The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Unit 2การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

๊Unit2

Unit 2การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร

หน่วยที่ 2 การเพมิ่ ประสิทธิภาพ
ในองค์กร

[พมิ พ์ช่ือเรื่องรองเอกสาร]

[พิมพ์บทคดั ยอ่ ของเอกสารทน่ี ี่ โดยปกติแล้วบทคดั ยอ่ คอื สรุปแบบสนั้ ๆ
เก่ียวกบั เนอื ้ หาของเอกสาร พมิ พ์บทคดั ยอ่ ของเอกสารทน่ี ่ี โดยปกตแิ ล้ว
บทคดั ยอ่ คือสรุปแบบสนั้ ๆ เกี่ยวกบั เนอื ้ หาของเอกสาร]

jet

[เลือกวันท่ี]

หนว่ ยที่ 2 การเพม่ิ ประสิทธิภาพในองค์กร

การเพิม่ ประสทิ ธภิ ายในองค์กร

ประสทิ ธิผล (Effectiveness) หมายถงึ ความสาเรจ็ ในการท่สี ามารถดาเนินกิจการก้าวหนา้ ไปและ
สามารถบรรลุเป้าหมายตา่ ง ๆ ทีอ่ งค์กรตัง้ ไว้

ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) หมายถงึ การเปรยี บเทยี บทรัพยากรทีใ่ ชไ้ ปกับผลท่ีไดจ้ ากการทางานวา่ ดี
ข้ึนอยา่ งไร แคไ่ หน ในขณะที่กาลังทางานตามเปา้ หมายองค์กร

คุณภาพ หมายถงึ คณุ สมบตั ทิ กุ ประการของผลติ ภณั ฑห์ รืพฤติกรรมทกุ อยา่ งของการบริการ ที่
สามารถตอบสนองความต้องการ ความพงึ พอใจและความปรารถนาของลกู คา้ ได้อยา่ งสมบูรณ์

วิธกี ารใช้ตวั เกณฑว์ ดั ประสิทธภิ าพขององค์กร
1. เกณฑ์วัดผลตามเป้าหมาย
2. เกณฑก์ ารบรหิ ารประสิทธภิ าพเชงิ ระบบ
3. เกณฑ์การบริหารประสทิ ธภิ าพโดยอาศยั กลยุทธ์ตามสภาพแวดล้อมเฉพาะสว่ น
4. การใชว้ ธิ กี ารแข่งขันคณุ คา่ การสร้างองค์กรแห่งคณุ ภาพ

การท่ีองคก์ รจะไปสู่คุณภาพนัน้ จาเป็นต้องปรับองค์กร โดยท่วั ไปนิยมใช้ 3 วิธี คือ

1. การลดต้นทุน
2. การเพิม่ ผลผลติ อยา่ งตอ่ เน่ือง
3. การปรบั ปรุงคุณภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง

นิสัยแหง่ คุณภาพมี 7 ประการ ดงั น้ี

1. ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
2. การทางานเปน็ ทีม
3. การปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนือ่ ง
4. การมุ่งที่กระบวนการ
5. การศึกษาและฝึกอบรม
6. ประกนั คณุ ภาพ
7. การส่งเสริมใหพ้ นักงานมสี ่วนรว่ ม

กลยทุ ธก์ ารบรหิ ารเชงิ คุณภาพ เปน็ เพยี งการนาเสนอดงั น้ี

1. วงจร PDCA
2. ระบบ 5 ส หรือ 5 S
3. กลุ่มระบบ QQC (Quality Control Circle : QCC)
4. ระบบการปรบั รอ้ื (Re-engineering)
5. ระบบ TQM (Total Quality Management)
องคก์ รและการจดั การองค์กรความหมายขององคก์ ร ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ได้
นยิ ามความหมายของ “องคก์ ร” ไวว้ า่ องค์กรเป็นศูนย์รวมกิจกรรมทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ เปน็ หน่วย ถ้าเป็นงาน
สาธารณะ เรียกวา่ องค์กรบริหารสว่ นราชการ ถ้าเปน็ หนว่ ยงานเอกชน เรยี กว่า องค์กรบริหารธรุ กจิ ลักษณะ
ขององค์กร

องค์กรโดยท่วั ไป แบง่ ออกเปน็ 3 ลกั ษณะใหญ่ ๆ คอื
1. องค์กรทางสงั คม

2. องคก์ รทางราชการ

3. องค์กรเอกชน

โครงสรา้ งขององค์กร เป็นการมององค์กรในลกั ษณะท่ีเตม็ ท่ี ท่เี ก่ียวกับความสมั พนั ธ์ และบทบาท
หนา้ ทที่ ่ีเป็นระเบียบ เพ่อื การจดั การและบรหิ ารให้มปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด เพอื่ ความสาเรจ็ ขององค์กร

โครงสรา้ งขององค์กรจะประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ดงั น้ี มเี ปา้ หมายวัตถุประสงค์ มภี าระหน้าที่ มีการ
แบ่งงานกันทา มสี ายการบังคบั บัญชา มชี ว่ งการควบคุม มีความเอกภาพ

ประเภทขององคก์ ร องคก์ รจะมคี วามแตกต่างกันมากมาย ทั้งในดา้ นองค์ประกอบและวัตถปุ ระสงค์
ฉะนนั้ ในการแบ่งประเภทขององค์กร จงึ สามารถแบง่ ออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. องค์กรปฐมและมธั ยม

2. องคก์ รรูปนัยและอรปู นัย

เปา้ หมายขององค์กรเป้าหมายขององค์กร เป็นการกาหนดทิศทางการดาเนนิ งานขององคก์ ร โดยคอย
กาหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิ เมือ่ องคก์ รมเี ป้าหมายทีช่ ัดเจน จะทาใหม้ คี วามเขา้ ใจในการทางาน

เป้าหมายหลักขององค์กรโดยท่ัวไปแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ใหญ่ ๆ คอื

1. เป้าหมายทางเศรษฐกจิ หรือกาไร

2. เปา้ หมายเก่ียวกับการให้บรกิ าร

3. เปา้ หมายด้านสังคมการจดั การองค์กร ความสาคญั ของการจัดการองค์กร

องค์กรเปน็ ที่รวมของคนและงานตา่ ง ๆ เพ่อื ให้พนักงานขององคก์ รปฏิบตั ิงานได้อยา่ งเตม็ ทเ่ี ตม็
ความสามารถ จงึ จาเป็นตอ้ งแบ่งหน้าทีก่ ารทางาน และมอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบตามความสามารถและความ
ถนัด จงึ เหน็ ว่าการจัดองค์มีความจาเป็น และกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์หลายด้าน ดังน้ี

