The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 การจัดองค์การ1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 1 การจัดองค์การ

หน่วยที่ 1 การจัดองค์การ1

[หน่วยท่ี 1 การจัดองค์การ]

[พิมพ์บทคดั ยอ่ ของเอกสารท่นี ่ี โดยปกติแล้วบทคดั ยอ่ คือสรุปแบบสนั้ ๆ เก่ียวกบั เนอื ้ หาของเอกสาร พิมพ์บทคดั ยอ่ ของเอกสาร
ท่นี ี่ โดยปกติแล้วบทคดั ยอ่ คอื สรุปแบบสนั้ ๆ เก่ียวกบั เนอื ้ หาของเอกสาร]

2

หน่วยที่ 1 การจัดองคก์ าร

ความหมายของการจัดองค์การ

การจดั องคก์ าร (Organizing) คือ การจดั ระเบียบกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในองค์การ และ มอบหมายงานใหค้ น

ปฏิบัติเพอ่ื ใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงคห์ รือเป้าหมาย การจดั องคก์ ารที่ดี จะชว่ ยให้การบริหารการจัดการมี

ประสิทธภิ าพไดเ้ นอื่ งจาก 1. ทาให้ทราบขอบเขต ความรบั ผิดชอบ และอานาจหน้าท่ีต่าง ๆ

ผู้ใหค้ านิยาม คาวา่ " การจดั องคก์ าร " ไว้หลายท่าน ดงั น้ี
Edwin B.Flippo ( 1970 : 129 ) กลา่ วไวว้ ่า การจดั องคก์ าร หมายถึง การจัดความสัมพันธ์ระหวา่ งส่วน

ตา่ งๆ คอื ตัวบคุ คลและหนา้ ท่กี ารงาน เพื่อรวมกันเข้าเป็นหนว่ ยงานท่มี ีประสทิ ธภิ าพ สามารถทางานบรรลุ
เป้าหมายได้

ธงชัย สนั ติวงษ์ ( 2537 : 63 ) กลา่ วไว้ว่า การจัดองค์การ คอื การจัดระเบียบกจิ กรรมให้เปน็ กลุ่มกอ้ น
เขา้ รูป และการมอบหมายงานให้คนปฏบิ ตั เิ พ่อื ใหบ้ รรลผุ ลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของงานท่ีตง้ั ไว้ การจดั องค์การจะ
เป็นกระบวนการท่เี กย่ี วกบั การจดั ระเบียบความรบั ผิดชอบต่างๆ ทัง้ นี้เพือ่ ใหท้ ุกคนตา่ งฝ่ายตา่ งทราบว่า ใครต้องทา
อะไร และใครหรือกิจกรรมใดต้องสมั พันธ์กับฝา่ ยอื่นๆอยา่ งไรบา้ ง

สมคดิ บางโม ( 2538 : 94 ) กล่าวไวว้ ่า การจดั องคก์ าร หมายถงึ การจดั แบง่ องคก์ ารออกเปน็ หน่วยงาน
ย่อยๆให้ครอบคลมุ ภารกจิ และหนา้ ทีข่ ององคก์ าร พร้อมกาหนดอานาจหน้าท่ีและความสมั พนั ธ์กบั องค์กรย่อยอื่นๆ
ไว้ดว้ ย ทั้งนี้ เพ่ืออานวยความสะดวกในการบริหารใหบ้ รรลเุ ป้าหมายขององคก์ าร

สรปุ ได้ว่า การจดั องคก์ าร หมายถงึ การจดั ระบบความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่วนงานตา่ งๆ และบคุ คลใน
องคก์ าร โดยกาหนดภารกจิ อานาจหนา้ ที่และความรับผิดชอบใหช้ ัดแจ้ง เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานตามภารกจิ ของ
องคก์ ารบรรลุวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายอย่างมีประสิทธภิ าพ

กระบวนการจัดองคก์ าร (Process of Organizing)

