เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
โรงเรยี นชมุ ชนวดั ทำเลทอง
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๒
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
โรงเรียนชุมชนวดั ทำเลทอง
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ความสำคัญ
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช่วยให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจการ
ดำรงชวี ิตของมนุษยท์ ั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกนั ในสังคม การปรบั ตัวตามสภาพแวดล้อม
การจัดการทรัพยากรทีม่ ีอยูอ่ ยา่ งจำกดั เข้าใจถงึ การพฒั นา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลาตามเหตุ
ปัจจัยต่างๆ เกดิ ความเขา้ ใจในตนเอง และผู้อ่ืน มคี วามอดทน อดกล้ัน ยอมรบั ในความแตกต่าง และมี
คุณธรรม สามารถนำความร้ไู ปปรับใชใ้ นการดำเนินชวี ติ เป็นพลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสังคมโลก
วิสยั ทศั น์หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้
กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม มงุ่ พัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเปน็ กำลัง
ของชาติใหเ้ ป็นมนษุ ย์ทม่ี คี วามสมดุล ท้ังทางร่ายกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทย
และเป็นพลโลก ใหผ้ ู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่พี ึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏบิ ัติตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยดึ
มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจติ สำนึกในการ
อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มจี ิตสาธารณะท่มี ุ่งทำประโยชนแ์ ละ
สรา้ งสง่ิ ที่ดีงามในสังคมและอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ
จดุ มงุ่ หมายหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลมุ่ วชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม มีจดุ ม่งุ หมายเพือ่ ให้ผูเ้ รียนทกุ คนซึง่ เปน็ กำลังของชาติ
ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับ อิทธิพลของสภาพแวดล้อม ที่มผี ลตอ่ การดำรงชีวิต การอยู่รว่ มกันใน
สงั คม ปรบั ตัวใหท้ ันต่อการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา เป็นพลเมอื งท่ีรับผดิ ชอบ มีความสามารถทางสงั คม มี
ความรู้ มที ักษะ และมคี ุณธรรมเพ่ือเกดิ คา่ นยิ มที่เหมาะสม มงุ่ หวงั ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดความเจริญงอกงามดา้ น
ความร้โู ดยจะให้ความรแู้ ก่ผ้เู รียนดา้ นเนือ้ หาสาระ ความคดิ รวบยอดและหลกั การสำคญั ในสาขาวชิ าตา่ งๆ
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรยี นชุมชนวัดทำเลทอง
พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง
พุทธศักราช 2560)
มงุ่ ให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปลยี่ นขอ้ มูลขา่ วสาร
และประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และ
ลดปัญหาความขัดแยง้ ต่างๆ การเลอื กรับหรือไม่รบั ข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถกู ต้อง
ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสาร ทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อยา่ ง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอื่ นำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรอื
สารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆที่เผชญิ ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธแ์ ละ
การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใชใ้ นการป้องกนั และ
แกไ้ ขปญั หา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขน้ึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและ
ส่งิ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ น
การดำเนินชวี ิตประจำวนั การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องการทำงาน และการอยรู่ ว่ มกันใน
สงั คมด้วยการสร้างเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อยา่ ง
เหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลกี เลยี่ ง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ
และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การสอ่ื สาร การ
ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนชุมชนวดั ทำเลทอง
พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ
พุทธศกั ราช 2560)
มงุ่ พฒั นาให้ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยู่รว่ มกับผอู้ นื่ ในสงั คมได้อย่างมี
ความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก มี 8 ประการ ไดแ้ ก่
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ
3. มีวินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ
คุณภาพผู้เรยี น
จบชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
· มีความรูเ้ ร่ืองของจงั หวดั ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ
สงั คมประเพณี และวฒั นธรรม รวมท้งั การเมอื ง การปกครอง และสภาพเศรษฐกจิ โดยเน้นความเปน็
ประเทศไทย
· มีความรแู้ ละความเข้าใจในเร่อื งศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมคำสอนของ
ศาสนาที่ตนนบั ถือ รวมทงั้ มสี ่วนร่วมศาสนพิธี และพิธกี รรมทางศาสนามากยง่ิ ขึ้น
· ปฏิบตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธหิ นา้ ทีใ่ นฐานะพลเมอื งดีของท้องถ่ิน จงั หวัด ภาค และ
ประเทศ รวมท้ังได้มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของทอ้ งถ่นิ ตนเอง
มากย่ิงข้นึ
· สามารถเปรยี บเทียบเรอื่ งราวของจงั หวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกบั ประเทศเพื่อนบ้าน
ได้รบั การพฒั นาแนวคดิ ทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกบั ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หนา้ ทพี่ ลเมือง เศรษฐศาสตร์
ประวตั ิศาสตร์ และภมู ิศาสตร์ เพอื่ ขยายประสบการณไ์ ปสู่การทำความเข้าใจในภูมิภาค ซีกโลก
ตะวนั ออกและตะวนั ตกเก่ียวกบั ศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม ความเชื่อ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
วัฒนธรรม การดำเนนิ ชวี ติ การจดั ระเบยี บทางสงั คม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดตี ส่ปู ัจจุบัน
จบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓
· มคี วามรูเ้ ก่ียวกบั ความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกบั ประเทศ
ในภูมภิ าคตา่ งๆในโลก เพ่อื พัฒนาแนวคดิ เรอ่ื งการอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ตสิ ุข
· มีทกั ษะทจี่ ำเป็นต่อการเป็นนกั คิดอย่างมีวิจารณญาณไดร้ ับการพัฒนาแนวคิด และขยาย
ประสบการณ์ เปรยี บเทยี บระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชยี
ออสเตรเลีย โอเชียเนยี แอฟรกิ า ยโุ รป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม
คา่ นยิ ม ความเช่ือ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การเมอื งการปกครอง ประวตั ศิ าสตรแ์ ละ
