The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinjung.chin55555, 2021-11-15 11:14:43

มาตรการดำเนินการและแนวทางการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

มาตรการดําเนินการ
และแนวทางการเปด
ภาคเรยี นที 2
ปการศึกษา 2564

ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรียนสารวทิ ยา

สํานักงานเขตพืนทีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2

มาตรการดำเนนิ การและแนวทางการเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรงเรยี นสารวทิ ยา สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2

โรงเรยี นสารวิทยา กำหนดมาตรการดำเนินการและแนวทางการเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามแนวทางที่สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
มาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด เพือ่ สรา้ งความมน่ั ใจและความปลอดภัย
ให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งมาตรการที่โรงเรียนสารวิทยา รวมทั้งครู บุคลากร
และนักเรยี นต้องถอื ปฏบิ ตั ิ ได้แก่ 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสรมิ และ 7 มาตรการเข้มงวด ดงั น้ี

6 มาตรการหลกั (DMHT –RC) 6 มาตรการเสริม (SSET –CQ)

1. Distancing เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1. Self care ดแู ลตนเองปฏิบัติตามมาตรการ

1 - 2 เมตร อยา่ งเคร่งครดั

2. Mask Wearing สวมหน้ากากอนามัย หรือ 2. Spoon ใชช้ อ้ นกลางส่วนตัวเมือ่ ต้องกินอาหาร

หน้ากากผ้าตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศึกษา ร่วมกัน

3. Hand washing ลา้ งมือดว้ ยสบูแ่ ละนำ้ นาน 20 3. Eating กนิ อาหารปรุงสุกใหม่ กรณีอาหารเก็บ

วนิ าที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ เกนิ 2 ชวั่ โมง ควรนำมาอุน่ ให้ร้อนทว่ั ถงึ ก่อนกิน

4. Testing คัดกรองวดั ไข้ สังเกตอาการ ซักประวตั ิ อีกครัง้

ผสู้ ัมผัสเสีย่ งทุกคนก่อนเข้าสถานศึกษา 4. Thai Chana App ไทยชนะ ลงทะเบยี นตามที่

5. Reducing ลดการแออดั ลดเข้าไปในพ้ืนท่ีเส่ียง รฐั กำหนด ดว้ ยแอปพลิเคชนั ไทยชนะ หรอื

กลุม่ คนจำนวนมาก ลงทะเบียนบนั ทึกการเขา้ -ออกอยา่ งชดั เจน

6. Cleaning ทำความสะอาดบริเวณพน้ื ผวิ สัมผัสร่วม 5. Check สำรวจตรวจสอบ บุคคล นกั เรยี น และ

อาทิ ที่จับประตู ลกู บิดประตู ราวบันได เป็นต้น กลุ่มเสีย่ งท่เี ดินทางมาจากพ้นื ทเี่ สยี่ งเพอ่ื เข้าสู่

กระบวนการคัดกรอง

6. Quarantine กักกนั ตวั เอง 14 วนั เม่อื เขา้ ไป

สัมผสั หรืออยู่ในพนื้ ท่ีเส่ียงทม่ี ีการระบาดโรค

7 มาตรการเขม้ งวด

1. สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid
2. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลย่ี งการทำกจิ กรรมขา้ มกลุ่มและจัดนักเรยี นใน

ห้องเรยี นขนาดปกติ (6 x 8) ไม่เกนิ 25 คน หรือจัดใหเ้ วน้ ระยะหา่ งระหว่างนกั เรยี นในห้องไม่น้อยกวา่
1.5 เมตร พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั
3. จัดระบบการให้บรกิ ารอาหารสำหรับนกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษาตามหลักมาตรฐานสขุ าภบิ าล
อาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เชน่ การจดั ซือ้ จดั หาวตั ถุดบิ จากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร
หรือการสั่งซ้อื อาหารตามระบบนำส่งอาหาร(Delivery) ทถ่ี กู สุขลักษณะและตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบทาง
โภชนาการก่อนนำมาบริโภค ตามหลกั สขุ าภบิ าลอาหารและหลกั โภชนาการ
4. จัดการดา้ นอนามัยสง่ิ แวดล้อมใหไ้ ดต้ ามแนวปฏบิ ัติดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมในการปอ้ งกนั โรคโควิด 19
ในสถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาด คณุ ภาพนำ้ ดืม่ และการ
จัดการขยะ
5. ใหน้ ักเรยี นที่มคี วามเสยี่ งแยกกกั ตวั ในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซอ้ มแผนเผชญิ เหตุ
รองรบั การดูแลรกั ษาเบ้อื งต้น กรณีนกั เรยี น ครู หรอื บุคลากรในสถานศกึ ษามีผลการตรวจพบเช้อื โควดิ 19
หรือผล ATK เป็นบวกโดยมีการซักซ้อมอย่างเครง่ ครัด
6. ควบคุมดแู ลการเดินทางกรณมี กี ารเขา้ และออกจากสถานศกึ ษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลกี เลี่ยง
การเขา้ ไปสมั ผสั ในพนื้ ท่ตี ่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง
7. ใหจ้ ัดให้มี School Pass สำหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา ซึ่งประกอบดว้ ยขอ้ มูล ผลการ
ประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน 7 วัน และประวตั กิ ารรับวัคซนี ตามมาตรการ

แนวทางการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสารวิทยา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
(1) ระยะการเตรยี มการก่อนเปิดภาคเรียน (2) ระยะเปดิ ภาคเรยี น (3) ระบบติดตามและประเมนิ ผล ดังน้ี

มาตรการเตรียมความพร้อมระยะท่ี 1
ระยะเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

1.1 บทบาทสถานศกึ ษา
1) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล

ผ่าน MOE Covid
2) จัดสถานทแี่ ยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) พืน้ ที่แยกกกั ตวั ชั่วคราว รวมไปถงึ แผนเผชญิ

เหตุสำหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรกรณีมีการติดเช้ือโควิด 19 หรือผล
ตรวจคัดกรองหาเชอื้ เปน็ บวก

3) จัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับ-ส่งสิ่งของ
จุดรับ - ส่งอาหาร หรือจุดเสี่ยงอื่น เพื่อจำแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่อที่เข้ามา
ในโรงเรียน

4) การจัดโตะ๊ และเก้าอ้ีนักเรียนในหอ้ งเรียนให้เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1- 2 เมตร
5) ทำความสะอาด และฆ่าเชอื้ ในทุกพน้ื ท่ี โดยเฉพาะพ้ืนผิวสมั ผสั เพอื่ เตรียมพรอ้ มการเปิดภาคเรียน
6) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏบิ ัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกนั โรคโควดิ
19 ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทำความสะอาดคุณภาพน้ำด่ืม และการจัดการ
ขยะ
7) กำหนดใหม้ ี School Pass สำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาซ่งึ ประกอบด้วยข้อมูล
ผลการประเมนิ Thai Save Thai (TST) ผลตรวจคดั กรองหาเชื้อโควดิ 19 และประวตั ิการรับวัคซนี

1.2 บทบาทครแู ละบคุ ลากร
1) เขา้ รว่ มการประชมุ โรงเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (Online) กอ่ นเปิดภาคเรยี น
2) ครูท่ีปรกึ ษาประชมุ ชแี้ จงผู้ปกครองและนกั เรียนก่อนเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

ผา่ นระบบออนไลน์ (Online)
3) ไดร้ บั การฉีดวัคซีนครบโดส ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 85 ขนึ้ ไป
4) ประเมนิ ตนเองผา่ นระบบ Thai Save Thai (TST) อย่างตอ่ เนอ่ื ง
5) หลกี เลย่ี งการทำกจิ กรรมท่มี ีความเสีย่ งในการติดเช้อื
6) หากครูและบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (inclusion Criteria) กับการตดิ เช้ือโควิด 19 หรือสัมผัสกลุ่ม

เสี่ยงสูงให้ดำเนนิ การตรวจคัดกรองหาเช้ือด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่ใหร้ ับวัคซีนตามเกณฑ์พร้อม

ทั้งรายงานผลตรวจกับโรงเรียน และหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทันที และปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุกรณีมี
ผลตรวจเปน็ บวก

7) ปฏบิ ัตติ ามมาตรการสุขอนามยั สว่ นบุคคลอยา่ งเข้มขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ
6 มาตรการเสริม (SSET –CO) และตรวจคดั กรองดว้ ย Antigen Test Kit (ATK) เป็นระยะ

1.3 บทบาทนักเรียน
1) ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารและสถานการณ์ตา่ ง ๆ หากพบปัญหาให้ติดตอ่ ประสานกบั ครูทีป่ รึกษา
2) รับวัคซีนโดยความยินยอมจากผ้ปู กครองและเป็นไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ
3) หลกี เล่ียงการทำกิจกรรมทม่ี คี วามเสยี่ งในการตดิ เชอื้
4) เฝา้ สังเกตอาการตนเองอย่างสม่ำเสมอและประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Save Thai(TST)ทุกวนั
5) หากนักเรียนมีความเสี่ยง หรือมีอาการเข้าข่ายติดเชื้อ ให้สังเกตอาการตนเอง กักตัวเองเพื่อดู