ประโยชน์ตอ่ องคก์ ร

ประโยชนต์ ่อผ้บู ริหาร

ประโยชน์ตอ่ ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน

หลักการจดั องคก์ ร เปน็ กระบวนการสรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างหนา้ ท่ีงานของบุคคลากร และปัจจยั
ทางกายภาพตา่ ง ๆ ขององค์กร หลกั การจดั องค์กรคร้ังนีจ้ ะเนน้ ไปทรี่ ะบบราชการ โดยมีหลักสาคญั ดังน้ี

การกาหนดหนา้ ท่ีการงานการแบ่งงานสายการบังคับบญั ชาอานาจการบงั คับบัญชาชอ่ งการควบคมุ
แผนภูมอิ งคก์ รสิง่ ท่ีต้องคานงึ ถึงในการขัดองค์กรนกั วชิ าการไดก้ ลา่ วถงึ หลกั การจดั องคก์ รไวห้ ลายประการ แต่
โดยสรปุ ไดด้ ังน้ี

1. องคก์ รมเี ปา้ หมาย นโยบาย และแผนงานในการดาเนินงานอยา่ งชดั เจน เพ่อื ใหเ้ พื่อนร่วมงานหรอื
สมาชกิ องคก์ รทราบ ซ่งึ จะทาให้การบริหารองคก์ รดาเนินไปด้วยความราบรน่ื และมีประสทิ ธิภาพ

2. องค์กรตอ้ งจดั ใหม้ ศี ูนย์กลางในการอานวยการท่ีมแี ระสิทธภิ าพ มคี วามรับผิดชอบและอานวยการ
โดยตรง

3. องคก์ รจะตอ้ งระบหุ น้าทก่ี ารงาน ความรบั ผิดชอบของสมาชิกแตล่ ะคนให้ชดั เขนมกี ารแบง่ แยก
หน้าท่ีตามความเหมาะสม ตรงตามความรู้ความสามารถ

4. องค์กรตอ้ งจัดระบบการทางานอย่างเหมาะสม มีเทคนิคในการควบคมุ งาน และการประสานงานใน
องค์กร

5. องค์กรตอ้ งมรี ะบบการสื่อสารท่ดี ี มหี ลกั อานวยการ การวินิจฉัยสง่ั การทดี่ ี

ข้นั ตอนการจัดองค์กร การจดั องคก์ รมีประสิทธิภาพน้นั เออรเ์ นสต์เดล ได้เสนอแนะไว้
เบอื้ งต้น 3 ข้ันตอน ดังนี้

1. การกาหนดรายละเอียดของงาน

2. การแบ่งงานให้แตล่ ะคนในองค์กรไดร้ ับผดิ ชอบตามความเหมาะสม

3. การประสานงาน

พฤตกิ รรมในองค์กรพฤติกรรมในองคก์ ร องคก์ รจะสรา้ งรูปแบบของการดาเนนิ งาน ตลอดจนการ
ปฏบิ ัตงิ านตา่ ง ๆ ข้นึ เพ่ือสนองตอบการเปล่ยี นของส่ิงแวดลอ้ ม และสภาวะทีเ่ กดิ จากการดาเนนิ งานของบคุ คล
และของกลมุ่ หรืออาจจะกล่าวอีกนัยหน่งึ ว่า รปู แบบเฉพาะในการดาเนินงานท่ีองค์กรสร้างขึน้ น้นั เป็นผลมา
จากการปรับองคป์ ระกอบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันและกันได้การศึกษาพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ในองค์กร 3 ระดบั คือ

พฤตกิ รรมบคุ คล (Individual Behavior)
พฤตกิ รรมกลมุ่ (Group Behavior)
พฤตกิ รรมองคก์ ร (Organization Behavior)

ความพงึ พอใจในการทางาน เป็นเรื่องทไี่ ด้รบั ความสนใจมาก ทัง้ จากนักจติ วิทยา นักวชิ าการ และนัก
บรหิ ารงาน ผู้ปฎิบัตทิ ม่ี ีความพึงพอใจในการทางาน ย่อมปฏบิ ัตงิ านได้ประสบผลสาเร็จมากกว่าผูท้ ่ีไมพ่ ึงพอใจ
ในการปฏิบตั ิงาน ดงั น้ัน ในการบริหารงานจาเป็นจะตอ้ งศึกษาให้เขา้ ใจ เพราะความพึงพอใจในการทางาน
เปน็ กระบวนทางจติ วทิ ยาท่ีไมส่ ามารถมองเห็นและสงั เกตได้ เพยี งอาศยั การคาดคะเนและสังเกตพฤตกิ รรม
เท่านั้น

ความพึงพอใจในการทางาน หมายถึง สภาวะของอารมณ์ ความรู้สกึ และเจตคตขิ องบุคคลท่มี ีตอ่ งาน
ทเ่ี ขาปฏิบตั ิอยู่ โดยแสดงออกมาเปน็ ความสนใจ กระตือรอื รน้ เตม็ ใจและสนุก ร่าเรงิ เปน็ ต้น เม่อื ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
เกิดความพงึ พอใจในงานทีท่ า เขากจ็ ะมคี วามพยายาม อุตสาหะ มีความสุขในการทางาน และความม่งุ ม่นั จน
งานนนั้ สาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์

ความสาคัญของความพึงพอใจในการทางาน ผู้บริหารงานควรให้ความสนใจตอ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านหรือ
ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา โดยให้ผูป้ ฏบิ ัตงิ านไดท้ ราบเป้าหมาย นโยบาย มสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจ การวางแผนและ
พฒั นา ไดร้ บั การยอมรับและมคี วามเปน็ กนั เอง ส่งิ เหลา่ นีเ้ ปน็ แนวการบรหิ ารที่ให้ความสาคัญต่อผู้ปฏบิ ตั ิงาน
จงึ ทาใหผ้ ู้ปฏบิ ตั งิ านมคี วามรู้สึกทดี่ ีและมีความพงึ พอใจในการทางาน

องคป์ ระกอบทม่ี ีผลต่อความพงึ พอใจในการทางานการทางานเพ่อื ใหพ้ นักงานเกดิ ความพึงพอใจในงาน
น้นั มอี งค์ประกอบมากมายทีส่ ่งเสรมิ สนับสนุนให้เกิดความพึงพอใจ องคป์ ระกอบพนื้ ฐานทีส่ าคัญ ที่มีผลตอ่
ความพงึ พอใจ มีดงั ตอ่ ไปนี้

งาน คือ พนักงานมีความชอบ ความถนดั และความสนใจในงานนั้น

ค่าจา้ ง คือ ค่าจ้างแรงงานในอัตราทเ่ี หมาะสม

โอกาสท่ไี ด้เลอ่ื นตาแหน่ง คอื ผูบ้ ริหารจะต้องมีวธิ ีการทด่ี ใี นการพิจารณาการเล่อื นตาแหน่งของ
พนักงานเพือ่ ความยุตธิ รรม

การยอมรบั คือ ท้งั ผูบ้ ริหาร และเพือ่ นร่วมงาน หากมกี ารยอมรบั ในบทบาท ย่อมทาให้บคุ คลเกดิ
ความพึงพอใจในการทางาน