ภูมศิ าสตร์ ดว้ ยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ และสงั คมศาสตร์
· รแู้ ละเขา้ ใจแนวคิดและวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ในการ
ดำเนินชวี ติ และวางแผนการดำเนนิ งานได้อยา่ งเหมาะสม
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื
ศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอน่ื มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยดึ มนั่ และปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม เพื่ออยู่รว่ มกันอย่าง
สนั ตสิ ุข
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปน็ ศาสนกิ ชนทด่ี ี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถอื
สาระที่ 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมืองดี มีค่านยิ มทดี่ ีงาม และ
ธำรงรักษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ิตอย่รู ่วมกันในสังคมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ติสุข
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จบุ ัน ยึดมนั่ ศรทั ธาและธำรง
รกั ษาไวซ้ ึ่งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใช้
ทรพั ยากรท่มี ีอยจู่ ำกดั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทัง้ เขา้ ใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพือ่
การดำรงชวี ิตอยา่ งมดี ุลยภาพ
มาตรฐาน ส.3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ และ
ความจำเปน็ ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์
สามารถใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาตร์ วิเคราะหเ์ หตุการณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ในดา้ นความสัมพนั ธแ์ ละ
การเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนักถงึ ความสำคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบที่
เกดิ ข้นึ
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความ
ภมู ใิ จและธำรงความเปน็ ไทย
สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธ์ ของสรรพสงิ่ ซึ่งมผี ลต่อกนั
ใชแผนทแ่ี ละเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรใ์ นการคนหา วิเคราะห์ และสรปุ ขอมลู ตามกระบวนการทาง
ภมู ศิ าสตรต์ ลอดจนใชภมู ิสารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กบั สิ่งแวดลอมทางกายภาพทก่ี อใหเกิดการ
สรา้ งสรรควถิ กี ารดำเนินชวี ิต มีจิตสาํ นกึ และมีสวนร่วมในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอมเพือ่ การ
พัฒนาทีย่ ง่ั ยนื
การกำหนดตวั ช้ีวัดรายปี กลุม่ สาระการเรยี นรู้สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม
ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง
รหัสวิชา.....................ช่ือรายวชิ า สังคมึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1
สาระมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา
ท่ีตนนับถือและศาสนาอื่น มศี รทั ธาที่ถูกต้อง ยึดม่นั และปฏบิ ัติตามหลักธรรม
เพอ่ื อยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข
ชนั้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.1 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา การสังคายนา
หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือส่ปู ระเทศไทย การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศไทย
2. วิเคราะหค์ วามสำคัญของ ➢ ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทย
พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ ในฐานะเป็น
ทม่ี ีต่อสภาพแวดลอ้ มในสงั คมไทย ศาสนาประจำชาติ
รวมทัง้ การพัฒนาตนและครอบครัว สถาบนั หลกั ของสังคมไทย
สภาพแวดล้อมทก่ี วา้ งขวาง และครอบคลุม
สงั คมไทย
การพฒั นาตนและครอบครวั
3. วิเคราะหพ์ ุทธประวตั ิตงั้ แต่ประสตู ิ สรปุ และวิเคราะห์ พุทธประวัติ
จนถึงบำเพ็ญทุกรกริ ยิ า หรอื ประวตั ิ - ประสูตเิ ทวทูต 4
ศาสดาท่ีตนนบั ถือตามที่กำหนด - การแสวงหาความรู้
- การบำเพ็ญทุกรกิรยิ า
4. วิเคราะห์และประพฤติตนตาม ➢ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า
แบบอย่างการดำเนนิ ชีวติ และขอ้ คิดจาก พระมหากสั สปะ
ประวัติสาวก ชาดก/เร่ืองเล่า และศา พระอุบาลี
สนิกชนตวั อย่างตามท่ีกำหนด อนาถบิณฑกิ ะ
นางวิสาขา
➢ ชาดก
อัมพชาดก
ตติ ตริ ชาดก
ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. อธิบายพทุ ธคณุ และข้อธรรมสำคญั ➢ พระรตั นตรัย , พทุ ธคณุ 9 ,อรยิ สัจ 4
ในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักธรรมของ ทกุ ข์ (ธรรมท่ีควรรู้)
ศาสนาทีต่ นนับถือ ตามท่กี ำหนด เหน็ - ขันธ์ 5
คุณคา่ และนำไปพฒั นาแก้ปัญหาของ - ธาตุ 4
ตนเองและครอบครวั สมทุ ัย (ธรรมทคี่ วรละ)
- หลกั กรรม
- ความหมายและคณุ คา่
- อบายมุข 6
นิโรธ (ธรรมท่คี วรบรรลุ)
- สุข 2 (กายิก, เจตสิก)
- คิหสิ ุข
มงคล 38
- ไม่คบคนพาล
- คบบัณฑติ
- บูชาผคู้ วรบชู า
พุทธศาสนสภุ าษิต
ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
➢ มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ )
ไตรสกิ ขา
กรรมฐาน 2
ปธาน 4
โกศล 3
มงคล 38
- ไม่คบคนพาล
- คบบณั ฑติ
- บชู าผู้ควรบชู า
➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต
➢ ยํ เว เสวติ ตาทิโส
คบคนเช่นใดเป็นคนเชน่ น้นั
➢ อตตฺ นา โจทยตฺตานํ
จงเตือนตน ดว้ ยตน
➢ นิสมมฺ กรณํ เสยฺโย
ใคร่ครวญก่อนทำจึงดี
➢ ทรุ าวาสา ฆรา ทุกขฺ า
เรือนทีค่ รองไม่ดนี ำทกุ ข์มาให้
6. เหน็ คณุ ค่าของการพัฒนาจิต เพ่ือ ➢ โยนโิ สมนสกิ าร
การเรยี นรู้และการดำเนินชวี ิต ด้วยวิธี วธิ ีคิดแบบคณุ คา่ แท้ – คุณค่าเทยี ม
คดิ แบบโยนิโสมนสิการคือวธิ ีคดิ แบบ วิธคี ิดแบบคณุ - โทษและทางออก
คณุ คา่ แท้ – คุณคา่ เทยี ม และวิธคี ิด
แบบคุณ – โทษ และทางออก หรอื การ
พฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตน
นบั ถอื
7. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจติ และ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา
เจรญิ ปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรือ วิธีปฏิบตั แิ ละประโยชนข์ องการบริหารจิตและ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนับถอื ตามที่ เจรญิ ปญั ญา การฝกึ บรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา
กำหนด ตามหลกั สติปฎั ฐานเน้นอานาปานสติ
นำวธิ ีการบริหารจิตและเจริญปญั ญาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั
ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
8. วิเคราะห์และปฏิบัติตนตาม หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรูข้ อ้ 5)
หลกั ธรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ในการ
ดำรงชีวิตแบบพอเพยี ง และดูแลรักษา
สิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการอยูร่ ว่ มกนั ไดอ้ ย่าง
สันติสขุ
9. วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นท่ที กุ คน ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆ มกี ารประพฤติ
ตอ้ งศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ปฏิบตั ิตนและวิถกี ารดำเนนิ ชีวติ แตกต่างกันตาม
