The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by to.3kingdoms, 2021-03-31 12:24:26

ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี

ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี

ทรงพระเจริญ

¾ÃÐÁËÒ¡ÃسҨҡà¨ÒŒ ¿‡Ò¹¡Ñ ͋ҹʋÙ
ˌͧÊÁØ´»ÃЪҪ¹ “à©ÅÁÔ ÃÒª¡ØÁÒÃÕ”

ประวตั ิ

ห้องสมุดประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ ารี"

ความหมาย ห้องสมุดประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ ารี "เป็นหอ้ งสมุดประชาชน
จงั หวดั หรือ หอ้ งสมุด ประชาชนอาํ เภอ ท่ีกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการศึกษานอก
โรงเรียนไดร้ ับมติจาก ค.ร.ม. เมื่อวนั ที่ 29 มกราคม 2534 ใหจ้ ดั สร้างเนื่องในวโรกาส สมเดจ็

พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามราชกมุ ารี ทรงเจริญพระชนมายุ 36 พรรษา

ประวตั คิ วามเป็ นมา

กรมการศึกษานอกโรงเรียนไดพ้ ิจารณาเห็นวา่ เพือ่ สนองพระราชปณิธานและแนวทาง
พระราชดาํ ริในการส่งเสริมการศึกษา สาํ หรับประชาชนตามท่ีทรงแสดงไวใ้ นโอกาสต่าง ๆ
เช่น ในโอกาสท่ีทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสดจ็ เป็นองคป์ ระธานในการประชุม สมชั ชาสากล
วา่ ดว้ ยการศึกษาผใู้ หญ่ เม่ือวนั ท่ี 12 มกราคม 2533 ไดท้ รงพระราชทานลายพระหตั ถเ์ ชิญชวน

ให้
"รว่ มกนั ทาํ ใหช้ าวโลกอ่านออกเขยี นได้

และในบทพระราชนิพนธเ์ ร่ือง "ห้องสมุดในทศั นะของข้าพเจ้า" ไดท้ รงกล่าววา่ ความรู้ของ
มนุษยเ์ ป็นมกรดกตกทอดกนั มาแต่โบราณเม่ือมีการประดิษฐค์ ิดคน้ อกั ษรข้ึนผมู้ ีความรู้กไ็ ด้
บนั ทึกความรู้ของตน ส่ิงที่ตนคน้ พบเป็นการจารึก หรือเป็นหนงั สือทาํ ให้ บุคคลอื่นในสมยั เดียวกนั
หรืออนุชนรุ่นหลงั ไดม้ ีโอกาสศึกษาทราบถึง เร่ืองน้นั ๆ และไดใ้ ชค้ วามรู้เก่า ๆ เป็นพ้ืนฐาน ท่ีจะหา
ประสบการณ์ คิดคน้ ส่ิงใหม่ ๆท่ีเป็นความกา้ วหนา้ เป็นความเจริญสืบ ต่อไป

ห้องสมุดเป็ นสถานทเี่ กบ็ เอกสารต่าง ๆ อนั เป็ นแหล่งความรู้ดงั กล่าวแล้ว จงึ เรียกได้ว่าเป็ นครู
เป็ นผู้ชี้นําให้เรามีปัญญา วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ให้รู้สิ่งควรรู้อนั ชอบด้วยเหตุผลได้