อาการ 14 วนั และตรวจคดั กรองหาเชอ้ื
6) ปฏบิ ัติตามมาตรการสขุ อนามยั สว่ นบุคคลอย่างเขม้ ข้น ได้แก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ

6 มาตรการเสริม (SSET-CQ) และตรวจคัดกรองดว้ ย Antigen Test Kit (ATK) เป็นระยะ

1.4 บทบาทด้านการจัดการอาคารสถานที่
1) ดำเนินการฉดี พน่ นำ้ ยาฆ่าเชอื้ ทั่วบริเวณโรงเรยี นอย่างนอ้ ย 1 วัน ก่อนเปิดภาคเรยี น
2) ทำความสะอาดหอ้ งเรยี น และจุดต่าง ๆ ท่เี ป็นพนื้ ที่สัมผสั ร่วม ก่อนเปดิ ภาคเรียน
3) ตรวจสอบ และจัดเตรียมอ่างล้างมือ จุดบริการเจลแอลกอฮอล์ล้างมือในบริเวณโรงเรียนให้พร้อม

และเพียงพอตอ่ การใช้งาน
4) ทำความสะอาดเครอื่ งปรับอากาศในทุกห้องเรยี น
5) จัดเตรยี มจดุ คัดกรองก่อนเข้าบริเวณโรงเรียน
- กำหนดให้ทุกคนที่จะเข้าสถานศึกษาใช้ประตูหน้าโรงเรียน เพื่อผ่านจุดคัดกรองตรวจวัด

อณุ หภมู ิ
- กำหนดให้ผู้มาติดต่อราชการเข้าสถานศึกษาโดยใช้ประตูหน้าโรงเรียน โดยให้ลงทะเบียน

เช็คอินผ่านแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงชื่อ ประทับเวลาเข้า-ออก และแลกบัตรแสดงตนกับเจ้าหน้าที่รักษา
ความปลอดภยั และตรวจวัดอณุ หภูมิเบื้องต้น

- มีการจัดทำสญั ลกั ษณเ์ วน้ ระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร บริเวณโรงอาหาร สำหรับนกั เรียน
น่ังรบั ประทานอาหารกลางวันใหพ้ ร้อม

- ติดป้ายเวน้ ระยะหา่ ง บริเวณท่ีนง่ั ตามบรเิ วณต่าง ๆ ในพน้ื ทีข่ องโรงเรยี น
- จัดพ้นื ทกี่ กั ตวั ในกรณีนกั เรยี นมอี าการคล้ายกลุ่มเสี่ยง โดยใหแ้ ยกกับการใหบ้ ริการของห้อง
พยาบาลและจุดพักคอย (กรณนี ักเรยี นมีอุณหภูมเิ กิน ระหว่างรอผู้ปกครองมารับกลับบ้าน) บริเวณจุดพักคอย
ของโรงเรียน (ศาลารมณ์)

มาตรการเตรยี มความพร้อมระยะที่ 2
ระยะเปดิ ภาคเรยี น กรณีเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ (Onsite)

2.1 บทบาทสถานศกึ ษา
1) ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยอย่างต่อเนื่องและเคร่งครัด ประกอบด้วย การระบายอากาศ

ภายในอาคาร การทำความสะอาดและฆา่ เชื้อโรคบนพื้นผิวทวั่ ไป และอปุ กรณส์ ัมผัสรว่ ม ตรวจสอบคณุ ภาพน้ำ
อปุ โภคบริโภคการจัดการขยะตามหลกั สขุ อนามัย

2) กำหนดจดุ คดั กรองชอ่ งทางเขา้ -ออก จดั ให้มีจุดบริการเจลแอลกอฮอล์ หรอื จุดลา้ งมอื หากพบว่า
นกั เรยี น ครู และบุคลากร มีไข้ ไอ จาม มีนำ้ มกู เหนื่อยหอบ หรอื มีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า 37.5
องศาเซลเซียสขน้ึ ไป แจ้งงดการเข้าร่วมกจิ กรรม แนะนำให้ไปพบแพทย์ และแยกผู้ที่มีอาการออกจากพ้ืนท่ีมา
รอที่จุดพกั คอย