สภาพการทางาน คือ สภาพโดยทวั่ ไปของสถานทีท่ างาน เช่น ความสะอาด ความเปน็ ระเบียบ
กวา้ งขวางโอ่โถง เปน็ ตน้ ผลประโยชน์

สวสั ดกิ าร คือ ส่ิงท่พี นกั งานได้รบั ตอบแทนจากการปฏิบัติงาน นอกเหนือจากคา่ จา้ ง เช่น บาเหน็จ
บานาญ คา่ รักษาพยาบาล ค่าที่พกั เปน็ ตน้

หวั หนา้ งานหรอื ผบู้ ังคับบญั ชา คือ ลกั ษณะของหวั หน้างานเปน็ แบบใด มีทกั ษะการบรหิ ารงานมาก
นอ้ ยเพยี งใด รูจ้ กั หลกั จิตวทิ ยา หลกั มนุษยสัมพนั ธ์ และเม่อื มีปญั หา หัวหน้าสามารถทจ่ี ะแก้ปญั หาหรือให้
คาแนะนาแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านไดเ้ พียงใด หากหัวหนา้ ดี ยอ่ มทาใหผ้ ูร้ ว่ มงานเกิดความพงึ พอใจ

เพ่อื นร่วมงาน คือ หากมีเพื่อนรว่ มงานท่ีดใี นองคก์ ร การทางานไปกันได้ ยอ่ มสง่ ผลทาให้ผู้ปฏิบัตงิ าน
เกิดความพึงพอใจในงานมากขึน้

องคก์ รและการจดั การ คอื หากองค์กรมีวิธีการจดั การ จดั ระบบการบริหารดี ย่อมสรา้ งความพึงพอใจ
ในงานได้เช่นกัน ฉะนน้ั การสร้างภาพลักษณ์ของหนว่ ยงานจงึ เป็นเรื่องสาคัญวิธีการเพม่ิ ปรบั ปรุงประสิทธภิ าพ
การทางาน

วธิ ีการที่จะปรับปรุงประสทิ ธิภาพการทางานของบุคคลมี 3 วิธกี าร คือ
1. วธิ ีการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Managerial Approach)
2. วธิ กี ารมนษุ ยสมั พันธ์ (Human Relation Approach)
3. วธิ กี ารบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ (Human Resources Management)
การสารวจเพอ่ื การวินิจฉยั งาน Hackman และ Oldman ไดเ้ สนอแนะวา่ การมภี าวะทางจิตวิทยาที่
สาคญั และจาเปน็ ในการทที่ าใหบ้ ุคคลมแี รงจูงใจจะทางานอยู่ 2 สภาวะ คอื
สถานภาพทางจิตวิทยา มผี ลทาให้บคุ คลมแี รงจงู ใจทจ่ี ะทางาน จะประกอบด้วย
- ประสบการณด์ ้านการมคี วามหมายของงาน
- ประสบการณ์ด้านความรบั ผดิ ชอบของงาน
- การร้ผู ลการกระทาคุณลักษณะเฉพาะของงาน จะประกอบด้วย
- ทักษะของงาน
- ลกั ษณะเฉพาะของงาน
- ความสาคัญของงาน
- ความเป็นอสิ ระ
- ข้อมูลป้อนกลับ
งานวนิ จิ เกย่ี วกบั ความพึงพอใจในการทางาน มกี ารศึกษาวนิ จิ เกีย่ วกบั ความพึงพอใจไว้มากมาย จาก
การศึกษาผลการวนิ จิ ต่าง ๆ ซึง่ สรุปและวิเคราะหผ์ ลการศึกษาวนิ ิจเกย่ี วกบั ความพึงพอใจในงานได้เปน็
ประเดน็ ต่าง ๆ ดังน้ี
แรงจงู ใจภายในของบุคคล เชน่ ความทะเยอทะยาน ความรบั ผดิ ชอบ ความมุง่ มั่น เป็นต้น
ความเปน็ อสิ ระ และการให้การยอมรับในบทบาทหนา้ ทกี่ ารบังคับบญั ชา และการบริหารแบบ
ประชาธปิ ไตยบรรยากาศการทางานขององค์กร และสภาพแวดลอ้ มการทางาน

การพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรในองคก์ ร

การรู้จักตนเองความรสู้ กึ นกึ คิดและภาพการมองท่แี ตกตา่ งกนั ระหวา่ งบคุ คล 2 คน หรือมากกวา่ นั้น
เปรยี บเหมือนกระจกเงาบานใหญ่ที่สอ่ งภาพทเี่ ป็นความจริงของตนเอง การยอมรับคาวิจารณค์ วามคดิ เหน็ ของ
บคุ คลอื่นอยา่ งมเี หตุผล ทาให้เราสามารถทาการบ้านให้กบั ตัวเอง และรู้จกั ตวั เองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เช่น เรามี
จุดอ่อนท่ีโกรธง่าย อารมณ์ขุ่นมวั พดู จามะนาวไมม่ ีนา้ ใบหนา้ ไมส่ ร้างความสมั พันธ์ พดู คาด่าคา การแสดง
เหล่าน้ีเปน็ อปุ สรรคในการสร้างมนุษยส์ ัมพนั ธ์ จาเป็นอยา่ งย่ิงตอ้ งปรับปรุงเปลีย่ นบคุ ลกิ ภาพใหม่ ดังน้นั

