¤‹ÁÙ ×ÍÊآ͹ÒÁÂÑ
Ë;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÕ¹ºÒŒ ¹ä¡Å
âçàÃÂÕ ¹ã¹¶è¹Ô ·ÃØ ¡¹Ñ ´ÒÃ
ISBN : 978-616-11-4478-4
¤‹ÁÙ ×ÍÊآ͹ÒÁÂÑ
Ë;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÕ¹ºÒŒ ¹ä¡Å
âçàÃÂÕ ¹ã¹¶è¹Ô ·ÃØ ¡¹Ñ ´ÒÃ
ISBN : 978-616-11-4478-4
¤Á‹Ù Í× Ê¢Ø Í¹ÒÁÂÑ Ë;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡ÅâçàÃÂÕ ¹ã¹¶¹èÔ ·ÃØ ¡¹Ñ ´ÒÃ
ISBN 978-616-11-4478-4
¨Ñ´¾ÁÔ ¾â ´Â สำนกั สง เสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข
88/22 หมู 4 ถนนตวิ านนท ต.ตลาดขวัญ
อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทร. 0 2590 4000 โทรสาร 0 2590 4094
¾ÔÁ¾¤ ÃÑ駷èÕ 1 ตุลาคม 2563
¨Ó¹Ç¹ 800 เลม
¾ÔÁ¾·èÕ บริษัท ทำดวยใจ จำกัด
8/305 ซอยหมบู า นชวนชน่ื ถนนมาเจรญิ แขวงหนองแขม
เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ 10160
โทรศัพท 0 2811 0267 โทรสาร 0 2811 0267
3
คำนำ
โรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร เปนสถานศึกษาที่อยูในพื้นที่ทุรกันดาร
หางไกลมาก การเดินทางยากลำบากมาก โดยเฉพาะชวงฤดูฝน
ถนนเละ ไมสามารถเดินทางเขา-ออกได โรงเรียนจึงจำเปนตองจัดให
มีสถานที่พักคางสำหรับนักเรียนบานไกล ใหนักเรียนเรียนหนังสือได
อยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม โรงเรียนควรใหความสำคัญคำนึงถึงสภาพ
ความเปน อยแู ละสภาพแวดลอ มของหอพกั นกั เรยี นบา นไกล ชว ยใหน กั เรยี น
ไดอยูในสถานที่ที่พักอาศัยใหถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย เอื้อตอ
การมสี ขุ ภาวะท่ีดี และคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี ดังนัน้ กรมอนามัย ตระหนักถงึ
ความสำคัญมาก จึงไดจัดทำ “คูมือสุขอนามัยหอพักนักเรียนบานไกล
โรงเรยี นในถิ่นทุรกันดาร” ขนึ้
หวังเปน อยางยิง่ วา โรงเรยี น ผบู ริหาร ครพู ยาบาล นกั เรยี น และ
ผูเกี่ยวของ จะไดนำไปใช ใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนแนวทางปฏิบัติ
ในการจัดการดูแลสุขอนามัยสภาพแวดลอมหอพักนักเรียนบานไกล
ใหมีสุขลักษณะท่ดี ีมากขึน้ ตอไป
คณะผูจัดทำ
ตุลาคม 2563
4
สารบญั
หนา
¤Ó¹Ó ..................................................................................................................... 3
ÊÒúÞÑ ................................................................................................................. 4
• º·¹Ó ................................................................................................................ 5
• ¡Òè´Ñ ¡ÒÃ͹ÒÁÂÑ Ê§èÔ áÇ´ÅÍŒ ÁË;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡Å .............................. 7
• »ÃÐ⪹¢ ͧ¡Òè´Ñ ¡ÒÃ͹ÒÁÂÑ Ê§èÔ áÇ´ÅÍŒ ÁË;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡Å ...... 8
• ¡Òè´Ñ ¡ÒÃ͹ÒÁÂÑ Ê§èÔ áÇ´ÅÍŒ ÁË;¡Ñ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡Å .............................. 9
ÍÒ¤ÒÃʶҹ·èÕ .................................................................................................. 9
1. การจดั พน้ื ทบ่ี รเิ วณโดยรอบ ................................................................. 9
2. หอ งสว ม หอ งอาบนำ้ ............................................................................ 10
3. หอ งนอน ................................................................................................. 11
4. สถานทท่ี ำอาหาร (บรเิ วณทป่ี รงุ ประกอบอาหารหรอื สะสมอาหาร) 12
5. การปอ งกนั แมลงพาหะนำโรค ............................................................. 14
6. การจดั การขยะ ....................................................................................... 15
7. การจดั หานำ้ สะอาด ............................................................................... 20
8. การปอ งกนั อบุ ตั เิ หตุ ............................................................................. 23
