทธ์ิ (Right)
1) การถกู ปลอ ยปละ ละเลย ทอดทิ้ง
2) การคกุ คามทางเพศ
3) การไมไดร ับความเปน ธรรมจากสงั คม

1.4 ภยั ทเ่ี กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness)
1) ภาวะจติ เวช 2) ติดเกม
3) ยาเสพตดิ 4) โรคระบาดในมนษุ ย
5) ภยั ไซเบอร 6) การพนนั
7) มลภาวะเปน พษิ 8) โรคระบาดในสัตว
9) ภาวะทพุ โภชนาการ

17

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

2. มาตรการความปลอดภยั สถานศกึ ษา

มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษามุงเนนใหเกิดความปลอดภัยตอนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
อยา งย่ังยนื โดยเนน มาตรการที่เขมงวดในมาตรการ 3 ป ดังน้ี

2.1 การปองกัน หมายถึง การดำเนินการเพื่อไมใหเกิดปญหา อุปสรรค หรือความไมปลอดภัย ตอนักเรียน ครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยการสรางมาตรการปองกันจากปจจยั เส่ยี งท่อี าจเกิดข้ึนทง้ั ในและนอกสถานศึกษา ดังน้ี

1) การประเมนิ ปจ จัยเส่ยี งของสถานศึกษา
2) การกำหนดพนื้ ที่ความปลอดภยั
3) การจดั ทำแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา
4) การจัดสภาพแวดลอ มและบรรยากาศของสถานศึกษา
5) การจดั โครงสรา งบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา
6) การจัดโครงสรา งขอ มลู สารสนเทศความปลอดภัยสถานศึกษา
7) การสรางการมีสวนรวมของสถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ขา ย
8) การจดั ระบบชองทางการสื่อสารดานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
9) การจดั ระบบคัดกรองและดูแลชวยเหลือนักเรยี น
10) การประเมนิ นกั เรียนรายบุคคล ดานรา งกาย จติ ใจ สงั คม สติปญญา และความตองการชวยเหลือ
2.2 การปลูกฝง หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับการเสริมสรางความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และเจตคติที่ดี
และการสรา งเสริมประสบการณเ พ่ือใหเ กิดทกั ษะในการปองกันภยั ใหแกน กั เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ดังน้ี
1) การสรางจติ สำนกึ ความตระหนัก การรบั รู และความเขาใจดา นความปลอดภัยใหก บั ตนเองและผอู น่ื
2) การจัดกิจกรรมสรางความรูความเขา ใจ และพัฒนาองคความรเู กีย่ วกับความปลอดภยั ใหแ กนักเรียน ครู
บุคลากรทางการศกึ ษา และผปู กครอง
3) การจดั กิจกรรมเสรมิ สรา งทักษะ ประสบการณ และสมรรถนะดา นความปลอดภยั ใหแ กนักเรยี น
2.3 การปราบปราม หมายถึง การดำเนินการจัดการแกไขปญหา การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู และดำเนินการ
ตามขั้นตอนของกฎหมาย ไดแ ก
1) การจัดการแกไขปญ หาความไมป ลอดภยั ในสถานศกึ ษา
2) การชว ยเหลือ เยยี วยา ฟน ฟู จติ ใจบคุ คลผูประสบเหตคุ วามไมป ลอดภัย
3) การดำเนนิ การตามข้ันตอนของกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ ง

18

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรการ 3 ป

การปอ งกนั หมายถงึ การดำเนินการเพื่อไมใหเกิด
ปญหา อุปสรรค หรือความไมปลอดภัย ตอนักเรียน
ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โดยการสราง
มาตรการปองกนั จากปจ จัยเสย่ี งทอี่ าจเกิดขนึ้ ทง้ั ใน
และนอกสถานศกึ ษา
การปลกู ฝง หมายถงึ การดำเนินการเกี่ยวกับการ
เสริมสรางความรู ความเขาใจ จิตสำนึก และ
เจตคติที่ดี และการสรางเสรมิ ประสบการณเ พอ่ื ให
เกิดทักษะในการปองกันภยั ใหแกนักเรียน ครู และ
บคุ ลากรทางการศึกษา

การปราบปราม หมายถึง การดำเนินการ
จัดการแกไขปญหา การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู
และดำเนินการตามขน้ั ตอนของกฎหมาย

19

คูม อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

3. โครงสรา งการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถานศกึ ษา

ผูอำนวยการสถานศึกษา

เครือขา ยภาครัฐ คณะกรรมการสถานศึกษา
ภาคเอกชน ข้นั พ้ืนฐาน
ภาคประชาชน
และผูปกครอง รองผูอำนวยการสถานศกึ ษา/ผูที่ไดร บั มอบหมาย

คณะทำงานระดับสถานศึกษา

ครูประจำช้ัน/ ครูแนะแนว ครฝู า ยปกครอง สภานกั เรยี น
ครทู ป่ี รึกษา

20

คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

4. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา

การดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา มขี ้นั ตอนดังนี้
4.๑ การประเมินสภาพความเสี่ยงดา นความปลอดภยั และจัดลำดบั ความเส่ยี ง
4.2 การจดั ทำแผนดำเนนิ การความปลอดภัย
4.3 การดำเนนิ การตามมาตรการ
๔.๔ การดำเนนิ การตามขอบขายความปลอดภยั
๔.๕ การกำกบั ติดตาม และประเมินผล
มาตรการความปลอดภัย สถานศึกษา ใชหลัก 3 ป ไดแก การปองกัน ปลูกฝง และปราบปราม โดยมีรายละเอียด

แนวทางการปฏิบตั แิ ละตัวชี้วดั ดงั นี้

1. การปอ งกนั

ตาราง 1 การดำเนนิ การตามมาตรการการปอ งกนั เพอ่ื ใหเ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา

การปอ งกนั แนวทางการปฏิบัติ ตัวชีว้ ดั

1) กำหนดพน้ื ทค่ี วามปลอดภยั 1.1 ประชุม ชี้แจง วางแผน การดำเนิน - สถานศึกษาทุกแหงมีการกำหนดพื้นที่

งานดา นความปลอดภยั สถานศกึ ษารว มกบั การควบคมุ ความปลอดภยั ปา ยสญั ลกั ษณ
บุคลากร ภาคีเครือขาย และหนวยงาน และอุปกรณควบคุมความปลอดภัยสวน
องคก ร ผูมีสว นเก่ียวขอ ง บคุ คล
1.๒ กำหนดพื้นที่ควบคมุ ความปลอดภยั
รวมถงึ ปา ยสญั ลกั ษณ และอปุ กรณค วบคมุ
ความปลอดภยั สวนบคุ คล
1.๓ จดั ทำปา ยสญั ลกั ษณแ สดงความเสย่ี ง
ในพืน้ ท่ที ่มี ีความเสย่ี ง
1.๔ จัดทำระบบขอมูลสารสนเทศดาน
ความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา

2) จัดทำแผนความปลอดภัย 2.1 แตง ต้งั คณะกรรมการความปลอดภยั - สถานศกึ ษาทกุ แหง มแี ผนความปลอดภยั
ของสถานศกึ ษา สถานศึกษา โดยการมีสวนรวมจากภาคี สถานศึกษาทีค่ รอบคลมุ ทุกมติ ิ
เครอื ขายและผมู ีสวนเกีย่ วของ
2.2 เสนอแผนความปลอดภัยของสถาน
ศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน

21

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การปอ งกนั แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ช้ีวดั

2.3 กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานและ
ผูร บั ผิดชอบงาน
2.4 กำหนดนโยบายความปลอดภยั ของ
สถานศกึ ษา
2.5 เผยแพร ประชาสัมพันธนโยบาย
และแผนความปลอดภัยสถานศกึ ษา

3) การจัดสภาพแวดลอมและ 3.1 จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพภมู ทิ ศั น - สถานศึกษาทุกแหงจัดสภาพแวดลอม
บรรยากาศของสถานศึกษา หอ งเรยี น หอ งปฏบิ ตั กิ าร หอ งนำ้ หอ งพเิ ศษ และบรรยากาศที่มีความปลอดภัยตอ
และหอ งอนื่ ๆ ใหมีความปลอดภยั นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
3.๒ จัดทำแหลงเรียนรูเพื่อเสริมสราง
ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาทห่ี ลากหลาย