ขา้ พเจา้ อยากใหเ้ รามีหอ้ งสมุดท่ีดี มีหนงั สือครบทุกประเภทสาํ หรับประชาชน หนงั สือ
ประเภทที่ขา้ พเจา้ คิดวา่ สาํ คญั ท่ีสุดอยา่ งหน่ึงคือ หนงั สือสาํ หรับเดก็ วยั เดก็ เป็นวยั เรียนรู้ เดก็ ๆ ส่วน
ใหญ่สนใจจะทราบเร่ืองราวตา่ ง ๆ แปลก ๆ ใหม่ ๆ อยแู่ ลว้ ถา้ เรามีหนงั สือที่มีคุณค่าท้งั เน้ือท้งั เน้ือหา
และรูปภาพใหเ้ ขาอ่าน ใหค้ วามรู้ความบนั เทิง เดก็ ๆ จะไดเ้ ติบโตข้ึนผใู้ หญ่ที่สมบูรณ์ท่ีรอบรู้ มี ธรรมะ
ประจาํ ใจ มีความรักบา้ งเมือง มีความตอ้ งการปรารถนาจะทาํ แตป่ ระโยชนท์ ี่สมควร
กระทรวงศึกษาธิการจึงไดข้ อพระราชทานพระราชานุญาตดาํ เนินโครงการจดั ต้งั หอ้ งสมุดประชาชน
ซ่ึงไดร้ ับพระราชทานนามวา่ ห้องสมุดประชาชน "เฉลมิ ราชกมุ ารี" โดยจะเริ่มก่อสร้างหอ้ งสมุด
รุ่นแรกจาํ นวน 37 แห่ง เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใน
วโรกาสท่ีพระชนมายุ 36 พรรษา ในปี 2534 และจะวางแผนดาํ เนินการจดั ต้งั อยา่ งต่อเนื่องจนครบ ทุก
อาํ เภอภายในระยะ เวลา 10 ปี ระหวา่ งปี 2534 - 2543 ซ่ึงเป็นช่วงเวลาที่องคก์ ารสหประชาชาติ ได้
ประกาศใหเ้ ป็นทศวรรษแห่งการส่งเสริมการรู้หนงั สือ

หอ้ งสมุดประชาชนแต่ละแห่งจะสร้างข้ึนดว้ ยความร่วมมือของประชาชนในทอ้ งถ่ินหน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชน จากความจงรักภกั ดีและความสาํ นึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เพ่อื พร้อมใจนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเพื่อ สนองพระราชปณิธาน ใหช้ ุมชน
มีแหล่งความรู้ที่พร้อมพรั่งสมบูรณ์ซ่ึงจะเป็นแบบอยา่ งของการพฒั นาหอ้ งสมุดสืบต่อไปโดย
มีการจดั ส่วน บริการและกิจกรรม คือ

1) ห้องอ่านหนังสือทว่ั ไป
2) มุมเด็กและครอบครัว
3) ห้องเอนกประสงค์
4) ห้องโสตทศั นศึกษา
5) ห้องเฉลมิ พระเกยี รติ

สาระสําคัญ

วตั ถุประสงค์ในการจดั ต้งั มุ่งที่จะกระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ประชาชนในชนบท ดว้ ยการ
จดั ต้งั และพฒั นาหอ้ งสมุด ประชาชน อาํ เภอ ใหเ้ ป็นแหล่งความรู้สาํ หรับประชาชนทุกเพศทุกวยั และ
เป็นศูนยก์ ลางสนบั สนุนการผลิตและเผยแพร่เอกสารสิ่งพมิ พ์ ไปสู่ท่ีอ่านหนงั สือในระดบั หมู่บา้ นท้งั น้ี
โดยไดก้ าํ หนดวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะในการดาํ เนินการไวด้ งั ต่อไปน้ี

1. พฒั นารูปแบบของหอ้ งสมุดประชาชนอาํ เภอ เพือ่ สนองตามแนวพระราชดาํ ริ เพื่อใหเ้ ป็น
ตวั อยา่ งของหอ้ งสมุดในอนาคตที่จะเป็นแหล่งความรู้และศูนยก์ ลางสนบั สนุนเครือข่ายการเรียนรู้
ในระดบั หมู่บา้ น

2. จดั ต้งั หอ้ งสมุดประชาชนอาํ เภอใหค้ รบทุกอาํ เภอ โดยจะคดั เลือกอาํ เภอท่ีมีความพร้อมและ
ความจาํ เป็นเร่งด่วน ดาํ เนินการจดั ต้งั เป็นรุ่นแรกจาํ นวน 37 แห่ง ในช่วงปี 2534 - 2535 เพ่อื เฉลิมพระ
เกียรติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี และทยอยการจดั ต้งั ในอาํ เภออ่ืน จนครบทว่ั ท้งั
ประเทศในช่วง ปี 2536 - 2543

3. พฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนอาํ เภอท่ีจดั ต้งั อยเู่ ดิมแลว้ ใหม้ ีคุณภาพและมีความพร้อมที่จะ
ใหบ้ ริการตามบทบาท และภารกิจของหอ้ งสมุดในอนาคต

4. ประสานงานกบั หน่วยงานภาครัฐและเอกชนรณรงคส์ ่งเสริมการอ่าน เพือ่ กระตุน้ ให้
ประชาชนหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เห็นความสาํ คญั ของการอ่าน และการจดั ต้งั หอ้ งสมุดประชาชน
เพอ่ื จะไดม้ ีส่วนร่วมรับผดิ ชอบในการดาํ เนินโครงการ และใชป้ ระโยชน์จากหอ้ งสมุดท่ีจะจดั ต้งั ข้ึนจาก
วตั ถุประสงคด์ งั กล่าว กรมการศึกษานอกโรงเรียน
จึงมีนโยบายใหห้ อ้ งสมุดประชาชนทุกประเภท ซ่ึงรวมท้งั หอ้ งสมุดประชาชน เฉลิมราชกมุ ารีดว้ ยมี
กิจกรรมหลกั ดงั น้ี

1. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารชุมชน มีกจิ กรรมทจี่ ัดในลกั ษณะดังนี้
1) ดา้ นส่งเสริมการอ่านและการคน้ ควา้ เช่น การประกวดการอ่าน การจดั นิทรรศการ

การเล่านิทาน การเล่าเร่ืองจากหนงั สือ การประกวดยอดนกั อ่าน การโตว้ าที การปาฐกถา เป็นตน้
2) ดา้ นการใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เช่น การอภิปราย การบรรยาย การศึกษาดูงานใน

ทอ้ งถ่ิน การรวบรวมผลงานของภูมิปัญญาในทอ้ งถ่ิน เป็นตน้
3) ดา้ นหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ีสู่ชุมชน เช่น การนาํ ยา่ ม ถุง กระเป๋ า หีบ เรือ รถยนต์ รถไฟ

เคลื่อนไปตามชุมชน จดั หาหนงั สือไปบริการตามจุดหรือหน่วยงานสาํ คญั เช่น เรือนจาํ โรงงาน บา้ นพกั
คนชรา โรงพยาบาล เป็นตน้

4) ดา้ นส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนตามความรู้และความสนใจ เช่น กลุ่มสนใจ กลุ่ม
วิชาชีพ ชมรมต่าง ๆ เช่น ชมรมนกั อ่าน ชมรมอนุรักษธ์ รรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ชมรมสมุนไพร การ
แขง่ ขนั กีฬา เป็นตน้

5) ดา้ นครอบครัวสมั พนั ธ์ เช่น จดั ใหม้ ีสนามเดก็ เล่น จดั มุมเดก็ และมุมครอบครัว จดั
ตามวนั สาํ คญั ๆ เช่น วนั พอ่ วนั แม่ วนั ครอบครัว วนั ตรวจสุขภาพ เป็นตน้
2. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน มกี จิ กรรมทจ่ี ดั ในลกั ษณะ ดังนี้ ;

1) ดา้ นแนะแนวการศึกษานอกโรงเรียน เช่น แนะแนวการศึกษาอาชีพ ทาํ เนียบ
ตลาดแรงงาน แหล่งทรัพยากร จดั ป้ายนิเทศ ตลาดนดั ทวั ร์อาชีพ ศึกษาดูงาน เป็นตน้ งาน

2) ดา้ นจดั และใหบ้ ริการชุดทดลอง ชุดสาธิตต่าง ๆ เช่น สาธิตการทดลองนวตั กรรม ใหม่
ๆ เช่น เคร่ืองดกั ยงุ ระบบน้าํ หยด การทดสอบความช้ืนของขา้ ว การทดลองความเป็นกรดเป็นด่างของ
ดิน เป็นตน้

3) ดา้ นจดั พ้นื ที่สาํ หรับบริการตามหลกั สูตรการศึกษานอกโรงเรียนของสถาบนั ต่าง ๆ
เช่น จดั มุมทางไกล ตนเอง ช้นั เรียน มุม มสธ. มุม มร. เป็นตน้