9. การระบายอากาศและแสงสวา ง ......................................................... 24
10. การจดั การเชอ้ื รา ................................................................................. 25
Ê¢Ø Í¹ÒÁÂÑ ÊÇ‹ ¹º¤Ø ¤Å ....................................................................................... 26
1. การดแู ลความสะอาดรา งกาย ............................................................... 26
2. การทำความสะอาดเครอ่ื งแตง กาย .................................................... 26
3. การทำความสะอาดท่ีนอน ................................................................... 26
4. พฤตกิ รรมการบรโิ ภคทถ่ี กู ตอ ง .......................................................... 27
5. พฤตกิ รรมการใชส ว มทถ่ี กู วธิ ี ............................................................... 29
6. การปอ งกนั โรค : โควดิ 19 , โรคอจุ จาระรว งเฉยี บพลนั ............... 30
7. Infographic สขุ อนามยั ...................................................................... 31
• àÍ¡ÊÒÃÍÒŒ §Í§Ô .................................................................................................. 32
5
บทนำ
âçàÃÂÕ ¹ã¹¶¹èÔ ·Øáѹ´ÒÃ
โรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร หมายถึง โรงเรียนในโครงการพัฒนา
เดก็ และเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดาร ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามแผนพัฒนา
เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร อาทิ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรยี นสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โรงเรยี นเอกชน
สอนศาสนาอิสลาม ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแมฟาหลวง เปนตน
เปน สถานศกึ ษาทเ่ี ปด ทำการเรยี นการสอนนกั เรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ึ พน้ื ฐาน
ตั้งแตเด็กปฐมวัย ประถม และมัธยม มีทั้งนักเรียนที่เดินทางมาเรียน
แบบไปกลบั (ไมพ กั คา ง) และนกั เรยี นทพ่ี กั คา งในหอพกั นกั เรยี นบา นไกล
โดยเฉพาะโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน มนี กั เรยี นทม่ี บี า นอยหู า งไกลมาก
การเดนิ ทางยากลำบากมาก โดยเฉพาะชว งฤดฝู น ถนนเละเทะดนิ โคลนมาก
เดินทางไมไดเลย อยางไรก็ตาม โรงเรียนจึงจำเปนตองจัดใหมีหอพัก
สำหรบั นกั เรยี นบา นไกล ใหน กั เรยี นไดเ รยี นหนงั สอื ท่ีโรงเรยี นอยา งตอ เนอ่ื ง
สว นใหญก ารดแู ลจดั การสขุ อนามยั และสภาพแวดลอ มยังไมถูกสขุ ลกั ษณะ
ดังนั้น โรงเรียนควรใหความสำคัญและหมั่นดูแลสถานที่หอพักคาง
นักเรยี นบา นไกลอยา งสม่ำเสมอ ตอ งใหมีความเปนอยู สภาพแวดลอ มที่ดี
สะอาด ปลอดภัย มั่นคง แข็งแรง รวมถึงการดูแลรักษาความสะอาด
สุขอนามัย และการจัดการสภาพแวดลอมใหถูกสุขลักษณะ นาอยูมากขึ้น
ºÃÔº·Ë;ѡ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡ÅâçàÃÂÕ ¹ã¹¶Ô¹è ·ÃØ ¡Ñ¹´ÒÃ
6
จากการสำรวจหอพกั นกั เรยี นบา นไกลโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน
65 แหง เดือนธันวาคม 2560 พบวา
หอพักเปนบานไม รอ ยละ 26
ไมแ บง แยกชายหญงิ รอ ยละ 10
นอนรวมไมม เี ตยี ง ใชท ่ีนอนแบบอ่ืนแทน รอ ยละ 4
แบง แยกชายหญงิ รอ ยละ 56
หอ งพกั ชาย นอนรวมไมม เี ตยี ง ใชที่นอนแบบอื่นแทน รอยละ 54
หองพักหญิง นอนรวมไมมีเตียงใชที่นอนแบบอื่นแทน รอยละ 51
หองอาบน้ำรวม รอยละ 32
หองสวมนอกอาคาร รอยละ 68
หองสวมใชรวม รอยละ 16
หองสวมในอาคาร รอยละ 24
หองสวมใชรวม รอ ยละ 6
หองประกอบอาหารนอกอาคาร รอ ยละ 82
ใชร ว มกบั โรงเรยี น รอ ยละ 68
บรเิ วณทท่ี ง้ิ ขยะมลู ฝอยสง่ิ ปฏกิ ลู นอกอาคาร รอ ยละ 82
ใชร ว มกบั โรงเรยี น รอ ยละ 68
วธิ กี ำจดั ขยะมลู ฝอย ฝงกลบ รอยละ 46
ทิ้งบอขยะ/ทิ้งรอสลาย/เผาเตาเผาขยะ รอยละ 22
ไมม กี ารตดิ ตง้ั ระบบปอ งกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า รอยละ 90