3) ปฏิบตั ติ าม 7 มาตรการเขม้ งวดอยา่ งเครง่ ครัด
4) งดกจิ กรรมท่ีมกี ารรวมกล่มุ กันจำนวนมาก
5) ประชาสัมพันธใ์ ห้ความรู้ สร้างความเข้าใจเบ้ืองตน้ เกี่ยวกับโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา2019 (COVID-
19) ทักษะการล้างมือการสวมหน้ากากอนามัย สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดี รวมถึงการทำความสะอาด
อยา่ งถูกวธิ ี
6) ประสานสาธารณสุขและเครือข่ายทางการศึกษาของโรงเรียน (ที่มี) เพื่อสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการป้องกนั การแพร่ระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2.2 บทบาทครแู ละบคุ ลากร
1) ปฏบิ ัติตามมาตรการสขุ อนามยั สว่ นบคุ คลอย่างเข้มขน้ ไดแ้ ก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) และ 6

มาตรการเสริม (SSET-CO) และตรวจคัดกรองดว้ ย Airligen Test Kit (ATK) เปน็ ระยะ
2) สวมหน้ากากอนามัยอยูต่ ลอดเวลา ล้างมือด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอลบ์ ่อยๆ
3) หากครแู ละบคุ ลากรมอี าการเข้าขา่ ย (lnclusion Criteria) กบั การติดเชอื้ โควิด 19 หรอื สัมผัสกลุ่ม

เสี่ยงสูงให้ดำเนินการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธีที่เหมาะสม หากตรวจพบเชื้อให้รักษาตนเองให้หาย และ
รายงานตอ่ ผูบ้ งั คับบญั ชาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

4) กำกบั ดูแล เน้นย้ำนักเรียนใหป้ ฏิบตั ติ ามมาตรการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19
5) ทำการตรวจคัดกรองสขุ ภาพนักเรยี นทุกคนที่เข้ามาในโรงเรยี นในตอนเชา้ หากพบนกั เรียนมอี าการ
มไี ข้ อณุ หภมู ิร่างกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป รว่ มกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึงให้
จัดอยู่ในพื้นท่ีแยกส่วน แจ้งผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตาม
มาตรการป้องกนั ตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

6) กรณีการจดั การเรียนการสอนของครู งดการทำกจิ กรรมกลุม่ และการเคล่ือนย้ายนักเรียนไปเรียนที่
ห้องศูนยใ์ หน้ ้อยทส่ี ุด ยกเว้นมเี หตจุ ำเป็น เช่น หอ้ งเรยี นคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้

2.3 บทบาทนกั เรยี น
1) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CO) ของกระทรวงสาธารณสุข

กำหนดอย่างเคร่งครดั
2) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) และสังเกตอาการป่วย

ของตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ
3) สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา ล้างมือดว้ ยสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์อยู่บอ่ ย ๆ
4) ตรวจคัดกรองตนเองเมื่อมาถึงโรงเรียนในทุกวันตอนเช้า หากพบว่าตนเองมีอาการมีไข้ อุณหภูมิ

ร่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง ให้นักเรียนอยู่
ในพน้ื ทแ่ี ยกตามส่วนทโี่ รงเรยี นกำหนด และรอใหผ้ ู้ปกครองมารับเพือ่ ไปตรวจหาเช้ือ

กรณไี มต่ ิดเชือ้ : นกั เรียนรกั ษาอาการให้หายปว่ ยและกลับมาเรยี นตามปกติ
กรณตี ิดเช้ือ : 1) นกั เรียนหรอื ผู้ปกครองรายงานตอ่ ครูทีป่ รึกษา

2) โรงเรยี นประกาศปิดห้องเรยี นท่ีพบผู้ตดิ เช้ือ 3 วนั เพอื่ ทำการพ่นฆา่ เชอื้
และตรวจเชิงรุกให้นักเรียนที่ใกล้ชิดและอยู่ในกลุ่มเสี่ยงและกักตัว 14 วัน
เพอื่ ดูอาการ
3) ครูทป่ี รึกษาตดิ ตามอาการนกั เรยี นทีต่ ดิ เชื้ออย่างต่อเนื่อง

2.4 บทบาทด้านการจดั การอาคารสถานที่
1) ทำความสะอาดห้องตา่ ง ๆ และบริเวณทม่ี ีการใช้บรกิ ารรว่ มกนั เชน่ โรงอาหาร ห้องศูนยก์ ารเรียน