4) การจัดโครงสรางบริหาร ๔.1 สำรวจและประเมนิ สภาพความเสย่ี ง - สถานศึกษาทุกแหงจัดระบบโครงสราง
จัดการความปลอดภัยสถาน ดานความปลอดภัยสถานศกึ ษา ในการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั สถาน
4.๒ สถานศึกษาจดั ทำโครงสรางบริหาร ศกึ ษา
ศึกษา จัดการความปลอดภัยสถานศึกษา

4.๓ กำหนดบทบาทหนา ท่ี ภาระงานของ
คณะกรรมการ
4.๔ จดั ทำปฏทิ นิ การปฏบิ ตั งิ านของคณะ
กรรมการความปลอดภัยสถานศึกษา
4.5 ประสานความรวมมือของคณะ
กรรมการ ภาคีเครือขาย และหนวย
งานตนสังกัด

5) การจดั ทำขอ มลู สารสนเทศ 5.1 แตงตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำระบบ - สถานศกึ ษาทุกแหงมรี ะบบขอ มูล
ความปลอดภัยสถานศึกษา ขอ มลู สารสนเทศความปลอดภยั ของสถาน สารสนเทศความปลอดภยั สถานศึกษา

ศกึ ษา
5.2 จัดหาเครือ่ งมอื วัสดุ อปุ กรณในการ
เกบ็ รวบรวมขอมูลสารสนเทศ
5.3 เกบ็ รวบรวมขอ มลู อยา งครบถว นรอบ
ดา น
5.4 วิเคราะหขอมูล จัดระบบหมวดหมู
สารสนเทศ
5.5 จดั ทำรายงานระบบขอ มลู สารสนเทศ
และจัดเกบ็ อยางเปนระบบ

22

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปอ งกนั แนวทางการปฏิบตั ิ ตวั ชี้วดั

6) การสรา งการมสี ว นรว มของ 6.1 ประสานความรวมมือในการสราง - สถานศึกษาทกุ แหงมีเครอื ขาย
สถานศึกษาและภาคีเครอื ขา ย เครือขายการมีสวนรวมในพื้นที่และ ความรว มมอื ความปลอดภยั อยา งนอ ย ๑
ภาคสว นตา งๆ เครอื ขา ย
6.2 มีการประชุมวางแผนเพื่อเสริมสราง
ความปลอดภยั สถานศกึ ษารวมกนั
6.3 มกี จิ กรรมการดำเนนิ งานในการเสรมิ
สรา งความปลอดภัยสถานศึกษา
6.4 มกี ารประเมนิ ผลรวมกนั
6.5 มกี ารเผยแพร ประชาสัมพนั ธค วาม
รว มมอื
๖.๖ มีการยกยองชมเชยเครือขายภาคี
ความรว มมอื

7) การจัดระบบชองทางการ 7.1 แตงตั้งคณะทำงานดานการสื่อสาร - สถานศกึ ษาทกุ แหง มชี อ งทางการสอ่ื สาร
สอ่ื สารดา นความปลอดภยั ของ ประชาสัมพันธอ งคกร อยา งนอ ย ๓ ชองทาง
7.2 กำหนดรปู แบบการสอ่ื สาร
สถานศึกษา ประชาสมั พนั ธท ค่ี รอบคลมุ ทง้ั 3 ชอ งทาง

ประกอบดว ย
1) On Ground ไดแก การจัดปาย
นิทรรศการ จดั ทำเอกสารประชาสัมพันธ
การจดั กจิ กรรมรณรงคใ นวันสำคัญตางๆ
2) On Line ไดแก การเผยแพร
ประชาสัมพันธทางสื่อสังคมออนไลนใน
รปู แบบตา งๆ เชน Facebook, Line เปน ตน
3) On Air ไดแก การประชาสัมพนั ธ
ผา นระบบเสยี งตามสาย ทง้ั ในสถานศกึ ษา
และชุมชน
7.3 ปรบั รปู แบบระบบชอ งทางการสอ่ื สาร
ดานความปลอดภัยของสถานศึกษาให
สอดคลองกับบริบทและสภาพการณของ
สถานศึกษา

23

คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปอ งกัน แนวทางการปฏบิ ัติ ตวั ช้ีวัด

8) การจดั ระบบดแู ลชว ยเหลอื 8.1 แตงตงั้ คณะกรรมการระบบดแู ลชว ย - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบดูแลชวย
นักเรียน เหลอื นกั เรยี นระดบั สถานศกึ ษา เหลือนักเรียน
8.๒ คัดกรองนกั เรยี นแยกเปน 3 กลุมได
อยา งชดั เจน ประกอบดวย กลุมปกติ
กลมุ เสี่ยง และกลุมมปี ญ หา
8.๓ เกบ็ ขอ มูลนกั เรียนรายบุคคลดว ย
เครอ่ื งมอื และวธิ กี ารท่ีเหมาะสม เชน
การเยย่ี มบานนักเรียน การสอบถาม
การสมั ภาษณ เปนตน
8.4 จัดกจิ กรรมสำหรับเด็กกลุมตา งๆ
ไดอยา งเหมาะสม ดงั น้ี
- กลมุ ปกติ จัดกิจกรรมสงเสริม
ความสามารถตามปกติ
- กลมุ เส่ยี ง จัดกิจกรรมปอ งกนั ปญหา
- กลมุ มปี ญหา จัดกิจกรรมแกป ญหา
และระบบสงตอ
8.5 สรุป รายงานผลการดำเนินงาน
ระบบดูแลชวยเหลอื นักเรยี น

9) ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น น ั ก เร ี ย น 9.1 มอบหมายใหครูประจำชั้น - นักเรียนทุกคนไดรับการประเมินอยาง
รายบคุ คล ดานรา งกาย จติ ใจ /ครูที่ปรึกษา มีหนาที่ในการประเมิน รอบดาน
นักเรียนรายบุคคล
สังคม สตปิ ญ ญา และความ 9.2 จัดทำเครื่องมือวัดและประเมิน
ตองการ นักเรียนรายบุคคลที่ครอบคลุมทุกดาน

9.๓ ครปู ระจำชน้ั /ครทู ป่ี รกึ ษา ดำเนนิ การ
ประเมินนักเรียนรายบุคคล
๙.๔ จดั ทำระบบขอ มลู สารสนเทศ
รายงานผลการประเมนิ นกั เรยี นรายบคุ คล

24

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

2. การปลูกฝง

ตาราง 2 การดำเนินการตามมาตรการการปลูกฝง เพ่อื ใหเกิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา

การปลกู ฝง แนวทางการปฏบิ ัติ ตวั ช้ีวดั

1) การสรา งจิตสำนกึ 1.1 สำรวจขอมลู ดานความปลอดภยั - สถานศึกษาทุกแหงมีหลักสูตร
สถานศกึ ษา ความปลอดภัยสถานศึกษา
ความตระหนักการรบั รู 1.2 จดั ลำดับความรุนแรง เรงดว นของ
และความเขาใจดา นความ ความปลอดภยั สถานศกึ ษา
ปลอดภยั ใหแกตนเองผอู ่ืน 1.3 ปรับปรุงพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
และสังคม โดยเพม่ิ เนื้อหาดา นความปลอดภยั