ประกอบดว้ ย กระบวนการ 3 ขนั้ (ศริ พิ ร พงศ์ศรีโรจน์, 2543) ดงั น้ี
1. พจิ ารณาแยกประเภทงาน จัดกลุม่ งาน และออกแบบงานสาหรับผ้ทู างานแต่ละคน (Identification of

Work & Grouping Work) ก่อนอืน่ ผูบ้ รหิ ารจะต้องพจิ ารณาตรวจสอบแยกประเภทดวู า่ กจิ การของตนนัน้ มีงาน
อะไรบ้างที่จะต้องจัดทาเพอ่ื ให้กจิ การไดร้ ับผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ขนั้ ตอ่ มาก็คอื การจัดกลุ่มงานหรือจาแนก
ประเภทงานออกเป็นประเภท โดยมีหลักที่วา่ งานทีเ่ หมือนกันควรจะรวมอยดู่ ้วยกนั เพือ่ ให้เปน็ ไปตามหลักการของ
การแบ่งงานกนั ทา โดยการจดั จาแนกงานตามหนา้ ท่ีแตล่ ะชนิดออกเป็นกลุม่ ๆ ตามความถนดั และตาม
ความสามารถของผูท้ ี่จะปฏบิ ตั ิ

2. ทาคาบรรยายลกั ษณะงาน (Job Description & Delegation of Authority & Responsibility) ระบุ
ขอบเขตของงานและมอบหมายงาน พรอ้ มท้งั กาหนดความรบั ผิดชอบ และใหอ้ านาจหนา้ ท่ี ซึ่งมรี ายละเอียด ดังนี้

- ระบใุ ห้เหน็ ถึงขอบเขตของงานทแ่ี บง่ ให้สาหรบั แตล่ ะคนตามทีไ่ ด้ plan ไว้ในข้ันแรก เพือ่ ใหท้ ราบว่า งาน
แต่ละชน้ิ ที่ไดแ้ บ่งออกแบบไวน้ ั้นจะเก่ยี วขอ้ งกบั เรือ่ งอะไร ชนดิ ไหน มีขอบเขตและปริมาณมากนอ้ ยแค่ไหน โดยการ
ระบชุ อื่ เป็นตาแหนง่ พร้อมกับให้รายละเอยี ดเกย่ี วกบั งานชน้ิ นัน้ เอาไว้

- ขน้ั ตอ่ มา ผู้บรหิ ารก็จะดาเนนิ การพิจารณามอบหมาย (Delegation) ให้ แก่ผทู้ างานในระดับรองลงไป
(สาหรับงานทมี่ อบหมายได)้

- การมอบหมายงานประกอบด้วยการกาหนดความรบั ผิดชอบ (Responsibility) ทีช่ ัดแจ้งเก่ยี วกับงานที่

3

มอบหมายใหท้ า พร้อมกันนน้ั กม็ อบหมายอานาจหน้าที่ (Authority) ให้ เพอ่ื ใช้สาหรบั การทางานตามความ
รับผดิ ชอบ (Responsibility) ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายให้เสรจ็ สิ้นไปได้

3. จัดวางความสัมพนั ธ์ (Establishment of Relationship) การจัดวางความสมั พนั ธจ์ ะทาให้ทราบว่า ใคร
ต้องรายงานตอ่ ใคร เพื่อให้งานสว่ นต่างๆ ดาเนินไปโดยปราศจากข้อขดั แยง้ มกี ารทางานรว่ มกนั อย่างเป็นระเบยี บ
เพ่ือใหท้ ุกฝ่ายร่วมมือกนั ทางานมงุ่ ไปส่จู ุดหมายอันเดยี วกัน

ทฤษฎอี งคก์ ารอาจแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ทฤษฎดี ้วยกันคือ
1. ทฤษฎีดัง้ เดิม (Classical organization theory)
2. ทฤษฎสี มยั ใหม่ (Neo-Classical organization theory)
3. ทฤษฎีสมัยปจั จุบัน (Modern organization theory)
ทฤษฎดี ้ังเดมิ แนวความคดิ ทฤษฎดี ง้ั เดิม ได้ววิ ัฒนาการจากการปกครองแบบทหารจนมาถงึ ปลายศตวรรษ