ไมมีการติดตั้งถังดับเพลิง รอยละ 90
มีผูดูแลบานพัก รอยละ 81
ผดู แู ลคนเดยี ว รอยละ 28
พกั อาศยั คนละทก่ี บั หอพกั นกั เรยี น รอยละ 75
จากสถานการณสภาพแวดลอมบริบทพื้นที่หางไกลในถิ่นทุรกันดาร
จงึ มคี วามจำเปน อยา งยง่ิ โรงเรยี นจะตอ งสรา งการมสี ว นรว มกบั ภาคเี ครอื ขา ย
รว มดว ยชว ยกนั พฒั นาปรบั ปรงุ บรบิ ทแวดลอ มทจ่ี ะสง ผลกระทบตอ สขุ ภาพ
และการเรียนของนักเรียน อันจะชวยสงเสริมใหมีความเปนอยูที่ดีและ
คณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีอยา งยงั่ ยืน
ºÃºÔ ·Ë;ѡ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ºÒŒ ¹ä¡ÅâçàÃÕ¹㹶¹èÔ ·Øáѹ´ÒÃ
7
การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ ม
หอพักนกั เรียนบา นไกล
หอพักนักเรียนบานไกล เปนสถานที่พักอาศัยที่โรงเรียนจัดไว
สำหรับนักเรียนที่มีความจำเปนตองพักคางคืนในระหวางสัปดาหหรือ
ภาคเรียน เพื่อลดภาระการเดินทางไป-กลับสำหรับนักเรียนที่มีบาน
ตั้งอยูในพื้นที่หางไกลและการเดินทางยากลำบาก หอพักนักเรียน
สว นใหญม ลี กั ษณะเปน อาคารเรอื นนอนทจ่ี ดั ใหน กั เรยี นอาศยั อยรู ว มกนั
อาจเปนการพักอาศัยรวมกันมากกวา 2 คนตอหอง ขึ้นอยูกับ
ความพรอ มดานสถานที่ของแตล ะโรงเรยี น
การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมหอพักนักเรียนบานไกล หมายถึง
การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมหอพักนักเรียนบานไกลใหมีสิ่งอำนวย
ความสะดวกตามความตอ งการขน้ั พน้ื ฐานของการดำรงชวี ติ ของนกั เรยี น
สามารถปอ งกนั การเกดิ โรคและภยั สขุ ภาพ อนั เกย่ี วเนอ่ื งจากสง่ิ แวดลอ ม
รวมทั้งจัดสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการมีสุขภาพกายและจิตที่ดีของ
นกั เรียน ครอบคลุมเก่ยี วกบั การสขุ าภบิ าลท่พี ักอาศยั
และสขุ อนามยั การเตรยี มปรงุ ประกอบอาหารทส่ี ะอาด
ปลอดภัย จัดการใหมีน้ำดื่มและน้ำใชสะอาดและ
ปรมิ าณเพยี งพอ การจดั การขยะมลู ฝอย การดแู ลสว ม
และสง่ิ ปฏกิ ลู การควบคมุ สตั วแ ละแมลงพาหะนำโรค
และการดูแลปองกันไม ใหนักเรียนเกิดอุบัติเหตุได
8
ประโยชนข องการจดั การอนามยั สง่ิ แวดลอ ม
หอพกั นกั เรยี นบา นไกล
1. เปนสถานที่ที่ปองกันอันตรายจากสิ่งแวดลอม ทั้งที่เปน
ภยั ธรรมชาติ ภยั ทอ่ี าจเกดิ จากมนษุ ย สตั ว และแมลง รวมถงึ สง เสรมิ
ใหผพู ักอาศัยอยูในสง่ิ แวดลอ มท่ีปลอดภยั เอือ้ ตอการมสี ุขภาพรา งกาย
และสุขภาพจิตทด่ี ี
2. เปนสถานที่สำหรับประกอบกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจำวัน
3. ลดปจจยั เสยี่ งในการเกิดโรคตดิ ตอ และสตั วแ มลงพาหะนำโรค
ทม่ี สี าเหตุอนั เน่อื งมาจากสภาพที่พัก
4. เปนการสงเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียนและผูที่เกี่ยวของ
กอใหเกิดความสะอาด ความเปนระเบียบ และถูกสุขลักษณะ
9
การจดั การอนามยั สง่ิ แวดลอ ม
สะอาหดอพกัปนกัลเรอยี ดนบภา ยันไกนล า อยู
อาคารสถานท่ี
1. การจดั พน้ื ทบ่ี รเิ วณโดยรอบ
1.1 โครงสรางอาคารมั่นคง ประตู หนาตาง สภาพดี ปลอดภัย
1.2 พื้นที่โดยรอบไมมีขยะเกลื่อนกลาด จัดเก็บสิ่งของเครื่องใช
ใหเ ปนระเบยี บ มีการปลูกไมดอก ไมประดับ เพือ่ ความรม รื่น
1.3 ดูแลไมใหมีน้ำทวมขัง ตองคว่ำภาชนะหรือยางรถยนตเกา
ไมใ หเ กดิ นำ้ น่งิ หรอื น้ำขงั เปนการปอ งกันปญ หาแหลง เพาะพันธุยุงลาย
อันเปนสาเหตุของโรคไขเ ลอื ดออก
1.4 กรณีมีการเลี้ยงสัตว พื้นที่เลี้ยงตองสะอาด แยกเปนสัดสวน
ทำความสะอาด เกบ็ กวาดมลู สตั ว เพ่อื ไมใหม กี ลิ่น
10
2. หอ งสว ม หอ งอาบนำ้
2.1 พน้ื ผนงั เพดาน โถสว ม หมน่ั ทำความสะอาด ไมม คี ราบสกปรก
อยูในสภาพดีพรอมใชงาน โดยเฉพาะพื้น ควรทำจากวัสดุที่ไมลื่น
และแหงอยเู สมอ
2.2 น้ำใชส ะอาด เพยี งพอ ไมมลี ูกนำ้ ยุงลาย และภาชนะกักเกบ็ น้ำ
ตองอยใู นสภาพดี มกี ารทำความสะอาดอยา งสม่ำเสมอ
2.3 โถสวม อางลางมือ กอกน้ำ กระจก สะอาด อยูในสภาพดี
จัดใหมีสบูลางมือ รวมถึงประตู กลอนประตูไมช ำรุด ใชง านได
2.4 มอี ากาศถา ยเทสะดวก ไมม กี ลน่ิ เหมน็ กลน่ิ อบั และมแี สงสวา ง
เพยี งพอ สามารถมองเหน็ ทว่ั ทง้ั บรเิ วณ