สถานศึกษาท่ีสอดคลอ งกบั ความรนุ แรง
เรง ดว น
1.4 จัดทำคมู อื /แนวทางวา ดว ย
ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
1.5 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานความ
ปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ใหแก ครู
บคุ ลากร ทางการศีกษา และนักเรยี น
1.6 จัดทำศูนยบริการสื่อดานความ
ปลอดภัยในสถานศึกษา เพื่อการศึกษา
คนควา เพิ่มเติม
2) การจดั กจิ กรรมสรา งความรู 2.1 ประชมุ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา - สถานศึกษาทุกแหงมีการจัดกิจกรรม
ความเขาใจพฒั นาองคความรู เพอ่ื ชแ้ี จงแนวทางเกย่ี วกบั ความปลอดภยั เสริมสรางความรู ความเขาใจดานความ
เกี่ยวกับความปลอดภัยใหแก ในสถานศกึ ษา ปลอดภัยสถานศึกษาใหนักเรียน ครู
นักเรียน ครู บคุ ลากรทางการ 2.2 จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รโดยบรู ณาการ บุคลากรทางการศึกษา และผูปกครอง
ศึกษา และผปู กครอง เนื้อหาความปลอดภัยสถานศึกษาใน
รายวชิ าตา ง ๆ
๒.๓ การจดั ทำสอ่ื ประชาสมั พนั ธร ปู แบบ
ตา งๆ เพอ่ื ใหค วามรแู กผ ปู กครองและชมุ ชน
๒.๔ จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจ
เรอ่ื งความปลอดภยั สถานศกึ ษาผา นกจิ กรรม
Classroom meeting ระหวา งสถานศกึ ษา
กบั ผปู กครอง

25

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปลกู ฝง แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตัวช้ีวัด

3) การจัดกิจกรรมเสริมสราง ๓.๑ จัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะประสบการณ - สถานศกึ ษาทกุ แหง มกี จิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ
ทกั ษะ ประสบการณ ที่เนนการลงมอื ปฏบิ ัติทเ่ี ชอ่ื มโยงกับ ประสบการณ และสมรรถนะดา นความ
และสมรรถนะดานความ การดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ใหแ ก เชน ปลอดภยั ใหแ กน กั เรยี น
ปลอดภัยใหแกนกั เรยี น การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน แก นักเรียน ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา
๓.๒ กิจกรรมจัดกิจกรรมสอดแทรกดา น
ความปลอดภยั สถานศกึ ษาในกจิ กรรมวัน
สำคัญตา ง ๆ
๓.๓ สรรหาตน แบบผจู ดั กจิ กรรม และการ
จัดกจิ กรรมเสริมทักษะท่เี ปน เลิศ

3. การปราบปราม

ตาราง 3 การดำเนนิ การตามมาตรการการปราบปรามเพ่อื ใหเ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา

การปราบปราม แนวทางการปฏิบตั ิ ตวั ชี้วัด

1) การจัดการแกไขปญหา 11.1 กำหนดแนวทางปฏบิ ตั กิ ารจัดการ - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบ
กรณีเกิดเหตุความปลอดภัย หรอื การระงับเหตุ การชว ยเหลือเมื่อเกิด การแกปญหาดานความปลอดภัย
ในสถานศึกษา เหตุในสถานศึกษา และสรา งการรับรู สถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ
รวมกนั ทุกภาคสวน
1.2 จดั ตั้งคณะทำงานเคลือ่ นที่เรว็
(Roving Team) ทส่ี ามารถเขา ระงับเหตุ
ไดอ ยางทนั เหตุการณ
1.3 เตรียมบุคลากร และเครอ่ื งมือ วสั ดุ
อุปกรณ ทพ่ี รอมรบั สถานการณ
1.4 ตดิ ตงั้ ระบบเตอื นภยั เชน กลอ ง
วงจรปด สามารถตรวจสอบขอ เท็จจรงิ ได
1.5. ซอ มระงับเหตอุ ยางตอ เนอ่ื ง เชน
การดับเพลิง การซอมหนีไฟ
การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน เปน ตน

26

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ตั ิ ตวั ช้ีวัด

1.6. ประสานงานเครอื ขา ยการมสี ว นรว ม
เพื่อใหค วามชวยเหลอื ไดท ันเหตกุ ารณ
1.7 สงตอ ผูประสบเหตุเพอ่ื ใหไ ดรับ
การชว ยเหลือทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
1.8 กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล
และรายงาน

2) การชวยเหลอื เยยี วยา 2.1 จดั ทำขอ มูลบคุ คลและหนว ยงาน - สถานศึกษาทุกแหงมีระบบ
ฟน ฟู จติ ใจบคุ คลผปู ระสบเหตุ ในพนื้ ท่ีตัง้ ของสถานศึกษาทส่ี ามารถ การชวยเหลือ เยียวยา ฟนฟู จิตใจ
ความไมป ลอดภัย ติดตอ ประสานงานและใหการชวยเหลือ ผูประสบเหตุความไมปลอดภัย
เยียวยา ฟนฟู จติ ใจไดอ ยางรวดเรว็
ทนั ทวงที
2.2 จดั ตัง้ ศนู ยช วยเหลือเยยี วยา ฟนฟู
และใหคำปรึกษา โดยการมสี ว นรวม
ของเครือขา ยตา งๆ
2.3 กำหนดหลักเกณฑแ ละวธิ ีการ
ชวยเหลือทเ่ี หมาะสม
2.4 ประสานเครอื ขายการมีสวนรวม
หนว ยงาน องคก ร เพื่อใหการชว ยเหลือ
เยยี วยา ฟน ฟู
2.5 จดั ระบบประกนั ภยั รายบุคคลหรอื
รายกลุม ทีส่ ามารถใหการคุมครองสำหรบั
ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี น
2.6 สรา งขวญั กำลงั ใจ โดยการติดตาม
เย่ยี มเยอื นอยางสม่ำเสมอ

3) ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนของ 3.1 แตง ตัง้ คณะกรรมการดำเนินการดา น - ผูประสบเหตุทุกคนไดรับการคุมครอง
กฎหมาย กฎหมาย ใหผปู ระสบเหตุไดรบั ความ ตามที่กฎหมายกำหนด
คมุ ครองตามท่กี ฎหมายกำหนด
3.2 รายงานเหตกุ ารณต อผูบังคับบัญชา
หนว ยงานตนสงั กัด

27

คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปราบปราม แนวทางการปฏบิ ัติ ตัวช้วี ดั

3.3 ดำเนินคดี จำแนกประเภทของเหตุ
ทีเ่ กิด ตดิ ตอประสานงานผปู กครอง
เพอ่ื ดำเนนิ การหรอื ดำเนินการแทนผู
ปกครอง
3.4 ใหก ารคุม ครองนักเรยี นใหอยู
ในความปลอดภยั

แนวทางการปฏิบตั ิขอบขายความปลอดภยั สถานศึกษา

ขอบขายความปลอดภัยสถานศึกษาจำแนกเปน ๔ กลุมภัย โดยมีการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาตาม
มาตรการ ๓ ป ไดแก การปอ งกัน การปลูกฝง และการปราบปราม ซง่ึ ในแตละมาตรการมีแนวปฏิบัตติ ามรายละเอยี ด ดงั น้ี

1. ภยั ทเี่ กดิ จากการใชความรนุ แรงของมนุษย (Violence)
1.1 การลว งละเมดิ ทางเพศ

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปอ งกนั

1) สำรวจนักเรยี นกลมุ เสีย่ งและพนื้ ที่ที่เปนจุดเส่ยี ง
2) เฝาระวัง สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน และพฒั นาพนื้ ท่ีเสี่ยงใหป ลอดภัย
3) สรางเครอื ขา ยเฝา ระวงั ท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน
4) จัดระบบการสอื่ สารเพ่ือรบั สงขอมูลดา นพฤตกิ รรมนกั เรียนท้ังในสถานศึกษาและชุมชน
การปลกู ฝง
1) จดั กจิ กรรมสง เสรมิ ความตระหนักรแู ละเห็นคุณคาในตนเอง
2) จดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ
3) ฝก ทักษะการปฏิเสธ และการเอาตัวรอดในสถานการณต าง ๆ
การปราบปราม
๑) เผยแพรป ระชาสมั พนั ธชองทางในการขอความชวยเหลือ
2) แตงต้งั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรงดว น ท่ีสามารถใหความชว ยเหลอื ไดทนั เหตุการณ
3) แตงตั้งคณะทำงานดานกฎหมายเพ่อื ใหค วามชวยเหลือ
4) ประสานภาคีเครอื ขายเพื่อการสงตอทเี่ หมาะสม