คอมพิวเตอร์ ด้วยนำ้ ยาทำความสะอาดทกุ วัน
2) ทำความสะอาดบริเวณทเ่ี ป็นพื้นทสี่ ัมผัสร่วม เชน่ หอ้ งน้ำ อย่างน้อยวนั ละ 3 ครัง้
3) ทำความสะอาดอา่ งล้างมือ จุดบริการแอลกอฮอล์ลา้ งมือ ในบริเวณโรงเรยี นไดพ้ รอ้ มใชต้ ลอดเวลา
4) เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศในห้องที่มีการใช้งานร่วมกันในเวลาพักกลางวัน เช่น

ห้องเรียน ห้องประชุมห้องสำนักงาน ฯลฯ โดยเฉพาะห้องเรียนพิเศษที่มีเครื่องปรับอากาศให้ทำความสะอาด
อย่เู สมอ (ขอความร่วมมอื กรณอี ากาศบางวันไม่ร้อนก็ควรงดเปิดเคร่ืองปรบั อากาศ)

5) จดั เตรียมจุดคัดกรองก่อนเขา้ บรเิ วณโรงเรียน
- กำหนดใหท้ กุ คนทจี่ ะเขา้ สถานศึกษาใช้ประตหู น้าโรงเรียน เพอื่ ผ่านจุดคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิ
- กำหนดให้นักเรียนเขา้ สถานศึกษาใชป้ ระตหู น้าโรงเรยี น เดินตามช่องทางจำนวน 1 ช่องทาง และ

มรี ะยะหา่ งระหว่างบคุ คล 1 - 2 เมตร

- กำหนดให้ผู้มาติดต่อราชการเข้าสถานศึกษาโดยใช้ประตูหน้าโรงเรียน โดยให้ลงทะเบียนเป็น
เช็คอินผ่านแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงชื่อ ประทับเวลาเข้า-ออก และแลกบัตรแสดงตนกับเจ้าหน้าที่รักษา
ความปลอดภัยและตรวจวัดอณุ หภมู เิ บื้องต้น

- ตรวจสอบการจดั ทำสญั ลักษณ์เวน้ ระยะหา่ งอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร บริเวณโรงอาหาร สำหรับ
นกั เรยี นนั่งรับประทานอาหารกลางวันใหพ้ ร้อม

- ดแู ลพ้ืนทก่ี ักตวั ในกรณนี ักเรียนมีอาการคล้ายกลมุ่ เสี่ยง โดยใหแ้ ยกกบั การใหบ้ รกิ ารของห้อง
พยาบาลและจดุ พักคอย (กรณนี ักเรียนมีอุณหภูมิเกิน ระหว่างรอผปู้ กครองมารับกลบั บ้าน) บริเวณจดุ พักคอย
ของโรงเรียน (ศาลารมณ์)

2.5 บทบาทดา้ นสาธารณสุข
1) วันเปดิ ภาคเรียนที่ 2/2564 นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ต้องเขา้ รับการตรวจ ATK ทุก

คน (เน่อื งจากชดุ ตรวจ ATK มีจำกัดจงึ อาจตรวจได้เฉพาะครบู คุ ลากรทุกคนและนกั เรียนเฉพาะกลมุ่ เส่ียง)
2) นักเรียน ครู และบุคลากร รวมถึงผู้เกี่ยวข้องกับโรงเรียนทุกคน ต้องไม่เป็นผู้เสี่ยงสัมผัส หรือมี

บุคคลใกลช้ ิดที่พักอาศยั อยใู่ นที่เดียวกนั ติดเชื้อโควิด 19 ในระยะเวลา 1 เดือน ก่อนวันเปิดภาคเรียนท่ี 2/2564
หรอื กรณเี คยตดิ เชอื้ ต้องหายจากอาการปว่ ยมาแลว้ อย่างน้อย 1 เดอื น

3) กำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ที่สงสัยติดเชื้อโควิด 19
โดยไม่ถอื เป็นวันหยุดเรียน หรือวันลา โดยให้นำหลักฐานที่ได้รบั การรับรองจากหนว่ ยงานสาธารณสุขมายืนยัน
เพ่ือกลบั เข้าเรยี น หรือกลบั เขา้ ทำงานตามปกติ

มาตรการเตรียมความพรอ้ มระยะท่ี 3
ระยะตดิ ตามและประเมินผล

1. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินการตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

2. นำแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานสู่การปฏบิ ตั ิ

3. ประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus : TSC+ และรายงานการติดตามการประเมิน
ผา่ น MOE Covid

4. ประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทั้ง 4 องค์ประกอบ
และปฏบิ ตั ิตาม 7 มาตรการเข้มงวดของสถานศกึ ษาระหวา่ งการจัดการเรยี นการสอน

5. ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามแผนการเผชิญเหตุทกี่ ำหนดไว้
6. รายงานข้อมลู สารสนเทศท่ีสำคัญ และผลการปฏิบตั ิตอ่ ผบู้ ังคับบญั ชา หน่วยงานตน้ สังกดั และ
หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง

โรงเรียนสารวิทยากำหนดแผนเผชิญเหตุ ตามมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโควิด 19
ของสถานศึกษา กรณีหากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่ามีนักเรียน ครู หรือบุคลากรทางการศึกษามีความเสี่ยงสูง
ดงั นี้

แผนเผชิญเหตุ

การแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกัน

ในสถานศึกษา ครู / นกั เรยี น สถานศึกษา

ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ DMHTT - เปิดเรยี น Onsite

ไมพ่ บผู้ตดิ เช้ือยืนยนั ประเมิน TST เป็นประจำ - ปฏิบัตติ าม TST อยา่ งเครง่ ครดั

- เฝา้ ระวงั คดั กรองอยา่ งตอ่ เนื่อง

- รายงานต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการ DMHTT - ปิดหอ้ งเรียนทพี่ บผตู้ ิดเชือ้ 3 วนั

เน้นใสห่ นา้ กาก เวน้ ระยะหา่ งระหว่าง เพือ่ ทำความสะอาด

พบผูต้ ดิ เชอ้ื ยนื ยนั ใน บุคคล 1-2 เมตร - เปดิ หอ้ งเรยี นอน่ื ๆ Onsite ได้

ห้องเรยี น 1 รายขนึ้ ไป ประเมนิ TST ทุกวัน ตามปกติ

ระบายอากาศทกุ 2 ชวั่ โมง - สุ่มตรวจเฝ้าระวัง Sentinel

หรอื กรณีใช้เคร่ืองปรับอากาศ Surveillance ทกุ 2 สัปดาห์

กรณี High Risk Contact : - ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ TST Plus

พบผ้ตู ดิ เช้อื ยืนยนั งดเรียน Onsite ใหก้ กั ตัวทบ่ี ้าน 14 วัน - รายงานต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั

มากกวา่ 1 ห้องเรียน กรณี Low Risk Contact :

ใหส้ ังเกตอาการของตนเอง และปฏบิ ัติ

ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ

ภาคผนวก

มาตรการดําเนิ นการและแนวทางการเปดภาคเรยี นที 2 ปการศึกษา 2564

ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)

TIMELINE การเตรยี มความพรอ้ ม
สาํ หรบั การเปดภาคเรยี นที 2
ปการศึกษา 2564

โรงเรยี นสารวทิ ยา

สาํ นกั งานเขตพนื ทกี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

แผนเผชญิ เหตโุ รงเรยี นสารวทิ ยา

กรณีพบนักเรยี นกล่มุ เสยี งหรอื ติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID -19)

นั กเรยี นมีความ ครูทปี รกึ ษาหรอื ครูทปี รกึ ษา
ตดิ ตามอาการ
เสียงหรอื มีอาการ ครูผสู้ อนทพี บนั กเรยี น ของนั กเรยี น
จากผปู้ กครอง
ดังนี (อย่างใดอย่างหนึ ง) ทมี อี าการตามข้อทหี นึ งให้ อย่างตอ่ เนื อง

- มอี ุณหภมู ิสูงเกนิ 37.5 องศา ประสานแจง้ งานอนามยั ทราบ

- มอี าการไข้ และส่งตวั นั กเรยี นมาทจี ดุ

- ไอ จาม มนี ามกู พักคอย (ศาลารมณ์) ระหวา่ ง
หรอื ปวดเมอื ยตามตวั ทรี อประสานกบั ผปู้ กครองหรอื
สถานพยาบาล ให้มารบั ทนั ที

กรณีติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID -19)

นั กเรยี นหรอื ผปู้ กครองแจง้ ข้อมลู แกค่ รูทปี รกึ ษา

ครูทปี รกึ ษาตดิ ตามอาการและรายงานให้งานอนามยั โรงเรยี นทราบ
เพือรายงานแกผ่ บู้ รหิ ารและสพฐ. (MOE COVID) และประสานข้อมลู
อย่างตอ่ เนื อง จนสินสุดกระบวนการรกั ษา

โรงเรยี นประกาศปดห้องเรยี นทพี บผตู้ ดิ เชอื 3 วนั
- เพือทาํ การพ่นยาฆา่ เชอื ในห้องเรยี นทพี บเชอื
- ตรวจเชงิ รุกนั กเรยี นผใู้ กล้ชดิ ทมี คี วามเสียง และให้กกั ตวั 14 วนั