หลักความเช่ือและคำสอน ของศาสนาท่ีตน นบั
ถือ
10. ปฏิบตั ิตนตอ่ ศาสนิกชนอ่ืนใน การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเหมาะสมต่อศาสนิกชนอ่ืนใน
สถานการณ์ต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม สถานการณ์ต่างๆ
11. วเิ คราะห์การกระทำของบคุ คลที่ ตัวอยา่ งบุคคลในทอ้ งถิน่ หรอื ประเทศท่ปี ฏิบตั ิ
เปน็ แบบอยา่ งด้านศาสนสัมพันธ์ และ ตนเป็นแบบอยา่ งดา้ นศาสนสัมพนั ธห์ รือมผี ลงาน
นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัตขิ องตนเอง ดา้ นศาสนสมั พันธ์
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนกิ ชนทดี่ ี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาท่ตี นนบั ถือ
ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.1 1. บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของ การบำเพ็ญประโยชน์ และการบำรงุ รักษาวัด
ศาสนาทต่ี นนับถือ
2. อธิบายจริยาวัตรของสาวกเพ่อื เป็น วถิ ชี ีวติ ของพระภกิ ษุ
แบบอย่างในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ และ บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่
ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของ พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม
ศาสนาทีต่ นนับถือ ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนใหเ้ ปน็
แบบอย่าง
การเข้าพบพระภิกษุ
การแสดงความเคารพ การประนมมือ การ
ไหว้ การกราบ การเคารพพระรตั นตรยั
การฟังเจรญิ พระพุทธมนต์ การฟงั สวดพระ
อภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา
ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
3. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อเพ่อื นตามหลัก
ตามหลกั ศาสนาทต่ี นนบั ถือตามทกี่ ำหนด พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถื
4. จดั พิธกี รรม และปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ี
พิธีกรรมได้ถูกต้อง การจัดโตะ๊ หมบู่ ูชา แบบ หมู่4 หมู่ 5 หมู่ 7 หมู่9
การจดุ ธูปเทยี น การจัดเครื่องประกอบโตะ๊ หมู่บูชา
5. อธิบายประวัติ ความสำคัญ และ ปฏิบัติ คำอาราธนาต่างๆ
ตนในวันสำคญั ทางศาสนาทีต่ นนับถอื
ตามท่ีกำหนด ได้ถกู ต้อง ประวตั ิและความสำคัญของวันธรรมสวนะ
วันเขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา วนั เทโว
โรหณะ
ระเบียบพธิ ี พธิ ีเวยี นเทยี น การปฏบิ ัติตนใน
วนั มาฆบชู า วนั วิสาขบชู า วันอฏั ฐมีบชู า วนั
อาสาฬหบชู า
วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั
สาระที่ 2 หนา้ ทพี่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวติ ในสังคม
มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นิยมทด่ี งี ามและธำรงรักษา
ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่รว่ มกันในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ตสิ ขุ
ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ม.1 1. ปฏิบตั ติ ามกฎหมายในการคุ้มครอง กฎหมายในการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องบคุ คล
สทิ ธขิ องบุคคล - กฎหมายการค้มุ ครองเด็ก
- กฎหมายการศกึ ษา
- กฎหมายการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค
- กฎหมายลิขสิทธิ์
ประโยชน์ของการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย
การคุ้มครองสิทธขิ องบุคคล
2. ระบุความสามารถของตนเอง บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนท่ีมีต่อ
ในการทำประโยชนต์ ่อสังคมและ สงั คมและประเทศชาติ โดยเนน้ จติ สาธารณะ
ประเทศชาติ เชน่ เคารพกติกาสังคม
ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย มสี ว่ นร่วมและ
รับผิดชอบในกิจกรรมทางสงั คม อนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. อภปิ รายเกี่ยวกบั คุณคา่ ทางวัฒนธรรม ความคลา้ ยคลงึ และความแตกต่าง
ทีเ่ ปน็ ปจั จัยในการสรา้ งความสมั พันธ์ทีด่ ี ระหว่างวฒั นธรรมไทยกับวฒั นธรรมของ
หรืออาจนำไปส่คู วามเข้าใจผิดต่อกนั ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้
วัฒนธรรมทีเ่ ป็นปจั จัยในการสร้าง
ความสมั พนั ธท์ ่ดี ี หรืออาจนำไปสู่ความเข้าใจ
ผดิ ตอ่ กัน
4. แสดงออกถึงการเคารพในสทิ ธขิ อง วธิ ปี ฏิบัตติ นในการเคารพในสทิ ธขิ อง
ตนเองและผอู้ ่นื ตนเองและผู้อืน่
ผลทไ่ี ด้จากการเคารพในสิทธขิ องตนเอง
และผู้อื่น
สาระท่ี 2 หนา้ ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยดึ มน่ั ศรัทธาและธำรงรกั ษา
ไวซ้ ึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.1 1. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์ หลักการ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง และ
โครงสรา้ ง และสาระสำคญั ของ สาระสำคญั ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ไทย ฉบับปัจจุบัน
ฉบับปจั จุบนั โดยสงั เขป
2. วเิ คราะหบ์ ทบาทการถว่ งดุลของอำนาจ การแบ่งอำนาจ และการถ่วงดุล
อธปิ ไตยในรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั ร อำนาจอธปิ ไตยทงั้ 3 ฝา่ ย คือนติ ิ
ไทย ฉบบั ปจั จบุ นั บัญญตั ิ บริหาร ตลุ าการ ตามที่ระบุ
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ฉบบั ปัจจบุ นั
3. ปฏิบัติตนตามบทบญั ญตั ิของ การปฏบิ ตั ติ นตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั
ปจั จุบันท่เี ก่ยี วข้องกบั ตนเอง ปจั จบุ ัน เกีย่ วกบั สทิ ธิ เสรภี าพและ
หน้าที่
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ทรัพยากร
ที่มอี ยจู่ ำกดั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมทง้ั เข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื การ
ดำรงชวี ติ อย่างมีดลุ ยภาพ
ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของ ความหมายและความสำคญั ของ
เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น
ความหมายของคำว่าทรัพยากรมจี ำกัดกบั
ความตอ้ งการมีไม่จำกดั ความขาดแคลน
การเลอื กและคา่ เสียโอกาส
ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
2. วเิ คราะห์คา่ นิยมและพฤติกรรมการ ความหมายและความสำคญั ของการ
บริโภคของคนในสงั คมซ่งึ สง่ ผลต่อ บริโภคอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ หลกั การในการบริโภคท่ีดี
ปัจจยั ทม่ี ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค
ค่านยิ มและพฤติกรรมของการบริโภคของ
คนในสังคมปัจจบุ ัน รวมทง้ั ผลดีและผลเสยี ของ
พฤติกรรมดังกลา่ ว
3. อธบิ ายความเปน็ มาหลักการและ ความหมายและความเป็นมาของปรัชญา
ความสำคญั ของปรัชญาของเศรษฐกจิ ของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียงต่อสงั คมไทย ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยหู่ ัวรวมทง้ั โครงการตามพระราชดำริ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
การประยกุ ต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ในการดำรงชีวติ
ความสำคญั คุณค่าและประโยชนข์ อง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตอ่ สงั คมไทย
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจและความ
จำเป็นของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก
ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. วิเคราะห์บทบาทหนา้ ที่และความ ความหมาย ประเภท และความสำคัญของ
แตกต่างของสถาบันการเงินแตล่ ะประเภท สถาบันการเงนิ ท่ีมีต่อระบบเศรษฐกิจ
และธนาคารกลาง บทบาทหนา้ ที่และความสำคัญของธนาคาร
กลาง
การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทนุ
ซง่ึ แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างผู้ผลติ ผบู้ ริโภค
และสถาบนั การเงิน
2. ยกตัวอย่างทีส่ ะท้อนใหเ้ ห็นการพึง่ พา ยกตัวอย่างทส่ี ะท้อนใหเ้ ห็นการพงึ่ พาอาศัย
อาศัยกนั และการแข่งขันกนั ทางเศรษฐกจิ กันและกัน การแข่งขนั กันทางเศรษฐกจิ ใน
ในประเทศ ประเทศ
ปัญหาเศรษฐกจิ ในชมุ ชน ประเทศ และเสนอ
แนวทางแก้ไข
3. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด ความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน
อปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน ปจั จยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อการกำหนดอปุ สงคแ์ ละ
อุปทาน
4. อภิปรายผลของการมกี ฎหมายเก่ยี วกับ ความหมายและความสำคัญของทรพั ยส์ ินทาง
ทรัพย์สินทางปัญญา ปญั ญา
กฎหมายท่ีเกย่ี วกบั การคุ้มครองทรพั ย์สนิ
ทางปัญญาพอสังเขป
ตัวอยา่ งการละเมดิ แหง่ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
แต่ละประเภท
สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้
วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ
ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.1 1. วเิ คราะห์ความสำคัญของเวลาใน ความสำคัญของเวลา และช่วงเวลาสำหรับ
การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ การศึกษาประวตั ศิ าสตร์
ความสมั พนั ธแ์ ละความสำคญั ของอดีตที่มตี อ่
ปัจจบุ ันและอนาคต
ตัวอยา่ งการใช้เวลา ชว่ งเวลาและยคุ สมยั ที่
ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย
2. เทยี บศักราชตามระบบตา่ งๆทีใ่ ช้ ทีม่ าของศกั ราชท่ีปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์
ศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ ไทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.
วิธีการเทียบศกั ราชตา่ งๆ และตัวอย่าง
การเทียบ
ตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชต่างๆ ท่ีปรากฏในเอกสาร
ประวัติศาสตร์ไทย
3. นำวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาใช้ ความหมายและความสำคญั ของประวัติศาสตร์
ศึกษาเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ และวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ทมี่ คี วามสัมพันธเ์ ช่ือมโยง
กนั
ตวั อย่างหลักฐานในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย
สมัยสุโขทัย ทัง้ หลักฐานชน้ั ต้น และหลักฐานชั้นรอง (
เชอื่ มโยงกบั มฐ.ส 4.3) เชน่ ขอ้ ความ ในศิลาจารกึ
สมยั สโุ ขทัย เปน็ ตน้
นำวธิ ีการทางประวัตศิ าสตรไ์ ปใชศ้ ึกษาเร่อื งราว
ของประวัติศาสตร์ไทยที่มอี ยใู่ นท้องถ่นิ ตนเองในสมยั ใด
กไ็ ด้ (สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ สมัยก่อนสโุ ขทยั สมยั
สุโขทยั สมยั อยุธยา สมัยธนบรุ ี สมยั รัตนโกสินทร์ )
และเหตกุ ารณ์สำคญั ในสมยั สุโขทยั
สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั ในด้านความสมั พนั ธแ์ ละ
การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสำคัญและสามารถ วเิ คราะห์
ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ
ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกจิ ทีต่ งั้ และสภาพทางภมู ศิ าสตร์ของประเทศ
และการเมอื งของประเทศต่างๆ ใน ตา่ งๆ ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทม่ี ี
ภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ผลตอ่ พัฒนาการทางด้านต่างๆ
พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และ
การเมืองของประเทศตา่ งๆ ในภูมภิ าคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้
2. ระบคุ วามสำคัญของแหล่งอารยธรรม ท่ีตงั้ และความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรม
ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เช่นแหลง่
มรดกโลกในประเทศต่างๆ ของเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้
อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดนิ แดน
ไทยท่ีมีตอ่ พฒั นาการของสงั คมไทยในปัจจบุ ัน
สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.3เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็นไทย
ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.1 1. อธิบายเร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์ สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย
สมยั กอ่ นสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป โดยสงั เขป
2. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของอาณาจกั รสุโขทัย รัฐโบราณในดินแดนไทย เชน่ ศรวี ิชยั
ในดา้ นต่างๆ ตามพรลงิ ค์ ทวารวดี เป็นต้น
3. วิเคราะหอ์ ิทธิพลของวัฒนธรรม และภูมิ รัฐไทย ในดินแดนไทย เชน่ ลา้ นนา
ปญั ญาไทยสมยั สโุ ขทัยและสงั คมไทยใน นครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ เป็นตน้
ปัจจบุ ัน การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และ
ปัจจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (ปัจจยั ภายในและ
ปจั จัยภายนอก)
ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
พฒั นาการของอาณาจักรสโุ ขทัย ใน
ดา้ นการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ
สงั คม และความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ
วฒั นธรรมสมัยสโุ ขทัย เชน่
ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณสี ำคัญ
ศลิ ปกรรมไทย
วัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย เชน่
ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำคัญ
ศลิ ปกรรมไทย
ภมู ปิ ัญญาไทยในสมยั สุโขทัย เชน่
การชลประทาน เคร่ืองสังคมโลก
ความเสอ่ื มของอาณาจักรสโุ ขทยั
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพส่ิงซงึ่ มผี ลต่อกนั ใช้แผน
ท่ี
และเคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.1 1. วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพของ ท่ีตัง้ ขนาด และอณาเขตทวีปเอเชีย ทวปี
ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
เนีย โดยใชเ้ ครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์
สืบคน้ ข้อมูล
2. อธบิ ายพิกัดภูมิศาสตร์(ละติจดู และ พกิ ัดภูมศิ าสตร์ (ละติจูด และลองจิจดู )
ลองจจิ ูด) เส้นแบ่งเวลา และ เส้นแบง่ เวลา
เปรยี บเทยี บวนั เวลาของโลก การเปรยี บเทียบวนั เวลาของโลก
3. วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกิดภยั พิบตั ิของ สาเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ัติและผลกระทบใน
ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชีย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย โอเชียเนีย
เนยี
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพทีก่ ่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์