2.5 ควรมีการทำความสะอาดหองสวม อยางนอยวันละ 1 ครั้ง
เพื่อความสะอาด ปลอดภัย
2.6 ทอ ระบายสิ่งปฏกิ ูลและถังกักเกบ็ สงิ่ ปฏกิ ูล ตองไมร ัว่ ไมแตก
หรอื ชำรดุ หากพบรอยแตกราว มนี ำ้ ไหลซึม ตอ งรบี แกไ ขทันที
11
3. หอ งนอน
3.1 เปดประตู หนาตาง เพื่อการระบายอากาศเปนประจำและ
ตองจัดใหมีแสงแดดสองถึง
3.2 ดูแลจัดหองใหหองสะอาด เปนระเบียบ ไมหมักหมมหรือ
สะสมของใชมากเกินสมควร ไมมีซอกมุมและไมอับชื้น เพื่อปองกันไมให
เปนแหลงเพาะพันธุของเชื้อโรค สัตวพาหะและแมลงนำโรค เชน
แมลงสาบ หนู เปน ตน รวมทง้ั ทำความสะอาดอาคารหรอื พน้ื หอ งดว ย
ผา ชุบนำ้ หมาดๆ
3.3 หมั่นทำสะอาดผาปูที่นอน ปลอกหมอน มุง เปนประจำ
อยางนอยสัปดาหล ะ 1 ครง้ั เพอ่ื สขุ อนามยั ท่ดี ี เปนการปองกนั เชอ้ื รา
ไรฝนุ อนั เปน สาเหตหุ นง่ึ ของโรคภมู แิ พ โรคผวิ หนงั และควรนำเครอ่ื งนอน
เชน ที่นอน หมอน ผาหม ตากแดดจัดๆ ประมาณ 3 ชั่วโมงขึ้นไป
อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง
3.4 จดั วางสง่ิ ของ ตู เครอ่ื งเรอื น อยา งเปน ระเบยี บ และหมน่ั เชด็
ถู ทำความสะอาดเปนประจำ
3.5 จดั ใหม กี ารปอ งกนั ยงุ ดว ยการตดิ ตง้ั มงุ ลวดหรอื ใชม งุ ในขณะ
นอน ซ่งึ มุง ลวดหรือมุง อยใู นสภาพดี เพ่อื ปองกันโรคไขเลอื ดออก
3.6 กรณีติดต้ังเคร่ืองปรบั อากาศ ควรตรวจตราทำความสะอาด
แผนกรองอากาศสม่ำเสมอ เพื่อกำจัดฝุนและสิ่งสกปรกที่สะสมบน
แผน กรอง และควรเปด หนา ตา งใหอ ากาศจากภายนอกหมนุ เวยี นถา ยเท
ภายในหอ งดวย
12
4. สถานที่ทำอาหาร (บรเิ วณท่ปี รงุ
ประกอบอาหารหรือสะสมอาหาร)
4.1 จัดใหมีสิ่งของเฉพาะที่จำเปนตองใชในหองครัว แยกเฉพาะ
เปน สัดสว นจากบรเิ วณอืน่ เพอ่ื ใหหอ งครวั สะอาด เปน ระเบียบ ไมเปน
ทอ่ี ยอู าศยั ของสตั วแ ละแมลงพาหะนำโรค และงา ยตอ การทำความสะอาด
พ้นื ทำดว ยวสั ดถุ าวร แขง็ เรียบ สภาพดี
4.2 มกี ารระบายอากาศ กลน่ิ และควนั จากการปรงุ ประกอบอาหาร
4.3 โตะเตรียม-ปรุง และผนังบริเวณเตาไฟ ตองทำดวยวัสดุ
ที่ทำความสะอาดงาย มีสภาพดี และพื้นโตะสูงจากพื้นอยางนอย
60 เซนติเมตร หามเตรียมหรือปรุงอาหารบนพื้น
4.4 อาหารพรอมบริโภค ควรรับประทานหลังปรุงเสร็จใหม
มกี ารปกปด อาหาร เพอ่ื ปอ งกนั แมลงวนั ตอม หา มวางอาหารและภาชนะ
ที่ใสอาหารบนพื้น โดยตองวางสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร
เพือ่ ปองกันอาหารปนเปอ น
13
4.5 มีและใชภาชนะใสอาหาร อุปกรณตักอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
และสะอาด ทำจากวสั ดไุ มเ ปน พษิ ทำความสะอาดงา ย สภาพดี ไมช ำรดุ
การเกบ็ อปุ กรณต กั อาหาร เชน ทพั พี ตะหลวิ กระบวย ชอ น สอ ม ฯลฯ
เก็บในภาชนะโปรงสะอาด โดยเอาดามขึ้นหรือวางไปในแนวเดียวกัน
หรือเก็บในที่สะอาดมีการปกปดมิดชิด วางบนชั้น สูงจากพื้นอยางนอย
60 เซนติเมตร เพื่อปอ งกนั การปนเปอ น
4.6 มีตูหรือภาชนะเก็บอาหารที่สามารถปองกันสัตวพาหะและ
แมลงนำโรคได ลกั ษณะไมอ บั ทึบ มีการระบายอากาศดี
4.7 มีท่รี องรับเศษอาหารหรือถังขยะในอาคาร ถังขยะทำจากวสั ดุ
ที่ไมรั่วซึม มีฝาปด และมีถุงพลาสติกรองรับดานใน ควรแยกประเภท
ของขยะเปยก ขยะแหง และตองนำไปกำจดั ทุกวัน
14
5. การปอ งกนั แมลงพาหะนำโรค
5.1 กำจดั แหลง เพาะพนั ธสุ ตั วพ าหะแมลงนำโรค โดยเกบ็ เศษอาหาร
ลงในถังขยะทมี่ ฝี าปด มดิ ชดิ และนำขยะไปกำจัดทุกวัน ไมใ หต กคาง
5.2 ดูแลรางระบายน้ำไมใหอุดตันและมีเศษอาหารตกคางอยู
อาจเปนแหลงอาหารของสัตวพาหะและแมลงนำโรค
5.3 ภาชนะเก็บกักน้ำ ควรมีฝาปดมิดชิด ปองกันยุงวางไข หรือ
เปลี่ยนน้ำในแจกันดอกไม จานรองตูกับขาว ทุกสัปดาห
15
6. การจดั การขยะ
6.1 ¡ÒÃÅ´»ÃÁÔ Ò³¡ÒÃà¡´Ô ¢ÂÐ
เปนสิ่งแรกที่ตองดำเนินการ เพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้น
ณ แหลงกำเนิด โดยใชหลักการ 3R มีดังนี้
6.1.1 Å´¡ÒÃ㪌 (Reduce) คือ ลดปริมาณการใชวัสดุสิ่งของ
ทรพั ยากรตา งๆ ใหน อ ยลง ใชอ ยา งประหยดั และรคู ณุ คา หรอื ใชเ ทา ทจ่ี ำเปน
เลอื กใชว สั ดจุ ากธรรมชาติ ลดการใชก ลอ งโฟมหรอื พลาสตกิ เลอื กซอ้ื สนิ คา
หรือผลิตภณั ฑท ่สี ามารถนำกลับไปรไี ซเคลิ ได เปน ตน
16
6.1.2 ¹Ó¡ÅѺÁÒ㪌ãËÁ‹ËÃÍ× ãªŒ«Óé (Reuse)