ท่ี 19 ได้นักบรหิ ารสร้างรูปแบบการบรหิ ารในระบบราชการขึ้น คือ แมควเี บอร์ และการสร้างรูปแบบการบริหาร
โดยใชก้ ารจดั การทางวทิ ยาศาสตร์ คอื

เฟรดเดอรคิ เทยเ์ ลอ่ ร์ ทฤษฎีน้ีมหี ลักการวา่ " คนเป็นเครอ่ื งมอื ท่ีทาใหอ้ งค์การไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางได้" ซง่ึ
จะได้กลา่ วรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

 การจัดองคก์ ารแบบราชการ (Bureaucracy) ของ แมค วเี บอร์ ( Max Weber) ไดเ้ น้นใหเ้ ห็นถึงการจดั

โครงการทีเ่ ป็นระเบียบ สาระสาคญั ที่ แมค วีเบอร์ ไดเ้ นน้ ก็คอื องค์การแบบราชการในอุดมคตินน้ั จะต้อง
ประกอบด้วย

1) จะต้อมกี ารแบง่ งานกนั ทา โดยใหแ้ ต่ละคนปฏิบัติงานในสาขาทีต่ นมีความชานาญ
2) การยึดถืองานให้ยดึ ถือกฎเกณฑร์ ะเบียบวนิ ยั โดยเคร่งครัด เพื่อท่จี ะใหไ้ ดม้ าตรฐานของงานเทา่ เทียมกนั
การยดึ ถอื กฎเกณฑน์ ี้จะชว่ ยขจัดพฤติกรรมทบี่ คุ คลแตกตา่ งกนั สามารถมาประสานงานกันได้
3) สายการบงั คับบญั ชาต้องชดั เจน โดยผ้บู งั คับบัญชามอบหมายอานาจหนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบลดหลน่ั
กนั ลงไป
4) บุคคลในองค์การตอ้ งไมค่ านงึ ถึงความสัมพันธ์ส่วนบุคคล โดยพยายามทางานใหด้ ีทสี่ ดุ เพอ่ื เป้าหมายของ
องคก์ าร
5) การคัดเลอื กบุคคล การว่าจา้ ง ให้ขึ้นอยกู่ ับความสามารถ และการเลื่อน
ตาแหนง่ ใหค้ านงึ ถงึ การประสบความสาเร็จในการงานและอาวุโสด้วยจุดออ่ นขององค์การแบบราชการก็คือ
การเน้นท่ีองคก์ ารโดยละเลยการพจิ ารณาถงึ ปญั หาของคน และเช่อื ว่าการทม่ี โี ครงสรา้ งท่รี ดั กุมแนน่ อนจะช่วยให้
บุคคลปรับพฤตกิ รรมใหเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการขององคก์ ารได้
การจดั องคก์ ารแบบวิทยาศาสตร์ ( Scientific Management) ของเฟรดเดอริค เทย์เลอ่ ร์ ( Frederic
Taylor) เปน็ การจัดองคก์ ารแบบนาเอาวธิ กี ารศึกษาวทิ ยาศาสตรม์ าวิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหา เพอื่ ปรังปรงุ
ประสทิ ธิภาพขององค์กรให้ดขี ้นึ การศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ได้เริ่มจากการหาความสัมพันธ์ระหวา่ งงานและคนงาน
โดยการใชก้ ารทดลองเปน็ เกณฑเ์ พอื่ หามาตรการทางานทม่ี ีประสทิ ธิภาพสูงสุด โดยท่ีคนงานจะถูกพจิ ารณาว่า
ตอ้ งการทางานเพอื่ เศรษฐกจิ ดา้ นเดียว โดยละเลยการศกึ ษาถึงแรงจงู ใจ อารมณ์ และความต้องการในสังคมของ
กลมุ่ คนงาน เพราะเช่ือว่าเงนิ ตวั เดียวจะล่อใจใหค้ นทางานได้ดีทสี่ ุด