28

คูม ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

1.2 การทะเลาะววิ าท

แนวทางการปฏิบัติ
การปองกนั

1) จัดทำระเบียบในการประพฤตปิ ฏิบตั ติ นในสถานศึกษา
2) ประชมุ ชแี้ จงทำความเขาในการปฏบิ ตั ติ นตามระเบียบ

3) เฝา ระ๑วัง. สภังัยเกทตพีเ่ กฤติดิกจรารมกทกงั้ าในรรใะชดคับชว้ันาเรมยี รนนุ สแถรานงศขกึ อษงามแนละุษชมุยช น(Violence)

4) สรางเครือขา ยเฝาระวังในสถานศึกษาและชมุ ชน
5) จัดระบบตดิ ตอสือ่ สารเพอ่ื ตดิ ตามพฤติกรรมนักเรียนอยา งตอ เนอ่ื ง
การปลูกฝง
1) ใหค วามรเู ร่อื งการอยรู วมกันในสงั คม และผลกระทบทีเ่ กิดจากการทะเลาะววิ าท
2) จดั กิจกรรมสงเสริมการอยรู ว มกันในสังคม
3) จดั เวทกี ิจกรรมใหน กั เรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยางเหมาะสม
การปราบปราม
1) แตง ตั้งคณะทำงานเพื่อระงับเหตทุ งั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครอื ขายการมีสว นรวมเพื่อรว มแกป ญหา
3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนนการไกลเ กล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั

1.3 การกลนั่ แกลงรังแก

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปองกนั

1) สำรวจนักเรียนกลุมเส่ยี งทง้ั กลมุ ผกู ระทำและผถู กู กระทำ
2) จดั ทำระเบียบขอตกลงรวมกัน ทง้ั ในระดบั ชน้ั เรยี นและระดบั สถานศกึ ษา
3) สรางเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
4) จดั ระบบการส่ือสารเพื่อติดตามพฤตกิ รรมนกั เรียน
การปลูกฝง
1) ใหค วามรูความเขา ใจหลกั ในการอยรู ว มกนั ในสังคม
2) จดั กิจกรรมใหน ักเรยี นไดท ำรวมกันอยางตอ เนอื่ ง
3) จัดเวทีใหน กั เรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยา งเหมาะสม
การปราบปราม
1) แตงตง้ั คณะทำงานเพอื่ ระงบั เหตุ ทัง้ ในระดบั ชัน้ เรียน สถานศึกษา และชุมชน
2) ดำเนนิ การเอาโทษตามระเบยี บขอ ตกลง โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั
3) ตดิ ตาม เยี่ยมเยอี น ใหก ำลังใจผูถกู กระทำ และสรางความเขาใจกบั ผกู ระทำ

1.4 การชุมนุมประทว งและการจลาจล

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปองกนั

1) สำรวจนักเรยี นกลุม เสี่ยง

29

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2) เฝาระวัง สงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน และพฒั นาพ้นื ทีเ่ สี่ยงใหปลอดภัย
3) สรา งเครอื ขา ยเฝาระวังทั้งในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน
4) จดั ระบบการสอ่ื สารเพอื่ รบั สงขอมลู ดานพฤติกรรมนกั เรยี นท้ังในสถานศึกษาและชมุ ชน
การปลกู ฝง
1) สรา งความรูความเขาใจเก่ยี วกบั ระเบียบ กฎหมาย สิทธิและหนา ที่พลเมอื ง
2) สรางองคความรูความเขาใจถงึ ผลกระทบทเี่ กิดจากการชุมนุมประทวงและการจลาจล
3) จัดกิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชนอ ยา งสมำ่ เสมอ
4) จดั กจิ กรรมสรา งทศั นคติทถี่ กู ตองรวมกบั ผปู กครอง ชุมชน ในโอกาสท่เี หมาะสม
การปราบปราม
1) แตงตั้งคณะทำงานเพ่อื ระงบั เหตุทัง้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน
2) ประสานเครือขา ยการมสี ว นรวมเพื่อรวมแกปญ หา
3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเกลยี่ ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั

1.5 การกอ วินาศกรรม

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปอ งกัน
1) สำรวจนักเรียนกลมุ เส่ยี ง
2) เฝา ระวัง สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น
3) สรา งเครือขายเฝา ระวงั ทั้งในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน
4) จัดระบบการสือ่ สารเพ่ือรับสงขอมูลดา นพฤตกิ รรมนกั เรยี นทั้งในสถานศึกษาและชุมชน
การปลกู ฝง
1) สรางความรคู วามเขาใจถงึ ผลกระทบที่เกิดจากการกอวนิ าศกรรม
2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคติทถี่ กู ตองรวมกบั ผูปกครอง ชมุ ชน ในโอกาสที่เหมาะสม
3) จัดเวทีใหนักเรียนไดแสดงออกตามความสามารถอยา งเหมาะสม
การปราบปราม
1) แตง ตั้งคณะทำงานเพอ่ื ระงับเหตทุ ้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครอื ขา ยการมีสวนรวม เพือ่ รว มแกปญหา
3) ดำเนินการตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั

1.6 การระเบิด

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปองกนั

1) สำรวจนักเรยี นกลุมเส่ียง
2) สำรวจขอ มลู แหลง ทีม่ าของวัตถุประกอบระเบดิ
3) สรา งเครือขายเฝาระวงั ท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน
4) จดั ระบบตดิ ตอสอ่ื สารเพื่อติดตามพฤติกรรมนกั เรยี น

30

คูมือการดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

การปลกู ฝง
1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชระเบิด
2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคตทิ ี่ถูกตองรวมกบั ผปู กครอง ชมุ ชน ในโอกาสที่เหมาะสม
3) จดั เวทีใหนกั เรียนไดแสดงออกออกตามความสามารถอยางเหมาะสม

การปราบปราม
1) แตงตง้ั คณะทำงานเพ่ือระงบั เหตทุ ้ังในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครือขา ยการมีสวนรวม เพือ่ รวมแกป ญ หา
3) ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก

1.7 สารเคมีและวัตถอุ ันตราย

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกนั

1) จดั ทำมาตรการและแนวปฏิบตั ใิ นการดำเนนิ การ ลด ละ เลิก การใชส ารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย
๒) จัดสถานท่ีในการจดั เก็บสารเคมีและวตั ถุอนั ตรายใหม ดิ ชิด
๓) สรา งเครอื ขา ยเฝา ระวังการใชสารเคมีและวัตถอุ นั ตรายทงั้ ในสถานศึกษาและชุมชน
การปลูกฝง
1) สรา งความรคู วามเขาใจถึงผลกระทบท่เี กดิ จาการใชส ารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย
2) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในการดำเนินชีวติ
3) จดั กิจกรรมใหนักเรยี นไดเรียนรหู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานทีจ่ รงิ ในพนื้ ที่
การปราบปราม
1) ตดิ ตอประสานงานเครอื ขา ยการมีสวนรวมเพ่ือรวมแกป ญ หา
2) ดำเนนิ การตามมาตรการและขอตกลงท่ีกำหนดรวมกัน

1.8 การลอ ลวง ลักพาตัว

แนวทางการปฏิบัติ
การปอ งกนั

1) สรา งเครอื ขายเฝา ระวังท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) จัดระบบการติดตอ สอ่ื สารเพือ่ รับสง ขอมูลพฤตกิ รรมนกั เรียน ผูใกลช ดิ และบคุ คลภายนอก
3) จัดทำขอ มลู ชองทางขอความชว ยเหลอื เผยแพร ประชาสัมพันธใหนักเรียนและชุมชน
การปลูกฝง
1) การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ ความตระหนักรูแ ละเห็นคุณคาในตนเอง
2) จัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ อยางรอบดาน
3) ฝก ทักษะการปฏิเสธ และการเอาตวั รอดในสถานการณตาง ๆ
การปราบปราม
1) แตงต้ังคณะทำงานใหความชวยเหลือเรง ดวน ที่สามารถใหความชวยเหลือไดท ันเหตกุ ารณ
2) แตง ตั้งคณะทำงานดานกฎหมายเพื่อใหความชว ยเหลือ
3) ประสานภาคีเครือขา ยเพอ่ื รว มแกป ญ หา