คือ การนำภาชนะมาใชซำ้ หลายๆ ครงั้ เชน
การใชซ ้ำถงุ พลาสตกิ ถุงผา ถุงกระดาษ
กระดาษ กลอ งกระดาษ ขวดนำ้ ดม่ื กลอ งนม
และกลอ งใสขนม เปนตน การนำเคร่อื งมอื
ใชสอยอื่นๆ มาดดั แปลงใหใชประโยชนไดอ กี
เชน การนำยางรถยนตมาทำเกา อี้ การนำขวด
พลาสติกมาดัดแปลงเปนที่ใสของ แจกัน การนำเศษผามาทำเปลนอน
เปนตน
6.1.3 ÃÕä«à¤ÔÅ (Recycle) คือ การนำ
หรอื เลอื กใชท รพั ยากรทส่ี ามารถนำกลบั มารไี ซเคลิ
หรอื นำกลบั มาใชใหม เชน การนำเศษกระดาษ
ไปรีไซเคิลเปนของใช กลอง หรือถุงกระดาษ
การนำแกวหรือพลาสติกมาหลอมใช ใหม
ใหเปนขวด ภาชนะใสของ หรือเครื่องใชอื่นๆ
17
6.2 ¡Òä´Ñ á¡¢ÂÐ
เปนการลดปริมาณขยะที่ตนทาง ลดภาระการสงไปกำจัด
ใหนอยลง โดยการคัดแยกจะทำใหทราบประเภทของขยะที่เกิดขึ้น
และสามารถนำขยะแตละประเภทไปใชประโยชนตอได ในการคัดแยก
ตอ งมภี าชนะรองรบั ทม่ี คี วามเหมาะสมกบั ประเภทและปรมิ าณมลู ฝอย
โดยมีแนวทาง ดังนี้
6.2.1 ¢ÂÐÍ¹Ô ·ÃÂÕ Ë ÃÍ× ¢ÂÐÂÍ‹ ÂÊÅÒ หมายถงึ ขยะทเ่ี นา เสยี
และยอยสลายไดรวดเร็วสามารถนำมาหมักทำปุยได เชน เศษผัก
เปลอื กผลไม เศษอาหาร ใบไม เศษเนอ้ื สตั ว โดยการนำขยะยอ ยสลาย
แตละประเภทไปใชป ระโยชน เชน
1) การหมกั ทำปยุ โดยการนำเศษอาหาร เศษผกั ใบไม กง่ิ ไม
นำมาหมักในถังผลิตปุยหมักอินทรีย กลองคอนกรีต หรือบอคอนกรีต
ตามความเหมาะสมของพนื้ ทแี่ ละปริมาณขยะ
2) การนำเศษอาหารไปเลย้ี งสตั ว โดยอาจมผี มู าตดิ ตอ ขอรบั
หรอื รบั ซอ้ื นำไปเลย้ี งสตั ว เชน เลย้ี งสกุ ร เปน ตน โดยตอ งแยกขยะประเภท
เศษผกั เศษอาหารไว ตามทผี่ ูม าขอรบั ซื้อตอ งการ
6.2.2 ¢ÂÐÃäÕ «à¤ÅÔ ËÃÍ× ¢ÂÐ¹Ó¡ÅºÑ ÁÒãªãŒ ËÁ‹ หมายถงึ ของเสยี
บรรจภุ ณั ฑห รอื วสั ดเุ หลอื ใช ซง่ึ สามารถนำกลบั มาใชป ระโยชนใ หมไ ด เชน
แกว กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม เศษพลาสติก เศษโลหะ อลูมิเนียม
ยางรถยนต กลองเครอ่ื งดมื่ แบบ UHT เปน ตน
18
6.2.3 ¢ÂзÇèÑ ä» หมายถงึ ขยะประเภทอน่ื
นอกเหนือจากขยะอินทรีย ขยะรีไซเคิล และขยะ
อันตราย มีลักษณะที่ยอยสลายยากและไมคุมคา
สำหรบั การนำกลบั มาใชป ระโยชนใ หม เชน หอ พลาสตกิ
ใสข นม ถงุ พลาสตกิ บรรจผุ งซกั ฟอก พลาสตกิ หอ ลกู อม
ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ถุงพลาสติกเปอนเศษอาหาร
กลองโฟมเปอนอาหาร ฟอลยเปอนอาหาร เปนตน
ใหท ง้ิ ลงภาชนะรองรบั ขยะ และเกบ็ รวบรวมสง ไปกำจดั ตอ ไป
6.2.4 ¢ÂÐÍѹµÃÒ หมายถึง ขยะ
ที่มีสวนประกอบหรือปนเปอนวัตถุอันตราย
ชนดิ ตา งๆ เชน ถา นไฟฉาย หลอดฟลอู อเรสเซนต
แบตเตอร่ี ภาชนะบรรจสุ ารกำจดั ศตั รพู ชื กระปอ ง
สเปรย ยาหมดอายุ เปน ตน
19
6.3 ÀÒª¹ÐÃÍ§ÃºÑ ¢ÂÐËÃÍ× ¶§Ñ ¢ÂÐã¹ÍÒ¤ÒÃ
ควรเปนวสั ดทุ ่ีทำความสะอาดงาย มคี วามแข็งแรง ทนทาน
ไมร วั่ ซมึ มฝี าปดมดิ ชิด สามารถปอ งกันสัตวพ าหะและแมลงนำโรคได
ขนาดเหมาะสม สามารถรองรับปรมิ าณขยะไดอยา งเพยี งพอ ไมห กลน
สามารถเคลอ่ื นยา ยไดสะดวก งา ยตอการถา ยและเทขยะ
6.4 ¡ÒáӨ´Ñ ¢Âз¶èÕ Ù¡Ê¢Ø Å¡Ñ É³Ð
โดยการฝง การนำไปใชประโยชน หรือรวบรวมสงใหเทศบาลหรือ
อบต.นำไปกำจัด
20
7. การจดั หานำ้ สะอาด
7.1 ¨Ñ´ãËÁŒ ¹Õ éÓ´×Áè ¹Óé 㪌·ÊèÕ ÐÍÒ´áÅÐà¾ÂÕ §¾Í
7.2 ¨´Ñ ãËÁŒ ¡Õ ÒÃãªáŒ ¡ÇŒ ¹Óé ·ÊèÕ ÐÍÒ´ ¼ÅµÔ ¨Ò¡ÇÊÑ ´·Ø »èÕ ÅÍ´ÀÂÑ เชน แกว
เซรามคิ สเตนเลส มจี ำนวนเพยี งพอ ใชแ กว นำ้ สว นตวั ไมใ ชแ กว นำ้ รว มกนั
หากตอ งใชซ ำ้ ตอ งทำความสะอาดกอ นนำมาใชเ สมอ
7.3 ÀÒª¹ÐºÃè¹Ø Óé
- คูลเลอร ตองลางทำความสะอาดทุกวัน การจัดเตรียม
น้ำสำหรับดื่มตองระวังการปนเปอน หามใชแกวน้ำหรือภาชนะอื่นใด
ตักลงไป ควรมีกอกนำ้ สำหรับเปด
- เครื่องกรองน้ำ
การเลือกเครื่องกรองน้ำ
ตอ งมน่ั ใจวา เครอ่ื งกรองนำ้
มปี ระสทิ ธภิ าพในการกำจดั
สิ่งปนเปอนในน้ำดื่มไดดี
ไมมีการนำสารตะกั่วมาใช
ผลิตเครือ่ งกรองน้ำเด็ดขาด
ระหวา งใชง านตองดูแลบำรงุ รกั ษา
อยางสม่ำเสมอ มีการลางยอน (Backwash) เครื่องกรองทุกสัปดาห
และเปลย่ี นไสก รองตามระยะเวลาท่กี ำหนดตามคูมอื ของบรษิ ัทผูผลิต
21
- ตูทำน้ำเย็น ตองเลือกที่ไดมาตรฐาน มี มอก. รับรอง
ไมใ ชส ารตะกว่ั ในการออ คเชอ่ื ม มกี ารตอ สายดนิ
เพื่อปองกันการรั่วของกระแสไฟ ตรวจสอบ