วิถกี าร ดำเนนิ ชีวิต มีจิตสำนกึ และมีสว่ นรว่ มในการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม
เพ่อื การพัฒนาท่ีย่ังยืน
ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ม.1 1. สำรวจและระบทุ ำเลทต่ี ้งั ของ ทำเลท่ีต้งั ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวีป เชน่ พื้นท่ีเพาะปลกู และเลีย้ งสัตว์ แหล่งประมง
เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย การกระจายของภาษาและศาสนาในทวปี เอเชีย
ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย
2. วเิ คราะหป์ ัจจยั ทางกายภาพและ ปจั จยั ทางกายภาพและปัจจยั ทางสงั คมที่สง่ ผล
ปัจจัยทางสงั คมที่ส่งผลตอ่ ทำเลที่ตงั้ ของ ต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทางประชากร
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวีป ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมใน
เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
3. สืบคน้ อภปิ รายประเดน็ ปัญหาจาก ประเดน็ ปญั หาจากปฏิสมั พันธ์ระหว่าง
ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างสิง่ แวดลอ้ มทาง ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนษุ ย์ที่เกิดขึ้นใน
กายภาพกับมนุษย์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในทวีป ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนยี
เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี
4. วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การภยั พบิ ัติ แนวทางการจดั การภัยพิบตั ิและการจัดการ
และการจัดการทรัพยากรและ ทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อมในทวปี เอเชยี ทวปี
สง่ิ แวดลอ้ มในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี
ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ท่ีย่ังยืน
รหสั วชิ า.....................ชือ่ รายวิชา สังคมศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
สาระมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ทีต่ นนบั ถือและศาสนาอ่นื มีศรัทธาท่ีถกู ต้อง ยึดมั่นและปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรม
เพ่อื อยรู่ ่วมกันอย่างสันตสิ ุข
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.2 1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศ
หรือศาสนาท่ีตนนับถือสู่ประเทศเพื่อน เพอ่ื นบา้ นและการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาของ
บา้ น ประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจบุ นั
2. วเิ คราะห์ความสำคัญของพระพทุ ธ ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาท่ีชว่ ย
ศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือท่ชี ว่ ย เสริมสร้างความเข้าใจอนั ดีกับประเทศเพ่ือนบา้ น
เสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีกบั ประเทศ
เพ่ือนบ้าน
3. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของ ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย
พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ในฐานะเปน็
ในฐานะท่เี ปน็ รากฐานของวฒั นธรรม รากฐานของวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ
4. อภปิ รายความสำคัญของพระพทุ ธ ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ
ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือกับ การพัฒนาชุมชนและการจดั ระเบยี บสังคม
การพฒั นาชมุ ชนและการจัดระเบยี บ
สงั คม
5. วิเคราะหพ์ ทุ ธประวัตหิ รอื ประวัติ สรปุ และวเิ คราะห์ พทุ ธประวตั ิ
ศาสดาของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ี การผจญมาร
กำหนด การตรัสรู้
การสั่งสอน
6. วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตาม พระสารบี ตุ ร
แบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิตและขอ้ คิดจาก พระโมคคลั ลานะ
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ นางขุชชตุ ตรา
ศาสนิกชนตัวอยา่ งตามที่กำหนด พระเจา้ พิมพิสาร
มติ ตวินทุกชาดก
ราโชวาทชาดก
ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
7. อธบิ ายโครงสร้าง และสาระสังเขปของ โครงสร้าง และสาระสังเขปของพระวินยั
พระไตรปฎิ ก หรอื คัมภรี ข์ องศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฎิ ก พระสุตตนั ตปฎิ ก และพระอภธิ รรมปฎิ ก
ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
8. อธบิ ายธรรมคณุ และข้อธรรมสำคญั ในกรอบ พระรตั นตรยั
อริยสจั 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือ ธรรมคณุ 6
ตามท่ีกำหนด เห็นคุณคา่ และนำไปพฒั นา อริยสัจ 4
แก้ปญั หาของชมุ ชนและสงั คม ทกุ ข์ (ธรรมทีค่ วรรู)้
ขันธ์ 5
- อายตนะ
สมุทยั (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม
- สมบัติ 4
- วบิ ตั ิ 4
อกศุ ลกรรมบถ 10
อบายมุข 6
นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ)
สขุ 2 (สามสิ , นริ ามสิ )
มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ )
o บุพพนิมิตของมชั ฌิมาปฏปิ ทา
o ดรณุ ธรรม 6
o กลุ จริ ัฏฐติ ธิ รรม 4
o กศุ ลกรรมบถ 10
o สตปิ ฏั ฐาน ,
o มงคล 38
- ประพฤตธิ รรม
- เว้นจากความชัว่
- เว้นจากการดมื่ น้ำเมา
พุทธศาสนสภุ าษติ
กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตวโ์ ลกย่อมเป็นไป
ตามกรรม
กลยฺ าณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ
ทำดไี ดด้ ี ทำช่วั ได้ชว่ั
สโุ ข ปญุ ฺญสฺส อุจจฺ โย การสัง่ สมบญุ นำสขุ
มาให้
ปชู โก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก ปฏวิ นทฺ นํ
ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ผ้บู ชู าเขา ย่อมไดร้ ับการบูชาตอบ
ผู้ไหวเ้ ขายอ่ มไดร้ ับการไหว้ตอบ
9. เหน็ คุณค่าของการพัฒนาจิตเพือ่ การเรยี นรู้ พัฒนาการเรยี นร้ดู ้วยวิธคี ิดแบบโยนโิ ส-มนสกิ าร
และดำเนินชวี ิต ด้วยวธิ คี ดิ แบบโยนิโสมนสิการ 2 วธิ ี คอื วิธคี ดิ แบบอุบายปลุกเรา้ คุณธรรม และ
คอื วธิ ีคดิ แบบอบุ ายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธี วิธคี ิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ์
คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ หรอื การพัฒนาจติ
ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือ
ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
10. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และ สวดมนต์แปล และแผเ่ มตตา
เจรญิ ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื รแู้ ละเข้าใจวธิ ีปฏิบัตแิ ละประโยชนข์ องการ
ตามแนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถอื บรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา
ฝึกการบริหารจติ และเจริญปัญญาตามหลัก
สติปฎั ฐาน เนน้ อานาปานสติ
นำวิธีการบริหารจติ และเจริญปญั ญา ไปใชใ้ น
ชีวติ ประจำวนั
11.วิเคราะห์การปฏิบัตติ นตาม การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม (ตามสาระ
หลกั ธรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื เพ่ือ การเรยี นรู้ ขอ้ 8.)