31

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. ภยั ที่เกิดจากอบุ ัติเหตุ (Accident)
2.1 ภยั ธรรมชาติ

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปองกัน

1) สำรวจขอมลู ความเสี่ยงทเ่ี กดิ จากภยั ธรรมชาติ
2) จดั ทำแผนปอ งกนั ภัยทางธรรมชาติ
3) จัดตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เครือ่ งมอื ในการปอ งกันภยั ธรรมชาติ
4) ซกั ซอ มการเผชญิ เหตุภัยธรรมชาติ
การปลูกฝง
1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงปญ หาและผลกระทบท่ีเกดิ จากธรรมชาตริ ูปแบบตา ง ๆ
2) จดั กิจกรรมฝกทกั ษะการเผชญิ ปญหาภยั ธรรมชาติ
3) จัดกิจกรรมสง เสริมการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม
การปราบปราม
1) แตง ตั้งคณะทำงานใหความชวยเหลอื เรงดวน ทสี่ ามารถใหความชวยเหลือไดท ันเหตกุ ารณ
2) ติดตอส่ือสารเครอื ขายการมีสวนรวม เพอื่ รว มใหค วามชว ยเหลอื และแกปญ หา
3) ประสานงานหนว ยงาน องคกร เพือ่ ใหค วามชวยเหลอื เยียวยา และฟนฟจู ิตใจ

2.2 ภยั จากอาคารเรียน สงิ่ กอ สรา ง

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปองกัน

1) สำรวจสภาพของอาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งกอ สรา ง
2) ติดปายสัญลกั ษณใ นอาคาร หรือพืน้ ทท่ี ไี่ มแ ข็งแรงและมคี วามเสยี่ ง
3) ประชาสมั พนั ธใหนักเรยี นหลีกเลยี่ งการเขา พื้นที่เสี่ยงอยางตอ เนือ่ ง
การปลูกฝง
1) สรา งความรูค วามเขา ใจถงึ หลกั การสรา งความปลอดภัยในการดำเนนิ ชีวิต
2) ฝก ทักษะการสังเกตและหลีกเล่ียงพน้ื ทีเ่ สย่ี ง
3) จดั กจิ กรรมฝกทกั ษะการเอาตัวรอดเมือ่ ประสบภัยจากอาคารเรียน และสงิ่ กอสรา ง
การปราบปราม
1) สรางเครือขา ยการมสี วนรวมและดำเนินการชว ยเหลอื และแกปญ หาท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
2) ประสานงานหนว ยงานภาครฐั และเอกชน เพ่ือใหความชว ยเหลอื

2.3 ภยั จากยานพาหนะ

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปองกนั

1) สำรวจขอมลู ยานพาหนะในสถานศกึ ษา
2) จัดระบบสญั จรในสถานศึกษาสำหรับยานพาหนะประเภทตา ง ๆ และสำหรับการเดนิ เทา

32

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

3) จัดทำแผนใหความชวยเหลือผปู ระสบภัยจากยานพาหนะ
4) จัดเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ เครอื่ งมอื เพื่อการชว ยเหลือ
5) สง เสริมสนบั สนุนการทำประกันภัย ประกนั อบุ ตั เิ หตุ
การปลกู ฝง
1) จดั กิจกรรมใหความรเู ร่ืองการใชร ถใชถนนและเครอ่ื งหมายจราจร
2) จดั กจิ กรรมฝกทกั ษะการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน เมือ่ ประสบภยั จากยานพาหนะ
3) จดั กจิ กรรมสงเสริมการสรางจิตสำนึกในการปฏบิ ัตติ ามกฎจราจร
การปราบปราม
1) แตง ต้งั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรง ดว น ทส่ี ามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดท นั เหตกุ ารณ
2) ติดตอสอ่ื สารเครือขา ยการมสี ว นรว ม เพื่อรว มใหความชว ยเหลือและแกปญหา
3) ประสานงานหนว ยงาน องคกร เพ่ือใหความชว ยเหลอื เยยี วยา และฟน ฟูจติ ใจ

2.4 ภยั จากการจดั กจิ กรรม

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปองกัน

1) แตง ตัง้ คณะทำงานประเมินความเสี่ยงในการจดั กจิ กรรมตาง ๆ
2) จดั แยกกจิ กรรมตามระดับความเสี่ยง
3) เสนอแนะแนวทางในการปองกันความเสี่ยงในกิจกรรมตา ง ๆ
การปลกู ฝง
1) สรางความรูความเขาใจในการปฏิบัติกจิ กรรมตา ง ๆ ใหป ลอดภัย
2) ฝก ทักษะการเลอื กปฏบิ ัติกจิ กรรมตา ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกับตนเอง
3) จัดกิจกรรมฝกทกั ษะการใหความชวยเหลือเมื่อประสบภยั จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
การปราบปราม
1) แตง ตง้ั คณะทำงานใหค วามชว ยเหลือเรง ดว น ที่สามารถใหค วามชวยเหลือไดท นั เหตุการณ
2) ติดตอส่ือสารเครอื ขายการมีสว นรวม เพอื่ รว มใหค วามชว ยเหลือและแกป ญ หา
3) ดำเนินการสง ตอเพอื่ การชว ยเหลือทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

2.5 ภัยจากเครอ่ื งมือ อุปกรณ

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปอ งกัน

1) สำรวจขอ มูลเคร่อื งมอื อปุ กรณ จดั แยกสวนทีช่ ำรดุ และสวนที่ใชงานได
2) จดั ทำคูม ือการใชเคร่ืองมอื อุปกรณใ หป ลอดภยั
3) ดำเนนิ การซอ มแซม บำรุงรกั ษาและการจัดเก็บเครือ่ งมอื อุปกรณ ใหเปนระบบ
การปลูกฝง
1) จดั กิจกรรมสรา งความรูค วามเขาใจ หลักการใชเครื่องมอื อปุ กรณ ใหปลอดภยั
2) ฝกทักษะการใช การบำรงุ รกั ษา การจัดเกบ็ เครือ่ งมือ อปุ กรณ
3) จดั กจิ กรรมสรางจติ สำนึกในคุณคา ของเครือ่ งมือ อปุ กรณ

33

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปราบปราม
1) แตง ต้ังคณะทำงานใหค วามชว ยเหลอื เรงดวน ทส่ี ามารถใหค วามชว ยเหลอื ไดทนั เหตกุ ารณ
2) ประสานเครอื ขายความรว มมอื เพอ่ื ใหค วามชวยเหลือ
3) ดำเนินการสง ตอ เพ่ือการชวยเหลอื ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

3. ภัยทเ่ี กดิ จากการถกู ละเมิดสทิ ธ์ิ (Right)
3.1 การถูกปลอ ยปละ ละเลย ทอดท้งิ

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปอ งกนั
1) สรา งเครอื ขายเฝา ระวงั ท้ังในสถานศึกษาและชมุ ชน
2) จดั ระบบการตดิ ตอ สื่อสารเพือ่ รับสงขอมูลพฤติกรรมนักเรยี น และผูใกลชิด
3) จัดทำขอ มูลชองทางขอความชว ยเหลอื เผยแพร ประชาสัมพันธใหน กั เรียนและชุมชน
การปลกู ฝง
1) จัดกิจกรรมสงเสริมความตระหนกั รูแ ละเหน็ คุณคาในตนเอง
2) จัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ อยา งรอบดา น
3) ฝกทกั ษะการปฏเิ สธการเอาตวั รอด และการขอความชวยเหลอื
การปราบปราม
1) แตง ต้งั คณะทำงานใหความชว ยเหลือเรงดว น ที่สามารถใหค วามชวยเหลอื ไดท ันเหตกุ ารณ
2) แตงตั้งคณะทำงานใหค วามชว ยเหลือดานกฎหมาย
3) ประสานภาคีเครอื ขายเพ่ือรวมแกปญหา
4) ตดิ ตามเยีย่ มเยีอนใหกำลงั ใจอยางสมำ่ เสมอ