กรณีไมต่ ิดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID -19)

ให้นั กเรยี นทไี มต่ ดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019
กลับมาเรยี นตามปกติหลังจากทที าํ การพ่นยา
ฆา่ เชอื ในห้องเรยี นนั นแล้ว

งานอนามยั กล่มุ บรหิ ารทวั ไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรียนสารวิทยา

ส ว ม ห น้ า ก า ก

เ ว้ น ร ะ ย ะ ห่ า ง ล้ างมือ

ลดการแออั ด

ทํา ค ว า ม ส ะ อ า ด คั ดกรองวัดไข้

6 มาตรการหลกั

งานอนามยั กล่มุ บรหิ ารทัวไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรียนสารวทิ ยา

ดู แ ล ต น เ อ ง ใช้ช้อนกลางส่วนตั ว
กิ นอาหารปรุงสุกใหม่

กั กกั นตั วเอง สาํ รวจ ตรวจสอบ
ลงทะเบียนการเข้า ออก

6 มาตรการเสรมิ

งานอนามยั กล่มุ บรหิ ารทัวไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

7 มาตรการเขมงวด

สาํ หรบั สถานศึกษา
ประเมิ น TSC+

และรายงานผลผาน MOE COVID ตอเน่ื อง

ทํากิ จกรรมแบบกลุ มยอย ไมทํากิ จกรรมขามกลุ ม

อาหาร

ตามหลั กสุ ขาภิ บาลอาหารและโภชนาการ

อนามั ยสิ่ งแวดลอม

ตามเกณฑมาตรฐาน ทั้ งอากาศ ความสะอาด นา้ํ ขยะ

มี แผนเผชิ ญเหตุ และซั กซอมอยางเครงครั ด

ดู แลการเดิ นทางจากบานไปโรงเรี ยน

สาํ หรั บทุ กคนในสถานศึ กษา

งานอนามยั กล่มุ บรหิ ารทัวไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรียนสารวิทยา

6 ไม ตองหลีกเลย่ี ง

หากเรยี นท่ีโรงเรยี น

ไมถอด ไมเลน

หนากาก กีฬาเปนทมี
อนามัย กลมุ ใหญ

ไมเกิน ไมนง่ั ติดกนั

25 คน เวลาเรยี น
ตอหอง คยุ เลน ทานขาว

ไมใช ไมเปดแอรเรยี น
นานเกนิ 2 ชม.
สงิ่ ของ
รวมกนั และควรเปดระบาย
อากาศทุก 2 ชม.

งานอนามยั กล่มุ บรหิ ารทัวไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

แนวปฏิบตั ิมาตรการเตรยี มความพรอ้ ม
การเปดเรยี นรูปแบบ On-Site ในสถานการณ์COVID-19

ภาคเรยี นที 2 ปการศึกษา 2564

เตรยี มหนา้ กากอนามยั
เจลแอลกอฮอล์ (สว่ นตวั )
อุปกรณก์ ารเรยี น
ของใชส้ ว่ นตวั ทจี าํ เปนในการเรยี น
ปฏบิ ตั ติ าม 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC)
6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) อยา่ งเครง่ ครดั

ประเมนิ ความเสยี งของตนเอง
ผา่ น THAI SAVE THAI ทกุ วนั

ทําความสะอาดฆา่ เชอื บนพนื ผวิ ทมี กี ารสมั ผสั
เชน่ ลกู บดิ ประตู โตะ๊ เรยี น หอ้ งคอมฯ อุปกรณก์ ฬี า
เปนประจาํ ทกุ วนั
นกั เรยี นทอี ยใู่ นพนื ทเี สยี งใหก้ กั ตวั
เพอื ดอู าการเปนระยะเวลา 14 วนั
และรายงานใหค้ รทู ปี รกึ ษาทราบ
หากมอี าการเจบ็ ปวยทมี คี วามเสยี ง
ใหพ้ กั รกั ษาอาการใหห้ ายกอ่ น
จงึ กลบั มาเรยี นตามปกติ (ไมเ่ สยี เวลาเรยี น)

ตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารและขอคําปรกึ ษาจากครู
เมอื พบปญหา

งานอนามัย กลุ่มบริหารทัวไป โรงเรียนสารวิทยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

บทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานทีเกียวขอ้ ง

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

บทบาทหนา้ ทขี องสถานศกึ ษา

1.ปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นอนามยั อยา่ งตอ่ เนอื งและเครง่ ครดั