การดำรงตนอยา่ งเหมาะสมในกระแส
ความเปลี่ยนแปลงของโลก และการอยู่
ร่วมกนั อย่างสันตสิ ุข
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนกั และปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ
ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.2 1. ปฏบิ ตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ การเปน็ ลกู ที่ดี ตามหลักทิศเบ้ืองหน้า
ตามหลักศาสนาทตี่ นนับถือ ตามทีก่ ำหนด ในทศิ 6
2. มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ขนทดี่ ี มรรยาทของศาสนิกชน
ตามทก่ี ำหนด -การตอ้ นรับ(ปฏสิ ันถาร)
-มรรยาทของผู้เปน็ แขก
-ฝึกปฏบิ ัติระเบียบพธิ ี ปฏิบัติต่อพระภกิ ษุ การ
ยนื การใหท้ น่ี ่งั การเดินสวน การสนทนา การ
รบั สิง่ ของ
-การแต่งกายไปวดั การแตง่ กายไปงานมงคล
งานอวมงคล
3. วิเคราะห์คณุ คา่ ของศาสนพิธแี ละปฏิบตั ิ -การปฏิบัตติ นอย่างเหมาะสม
ตนไดถ้ ูกตอ้ ง -การทำบุญตักบาตร
-การถวายภัตตาหารสงิ่ ของที่ควรถวายและ
สง่ิ ของต้องหา้ มสำหรบั พระภกิ ษุ
ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
-การถวายสังฆทาน เครอ่ื งสงั ฆทาน
-การถวายผ้าอาบนำ้ ฝน
-การจดั เครอ่ื งไทยธรรม เครือ่ งไทยทาน
-การกรวดนำ้ ,การทอดกฐิน,การทอดผ้าปา่
4.อธิบายคำสอนท่เี กยี่ วน้องกับวนั สำคญั หลกั ธรรมเบอื้ งต้นทีเ่ กยี่ วเน่ืองในวนั มาฆบูชา
ทางศาสนาและปฏิบตั ติ นไดถ้ ูกตอ้ ง วิสาขบูชา วันอัฐมบี ชู า วันอาสาฬหบชู า วัน
ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ
ระเบียบพิธีและการปฏบิ ัตติ นในวนั ธรรม
สวนะ วันเข้าพรรษา วนั ออกพรรษา วันเทโว
โรหนะ
5. อธิบายความแตกต่างของศาสนพธิ ี ศาสนพิธี พิธกี รรม แนวปฏบิ ัตขิ องศาสนาอ่นื ๆ
พิธกี รรมตามแนวปฏบิ ัติของศาสนาอ่นื ๆ
เพือ่ นำไปส่กู ารยอมรบั และความเข้าใจของ
กันและกนั
สาระที่ 2 หน้าทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัตติ นตามหนา้ ทขี่ องการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านยิ มที่ดีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสนั ติสขุ
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อธิบายและปฏบิ ัติตนตามกฎหมายท่ี กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกบั ตนเอง ครอบครวั
เกย่ี วขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและ เช่น
ประเทศ - กฎหมายเก่ยี วกบั ความสามารถของ
ผเู้ ยาว์
- กฎหมายบตั รประจำตัวประชาชน
- กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครวั และ
มรดก เชน่ การหมน้ั การสมรส การรบั รอง
บตุ ร การรบั บุตรบญุ ธรรม และมรดก
กฎหมายที่เกีย่ วกับชมุ ชนและประเทศ
- กฎหมายเกย่ี วกบั การอนรุ ักษ์
ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
- กฎหมายเก่ยี วกับภาษีอากร และกรอก
แบบแสดงรายการ ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา
- กฎหมายแรงงาน
2. เหน็ คณุ คา่ ในการปฏิบัติตนตาม สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ
สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพ หน้าท่ี หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
ในฐานะพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย แนวทางส่งเสรมิ ใหป้ ฏบิ ัตติ นเปน็
พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย
3. วิเคราะห์บทบาท ความสำคัญ และ บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์
ความสมั พันธ์ของสถาบันทางสงั คม ของสถาบนั ทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบนั
เศรษฐกิจ สถาบนั ทางการเมอื งการปกครอง
4.อธบิ ายความคล้ายคลงึ และความ ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างของ
แตกต่างของวฒั นธรรมไทย และ วัฒนธรรมไทย และวฒั นธรรมของประเทศใน
วฒั นธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ภมู ิภาคเอเชยี วฒั นธรรมเป็นปจั จัยสำคัญใน
เพ่ือนำไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างกนั การสร้างความเข้าใจอันดีระหวา่ งกนั
สาระท่ี 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยึดม่ัน ศรัทธาและธำรงรกั ษา
ไวซ้ ง่ึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.2 1. อธิบายกระบวนการในการตรา กระบวนการในการตรากฎหมาย
กฎหมาย ผู้มสี ทิ ธเิ สนอรา่ งกฎหมาย
ขนั้ ตอนการตรากฎหมาย
การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการ
ตรากฎหมาย
2. วิเคราะหข์ ้อมูล ขา่ วสารทางการเมือง เหตกุ ารณ์ และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของ
การปกครองทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคมไทย ระบอบ การปกครองของไทย
สมัยปจั จบุ ัน หลกั การเลอื กข้อมลู ข่าวสาร
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใชท้ รัพยากร
ทีม่ อี ยูจ่ ำกดั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือการ
ดำรงชีวติ อย่างมีดลุ ยภาพ
ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.2 1. วเิ คราะห์ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อการลงทุนและ ความหมายและความสำคัญของการลงทนุ
การออม และการออมต่อระบบเศรษฐกิจ
การบรหิ ารจดั การเงนิ ออมและการลงทนุ
ภาคครวั เรอื น
ปัจจัยของการลงทนุ และการออมคือ อัตรา
ดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอ่นื ๆ เช่น คา่ ของเงิน
เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต
ปัญหาของการลงทนุ และการออมใน
สังคมไทย
ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
2. อธบิ ายปัจจัยการผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร ความหมาย ความสำคัญ และหลกั การผลิต
และปัจจัยทม่ี ีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้า สนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
และบริการ สำรวจการผลิตสินคา้ ในท้องถนิ่ วา่ มกี าร
ผลิตอะไรบ้าง ใชว้ ธิ กี ารผลติ อย่างไร มีปัญหา