3.2 การคุกคามทางเพศ

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปอ งกัน

1) สำรวจนกั เรียนกลุมเสย่ี งและพ้ืนทเ่ี ปนจดุ เส่ยี ง
2) เฝา ระวงั สงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี น และพัฒนาพ้ืนที่เส่ียงใหปลอดภยั
3) สรางเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน
4) จดั ระบบการสื่อสารเพื่อรับสง ขอ มูลดา นพฤตกิ รรมนักเรียนทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน
การปลูกฝง
1) จัดกิจกรรมสงเสรมิ ความตระหนักรแู ละเห็นคุณคาในตนเอง
2) จดั กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ รอบดาน
3) ฝก ทกั ษะการปฏเิ สธ การเอาตวั รอดในสถานการณตา ง ๆ

34

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

การปราบปราม
1) เผยแพรป ระชาสัมพันธช อ งทางในการขอความชวยเหลือ
2) แตงตั้งคณะทำงานใหความชว ยเหลือเรง ดว น ที่สามารถใหความชว ยเหลือไดท นั เหตุการณ
3) แตง ตง้ั คณะทำงานใหความชวยเหลอื ดานกฎหมาย
4) ประสานภาคเี ครอื ขา ยเพ่อื การสงตอ ท่เี หมาะสม
5) สรา งขวญั กำลงั ใจโดยการติดตามเยี่ยมเยีอนอยางสมำ่ เสมอ

3.3 การไมไ ดร บั ความเปนธรรมจากสงั คม

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปองกัน

1) สำรวจขอ มูลนักเรยี นรายคน
2) วเิ คราะหสภาพปญ หาความตอ งการ ความขาดแคลน ของนักเรยี นรายคน
3) จดั ทำแผนใหความชว ยเหลือนกั เรียนท่ีตามความขาดแคลน
4) สรางเครอื ขายการมสี ว นรว ม เพ่อื ประสานความชวยเหลือ
การปลูกฝง
1) สรางความรคู วามเขาใจถึงสทิ ธิ หนา ที่ และความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
2) บรกิ ารใหคำปรึกษาสำหรบั นกั เรยี นกลมุ เสีย่ ง
3) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การสรางจิตสำนกึ ในความเสมอภาค เอือ้ เฟอ เผ่อื แผตอกัน
การปราบปราม
1) แตง ตง้ั คณะทำงานใหค วามชวยเหลือเรงดวน ทสี่ ามารถใหค วามชวยเหลือไดท ันเหตุการณ
2) ประสานภาคีเครือขายเพ่ือรวมแกปญหา
3) ตดิ ตามเย่ียมเยอี นใหก ำลังใจอยา งสม่ำเสมอ

4. ภัยทเ่ี กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness)
4.1 ภาวะจติ เวช

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกนั

1) สำรวจขอมลู นักเรียนกลุม เส่ียง
2) ติดตอ ประสานเครือขา ยการมสี วนรว มเพ่ือประเมินภาวะจติ
3) จัดหลกั สูตรการเรยี นการสอนพิเศษรายคน
4) สรา งเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
5) จดั ระบบตดิ ตอ สอ่ื สารเพ่อื รับสงขอมลู พฤติกรรมอยา งตอ เนือ่ ง

35

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การปลกู ฝง
1) จดั กิจกรรมสงเสริมการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู วมกนั ของนักเรียน
2) จัดเวทีใหน ักเรยี นไดแสดงออกตามความสามารถ
3) จัดกจิ กรรมสง เสรมิ การตระหนกั รูแ ละเหน็ คุณคา ในตนเองและผูอ ื่น

การปราบปราม
1) แตง ตัง้ คณะทำงานเพ่อื ระงบั เหตุท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครอื ขา ยการมสี ว นรว ม เพื่อรว มแกป ญหา
3) ดำเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนกั
4) ประสานการสงตอ เพ่อื ใหความชว ยเหลือทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

4.2 ตดิ เกม

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกัน

1) สำรวจขอ มูลนกั เรยี นกลมุ เสย่ี ง
2) สำรวจขอมลู พน้ื ท่ีแหลงใหบ รกิ ารรา นเกม
3) กำหนดขอ ตกลงเพ่ือปฏบิ ัตริ วมกัน
4) สรา งเครอื ขายเฝา ระวงั ทงั้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน
5) จดั ระบบตดิ ตอส่อื สารเพือ่ รับสงขอ มูลพฤติกรรมอยา งตอ เนอื่ ง
การปลกู ฝง
1) สรางความรคู วามเขา ใจถึงผลกระทบท่เี กิดจากการติดเกม
2) จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเปน ประโยชน
3) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รทส่ี นองตอความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย
การปราบปราม
1) แตง ต้ังคณะทำงานเพอื่ ระงบั เหตุทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครือขา ยการมีสวนรว ม เพ่อื รวมแกปญ หา
3) ดำเนินการเอาผิดตามขอ ตกลงทีก่ ำหนดไวร ว มกนั
4) ตดิ ตามเยี่ยมเยีอนเพ่ือสรางขวัญกำลงั ใจ

4.3 ยาเสพตดิ

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปอ งกัน

1) สำรวจขอ มูลนักเรยี นกลมุ เสี่ยง
2) วเิ คราะหนกั เรียนรายบคุ คล
3) กำหนดขอ ตกลงเพอ่ื ปฏบิ ตั ริ วมกัน
4) สรา งเครือขายเฝาระวังทง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน
5) จดั ระบบติดตอ ส่อื สารเพื่อรับสง ขอมูลพฤตกิ รรมอยางตอ เน่อื ง

36

คมู อื การดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

การปลกู ฝง
1) สรา งความรคู วามเขา ใจถึงโทษภยั และผลกระทบของการตดิ ยาเสพติด
2) จัดกจิ กรรมตอ ตา นยาเสพตดิ ในวันสำคญั ตา ง ๆ อยางสมำ่ เสมอ
3) จัดกจิ กรรมสง เสรมิ การการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน
4) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รท่ีสนองตอ ความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย

การปราบปราม
1) แตง ต้ังคณะทำงานเพื่อระงับเหตทุ ั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครือขายการมีสว นรว ม เพอื่ รวมแกป ญ หา
3) ดำเนนิ การตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนน การไกลเ กลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก
4) ประสานการสง ตอ เพอ่ื ใหค วามชว ยเหลือทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ

4.4 โรคระบาดในมนุษย

แนวทางการปฏบิ ัติ
การปอ งกัน

1) สำรวจขอ มูลดา นสขุ ภาพของนักเรียนรายคนและบุคคลใกลชิด
2) จดั ทำแผนในการปองกันโรคระบาดในมนษุ ย
3) บรกิ ารวสั ดุ อปุ กรณในการปองกนั โรคระบาดในมนษุ ย
4) สรางเครอื ขายเฝา ระวงั ทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
5) จดั ระบบติดตอส่ือสารเพอ่ื ติดตามขอมลู ดานสขุ ภาพอยางตอ เนอ่ื ง
การปลูกฝง
1) สรางความรูความเขาใจเก่ยี วกบั โรคระบาดในมนุษย
2) จัดกิจกรรมฝก ทกั ษะการปฏบิ ัติตน เพ่ือความปลอดภยั จากโรคระบาดในมนุษย
3) จัดกจิ กรรมสรา งจติ สำนกึ ในความรับผดิ ชอบตอ ตนเองและสงั คม
การปราบปราม
1) แตง ต้ังคณะทำงานเพอื่ ระงับเหตทุ ัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครอื ขา ยการมสี วนรว ม เพื่อรวมแกปญหา
3) ดำเนินการตามมาตรการท่ีกฎหมายกำหนด
4) ประสานการสงตอ เพ่อื ใหค วามชว ยเหลือที่มปี ระสทิ ธิภาพ