ระบบไฟฟาใหพรอมใชเสมอ
ทำความสะอาดตูท ำน้ำเยน็
ภายนอกตแู ละกอ กนำ้ ดม่ื ทกุ วนั
และภายในตู (ถังน้ำเย็น)
ทกุ เดือน
- น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุปดสนิทหรือน้ำบรรจุขวด/ถัง
ตองมีเครื่องหมาย อย. ลักษณะภาชนะตองสะอาด ไมรั่วซึม ไมมีรอย
คราบสกปรกเปรอะเปอนและตะไครน้ำ ฝาปดตองปดผนึกสนิท
ไมมีรองรอยการเปดใช ลักษณะน้ำตองใสสะอาด ไมมีตะกอน ไมมีสี
ไมมกี ล่ิน และรสทีผ่ ิดปกติ
22
- การรองรับน้ำฝนสำหรบั
การอุปโภคบริโภค ควรพิจารณาสภาพ
ของสถานท่ีหรือพน้ื ทท่ี ่อี ยูอาศยั เปนเบื้องตน
ในพน้ื ท่ีมีโรงงานอตุ สาหกรรมและมกี ารจราจร
คบั ค่งั ยอมมีปญ หามลพิษทางอากาศ อาจกอ ใหเ กิด
ภาวะฝนกรด ไมปลอดภยั ท่จี ะนำน้ำฝนมาดืม่
สวนพืน้ ท่ีในชนบทนำ้ ฝนยังเปน น้ำทส่ี ะอาด
ปลอดภัย เหมาะสมกับวิถีชีวิตไทย ๆ
จงึ เหมาะทจ่ี ะเลอื กนำ้ ฝนเปน นำ้ ดม่ื แตต อ ง
ใหค วามสำคญั ในการทำความสะอาดหลงั คา
รางรับน้ำฝน และภาชนะเก็บกกั นำ้ ใหส ะอาด
เปน ประจำกอ นรองรบั นำ้ ฝน ไมร องรับนำ้ ฝน
ทต่ี กในชวงแรกๆ ปลอ ยใหฝ นตกไปสักระยะกอน เพือ่ ชะลางสิ่งสกปรก
ตางๆ ภาชนะที่รองรับน้ำฝนควรมีกอก และปดดวยมุงพลาสติก/
ฝาภาชนะใหมิดชิด เพื่อปองกันการปนเปอนของสิ่งสกปรกตางๆ
7.4 ÁÕ¡ÒÃÊØ‹ÁµÃǨཇÒÃÐÇѧ¡Òû¹à»„œÍ¹â¤ÅÔ¿ÍÃÁẤ·ÕàÃÕÂ
ในน้ำดื่มดวยชุดทดสอบภาคสนาม อ11 ทุก 6 เดือน กรณีพบน้ำดื่ม
ปนเปอ นโคลฟิ อรม แบคทเี รยี ใหล า งทำความสะอาดภาชนะระบบนำ้ ดม่ื
และตรวจสอบซ้ำ เพ่อื ความมนั่ ใจวา น้ำดม่ื ไมป นเปอนเชื้อโรค
23
8. การปอ งกนั อบุ ตั เิ หตุ
8.1 การมีอาคารทม่ี นั่ คง แข็งแรง
พื้นอาคาร ควรใชว ัสดุทแี่ ขง็ เรยี บ ไมล ื่น
ไมดูดซึมน้ำ ทำความสะอาดงาย บันได
ไมลาดหรือชันจนเกินไป ควรมีวัสดุกันลื่น
8.2 อปุ กรณเ ครอ่ื งใชไ ฟฟา และสายไฟฟา
ตองเก็บใหเปนระเบียบ ไมรกรุงรังหมั่นทำความสะอาด ดูแลใหพรอม
ใชง านอยเู สมอ และมกี ารตรวจสอบสภาพอปุ กรณเ ครอ่ื งใชไ ฟฟา ทกุ ชนดิ
ทุก 6 เดือน
8.3 มกี ารจดั การระบบไฟฟา ใหม คี วามปลอดภยั เชน การเดนิ สายไฟ
ตดิ ตง้ั ระบบตดั ไฟอตั โนมตั ิ
8.4 มกี ารตดิ ตง้ั ถงั ดบั เพลงิ หรอื ระบบสญั ญาณเตอื นภยั โดยความสงู
สวนบนสุดของถังดับเพลิงอยูสูงจากพื้นไมเกิน 1.5 เมตร มีปายหรือ
สัญลักษณเหนือถังดับเพลิง และมีการตรวจสอบใหพรอมใชงาน
ตลอดเวลา
8.5 มีแผนรองรับการเกิดอัคคีภัย แผนผังเสนทางการหนีไฟ
และปายบอกทางหนีไฟที่มองเห็นชัดเจน
8.6 ควรมีการใหความรูนักเรียนเกี่ยวกับอันตรายจากไฟฟาช็อต
หรือไฟฟารั่ว รวมถึงมีการใหความรูหรือฝกซอมการหนีไฟ การดับไฟ
หรืออุบัติภยั ภยั พิบตั ติ า งๆ ตามบรบิ ทของพืน้ ที่ เปน ตน
24
9. การระบายอากาศและแสงสวา ง
9.1 เปด ประตู หนา ตา ง ชอ งลม โดยไมม สี ง่ิ กดี ขวาง เพอ่ื ใหอ ากาศ
ถายเทไดส ะดวก
9.2 แสงสวา งตอ งไมแ สงจาหรอื พรามัว หลอดไฟไมมีแสงกระพรบิ
9.3 กรณีแสงสวางจากหลอดไฟ ควรมีหลอดไฟจำนวนมากพอ
ที่แสงสวางสองทั่วถึงทุกจุด ควรใชหลอดไฟชนิดฟลูออเรสเซนทและ
หลอดไฟสขี าว ซง่ึ สอ งสวา งดแี ละใหค วามรอ นนอ ยกวา หลอดไฟธรรมดา
9.4 การทาสีภายในหอ ง เลอื กทาสีออนจะชว ยใหห อ งสวา งมากขึ้น
9.5 กรณมี อี ปุ กรณช ว ยในการระบายอากาศ เชน เครอ่ื งปรบั อากาศ
หรือเครื่องดูดอากาศ พัดลม ตองอยูในสภาพที่ใชงานไดดี มีการลาง
ทำความสะอาดอยา งสมำ่ เสมอ โดยเครอ่ื งปรบั อากาศตอ งลา งแผน กรองฝนุ
(Filter) ทุก 2 สัปดาห และตองลางเครื่องปรับอากาศทุก 6 เดือน
หรือ 1 ป
25
10. การจดั การเชอ้ื รา
10.1 ตองจัดการไมใหมีความชื้นสะสม โดยเปดประตู หนาตาง
ระบายอากาศ และเปด มา นใหแ สงธรรมชาตสิ อ งถงึ เปน การลดความชน้ื ได
10.2 หมั่นทำความสะอาดเครื่องเรือน เครื่องใชภายในหอพัก
ที่พักอาศัยเปนประจำ ถาพบรองรอยของเชื้อรา อาจมีสีดำ สีขาว หรือ
สเี ขยี ว เหลา นล้ี ว นเปน เชอ้ื ราทส่ี ง ผลตอ สขุ ภาพทง้ั สน้ิ ควรทำความสะอาด
เครื่องเรือน และของทม่ี ีเชือ้ รา ดว ยวธิ ีการดงั นี้
10.2.1 ใชกระดาษชำระ ทิชชูหรือกระดาษหนังสือพิมพชุบน้ำ
แลว นำมาเชด็ เชอ้ื ราบนเครอ่ื งเรอื น เชน กระจก ตเู สอ้ื ผา หรอื โซฟา เปน ตน
โดยใหเช็ดไปในทางเดียวกัน เพื่อปองกันการฟุงกระจายของสปอรเชื้อรา