หลักการในการรู้จกั ตนเอง ประกอบดว้ ยสิง่ สาคญั 6 ประ การ คอื
องคป์ ระกอบของการเรยี นรู้ตนเองการรู้จกั ตนเอง เป็นการพิจารณาภาพท่เี ปน็ จรงิ จากกระจกเงา
สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ บคุ ลิกภาพทแี่ ท้จริง
การรจู้ กั ตนเองในทกุ สถานการณ์ ทาให้เราสามารถควบคมุ อารมณ์ จติ ใจ คาพูด การแสดงออก ได้
เหมาะสม ในการสรา้ งความสัมพันธ์ถาวร องคป์ ระกอบการเรยี นการปรบั บคุ ลิกภาพเพ่ือพฒั นาตนเองมนุษย์
ทกุ คนจะตอ้ งอยู่ร่วมกนั ในสงั คม จะอยู่อย่างโดดเดย่ี วไมไ่ ด้
การอยู่ร่วมกันตอ้ งปรับบุคลิกภาพและการพัฒนาตนเอง เพ่ือสร้างความสมั พันธท์ ่ีดีต่อกัน ทุกคนก็จะ
อยูอ่ ย่างมีความสขุ
การปรับบุคลกิ ภาพเพ่ือพฒั นาตนเอง ประกอบด้วยลักษณะตอ่ ไปนก้ี ารปรบั ปรุงเพ่ือพฒั นาตนเอง
มนุษย์เราเกดิ มายอมรบั ว่ามที ั้งส่วนดีและสว่ นเสยี ท่ีเป็นเชน่ นีก้ เ็ พราะว่ามสี ถานการณต์ า่ ง ๆ มากระทบ จงึ ทา
ให้เกดิ พฤติกรรมออกมาต่าง ๆ หากพฤตกิ รรเป็นส่งิ ไมด่ ี ไมเ่ หมาะสมเรากส็ ามารถปรบั ปรุงพฒั นาตนเองได้
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมดลุ ทางสังคมในยุคโลกาภวิ ัฒน์ โดยหลักการแล้ว หากจะปรับปรุงเพ่อื ระสทิ ธภิ าพของงาน
จะต้องมขี น้ั ตอนสาคัญในการปรบั ปรงุ พัฒนาตนเอง 4 ขั้นตอนดงั น้ี
1. ตระหนักถงึ ความสาคญั และความจาเป็นทต่ี ้องพฒั นาตนเอง
2. มีความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าทจ่ี ะพัฒนาตนเอง
3. วเิ คราะห์ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของตนเอง
4. เพ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งเป็นระบบระเบียบ
กลยทุ ธ์ในการพฒั นาตนเองเพ่ือใหก้ ารพัฒนาตนเองประสบผลสาเร็จ จึงขอเสนอหลกั การเพ่มิ เติม
เพือ่ การพัฒนาตนเองไปถงึ จดุ ที่ควรจะเปน็ และพยายามหาวิธีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ โดยบุคคลจะต้อง
เรียนรู้ตวั เราใหด้ ีกอ่ น แล้วจึงนาความเข้าใจกบั สงิ่ ทเ่ี รารู้ จากตัวบคุ คลจากส่งิ ทีต่ ัวเราที่แทจ้ รงิ ก่อน เมอ่ื เปน็
เชน่ นจี้ ะทาให้เราสามารถมองเห็นข้อบกพรอ่ ง แล้วจงึ ยดึ หลักเพอ่ื ปฏิบตั ิตนเอง เพอื่ ให้ประสบผลสาเรจ็ ในการ
ประกอบอาชพี หรอื การดาเนินชวี ติ ดงั น้กี ารเป็นผู้มจี ิตใจสงบการเปน็ ผู้มีจติ ใจเบกิ บานความเป็นผู้ไม่หวาดหว่ัน
ต่อความยากลาบากเปน็ ผู้ตรงต่อเวลา ความเป็นผมู้ คี วามเช่อื มนั่ ในตนเองความเปน็ ผลู้ ะเอียดรอบคอบการเป็น
คนขยนั ขันแข็งความเป็นผเู้ ชอ่ื ถือของผอู้ นื่ การสรา้ งทมี งานความสาเร็จของงานขนึ้ อยู่กบั ปัจจัยการทางานเปน็
ทีม ภารกจิ สาเร็จของนกั บริหารจัดการคอื การพยายามทาความเขา้ ใจกับสว่ นประกอบของทีมงาน การ
กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของทมี งานใหช้ ดั จน และการทางานอย่างต่อเนอื่ ง เพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามเป้าหมาย
ขององค์กรนกั บริหารจะต้องไมล่ ืมความสัมพันธล์ กั ษณะระหว่างคณุ ลักษณะของการทางานเปน็ กบั
ความสาเร็จงานบนพื้นฐานงา่ ยๆ ดังน้ี
1. การสรา้ งทมี งาน (Team-Building) คอื การสร้างทมี งาน
2. การทางานเป็นทมี (Team- Wok) คอื วัตถุประสงคใ์ นการสร้างทีมงานลักษณะงานที่ต้องการ
สรา้ งสรรคใ์ หม่ ๆ จะต้องจดั ระบบในเรอ่ื งต่าง ๆ ได้แก่ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารกระบวนการแกป้ ญั หา และการ
ทางานเปน็ ลกั ษณะงานประจา และการบริการที่อยภู่ ายใตส้ ถานการณท์ ี่เปล่ียนแปลงอยูต่ ลอดเวลานี้ เรา
จะต้องใช้ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละสตปิ ญั ญา ในอนั ทจี่ ะเร่มิ สรา้ งสงิ่ ใหม่ ๆ รวมทง้ั เตรยี มรบั มือกับเหตุการณ์ทีไ่ ม่
คาดคิด และยังตอ้ งอาศยั ความสามารถอยา่ งเต็มท่ี เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์รว่ มกนั ดังนัน้ การตระหนักถึงความ
จาเปน็ ในการทางานรว่ มกนั การสรา้ งทมี งานจึงมีวตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้ เพอ่ื สร้างความไว้วางใจในหมู่สมาชิก
ทีมงานเดียวกนั ดว้ ยการเหน็ คณุ คา่ ของคน และยอมรบั ในศกั ยภาพของแต่ละบุคคลการทางานเปน็ ทมี มี
ประสทิ ธิผลมากขึน้ เมอื่ สมาชิกทมี ไดเ้ สริมสรา้ งทกั ษะความเช่ียวชาญมากขึ้นประสทิ ธภิ าพการทางานจะ
เพิ่มข้นึ เม่ือการแสดงความคดิ เห็นในลักษณะข้อมูลป้อนกลับขอทีมงานถือวา่ เป็นสิ่งจาเป็นคนเราจะทางาน

รว่ มกนั ได้ดีข้ึน เมอื่ มกี ารเปิดเผยและจรงิ ใจต่อกัน โดยเฉพาะตอนท่ีมปี ญั หาเพ่อื ให้การสนบั สนุนดา้ นพัฒนา
บคุ ลกิ ภาพ รูจ้ ักเปดิ หนา้ ตา่ งการเรยี นรู้ โดยรับฟงั ความคดิ เหน็ ข่าวสารเพื่อการพฒั นาทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา
ร่วมกัน เปน็ การชว่ ยลดการขัดแยง่ ระหว่างบคุ คลเน่อื งจากสมาชิกของทีมงานได้เรยี นรูถ้ งทกั ษะความสมั พนั ธ์
ระหว่างบุคคลมกขึ้นสง่ เสริมความริเรมิ่ สร้างสรรคใ์ นหม่สู มาชกิ ของทมี และเปน็ การสรา้ งความพงึ พอใจในการ
ปฏิบตั งิ านลกั ษณะของทีมงานทีด่ ที มี งานทด่ี ี จะมีความสมดลุ ท่เี หมาะสมองทกั ษะความสามารถ รวมท้ังความ
พอใจทกุ คนสามารถแสดงออกดว้ ยความซ่ือสัตยแ์ ละเปิดเผย การสนทนาเกย่ี วกบั งานจะเหมือนกนั ท้งั ภายใน
และภายนอก องคก์ รมีการเผชิญหน้าและเปดิ เผย และใช้ส่อื กลางสาหรับการเรียนรู้ และเมอื่ เผชญิ กับสถาน
การที่ยากลาบาก ดงั นนั้