4.5 ภัยไซเบอร

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกัน

1) สำรวจขอ มลู การใชงานระบบไซเบอรของนกั เรยี นรายคน
2) กำหนดขอ ตกลงเพอื่ ปฏิบัติรว มกนั
3) สรา งเครือขายเฝา ระวังท้งั ในสถานศกึ ษาและชุมชน
4) จัดระบบติดตอ สอ่ื สารเพื่อรับสงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเน่อื ง

37

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

การปลูกฝง
1) สรางความรคู วามเขาใจถงึ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชงานระบบไซเบอรโ ดยขาดวิจารณญาณ
2) จดั กิจกรรมสงเสริมการการคิด วิเคราะห และใชเวลาวางใหเ ปนประโยชน
3) จดั กจิ กรรมเสริมหลักสตู รทส่ี นองตอความสนใจของนกั เรยี นอยางหลากหลาย

การปราบปราม
1) แตงตงั้ คณะทำงานเพ่อื ระงับเหตทุ ัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน
2) ประสานเครือขายการมีสวนรว ม เพื่อรวมแกปญ หา
3) ดำเนนิ การเอาผดิ ตามขอ ตกลงทก่ี ำหนดไวรว มกัน
4) ตดิ ตามเยีย่ มเยอี นเพอ่ื สรา งขวญั กำลังใจ

4.6 การพนนั

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปอ งกัน

1) สำรวจขอมลู นักเรียนกลมุ เสย่ี ง
2) สำรวจพื้นท่ีทเ่ี ปนแหลงการพนนั
3) กำหนดขอ ตกลงเพื่อปฏิบตั ริ วมกัน
4) สรางเครอื ขา ยเฝาระวังทัง้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน
5) จัดระบบตดิ ตอส่ือสารเพ่อื รับสงขอ มลู พฤตกิ รรมอยา งตอเนือ่ ง
การปลกู ฝง
1) สรางความรูความเขา ใจถึงผลกระทบทเ่ี กดิ จากการพนัน
2) จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การการคิด วเิ คราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน
3) จดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีสนองตอ ความสนใจของนักเรยี นอยา งหลากหลาย
การปราบปราม
1) แตงตัง้ คณะทำงานเพอ่ื ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและชุมชน
2) ประสานเครอื ขา ยการมสี วนรวม เพอ่ื รวมแกป ญหา
3) ดำเนินการเอาผดิ ตามขอ ตกลงทกี่ ำหนดไวรว มกนั
4) ตดิ ตามเยยี่ มเยอี นเพือ่ สรางขวญั กำลงั ใจ

4.7 มลภาวะเปนพิษ

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
การปอ งกนั
1) สำรวจขอมลู พืน้ ที่ทเ่ี กดิ มลภาวะเปน พิษในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) จัดทำปายสญั ลกั ษณแสดงพื้นทมี่ ลภาวะเปน พษิ
3) จดั ทำแผนในการแกปญ หามลภาวะเปน พษิ รวมกัน
4) กำหนขอตกลงในการปฏบิ ตั ริ ว มกนั

38

คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

การปลกู ฝง
1) สรา งความรูความเขาใจถึงสาเหตแุ ละผลกระทบท่ีเกดิ จากมลภาวะเปน พษิ
2) จดั กจิ กรรมทีส่ ง เสริมการแกปญหาและการลดมลภาวะเปน พษิ
3) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การสรา งจติ สำนึกในการลดมลพิษรวมกบั ชุมชน

การปราบปราม
1) แตงตงั้ คณะทำงานเพ่ือระงับเหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
2) ประสานเครือขายการมสี วนรว ม เพือ่ รว มแกป ญ หา
3) ดำเนินการเอาผิดตามขอ ตกลงที่กำหนดไวร ว มกนั
4) ตดิ ตามเยีย่ มเยอี นเพือ่ สรา งขวญั กำลังใจ

4.8 โรคระบาดในสตั ว

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกัน

1) สำรวจขอมูลสตั วเ ลย้ี งของนกั เรียนรายคน
2) จดั ทำแผนในการปอ งกันโรคระบาดในสตั ว
3) บรกิ ารวัสดุ อปุ กรณใ นการปองกนั โรคระบาดในสตั ว
4) สรา งเครอื ขายเฝาระวงั ทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน
5) จดั ระบบตดิ ตอสอื่ สารเพอื่ ติดตามขอมลู สตั วเ ลยี้ งอยางตอ เนอ่ื ง
การปลกู ฝง
1) สรางความรูค วามเขา ใจเก่ยี วกบั โรคระบาดในสตั ว
2) จัดกิจกรรมฝก ทกั ษะการปฏิบตั ติ น เพ่ือความปลอดภยั จากโรคระบาดในสตั ว
3) จัดกจิ กรรมสรางจติ สำนึกในความรบั ผิดชอบตอตนเองและสงั คม
การปราบปราม
1) แตง ตัง้ คณะทำงานเพื่อระงบั เหตุทงั้ ในสถานศึกษาและชมุ ชน
2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพ่ือรว มแกป ญหา
3) ดำเนินการตามมาตรการท่กี ฎหมายกำหนด
4) ประสานการสงตอเพื่อใหค วามชว ยเหลอื ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ

4.9 ภาวะทพุ โภชนาการ

แนวทางการปฏิบตั ิ
การปองกัน

1) การสำรวจและจัดกลุมนักเรียนกลุมเสย่ี งและกลุมที่มภี าวะทุพโภชนาการ
2) เสริมสรางความรว มมอื ระหวางโรงเรียน ครอบครัว ชุมชน และผูมีสว นเกี่ยวขอ ง
3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธใหความรูด านโภชนาการแกผ ปู กครอง
4) จดั ทำฐานขอ มลู เพ่ือตรวจสอบพฒั นาการและความกา วหนาในการลดภาวะทพุ โภชนาการ
๕) จดั หาอุปกรณก ีฬาใหเพียงพอ
๖) การดแู ลอาหารกลางวัน อาหารเสริม และอาหารวา งทถ่ี ูกตองตามหลกั โภชนาการ

39

คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
การปลกู ฝง
1) จดั กจิ กรรมใหความรูดานโภชนาการแกน ักเรียน
2) จดั กิจกรรมออกกำลงั กาย และวธิ ีการรกั ษาสขุ ภาพใหก ับนักเรียน
3) การบูรณาการความรูดานโภชนาการในการจัดการเรยี นการสอน
การปราบปราม
1) การเผยแพรป ระชาสมั พนั ธช องทางในการขอความชว ยเหลือ
2) แตง ตง้ั คณะทำงานใหความชวยเหลอื เรงดวน ท่ีสามารถใหความชว ยเหลอื ไดทันเหตุการณ
3) แตงต้งั คณะทำงานกองทุนอาหารกลางวนั สำหรบั นักเรียนทม่ี ปี ญหาดา นเศรษฐกิจ
4) ประสานภาคเี ครอื ขา ยเพือ่ การสง ตอ ทีเ่ หมาะสม

40

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

สว นที่ ๔
การตดิ ตอ สื่อสาร

คมู ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

1. ชอ งทางการตดิ ตอ สอ่ื สาร
1.

ระบบ MOE Safety Platform

2.

Website Online

3.

E-mail

4.

Facebook

5.

Line

6.

จดหมาย

7.

โทร 1579 หรอื โทรศนู ยค วามปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โทร 02 – 628 – 9169 , 02 -628 – 9166 , 02- 628-9182
และ 02 – 628 - 9160

8.