จากนั้นนำกระดาษที่ใชเช็ดไปทิ้งในถุงปดมิดชิดกอนทิ้งลงถังขยะเพื่อรอ
การกำจดั ตอไป
10.2.2 หลงั จากเชด็ รอ งรอยเชอ้ื ราแลว ใหใ ชก ระดาษชำระ ทชิ ชู
ชุบน้ำสบูหรือน้ำยาลางจาน นำมาเช็ดซ้ำในจุดเดิมที่พบเชื้อราอีกครั้ง
เพ่ือใหเ กดิ ความสะอาด
10.2.3 ใชน้ำยาฆาเชื้อรา เชน น้ำสมสายชู ความเขมขน 5-7%
หรือแอลกอฮอล ความเขมขน 60-90% เปนตน เช็ดทำลายเชื้อ
เปนขน้ั ตอนสุดทา ย จะสามารถฆา เชือ้ ราและสปอรเ ชื้อราได
10.3 กรณีเครื่องเรือนเครื่องใช มีเชื้อราจำนวนมาก ใหรีบนำมา
ทำความสะอาดตามขั้นตอนขางตน ปองกันไมใชเกิดการฟุงกระจาย
ของเชื้อราและสปอรเชื้อรา แลวใหตากแดดทิ้งไวระยะหนึ่ง จนมั่นใจวา
เครื่องใชเครื่องเรือนแหงสนิท แลวจึงคอยนำกลับไปใชตอไป
26
สขุ อนามยั สว นบคุ คล
1. การดแู ลความสะอาดรา งกาย
1.1 อาบนำ้ วันละ 2 คร้งั สระผม อยางนอ ยสปั ดาหล ะ 2 ครงั้
1.2 ตดั เลบ็ ใหสั้นและสะอาด
1.3 แปรงฟน อยางนอ ย วันละ 2 ครงั้ ตอนเชา และกอนนอน
2. การทำความสะอาดเครอ่ื งแตง กาย
2.1 เสื้อผา เครื่องแตงกาย ควรซักทำความสะอาดหรือตากแดด
ทุกครั้งหลังการใช
2.2 ถุงเทา รองเทา ซักและทำความสะอาดประจำ ใหสะอาด
ไมมีกลิ่นเหม็น
3. การทำความสะอาดทน่ี อน
3.1 หมน่ั ทำความสะอาด ผา ปทู น่ี อน
ปลอกหมอน มุง เปนประจำอยางนอย
สปั ดาหล ะ 1 ครง้ั รวมถงึ ผา นวม ผา คลมุ
ที่นอน ผาหม ควรจะซักทุก 3 เดือน
เพื่อสุขอนามัยที่ดี
3.2 หมอน ตากแดดจดั ประมาณ 3 ชว่ั โมงขน้ึ ไป จะชว ยฆา ตวั ไรฝนุ ได
27
3.3 กลับดานกลับฟูก (ที่นอน) เปนครั้งคราว เพื่อใชงานที่นอน
อยางเทากันทั้งสองดาน จะชวยยืดอายุการใชงานของฟูกใหนานขึ้น
รวมถึงผึ่งลม ใชพัดลมชวยเปาฟูกใหแหง ไมควรใสผาปูที่นอนใหม
หรือนอนบนฟูกที่ยังไมแหงสนิท การผึ่งลมใหฟูกแหงจะชวยปองกัน
การเกดิ ราได
3.4 เก็บท่ีนอนทุกเชา ใหเปน นิสัย
4. พฤตกิ รรมการบรโิ ภคทถ่ี กู ตอ ง
¡Ô¹ÃŒÍ¹ คอื กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม
ปรงุ อาหารดว ยความรอ นใหส กุ
อยา งทั่วถึง เก็บอาหารปรงุ สกุ
อยา งเหมาะสม
ªÍŒ ¹¡ÅÒ§ เปน ชอ นทม่ี ไี วใ นสำรบั กบั ขา ว เพอ่ื ใชต กั แบง อาหารมาใสจ าน
ของผูกิน ซึ่งตองมีการจัดวางไวในจานของอาหารทุกจาน ชอนกลาง
ชว ยปอ งกนั โรคทต่ี ดิ ตอ ผา นทางนำ้ ลาย ไดแ ก ไขห วดั ใหญ คอตบี คางทมู
วัณโรค โปลิโอ ไวรัสตับอักเสบ ไมใหแพรกระจายระหวางบุคคลได
นอกจากนี้ยังชวยปองกันน้ำลายของผูกิน ไมใหลงไปปนเปอนอาหาร
ทำใหบูดเสียงายอีกดวย เปนการสรางพฤติกรรมอนามัยที่ถูกตอง
เปนวฒั นธรรมทด่ี งี ามในการกินอาหารรวมกัน
28
ŌҧÁ×Í มือเปนอวัยวะที่ ใชสัมผัสสิ่งตางๆ รอบตัว อาจปนเปอน
สง่ิ สกปรก ทำใหไ ดร บั เชอ้ื โรคเขา สรู า งกายผา นทางเยอ่ื บจุ มกู ตา และปาก
ฉะนน้ั จึงตอ งดูแลมอื ใหสะอาด โดยการลา งมอื ใหสะอาดดวยสบแู ละน้ำ
ทุกครั้งกอนรับประทานอาหาร กอนและหลังการเตรียมปรุงอาหาร
หลังเขาหองสวม หลังสัมผัสสิ่งสกปรก เชน หลังการไอ จาม สั่งน้ำมูก
จับตองขยะ เปนตน
Ç¸Ô Õ¡ÒÃŌҧÁÍ× 7 ¢Ñ鹵͹
29
5. พฤตกิ รรมการใชส ว มทถ่ี กู วธิ ี
5.1 นั่งสวมใหถูกวิธีและเหมาะสม
กรณสี ว มแบบน่ังราบ (ชักโครก) ตองนั่ง
ใหผิวกนสัมผัสกับที่รองนั่งพอดี
กรณสี วมแบบนงั่ ยอง ใหข ึน้ ไปน่ังยอง
บนสวมไดเ ลย
5.2 ไมทิ้งวัสดุอื่นลงในโถสวม เพราะอาจจะทำใหสวมอุดตัน
ยกเวน กระดาษชำระสำหรับใชในหองสวมเทานั้น
5.3 ราดน้ำหรือกดชักโครกใหสะอาดทุกครั้งหลังการใชสวม
หามใชเทากดชักโครกแทนการใชมือ
5.4 ลา งมอื ใหส ะอาด ดว ยสบหู รอื นำ้ ยาลา งมอื ทกุ ครง้ั หลงั การใชส ว ม
5.5 การดแู ลรกั ษาสว ม ตอ งดแู ลรกั ษาใหส ะอาด ไมมีกลิ่นเหม็น
ไมเปนแหลงแพรกระจายของเชื้อโรค
และตองมีน้ำใชเพียงพอ เพื่อใชราดสวม
ทำความสะอาดหองสวมและสุขภัณฑ
รวมทั้งภาชนะเก็บกักน้ำและอุปกรณ
ตองไมทำลายพื้น ประตู วัสดุอุปกรณ
และไมขีดเขียนฝาผนัง
30
6. การปอ งกนั โรค
การปองกันโรค เชน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน เปนตน มีดังนี้
6.1 ลา งมอื ใหส ะอาดดว ยสบแู ละนำ้ หรอื
เจลแอลกอฮอล ทุกครั้งกอนรับประทาน
อาหาร หลังใชสวม หรือหลังจากไอ จาม
หรอื หลงั สมั ผสั จดุ เสย่ี งทม่ี กี ารใชง านรว มกนั