การสรา้ งทีมงานท่ีดคี วรมลี กั ษณะ ดงั น้ี ประโยชนข์ องการทางานเปน็ ทีมงานดมี คี ุณภาพเพม่ิ ผลผลติ
ของตนลดความขัดแย้งในองคก์ รร้บู ทบาทหนา้ ทข่ี องตนเองปลูกฝังความรับผดิ ชอบสร้างมติ รสัมพนั ธ์พฒั นา
ความคิดสร้างสรรค์

บุคลกิ ภาพแนวคดิ เกีย่ วกับบุคลิกภาพบุคลิกภาพ

มาจากคาบาลี 2 คา คือ บคุ ลิก กบั ภาวะหรือภาพ เม่อื นามารวมกันหรือสมาสกันเปน็ บคุ ลกิ ภาพ
ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่าPersonality แปลว่า ลักษณะเฉพาะตวั ของบุคคลซ่ึงแตล่ ะคนจะมีลักษณะเฉพาะไม่
ตรงกนั นอกจากน้ี นักจิตวทิ ยาได้ให้ความหมายบคุ ลกิ ภาพไว้หลายทศั นะด้วยกนั เช่น

บคุ ลกิ ภาพ คอื ผลรวมของพนั ธกุ รรม และประสบการณ์ท้ังหมดของบคุ คล
บคุ ลกิ ภาพ คือ ลกั ษณะรวมของบุคคล และวธิ ีการแสดงออกทางพฤตกิ รรม ซ่ึงกาหนดการปรับตวั
ตามแบบฉบบั ของแตล่ ะบุคคลต่อสิง่ แวดลอ้ ม
บุคลิกภาพ คอื กระบวนการสรา้ งหรือการจัดส่วนประกอบของแตล่ ะคน ท้ังภายในและภายนอก
(จติ ใจและร่างกาย) ซงึ่ บุคลกิ ภาพน้จี ะทาหนา้ ทเี่ ปน็ เคร่อื งกาหนด ตดั สนิ พจิ ารณาลกั ษณะพฤตกิ รรม และ
ความนกึ คิดของบคุ คลนั้น
สรปุ บคุ ลิกภาพ คือ ลักษณะพิเศษเฉพาะของบคุ คลแต่ละบคุ คล อันทาให้บคุ คลน้นั แตกตา่ งจาก
บุคคลอื่น ๆ
บุคลกิ ภาพประกอบดว้ ยรปู สมบตั แิ ละคณุ สมบัติ องค์ประกอบของบุคลิกภาพ บคุ ลิกภาพ ประกอบ
ไปดว้ ยลักษณะต่าง ๆ ดังน้ี
1. ลักษณะทา่ ทาง
2. ลกั ษณะทางใจ
3. ลกั ษณะทางสังคม
4. ลกั ษณะทางอารมณ์
ลักษณะของผมู้ ีบุคลกิ ภาพทดี่ บี คุ ลิกภาพที่ดี มักจะเป็นคนท่มี พี น้ื ฐานดา้ นสุขภาพจิตดี ทาให้มีการ
ปรับตวั ทีด่ ี และสง่ ผลถงึ การมบี ุคลิกภาพที่ดดี ้วย
ผู้ที่มบี ุคลกิ ภาพที่ดี จะมี คณุ ลักษณะและความสามารถทางจติ ที่สาคัญ 6 ประการ ดงั ต่อไปนี้
1. ความสามารถในการรบั ร้แู ละเขา้ ใจสภาพความจริงอย่างถกู ตอ้ ง
2. การแสดงอารมณใ์ นลกั ษณะและขอบเขตที่เหมาะสม
3. ความสามารถในการสรา้ งความสัมพันธ์ทางสังคม
4. ความสามารถในการทางานท่ีอานวยคณุ ประโยชน์
5. ความรกั และการตอ้ งการทางเพศ
6. ความสามารถในการพัฒนาตน

การพัฒนาบุคลกิ ภาพ คาว่า บคุ ลิกภาพ มาจากคาว่า Personality แปลวา่ ลักษณะเฉพาะตัวของ
บุคคล ซ่ึงไมเ่ หมือนกัน ดังนน้ั บคุ ลกิ ภาพเราจงึ หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของเราแตล่ ะคน ซ่งึ ไม่มใี ครเหมอื น
และไมเ่ หมือนใคร บคุ ลิกภาพเปน็ เรอ่ื งเฉพาะบุคคล ไม่มีใครสามารถเลยี นแบบบุคลิกภาพผู้อน่ื ได้เหมือนทุก
อย่าง ทุกประการ และบคุ ลกิ ภาพสามารถปรับปรุงพฒั นาใหด้ ีขนึ้ ได้ประเภทของบุคลกิ ภาพท่ีควรปรับปรุง

บคุ ลิกภาพของบุคคลโดยทว่ั ๆ ไป แบ่งเปน็ 2 ประเภท
1. บุคลกิ ภาพภายนอก
2. บุคลกิ ภาพภายใน
บคุ ลกิ ภาพภายนอก หมายถึง ส่งิ ทส่ี ังเกตเหน็ ไดช้ ดั หรอื สมั ผัสได้ การปรับปรงุ แกไ้ ขกท็ าไดง้ า่ ย ใช้
เวลานอ้ ย และวัดผลได้ทนั ที ไดแ้ ก่รูปรา่ งหน้าตาการปรับปรงุ การแต่งกาย การปรบั ปรงุ ในเรื่องการ
ติดตอ่ ส่ือสาร การปรับปรุงการพดู การปรบั ปรุงการฟัง
บุคลิกภาพภายใน หมายถงึ สิง่ ท่ีมองไม่เห็น และ สมั ผสั ยาก ต้องมโี อกาสทางานรว่ มกัน หรอื อยู่
ดว้ ยกันนานๆ บคุ ลกิ ภาพภายในจงึ จะแสดงออกมา การแก้ไขเปลย่ี นแปลงค่อนขา้ งยาก ใช้เวลานาน และวดั ผล
ลาบาก
บคุ ลกิ ภาพภายนอก ไดแ้ ก่ความกระตอื รือร้นความซ่ือสตั ยค์ วามสภุ าพความร่าเรงิ และความรว่ มมอื
ความแนบเนียนความยับย้งั ชั่งใจความจริงใจจนิ ตนาการ

กลยทุ ธก์ ารเพ่ิมประสิทธภิ าพการทางานในองคก์ รด้วยการสร้างบรรยากาศในการ
ทางาน

ความหมายของกลยุทธ์ในองคก์ ร หมายถงึ การที่องค์กรไดแ้ สดงความสมั พันธ์กบั สภาพแวดลอ้ ม โดย
ใช้วธิ กี ารบรหิ ารทอ่ี งคก์ รไปเก่ยี วขอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทมี่ กี ลุม่ ต่าง ๆ ตัวบุคคล องคก์ รอื่นและสถาบนั ประเภท
อื่นทั้งหลายที่อยูภ่ ายในองค์กรและนอกองค์กร