ทฤษฎีสมัยใหม่ เปน็ ทฤษฎีท่ีพัฒนามาจากดงั้ เดมิ ทฤษฎนี มี้ หี ลักการวา่ "คนเปน็ ปัจจยั สาคญั และมีอิทธพิ ล

4

ตอ่ การเพม่ิ ผลผลิตขององคก์ าร" โดยเนน้ ใหเ้ ห็นถงึ ความสาคญั ของคนที่ทาหนา้ ร่วมกันในองค์การ ถือว่าองค์การ
ประกอบไปด้วยบุคคลซง่ึ ทางานโดยมีเปา้ หมายร่วมกนั และกลุ่มคนงานจะเป็นผู้มสี ว่ นรว่ มในการกาหนดผลผลิต
ดว้ ย ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลเปน็ ปจั จยั ท่สี าคัญและมีอิทธิพลตอ่ การกาหนดการผลิต กลา่ วโดยสรปุ วา่ ทฤษฎีน้ี
ไดเ้ นน้ เรื่องมนษุ ยส์ ัมพันธ์ โดยได้มกี ารศกึ ษาและคน้ พบว่าบุคคลแตล่ ะคนยอ่ มมีความแตกต่างกนั ขวญั ในการทางาน
เปน็ สิ่วสาคัญ การเขา้ มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมและการตัดสินใจระหว่างฝา่ ยบริหาร และฝ่ายคนงานยอ่ มจะสร้างความ
พึงพอใจใหก้ ับทุกฝา่ ยโดยไดส้ ร้างผลผลิตอย่างเตม็ เม็ดเตม็ หน่วยได้ ทฤษฎีท่ีมีส่วนสาคญั มากต่อขบวนการมนษุ ย์
สมั พันธไ์ ด้แก่ Elton Mayo ซงึ่ ไดก้ ารทดลองวจิ ัยและค้นพบว่า ขวัญของคนงานมีความสาคญั ตอ่ การเพม่ิ การผลติ
กลุ่มคนงานจะพยายามสรา้ งปทัสถานของกลมุ่ ตน และคนงานจะทางานเป็นทีมโดยมกี ารกาหนดมาตรฐานของกลมุ่
ขึน้ เอง

ทฤษฎีสมัยใหมป่ ัจจบุ นั ทฤษฎีนก้ี ลา่ ววา่ เป็นการศกึ ษารปู แบบขององคก์ ารในปจั จุบันโดยเน้นทีก่ าร
วิเคราะห์องค์การในเชิงระบบ (Systems Analysis of Organization) กลา่ วคือ นักทฤษฎไี ด้พิจารณาองคก์ รใน
ลกั ษณะทเี่ ป็นสว่ นรวมทงั้ หมด ตลอดจนความสัมพนั ธ์ระหว่างสว่ นต่าง ๆ ทีอ่ ยภู่ ายในองค์กร การศึกษาว่าองคก์ าร
ในระบบหน่งึ ๆ นนั้ ไดค้ านงึ ถงึ องคป์ ระกอบภายในองคก์ รทุกสว่ น แก่ ตวั ปอ้ น กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ
และสงิ่ แวดลอ้ ม ( Input process Output Feedback and Environment ) การศกึ ษาองคก์ ารในรูประบบน้นั ได้
พยายามทีจ่ ะมององคก์ ารในลักษณะการเคล่อื นไหว (Dynamic) และปรับเข้ากับรูปแบบองคก์ ารได้ในทกุ สภาวะ
แวดลอ้ มทง้ั นีเ้ พราะนักทฤษฏีปจั จบุ ันได้มององค์การในลกั ษณะกระบวนการทางดา้ นโครงสรา้ งท่ีบคุ คลต่าง ๆ
จะต้องเกีย่ วพันซึง่ กนั และกันเพื่อบรรลเุ ปา้ หมายตามท่ตี อ้ งการ จึงมีการศกึ ษาพฤติกรรมองค์การในลกั ษณะใหม่ ๆ
เช่น พฤตกิ รรมศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ การบรกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม การพฒั นาองค์การ คิว.ซี . และการบริหารแบบ
อนาคตนิยม เป็นตน้