2.กําหนดจุดคดั กรองชอ่ งเขา้ -ออก มจี ุดบรกิ ารเจลแอลกอฮอล์
หรอื จุดลา้ งมอื

3.ปฏบิ ตั ติ าม 7 มาตรการเขม้ งวดอยา่ งเครง่ ครดั

4.งดกจิ กรรมทมี กี ารรวมกลมุ่ จาํ นวนมาก

5.ประชาสมั พนั ธใ์ หค้ วามรู้ เกยี วกบั การปองกนั COVID-19

6.ประสานสาธารณสขุ และเครอื ขา่ ยทางการศึกษาของโรงเรยี น
เพอื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและปองกนั COVID-19

งานอนามยั กลมุ่ บรหิ ารทวั ไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

บทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานทีเกียวขอ้ ง

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

บทบาทหนา้ ทขี องครแู ละบคุ ลากร

1.ปฏิบตั ิตาม 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC)
6 มาตรการเสรมิ (SSET-CO)

2.สวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ล้างมอื ด้วยสบูแ่ ละ
เจลแอลกอฮอล์บอ่ ย ๆ

3.หากครูมอี าการเจบ็ ปวยทีมคี วามเสยี งให้พกั รกั ษาให้หายก่อน
และแจง้ ผเู้ กียวขอ้ ง

4.ตรวจสอบ สอดสอ่ งอาการของนกั เรยี นทีมคี วามเสยี ง
และเจบ็ ปวยอยูเ่ สมอ

5.หาสอื ประชาสมั พนั ธใ์ นการปองกัน COVID-19 ให้แก่นักเรยี น

6.การจดั การเรยี นการสอน งดการทํากจิ กรรมกลมุ่ และการเคลอื นยา้ ย
นกั เรยี นใหน้ อ้ ยทสี ดุ

งานอนามยั กลมุ่ บรหิ ารทวั ไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

บทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานทีเกียวขอ้ ง

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

บทบาทหนา้ ทขี องนกั เรยี น

1.ปฏิบตั ิตาม 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC)
6 มาตรการเสรมิ (SSET-CO)

2.ประเมนิ ความเสยี งของตนเองผา่ น Thai save Thai (TST)

3.สวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ล้างมอื ด้วยสบูแ่ ละ
เจลแอลกอฮอล์บอ่ ยๆ

4.ตรวจคัดกรองตนเองเมอื มาถึงโรงเรยี นในทกุ วนั ตอนเชา้

5.การทําความสะอาดห้องเรยี นทกุ วนั

6.หากมอี าการเจบ็ ปวยทีมคี วามเสยี งให้พกั รกั ษาอาการให้หายก่อน
จงึ กลับมาเรยี นตามปกติ (ไมเ่ สยี เวลาเรยี น)

งานอนามยั กลมุ่ บรหิ ารทวั ไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรยี นสารวทิ ยา

บทบาทของบุคลากรและหนว่ ยงานทีเกียวขอ้ ง

ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

บทบาทหนา้ ทขี องผปู้ กครอง

1.ติดตามขอ้ มูลขา่ วสารเกียวกับ COVID-19
2.ประเมนิ ความเสยี ง

3.จดั หาของใชส้ ว่ นตัวทีจาํ เปน

4.จดั หาสบูห่ รอื แอลกอฮอล์ล้างมอื

5.หลีกเลียงการพานกั เรยี นไปในสถานทีแออัด

6.กรณีนกั เรยี นเดินทางมาโรงเรยี น ปฏิบตั ิตามมาตรการ
ของสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั

7.กรณีนักเรยี นเรยี นออนไลน์ผปู้ กครองดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ

งานอนามยั กลมุ่ บรหิ ารทวั ไป โรงเรยี นสารวทิ ยา

โรงเรียนสารวิทยา

สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

เ ล ข ที 2 3 9 8 / 9 6 ถ น น พ ห ล โ ย ธิ น
แ ข ว ง เ ส น า นิ ค ม เ ข ต จ ตุ จั ก ร ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ร หั ส ไ ป ร ษ ณี ย์ 1 0 9 0 0

โ ท ร ศั พ ท์ 0 2 - 9 4 0 - 1 0 6 6 ห รื อ 0 2 - 5 7 9 - 3 6 4 6

ง า น อ น า มั ย ก ลุ่ ม บ ริ ห า ร ทั ว ไ ป โ ร ง เ รี ย น ส า ร วิ ท ย า


Click to View FlipBook Version