การบริหารองคก์ รให้มปี ระสทิ ธิภาพมเี รอื่ งทีส่ าคัญทต่ี ้องพิจารณา 2 ประการคือ
ประการแรก ผู้บรหิ ารต้องเขา้ ใจถงึ ลักษณะสภาพแวดลอ้ มทเี่ กี่ยวขอ้ ง
ประการท่สี อง ผู้บริหารตอ้ งเข้าใจว่า องค์กรสัมพันธ์กับสภาพแวดลอ้ มอย่างไร โดยพิจารณาในแง่ของ
การพจิ ารณาปัจจยั สาคัญต่าง ๆ
ตามความหมายของพฤติกรรมองค์กรการจัดชุดของทรัพยากรทจี่ ะใชง้ านในองคก์ ร ในการจัดชุด
ทรพั ยากรเพ่ือใช้ในการบริหาร องคก์ รจะมีวิธกี ารจัดท่แี ตกตา่ งกันออกไป โดยทรัพยากรต่าง ๆ สามารถทจ่ี ะ
นามาพลิกแพลงและจัดทาข้ึนเพอ่ื สนองตอ่ แผนงานในรูปแบบทีแ่ ตกตา่ งกันออกไปสุดแต่ความเหมาะสม เช่น
อาจจะจัดเพ่อื ม่งุ ใหเ้ กดิ การสนใจตอ่ ผลิตภัณฑ์ หรอื จดั เพอื่ ทมุ่ เทมุ่งสตู่ ลาดใดตลาดหน่งึ ท่ีตง้ั เป้าหมายไว้ หรือ
อาจจะจัดขึ้นเพือ่ ทุ่มเทไปกบั เทคโนโลยีอย่างใดอยา่ งหน่งึ เป็นพิเศษ หรอื อาจจะนามาใชก้ ระจายไปยังสง่ิ ต่าง ๆ
ทีก่ ลา่ วมาให้ครบทุกดา้ นกลยทุ ธใ์ นฐานะเป็นเครื่องมือสาหรบั ใชจ้ ัดใหส้ ภาพแวดลอ้ มสอดคลอ้ งกบั ทรพั ยากร
การกาหนดจุดม่งุ หมายและนโยบายทเี่ กีย่ วกบั ความตอ้ งการจะของบรษิ ทั และธุรกจิ ท่บี ริษทั จะดาเนินน้นั เอง
จากท่ีกลา่ วมา ถา้ หากนามากาหนดเป็นกรอบการคดิ เกี่ยวกับกลยทุ ธแ์ ล้ว จะปรากฏตามรูปแบบต่างๆ
องคก์ รจะมีการพจิ ารณาวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม เพือ่ ทีด่ ูถงึ ขอ้ จากดั ตา่ งๆ ความตอ้ งการและโอกาสต่างๆ ที่มี
อยู่ การตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มนี้ ในบางคร้งั อาจจะมกี ารวเิ คราะหอ์ ยา่ งละเอียดและจัดทาเปน็ ระบบกลยุทธ์
การบรหิ ารทท่ี รงประสทิ ธิภาพ ปญั หาหนกั อกของผูบ้ ริหารท่เี ผชิญอยู่ กค็ ือ ปญั หาประสิทธิภาพทางการบริหาร
โดยเฉพะในด้านที่เกีย่ วกับ ผลผลติ ทีต่ กตา่ กวา่ เดิม กลยุทธ์การบริหารท่ที รงคุณภาพน้ี คอื การมีประสทิ ธิผล
ทีส่ ามารถกาหนดเป้าหมายทีด่ ี และสามารถบรรลุผลสาเรจ็ ในเปา้ หมายน้ันๆ ได้ และการมปี ระสิทธภิ าพ ท่ี

สามารถทาสาเร็จในเปา้ หมายเหลา่ นน้ั โดยมตี น้ ทุนค่าใชจ้ ่ายตา่ ท่สี ดุ ด้วย ลักษณะของกลยทุ ธก์ ารบริหารท่ีทรง
ประสทิ ธภิ าพทีจ่ ะทาใหก้ ารบรหิ ารสามารถประสบผลสาเรจ็ ไดอ้ ยา่ งดใี นทุกสถานการณ์

เง่อื นไขของสภาพแวดลอ้ มกลยุทธ์การบริหาร การบริหารเชงิ รวมที่เปน็ ภารกจิ ทางการบรหิ ารของ
ผบู้ รหิ าร

บรรยากาศในองคก์ ร จะมีผลต่อประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารองคก์ รให้บรรลเุ ปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ ดังนี้
ความไว้วางใจ ความเช่ือถอื และความม่ันคงของบุคลากรทุกระดบั การมสี ่วนร่วมในการตดั สินใจการ
ให้การสนบั สนนุ ความเปดิ เผยในการสือ่ สารจากเบอ้ื งบนสเู่ บอ้ื งล่างการรับฟงั ความคิดเหน็ จากเบอ้ื งล่างสู่เบอื้ ง
บน
นกั วชิ าการหลายทา่ นได้เสนอบรรยากาศขององคก์ รท่มี ีผลกระทบตอ่ การรับรูท้ ่ีนาไปส่กู ารลงความ
คิดเหน็ เกย่ี วกบั บรรยากาศขององคก์ ร
บรรยากาศในองค์กรและความพึงพอใจในการทางาน จะนาไปสคู่ วามพึงพอใจในการทางาน เม่ือ
บคุ ลากรมีความสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งกัน มคี วามเข้าใจในวตั ถุประสงค์ขององคก์ รเป็นอยา่ งดี มคี วามไว้เน้อื เชอ่ื
ใจกนั และกนั สูง ย่อมส่งผลถึงการมบี รรยากาศในการทางาน มคี วามพึงพอใจในการทางานมากขน้ึ ผลงานดีขนึ้
โดยท่ีบุคลากรไมเ่ บอ่ื หน่ายในการทางาน และปฏิบตั ิหน้าท่ที ่ีไดร้ ับมอบหมายไดเ้ ปน็ อย่างดี
การสรา้ งบรรยากาศในองคก์ รกบั ความก้าวหน้าของบุคลากร และการพัฒนาองค์กรจาเปน็ ต้องมีลาดบั
ขนั้ ตอนในการดาเนนิ งาน เพอ่ื นาไปสคู่ วามสาเรจ็ ขององคก์ ร ซ่งึ พอสรปุ ได้ คอื
องคก์ รควรจะกาหนดแผนระยะยาว ซง่ึ ในแผนน้ันจะต้องมีเป้าหมาย และวัตถุประสงคเ์ ฉพาะเจาะจง
องคก์ รจะตอ้ งกาหนดความต้องการด้านกาลงั คนจากวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมาย เพอ่ื บคุ ลากรคน
ปัจจุบันจะได้เตรียมตัว หรอื อาจแสวงหาความรเู้ พ่มิ เตมิ เพ่ือความกา้ วหน้าในการทางานของเขา
องคก์ รควรทาการสารวจบุคลากรที่มีอยู่ เพ่ือจะไดร้ ูว้ า่ ปจั จุบันมกี าลงั คนลกั ษณะและคุณสมบตั ิ
อย่างไร
องค์กรควรคานึงถึงกาลังคนทีม่ ีปัจจบุ นั กับความตอ้ งการกาลังคนขององคก์ รในกิจการงานท่ีสาคัญ
ตา่ ง ๆ เพ่อื จะได้จัดคนให้เหมาะสมกับงานหรือหนา้ ที่
องค์กรควรจะกาหนดโครงการฝกึ อบรมตามความตอ้ งการ เพ่ือสง่ เสรมิ บุคลากรใหม้ ีความกา้ วหนา้ ใน
การทางาน หรือปรบั ตวั ให้ทนั กบั เทคโนโลยสี มยั ใหม่ หรือการสรรหาบคุ ลากรเพิม่ เตมิ ตามความจาเป็นของ
องค์กร
องคก์ รควรจะสือ่ สารบอกกลา่ วให้บุคลากรรู้ถึงความต้องการกาลงั คนประเภทต่าง ๆ เพ่อื ใหบ้ คุ ลากร
ได้มีความกระตือรอื ร้นในการพฒั นาตนเองเสมอ
องคก์ รควรจดั รับสมัคร สมั ภาษณ์ คัดเลอื ก และตระเตรียมบุคลากรให้อยู่ในสภาพพรอ้ มท่ีทางาน
จดั ทาคาบรรยายลกั ษณะงานไวอ้ ยา่ งชดั เจน วางแผนงานให้เหมาะสมตามสภาพกาลังคนทีม่ อี ยู่ และทีร่ บั เขา้
มาใหม่
องค์กรควรมีระบบตรวจสอบการส่ือภายใน เพ่อื รักษาบรรยากาศขององค์กร