หลกั การจดั องค์การ

หลักการจัดองค์การ OSCAR ของ Henri Fayol มาจากคาวา่ Objective, Specialization,
Coordination, Authority และ Responsibility ซง่ึ Fayol ได้เขียนหลกั ของการจดั องคก์ ารไว้ 5 ขอ้ เม่อื นาเอา
ตวั อกั ษรตัวแรกของคาทง้ั 5 มาเรียงต่อกัน จะทาใหส้ ะกดไดค้ าว่า OSCAR สาหรับรายละเอียด ทงั้ 5 คาจะขอกลา่ ว
ไวใ้ น " หลกั ในการจัดองค์การที่ดี "
หลักในการจดั องค์การท่ดี ีจะต้องมีองคป์ ระกอบและแนวปฏิบัตดิ งั ต่อไปน้ี (ศิริอร ขนั ธหตั ถ์, 2536)

1. หลักวตั ถุประสงค์ (Objective) กลา่ ววา่ องค์การตอ้ งมีวตั ถุประสงคท์ กี่ าหนดไวอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจากน้นั
ตาแหน่งยงั ต้องมีวัตถุประสงค์ย่อยกาหนดไวเ้ พ่ือว่าบคุ คลที่ดารงตาแหน่งจะไดพ้ ยายามบรรลุวัตถุประสงคย์ อ่ ย ซึ่ง
ช่วยให้องคก์ ารบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์รวม

2. หลกั ความรู้ความสามารถเฉพาะอยา่ ง (Specialization) กลา่ วว่า การจัดแบ่งงานควรจะแบ่งตามความ
ถนดั พนักงานควรจะรบั มอบหน้าท่เี ฉพาะเพียงอยา่ งเดยี วและงานหน้าทีท่ ี่คลา้ ยกนั หรอื สัมพนั ธก์ ัน ควรจะต้องอยู่
ภายใตบ้ งั คบั บัญชาของคนคนเดียว

3. หลักการประสานงาน (Coordination) กลา่ ววา่ การประสานงานกัน คือ การหาทางทาใหท้ ุกๆฝา่ ย
ร่วมมอื กนั และทางานสอดคล้องกนั โดยใชห้ ลักสามคั คีธรรม เพ่อื ประโยชนข์ ององค์การ

4. หลกั ของอานาจหนา้ ที่ (Authority) กลา่ วว่า ทุกองค์การตอ้ งมอี านาจสูงสดุ จากบคุ คลผมู้ อี านาจสูงสดุ น้ี
จะมกี ารแยกอานาจออกเป็นสายไปยงั บุคคลทุกๆคนในองคก์ าร หลักน้บี างทเี รยี กวา่ Scalar Principle (หลกั ความ
ลดหลนั่ ของอานาจ) บางทเี รยี กว่า Chain of command (สายการบงั คับบญั ชา) การกาหนดสายการบงั คบั บัญชานี้
ก็เปน็ วธิ ีประสานงานอย่างหน่งึ

5

5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) หลกั ของความรับผดิ ชอบ กลา่ ววา่ อานาจหน้าทคี่ วรจะเทา่ กบั
ความรบั ผิดชอบ คอื บุคคลใดเมอื่ ไดร้ บั มอบหมายความรบั ผิดชอบกค็ วรจะไดร้ ับมอบหมายอานาจให้เพียงพอ
เพอื่ ทางานให้สาเรจ็ ด้วยดี

1. หลักความสมดลุ (Balance) จะตอ้ งมอบหมายให้หน่วยงานย่อยทางานใหส้ มดลุ กันกลา่ วคือปรมิ าณงานควรจะ
มปี ริมาณที่ใกล้เคยี งกัน รวมทง้ั ความสมดลุ ระหว่างงานกบั อานาจหน้าทท่ี จี่ ะมอบหมายด้วย