3. ศูนย์กลางการจดั กจิ กรรมของชุมชน หรือเป็ นศูนย์ประชาคมมีกจิ กรรมทจี่ ัด ในลกั ษณะ ดังนี้
1) บริการสถานที่จดั ประชุม สมั มนา การแสดงผลิตภณั ฑ์ เช่น การจดั ประชุมสมาชิก

ชมรม สมาคม และแสดงกิจกรรมชมรม จดั มุมแสดงสินคา้ พ้นื เมือง จดั แสดงศิลปวฒั นธรรมพ้ืนบา้ น การ
แต่งงาน เป็นตน้

2) กิจกรรมเดก็ และครอบครัว เช่น วนั เดก็ วนั แม่ วนั พอ่ การบรรยายเกี่ยวกบั เดก็ และ
ครอบครัว เป็นตน้

3) กิจกรรมอเนกประสงคข์ องชุมชน เช่น ศิลปวฒั นธรรม การแต่งงาน การดาํ เนินการ
เชิงธุรกิจ สนามเดก็ เล่น เป็นตน้
4. พฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน มกี จิ กรรมทจี่ ัดในลกั ษณะ ดังนี้

1) ดา้ นขอ้ มูลขา่ วสารและสื่อ เช่น การหมุนเวยี นสื่อสารนิเทศไปยงั หอ้ งสมุดโรงเรียน ที่
อ่านหนงั สือประจาํ หมู่บา้ น ศูนยก์ ารเรียน และแหล่งความรู้ในชุมชนใกลเ้ คียง เป็นตน้

2) ดา้ นการพฒั นา การผลิต เผยแพร่ และฝึกอบรม เช่น ผลิตเอกสาร แผน่ ปลิว อบรม
พฒั นาบุคลากร ที่เกี่ยวขอ้ งในการดาํ เนินงานเพ่ือที่จะใหก้ ารเผยแพร่ส่ือสารนิเทศสู่เครือข่ายอยา่ ง มี
ประสิทธิภาพ เป็นตน้

จากวตั ถุประสงคท์ ้งั 4 ขอ้ ดงั กล่าว กรมการศึกษานอกโรงเรียน จดั เพอ่ื ใหป้ ระชาชน ใน
ชุมชนทุกเพศ ทุกวยั ทุกระดบั การศึกษา ทุกอาชีพไดร้ ับการศึกษานอกโรงเรียนจากการจดั บริการและ
กิจกรรมหอ้ งสมุด เพื่อใชใ้ นการปรับปรุงอาชีพ ความเป็นอยู่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ใหด้ ีข้ึน เป็นการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ที่ส่งเสริมสนบั สนุนการศึกษาในระบบและนอกระบบโรงเรียนอีกส่วนหน่ึงดว้ ย

บทบาทหนา ที่

1. ศูนยข์ า่ วสารขอ้ มูลของชุมชน หมายถึง จดั หอ้ งสมุดใหเ้ ป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ คน้ ควา้ วิจยั
โดยมีการจดั บริการหนงั สือ เอกสารส่ิงพมิ พ์ สื่อโสตทศั น์

2. ศูนยส์ ่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน เป็นแหล่งส่งเสริม สนบั สนุน และจดั กิจกรรมการเรียนรู้
3. ศูนยก์ ลางจดั กิจกรรมของชุมชน หมายถึง การใหบ้ ริการแก่ชุมชน ในการจดั กิจกรรมการศึกษา
และศิลปวฒั นธรรม เช่น การประชุมขององคก์ ร การจดั กิจกรรมวนั สาํ คญั ตามประเพณี การจดั สวน
สุขภาพ สนามเดก็ เล่น และสวนสาธารณะ เป็นตน้
4. ศูนยก์ ลางสนบั สนุนเครือขา่ ยการเรียนรู้ในชุมชน หมายถึง การจดั ใหเ้ กิดกระบวนการท่ีจะ
เชื่อมประสานระหวา่ งหอ้ งสมุดและแหล่งความรู้ในชุมชนอ่ืน ๆ เช่น ที่อ่านหนงั สือประจาํ หมู่บา้ น
สถานศึกษา แหล่งประกอบการ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน


Click to View FlipBook Version