การสื่อสารในองค์กร

ความหมายของการสื่อสารในองค์กร
การส่อื สารในองคก์ ร หมายถึง กระบวนการในการแลกเปลีย่ นข่าวสารของหน่วยงานกับบคุ ลากรทกุ
ระดบั ภายในองคก์ ร ซ่งึ มีความสมั พนั ธก์ นั ภายใตส้ ภาพแวดล้อม บรรยากาศขององค์กร และสังคม ซ่ึงสามารถ
เปลยี่ นแปลงไปไดต้ ามสถานการณ์ กระบวนการสอื่ สารการส่อื สารให้เปน็ ระบบแล้ว คงจะชว่ ยให้เขา้ ใจการ
ส่ือสารได้ดยี งิ่ ขึน้ ด้วยเหตุนี้ กระบวนการส่ือสารประกอบดว้ ย

แหลง่ ขอ้ มลู คือ แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูลขา่ วสาร หรอื เป็นต้นตอของแหลง่ ขอ้ มลู ข่าวสารน่นั เอง
ขา่ วสาร คอื เนอื้ หาสาระท่ีตอ้ งส่งไป
ผู้สง่ คือ บุคคลทจ่ี ะเปน็ ผดู้ าเนนิ การส่งข่าวสาร
ผรู้ ับ คอื ผเู้ ปน็ เป้าหมายในการรับขา่ วสาร ซ่ึงถือวา่ เปน็ เปา้ หมายสดุ ทา้ ยของการสอื่ สาร
ประเภทของสือ่ ท่ใี ชใ้ นการส่อื สารในองคก์ รส่อื หรอื ช่องทาง ใชเ้ พ่ือให้ขา่ วสารนน้ั ไหลหรือถกู พาไปยงั
ผรู้ บั สาร พอจะแบ่งออกได้3 ประเภท ดังนี้
1. ประเภทการใช้ภาษา ไดแ้ ก่ การพูด คาพดู ซึ่งการใช้ภาษานบั วา่ เป็นการสอื่ สารทใี่ ช้กันมาก
2. ประเภทไมใ่ ช้ภาษา ได้แก่ สัญลกั ษณ์ การเขียนข้อความ ภาพ หรือเครื่องหมายตา่ งๆ เป็นต้น
3. ประเภทอาศยั การแสดง/พฤตกิ รรม

รูปแบบของการสอ่ื สาร

การสอ่ื สารโดยทว่ั ๆ ไปแลว้ สามารถแยกรปู แบบออกไดด้ งั นี้
- การส่อื สารภายในตวั บุคคล
- การตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งบุคคล
- การสื่อสารแบบกลุม่ ใหญ่ แบบนไี้ ม่มใี ห้เหน็ มากนัก แต่กม็ ีบางงานใช้การส่อื สารภายในองค์กร
- การส่ือสารมวลชน

ลักษณะการส่อื สารในองค์กร

โดยทั่วๆ ไปจะมรี ูปแบบอยู่ 3 ลักษณะ คอื
1. การสือ่ สารระหว่างบคุ คล หมายถงึ การสอ่ื สารกันระหว่างพนกั งานต่อพนกั งาน หรอื ระหว่าง

นายจา้ งกบั ลูกจา้ ง เปน็ ตน้
2. การสือ่ สารระหวา่ งหน่วยงานภายในองคก์ ร หมายถึง การสือ่ สารกนั ระหวา่ งหน่วยงาน ภายใน

องคก์ ร
3. การสื่อสารระหว่างองคก์ ร หมายถงึ การติดตอ่ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ระหวา่ งองคก์ รต่อองค์กรจุดมุ่งหมายของ

การสอื่ สารในองค์กรการส่อื สารในองคก์ รทเ่ี กิดขึ้นเพ่ือการประสานงาน และสรา้ งความเขา้ ใจตอ่ กนั ทัง้ น้ีก็
เพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

ฉะนั้น พอจะสรุปจดุ มงุ่ หมายไดด้ งั นี้เพือ่ การควบคุมการปฏิบตั งิ านได้ดีข้นึ เพอ่ื การใหข้ ้อมูลท่เี ป็น
พ้นื ฐานในการตดั สินใจเพอื่ การจูงใจและกระตุ้นให้เกดิ ความรว่ มมือ รว่ มใจกนั ทางานในองคก์ รเพือ่ การ
แสดงออกซึ่งความรู้สึกต่างๆ เพือ่ ใหห้ ัวหนา้ หรอื พนกั งานด้วยกันมีความเข้าใจกนั เทคนคิ การส่อื สารในองคก์ ร
เทคนิคในการสือ่ สาร จะมลี ักษณะสาคญั 3 ประการ คือ