2. หลกั ความต่อเนือ่ ง (Continuity) ในการจดั องค์การเพอื่ การบริหารงานควรจะเป็นการกระทาท่ตี อ่ เนือ่ ง ไม่ใช่
ทา ๆ หยดุ ๆ หรือ ปิด ๆ เปดิ ๆ ยิง่ ถา้ เปน็ บริษทั หรือหา้ งรา้ นคงจะไปไมร่ อดแน่

3. หลักการโต้ตอบและการติดตอ่ (Correspondence) ตาแหน่งทกุ ตาแห่งจะตอ้ งมกี ารโตต้ อบระหวา่ งกนั และ
ตดิ ต่อสื่อสารกนั องคก์ ารจะตอ้ งอานวยความสะดวก จัดใหม้ เี คร่ืองมอื และการติดต่อสอื่ สารทเ่ี ปน็ ระบบ

4. หลกั ขอบเขตของการควบคมุ (Span of control) เป็นการกาหนดขีดความสามารถในการบงั คับบญั ชาของ
ผู้บังคับบัญชาคนหนึง่ ๆ ว่าควรจะควบคุมดแู ลผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาหรอื จานวนหนว่ ยงานยอ่ ยมากเกนิ ไป โดยปกติ
หัวหนา้ คนงานไม่เกนิ 6 หนว่ ยงาน

5. หลักเอกภาพในการบังคบั บญั ชา (Unity of command) ในการจัดองค์การที่ดี ควรให้เจา้ หน้าท่รี ับคาสง่ั จาก
ผู้บังคับบญั ชาหรือหวั หน้าง่านเพยี งคนเดียวเทา่ นนั้ เพื่อใหเ้ กดิ เอกภาพในการบังคับบัญชาจึงถือหลกั การว่า
"One man one boss"

6. หลกั ตามลาดับขน้ั (Ordering) ในการทน่ี กั บรหิ ารหรือหัวหน้างานจะออกคาสั่งแกผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชา ควร
ปฏิบัติการตามลาดับข้ันของสายการบงั คบั บญั ชาไม่ควรออกคาสงั่ ข้ามหน้าผู้บงั คับบญั ชา หรือผ้ทู ม่ี คี วาม
รบั ผดิ ชอบโดยตรง เชน่ อธิการจะส่งั การใด ๆ แก่หวั หนา้ ภาควิชาควรทจ่ี ะสัง่ ผา่ นหวั หนา้ คณะภาควชิ าน้นั สังกัด
อยู่ อย่างนอ้ ยทีส่ ดุ ก็ควรจะไดแ้ จ้งหวั หนา้ คณะวิชาน้นั ๆ ทราบดว้ ย เพอ่ื ป้องกนั ความเข้าใจผดิ และอาจจะเป็น
การทางายขวัญและจิตใจในการทางานของผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาโดยไมต่ ง้ั ใจ

7. หลกั การเลื่อนขั้นเลอื่ นตาแหน่ง (Promotion) ในการพิจาความดคี วามความชอบและการเอนตาแหน่งควรถือ
หลกั ว่า ผู้บังคับบญั ชาโดยตรงย่อมเปน็ ผูท้ ่ปี ฏิบตั ิงานเกย่ี วกับใต้บังคับบญั ชาของตนโดยใกลช้ ดิ และยอ่ มทราบ
พฤตกิ รรมในการทางานของผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชาได้ดกี ว่าผูอ้ ่ืน ดงั นั้นการพจิ ารณาใหค้ ณุ และโทษแกผ่ ู้ที่อยู่ใต้บงั คบั
บญั ชาของผ้ใู ดกค็ วรใหผ้ นู้ นั้ ทราบและมสี ิทธิมีเสียงในการพจิ ารณาดว้ ยเพื่อความเป็นธรรมแก่ใต้บังคบั บญั ชา
ของเขา และเพื่อเปน็ การเสริมสรา้ งขวญั ในการทางานของบุคคลในองคก์ ารดว้ ย

%%%%%%%%%%%%%%%


Click to View FlipBook Version