ตดิ ตอ ดว ยตนเอง

42

คูมือการดำเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2. หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง

สำนกั งานตำรวจแหง ชาติ

1. กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการคามนุษย

กองบญั ชาการตำรวจสอบสวนกลาง ถ.แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900
โทร. 0 – 2513 -3213 โทรสาร 0 – 2513 - 7117
Website : www.ccsd.go.th
E-mail : [email protected]

2. งานพิทักษเด็ก เยาวชน และสตรี

สำนักงานตำรวจแหง ชาติ ถ.พระราม 1 เขตปทมุ วัน กทม. 10330 โทร. 0-2205-3421-3 ตอ 26
Website : www.Office.police.go.th
E-mail : [email protected]

3. ศูนยสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน และสตรี

กองบญั ชาการตำรวจนครบาล เลขที่ 1 ถ.ราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนสั เขตปอ มปราบศตั รูพาย
กทม. 10100 โทร. 0-2281-1449
Website : www.korkorsordor.com

หนว ยงานภาคเอกชน

1. มูลนิธิศูนยพิทักษสิทธิเด็ก

979 ซ.จรญั สนิทวงศ 12 ถ.จรัญสนทิ วงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กทม. 10600
โทร. 0-2412-0739, 0-2415-1196 โทรสาร 0-2412-9833
Website : www.thaichildrights.org
E-mail : cpcrheadoffl[email protected]

2. มูลนิธิพัฒนาการคุมครองเด็ก

Fight Against Child Exploithion Foundation (FACE)
ตู ปณ. 178 คลองจน่ั กทม. 10240
โทร. 0-2509-5782 โทรสาร 0-2519-2794
E-mail : [email protected]

43

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

3. มูลนิธิเพื่อนหญิง

386/61-62 ซ.รัชดาภิเษก 44 (ซอยเฉลมิ สขุ ) ถ.รัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กทม. 10900
โทร. 0-2513-1001 โทรสาร 0-2513-1929
Website : [email protected]
E-mail : [email protected]

4. องคกรพิทักษสตรีในประเทศไทย

328/1 สำนกั กลางนักเรียนคริสเตรียน ถ.พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400
โทร. 0-2214-5157-8 โทรสาร 0-2513-1929
Website : www.afesip.ord

5. มูลนิธิศุภนิมิตรแหงประเทศไทย

582/18-22 ซ.เอกมัย สุขมุ วทิ 63 แขวงคลองตนั เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร. 0-2381-8863-5 ตอ 111 โทรสาร 0-2381-5500
Website : www.worldvision.or.th
E-mail : [email protected]

6. เครือขายสงเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน

25/17-18 หมบู านมหาชยั เมืองทอง ถ.สหกรณ ต.บางหญา แพรก อ.เมือง จ.สมทุ รสาคร 74000
โทร. 0-3443-4726, 09-0948-4678

7. โครงการบานพิทักษและคุมครองสิทธิเด็กชนเผาลุมน้ำโขง

294/1 ม.3 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร. 0-6185-6603
โทรสาร 0-5378-7328, 0871-9075
Website : www.depde.org
E-mail : [email protected]

8. ศูนยขอมูลคนหาย มูลนิธิกระจกเงา

8/12 ซ.วิภาวดี 44 ถ.วภิ าวด−ี รังสิตแขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กทม. 10900
โทร. 0-2941-4194-5 ตอ114 โทรสาร 0-2642-7991-2, 0-2941-4194 ตอ109
Website : www.becktohome.org. www.notforsale.or.th, www.miror.or.th
E-mail : [email protected]

44

คูมอื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

9. ศูนยชีวิตใหม

49/9 ซ.3 ต.ทงุ โฮเตล็ อ.เมอื ง จ.เชียงใหม 50000
โทร. 0-5335-1312, 08-5326-3010 โทรสาร 0- 5338-0871
Website : www.newlifecenterfoundation.org
E-mail : newlife@pobox,

10. สภาทนายความ

7/89 อาคาร 10 ถ.ราชดำเนนิ กลางแขวงบวรนิเวศเขตพระนคร กทม. 10200
โทร. 0-2629-1430

11. หนวยประสานงานเพื่อตอตานการคามนุษย

ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย ศาลากลางจังหวัดเชยี งใหม ชัน้ 5 ถ.โชตนา ต.ชางเผือก
อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม 50300 โทร. 0-5311-2643-4

12. คลินิกนิรนาม สภากาชาดไทย

สภากาชาดไทย กรงุ เทพมหานคร 104 ถ.ราชดำริ แขวงปทุมวนั เขตปทมุ วนั กทม. 10330
โทร. 02-252-2568 กด 1, 02-256-4107-9 โทรสาร 02-254-7577

13. โครงการสงเสริมศักยภาพหญิงแรงงานขามชาติ (ซีปอม)

120 ม.15 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชยี งราย 57000
โทร. 0-5375-6411 โทรสาร 0-5375-6411
E-mail : [email protected]

14. บานแสงใหม

258 ม.5 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชยี งราย 57000
โทร. 0-5371-4772 โทรสาร 0-5371-7098
E-mail : [email protected]

15. บานเอื้ออารี

343/22 ซ.ขา งธนาคารกสกิ รไทย ถ.พหลโยธิน สะพานใหม แขวงอนเุ สาวรีย เขตบางเขน กทม. 10200
โทร. 0-2972-4992 โทรสาร 0-2972-4993
E-mail : [email protected]

45

คูม อื การดำเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

16. มูลนิธิเขาถึงเอดส

สำนักงานกาญจนบรุ ี 64/3 ถ.แสงชูโต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี 57000
โทร. 0-5371-6212, 0-5371-7897
Website : www.aidaccress.com
E-mail : [email protected]

17. UNIAP โครงการความรวมมือสหประชาชาติ วาดวยการตอตานการคามนุษย
ประจำประเทศไทย

อาคารสหประชาชาติ ชั้น 7 ถ.ราชดำเนนิ นอก กทม. 10200
โทร. 0-2288-1746 โทรสาร 0-2288-1053
Website : www.no_trafficking.org
E-mail : [email protected]

46

คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

สว นที่ ๕
การกำกบั ตดิ ตาม
และประเมนิ ผล

คูม ือการดำเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
สถานศกึ ษาดำเนนิ การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา โดยการมสี ว นรว ม
ของภาคีเครือขาย ตามแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางปฏิบัติ โดยยึดตัวชี้วัดในการดำเนินการในทุกประเด็น มีการจัดทำ
เครอ่ื งมอื ในการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ทม่ี คี ณุ ภาพและครอบคลมุ มกี ารจดั ทำแผนการกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
กำหนดปฏิทินดำเนินการ คัดเลือกสถานศึกษาที่มีผลการดำเนินการประสบผลสำเร็จเปนที่ประจักษ ยกยองเชิดชูเกียรติ สรุป
รายงาน และเผยแพรผลการดำเนินงานอยา งเปน ระบบ โดยดำเนนิ การ ดงั น้ี
1) แตง ตง้ั คณะกรรมการกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาโดยการมสี ว นรว ม
จากทกุ ภาคสว น
2) ศกึ ษาแนวดำเนินการ มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ และตวั ชี้วดั การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศึกษา
3) จัดทำแผนการกำกับ ติดตาม และประเมินผล การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
4) กำหนดปฏทิ นิ ในการดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา อยางนอยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง
5) จัดทำเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษาที่สอดคลอง
กับตัวช้วี ดั ในการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
6) ดำเนนิ การกำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา
7) สรุปผลการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา ใหขอเสนอแนะประเด็นที่เปนจุดเดน จุดควรพัฒนา
พรอ มแนวทางในการพฒั นาในปก ารศกึ ษาตอไป
8) คดั เลอื กสถานศกึ ษาท่มี ผี ลการดำเนินการประสบผลสำเรจ็ เปน ทีป่ ระจักษ
9) ยกยองเชดิ ชเู กยี รติสถานศึกษาที่มผี ลการดำเนนิ การประสบผลสำเร็จเปน ท่ปี ระจักษ
10) เผยแพรป ระชาสมั พนั ธผ ลการดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษาในชอ งทางที่หลากหลาย

48

คมู ือการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บรรณานกุ รม

- คูมือการคุมครองและชวยเหลือเด็กนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(ฉบับพัฒนา พ.ศ. 2563)

- คูมือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556
- คูมือโครงการเตรียมความพรอมดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานในสถานศึกษา
- มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู สำนักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2562
- มาตรฐานโรงเรียนคุมครองเด็ก
- แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงเรียนคุมครองเด็ก
- คูมือการรับมือแผนดินไหว
- คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ ๑๙ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
- พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
- กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
- กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖

49


Click to View FlipBook Version