หลกี เล่ยี งการใชม ือสมั ผัสใบหนา ตา ปาก
จมูก โดยไมจ ำเปน
6.2 กนิ อาหารปรงุ สกุ ใหม สะอาด และไมใ ชข องใชส ว นตวั รว มกบั ผอู น่ื
เชน ผา เชด็ หนา ผา เชด็ ตวั แกว นำ้ หลอดดดู นำ้
6.3 กรณีไอ จาม ควรใชผาเช็ดหนาหรือกระดาษทิชชู ปดปาก จมูก
เพื่อลดการปนเปอนและแพรกระจายเชื้อโรค และนำกระดาษทิชชูใชแลว
ไปทิ้งในถังขยะที่มีฝาปด หากไมมีผาเช็ดหนาหรือกระดาษทิชชู ใหจามใส
ตนแขน โดยยกแขนขางใดขางหนึ่งมาจับไหลตัวเองฝงตรงขามและ
ยกตน แขนปดปากและจมกู ตนเอง กอนไอ จามทกุ ครงั้
6.4 หลกี เลย่ี งการเขา รว มกจิ กรรมทม่ี คี นหนาแนน แออดั หรอื พน้ื ทป่ี ด
หากมคี วามจำเปน ตอ งปอ งกนั ตนเอง สวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั
เวน ระยะหา งจากบุคคลอน่ื 1-2 เมตร
6.5 ดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรง เชน กินอาหารครบ 5 หมู
กินผักผลไม 5 สี ออกกำลังกายเปนประจำ อยางนอย 60 นาทีตอวัน
นอนหลับใหเ พยี งพอ 9-11 ชวั โมงตอ วัน
6.6 ทำความสะอาดบา น บรเิ วณบา น และอปุ กรณเ ครอ่ื งใชข องตนเอง
เปน ประจำทกุ วนั
31
7. Infographic สขุ อนามยั
http://bit.do/Far-home
32
ทป่ี รกึ ษา
นายแพทยส ุวรรณชยั วัฒนาย่ิงเจริญชัย อธิบดกี รมอนามัย
นายแพทยด นัย ธวี ันดา รองอธิบดีกรมอนามยั
นายแพทยเอกชยั เพียรศรีวชั รา ผูอำนวยการสำนกั สงเสริมสขุ ภาพ
นายสมชาย ตแู กว ผอู ำนวยการสำนักอนามัยส่งิ แวดลอม
คณะผจู ดั ทำ
นางปนัดดา จั่นผอง นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนกั สงเสรมิ สุขภาพ
นางณีรนชุ อาภาจรสั นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ สำนักอนามยั สงิ่ แวดลอ ม
นางสาวพรเพชร ศักดิ์ศิริชยั ศลิ ป นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ สำนกั สขุ าภบิ าลอาหารและนำ้
นางสาวปาริชาติ จำนงการ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร สำนักอนามยั สง่ิ แวดลอ ม
นางสาววัลนิภา ชณั ยะมาตร นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร สำนักสง เสรมิ สขุ ภาพ
นางสาวคัทลยี า โสดาปดชา นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ สำนกั สง เสรมิ สขุ ภาพ
นางสาวอุไรพร ถินสถิตย นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนกั อนามยั สิ่งแวดลอม
เอกสารอา งองิ
กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดลอม. คูมือการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในโรงเรียน. พิมพครั้งที่ 1.
กรุงเทพ:โรงพิมพส มาคมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ ), 2560
กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดลอม. คูมือการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชน สำหรับประชาชน.
พมิ พค รง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2560.
กรมอนามยั . สำนกั อนามยั สง่ิ แวดลอ ม. คมู อื แกนนำชมุ ชนดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ ม. พมิ พค รง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพ:
โรงพิมพส มาคมเทคโนโลยี (ไทย-ญปี่ นุ ), 2560
กรมอนามัย. สำนักโภชนาการ. ชุดความรู NuPETHS. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพ : โรงพิมพไทยปริ้นทติ้ง
เซ็นเตอร จำกดั .2562
กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดลอม. คูมือโครงการบานสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ. คน หาผา น :
http://env.anamai.moph.go.th/download/download/pdf/2557/roadmap.pdf คนเมื่อ
วนั ท่ี 20 เมษายน 2563
กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดลอม. อนามัยสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในวัด. พิมพครั้งที่ 1.
กรงุ เทพ:โรงพิมพอ งคการสงเคราะหท หารผา นศกึ , 2551
สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น
ทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 5 พ.ศ.
2560-2569. พมิ พครั้งท่ี 1.กรุงเทพฯ: บรษิ ทั แอคทฟี พรน้ิ ท จำกัด, 2560.
อ น า มั ย โ ร ง เ รี ย น