1. เทคนคิ การสอ่ื สารจากระดบั บนสู่ลา่ ง ได้แก่ การสอ่ื สารจากผู้บงั คบั บัญชาลงสู่ผอู้ ยูใ่ ต้บังคบั บัญชา
2. เทคนิคการสอื่ สารจากระดบั ลา่ งส่บู น ได้แก่ การศกึ ษาจากผู้ใต้บงั คับบัญชา ติดต่อข้ึนตามคาสง่ั
ตามลาดบั ขน้ั จนถงึ ผู้บังคบั บัญชา
3. เทคนิคการสอ่ื สารระดบั เดียวกนั เชน่ ระหว่างเพ่ือนรว่ มงาน บุคคลในระดับเดียวกนั

รูปแบบของเครอื ขา่ ยการติดต่อสือ่ สาร

ในการจดั เครือข่ายการสื่อสาร เพื่อให้มกี ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารกัน สามารถแบง่ ออกได้ ดงั นี้
- แบบลกู โซ่ (Chain) เป็นเครือข่ายท่พี บความผิดพลาดอยเู่ สมอ
- แบบวงลอ้ หรอื ดาว (Wheel or Star) เป็นเครอื ข่ายของการประสานงานแบบเผด็จการ

- แบบวงกลม (Circle) เป็นการตดิ ต่อขา่ วสารกันแบบตอ่ เนอ่ื งกัน ซ่ึงให้ประสทิ ธิภาพในการแกป้ ัญหา
ได้ตา่

- แบบวา่ ว (Kite) เปน็ การติดตอ่ ที่ผสมผสานกันท้งั แบบลกู โซ่และแบบวงล้อ
- แบบทุกชอ่ งทาง (All Channel) เปน็ เครือข่ายการตดิ ต่อสอ่ื สารท่มี ีการประสารกนั ไดท้ ุกจุด ทาให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากที่สดุ
หลักสาคัญในการตดิ ตอ่ สอื่ สารทีด่ ี เพ่อื ใหก้ ารตดิ ต่อสอื่ สารเป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ี่ทาให้ผ้สู ่งและ
ผู้รบั มขี า่ วสารตรงกนั และรวดเรว็ จงึ สมควรยึดหลัก 7 C คือ
1. ความเช่อื ถอื ได้
2. ความเหมาะสม
3. มีเนอื้ หาสาระ
4. ความสมา่ เสมอและความตอ่ เนอ่ื ง
5. ช่องทางขา่ วสาร
6. ความสามารถของผรู้ ับสาร
7. ความชดั เจนแจ่มแจง้ ของขา่ วสาร
ฉะนนั้ จากหลกั การ 7 C นค้ี งจะชว่ ยให้การจดั ระบบติดตอ่ สื่อสาร เกดิ ผลของการสื่อสารที่ดเี กิดขึน้ ใน
องคก์ รได้ ซงึ่ หากมีการติดตอ่ ส่ือสารทดี่ ี ยอ่ มส่งผลใหเ้ กิดการจดั การบริหารงานทด่ี ีไปด้วย มนุษยส์ มั พันธ์กบั
การส่ือสารในองค์กรทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ การสื่อสารใหเ้ กดิ ความรวดเรว็ และเทย่ี งตรง ในยุคปัจจุบันในบริษัทหรือ
องคก์ รต่าง ๆ กาลังพฒั นาเก่ยี วกบั ขอ้ มลู ขา่ วสาร มคี วามกา้ วหน้ารวดเร็วทนั สมัยท้ังนก้ี ็เพ่ือให้สิง่ นม้ี าชว่ ย
พฒั นางานหากระบบการส่ือสารในองค์กรมปี ระสิทธิภายงั ช่วยสร้างบรรยากาศการทางานและมนษุ ยส์ มั พันธท์ ี่
ดใี ห้เกดิ ในหมู่คณะพนักงานและผ้บู รหิ ารดว้ ย ดังน้นั การส่ือสารทม่ี ีประสิทธภิ าพสามารถสรปุ ได้ ดงั นี้
รู้กระบวนการและข้ันตอนการสื่อสาร บุคคลในสถานที่
ประกอบการตอ้ งรู้กระบวนการและขนั้ ตอนเพ่ือการส่อื สาร ดังน้ี
- ความตงั้ ใจทจ่ี ะส่ือสาร
- มีความเข้าใจในสาระการสือ่ สาร
- มีการยอมรบั ในข่าวสาร
- ปฏิบตั ิตามข่าวสารใช้สื่อและภาษาธรรมดา
ต้องพยายามเขา้ ใจธรรมชาตขิ องผูส้ ง่ และผู้รับการส่ือสารตอ้ งพยายามเข้าใจกริ ิยาท่าทางการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพการฟงั ทด่ี ีส่ือและเครอ่ื งมือในการสอ่ื สารต้องดแี ละเอื้ออานวยควรมีการวางแผนและเตรียมตัวท่ดี ี

ลักษณะของการส่ังการทดี่ ี

การสง่ั การทดี่ ีตอ้ งเปน็ คาส่งั ทส่ี ามารถปฏบิ ัติได้ ผรู้ บั คาสัง่ จะตอ้ งมีอานาจ เวลา และอปุ กรณใ์ นการ
ดาเนนิ งานเพยี งพอทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามคาส่งั นน้ั ๆ ดังน้ัน การสัง่ การทีด่ คี วรมลี ักษณะ ดังน้ี

- เปน็ เรอ่ื งทีผ่ ู้รบั คาสง่ั สนใจ เช่น งานท่เี กีย่ วข้องกับหน้าท่โี ดยตรง
- คาสั่งต้องเกย่ี วขอ้ งกับหนว่ ยงาน
- คาสัง่ ต้องเหมาะสม ชัดเจน เข้าใจงา่ ย และสามารถปฏบิ ัตไิ ดค้ าส่ังต้องแนน่ อน
- ควรเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เพ่อื ปอ้ งกนั ความผดิ พลาด

ความหมายของการควบคุมงาน
การควบคุม หมายถงึ การตรวจสอบการปฏิบัติงาน วา่ เป็นไปตามแผนทว่ี างไวแ้ ละได้มาตรฐานที่

กาหนดไวห้ รอื ไม่ แลว้ แนะนาการปฏิบัตงิ านใหเ้ ปน็ ไปตามและมาตรฐานทกี่ าหนดไว้

ความมงุ่ หมายของการตรวจสอบปฏิบตั งิ าน เพอ่ื ตรวจสอบดวู ่างานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายไปปฏิบัติ

ดาเนนิ ไปตามแผนงานและมาตรฐานท่กี าหนดไว้หรือไมเ่ พื่อตรวจสอบวิธปี ฏิบตั งิ านว่าดาเนนิ ไปตามหลักการที่
ดีหรือไมเ่ พยี งใดเพ่อื ตรวจสอบความก้าวหน้าของงานว่าดเี พยี งใดเพื่อตรวจสอบการดาเนินงานว่ามีอปุ สรรค
หรือปัญหาประการใด เม่อื ใด เพียงใดเพอ่ื แนะนาปรบั ปรงุ แก้ไข เม่อื เกิดอปุ สรรคและปัญหา

%%%%%%%%%%%%%%%%%


Click to View FlipBook Version