ด้านใดบ้าง
มกี ารนำเทคโนโลยอี ะไรมาใชท้ ่ีมีผลตอ่
การผลิตสินค้าและบริการ
นำหลักการผลติ มาวิเคราะหก์ ารผลิตสนิ ค้า
และบริการในท้องถนิ่ ทั้งดา้ นเศรษฐกิจ สังคม
และสิง่ แวดล้อม
3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตใน หลกั การและเปา้ หมายปรัชญาของเศรษฐกจิ
ท้องถ่นิ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอเพยี ง
สำรวจและวเิ คราะห์ปญั หาการผลติ สนิ ค้า
และบริการในท้องถ่ิน
ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใน
การผลิตสินค้าและบริการในท้องถน่ิ
4. อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธขิ อง การรกั ษาและคุ้มครองสิทธิประโยชนข์ อง
ตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ผู้บริโภค
กฎหมายคุม้ ครองสทิ ธิผุบ้ ริโภคและ
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
การดำเนนิ กิจกรรมพทิ ักษ์สทิ ธแิ ละ
ผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผูบ้ รโิ ภค
แนวทางการปกป้องสทิ ธิของผ้บู ริโภค
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่างๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจและความ
จำเป็นของการรว่ มมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ ระบบเศรษฐกจิ แบบต่างๆ
2. ยกตัวอยา่ งท่สี ะท้อนใหเ้ ห็น หลักการและผลกระทบการพึง่ พาอาศัยกัน
การพ่ึงพาอาศยั กัน และการแขง่ ขันกัน และการแขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกจิ ในภูมภิ าคเอเชยี
ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคเอเชยี
3. วเิ คราะหก์ ารกระจายของทรพั ยากร การกระจายของทรพั ยากรในโลกที่สง่ ผลตอ่
ในโลกทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสัมพันธ์ทาง ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ เชน่
เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ น้ำมัน ป่าไม้ ทองคำ ถ่านหิน แร่ เป็นต้น
4. วเิ คราะห์การแขง่ ขันทางการคา้ การแขง่ ขนั ทางการค้าในประเทศและ
ในประเทศและตา่ งประเทศส่งผลต่อ ตา่ งประเทศ
คุณภาพสนิ ค้า ปริมาณการผลิต และ
ราคาสนิ ค้า
สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ
ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.2 1. ประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐาน วิธกี ารประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของ
ทางประวัติศาสตรใ์ นลกั ษณะตา่ งๆ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นลกั ษณะตา่ งๆ
2. วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหวา่ งความจรงิ อย่างงา่ ยๆ เชน่ การศึกษาภมู ิหลังของผทู้ ำ หรือ
กบั ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทาง ผเู้ กย่ี วขอ้ ง สาเหตุ ชว่ งระยะเวลา รูปลักษณ์
ประวตั ศิ าสตร์ ของหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นตน้
3. เหน็ ความสำคญั ของการตีความหลักฐาน ตวั อย่างการประเมนิ ความน่าเช่ือถือของ
ทางประวัตศิ าสตรท์ ่นี า่ เชื่อถอื หลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทยท่อี ยูใ่ นท้องถ่ิน
ของตนเอง หรอื หลักฐาน
สมยั อยุธยา ( เช่อื มโยงกับ มฐ. ส 4.3 )
ตัวอย่างการวเิ คราะห์ข้อมูลจากเอกสาร
ตา่ งๆ ในสมัยอยุธยา และธนบุรี ( เชื่อมโยงกบั
มฐ. ส 4.3 ) เช่น ขอ้ ความบางตอน ในพระราช
พงศาวดารอยุธยา / จดหมายเหตชุ าวตา่ งชาติ
การแยกแยะระหว่างข้อมลู กับความคิดเหน็
รวมทงั้ ความจรงิ กบั ข้อเท็จจริงจากหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตร์
ตัวอยา่ งการตคี วามข้อมูลจากหลกั ฐานท่ี
แสดงเหตกุ ารณ์สำคญั ในสมัยอยุธยาและธนบุรี
ความสำคญั ของการวิเคราะห์ข้อมูล และ
การตคี วามทางประวตั ิศาสตร์
สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจั จบุ นั ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถงึ ความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์
ผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.2 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ ท่ตี ัง้ และสภาพทางภูมศิ าสตรข์ องภูมิภาค
และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย ต่างๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี ตะวนั ออก
เฉยี งใต)้ ท่ีมีผลตอ่ พฒั นาการโดยสังเขป
2. ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรม พัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และ
โบราณในภูมิภาคเอเชยี การเมืองของภูมภิ าคเอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี
ตะวนั ออกเฉยี งใต)้
ที่ตัง้ และความสำคญั ของแหลง่ อารยธรรม
โบราณในภูมิภาคเอเชีย เชน่ แหลง่ มรดกโลก
ในประเทศต่างๆ ในภมู ภิ าคเอเชีย
อทิ ธพิ ลของอารยธรรมโบราณทีม่ ีต่อ
ภมู ิภาคเอเชยี ในปัจจุบัน
สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.3เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาไทย มคี วามรกั ความภูมิใจและ
ธำรงความเปน็ ไทย
ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ม.2 1. วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา การสถาปนาอาณาจกั รอยุธยา
และธนบรุ ีในด้านตา่ งๆ ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อความเจริญรงุ่ เรอื ง
2. วเิ คราะห์ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อความมั่นคงและ ของอาณาจักรอยธุ ยา
ความเจริญร่งุ เรอื งของอาณาจักรอยุธยา พฒั นาการของอาณาจักรอยธุ ยาใน
3. ระบุภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ด้านการเมืองการปกครอง สังคม
อยธุ ยาและธนบรุ ี และอิทธิพลของภูมิ เศรษฐกจิ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
ปัญญาดงั กลา่ ว ตอ่ การพัฒนาชาตไิ ทยใน ประเทศ
ยคุ ตอ่ มา การเสยี กรุงศรอี ยุธยาคร้ังท่ี 1 และ
การ กเู้ อกราช
ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัย
อยธุ ยา เชน่ การควบคมุ กำลงั คน และ
ศิลปวฒั นธรรม
การเสยี กรงุ ศรีอยุธยาครั้งท่ี 2 การกู้
เอกราช และการสถาปนาอาณาจกั รธนบรุ ี
ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัย
ธนบุรี
ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
วรี กรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย ผลงาน
ของบุคคลสำคญั ของไทยและตา่ งชาตทิ ี่มี
สว่ นสรา้ งสรรค์ชาตไิ ทย เชน่
-สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
-พระสรุ โิ ยทัย
-พระนเรศวรมหาราช
-พระนารายณม์ หาราช
-สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช
-พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก
มหาราช(ด้วง)
-สมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถ
(บุญมา)
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสง่ิ ซึง่ มผี ลต่อกนั ใชแ้ ผน
ท่ี
และเครื่องมือทางภมู ิศาสตรใ์ นการค้นหา วเิ คราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.2 1. วเิ คราะหล์ ักษณะทางกายภาพของ ที่ตง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวีปยโุ รปและ
ทวปี ยโุ รปและทวปี แอฟรกิ า โดยใช้ ทวีปแอฟริกา
เครื่องมือทางภูมิศาสตรส์ บื ค้นข้อมูล การใชเ้ ครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนท่ี รูป
ถา่ ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการสบื ค้น
ลักษณะทางกายภาพของทวปี ยุโรปและทวปี
แอฟริกา
2. อธิบายมาตราสว่ น ทศิ และสัญลกั ษณ์ การแปลความหมาย มาตราส่วน ทิศและ
สญั ลกั ษณ์ในแผนท่ี
3. วเิ คราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ และ สาเหตกุ ารเกดิ ภยั พิบัตแิ ละผลกระทบในทวีป
ผลกระทบในทวีปยุโรป และทวปี ยุโรป และทวปี แอฟริกา
แอฟริกา
สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กบั สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนนิ ชวี ติ มจี ิตสำนึกและมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม
เพอื่ การพัฒนาทย่ี ั่งยนื
ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ม.2 1. สำรวจและระบุทำเลที่ตัง้ ของ ทำเลที่ตัง้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี สังคม เชน่ พื้นทเ่ี พาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์
ยุโรป และทวีปแอฟรกิ า แหลง่ ประมง การกระจายของภาษาและ
ศาสนาในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
2. วเิ คราะห์ปัจจัยทางกายภาพและ ปจั จัยทางกายภาพและปจั จยั ทางสังคมที่
ปัจจัยทางสังคมที่สง่ ผลต่อทำเลที่ตงั้ ของ สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี ประชากร สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สังคม และ
ยโุ รป และทวปี แอฟริกา วฒั นธรรมในทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา
3. สืบคน้ อภิปรายประเด็นปัญหาจาก ประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ ง
ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างส่งิ แวดล้อมทาง สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนุษยท์ ีเ่ กิดขึ้นใน
กายภาพกับมนษุ ย์ท่ีเกดิ ขึ้นในทวีปยโุ รป ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
และทวปี แอฟริกา
4. วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติ แนวทางการจัดการภยั พิบตั ิและการจดั การ
และการจดั การทรัพยากรและ ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมในทวปี ยโุ รปและ
ส่งิ แวดล้อมในทวปี ยโุ รป และทวปี ทวีปแอฟริกาทยี่ ่ังยืน
แอฟริกาท่ียั่งยืน
รหัสวิชา.....................ชอื่ รายวิชา สังคมศึกษา มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
สาระมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนา
ทต่ี นนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถกู ต้อง ยดึ มนั่ และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยูร่ ่วมกันอย่างสนั ติสุข
ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ม.3 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศ
ศาสนาท่ตี นนับถือส่ปู ระเทศต่างๆ ท่ัวโลก ตา่ งๆ ทวั่ โลก และการนบั ถอื พระพุทธศาสนาของ
ประเทศเหลา่ นัน้ ในปจั จบุ นั
2. วเิ คราะห์ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ี
หรือศาสนาทต่ี นนับถือในฐานะท่ชี ว่ ย ชว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสุขให้แก่
สร้างสรรคอ์ ารยธรรม และความสงบสุข โลก
แกโ่ ลก
3. อภิปรายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา สมั มนาพระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของ
หรือศาสนาทีต่ นนับถือ กับปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและการพัฒนาอย่างย่ังยืน (ที่
เศรษฐกจิ พอเพยี งและ การพัฒนาอยา่ ง สอดคล้องกับหลักธรรมในสาระการเรยี นรู้ ข้อ 6)
ย่งั ยืน
4. วิเคราะห์พทุ ธประวตั ิจากพระพุทธรูปปาง ศกึ ษาพุทธประวตั ิจากพระพุทธรูปปางตา่ งๆ
ตา่ งๆ หรือประวตั ิศาสดาทีต่ นนับถือ ตามที่ เช่น
กำหนด o ปางมารวิชัย
o ปางปฐมเทศนา
o ปางลลี า
o ปางประจำวันเกิด
สรปุ และวิเคราะหพ์ ุทธประวัติ
ปฐมเทศนา
โอวาทปาฏิโมกข์
5. วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอยา่ ง พระอัญญาโกณฑัญญะ
การดำเนนิ ชวี ิตและข้อคิดจากประวตั ิสาวก พระมหาปชาบดีเถรี
ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และ พระเขมาเถรี
ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามที่กำหนด พระเจา้ ปเสนทโิ กศล
นนั ทวิ ิสาลชาดก
สุวณั ณหงั สชาดก
ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
6. อธบิ ายสงั ฆคุณ และข้อธรรมสำคญั ใน พระรตั นตรัย
กรอบอริยสจั 4 หรอื หลกั ธรรมของศาสนาที่ สังฆคณุ 9
ตนนบั ถือตามที่กำหนด อรยิ สัจ 4
ทกุ ข์ (ธรรมทีค่ วรร)ู้
ขนั ธ์ 5
-ไตรลกั ษณ์
สมุทัย (ธรรมทคี่ วรละ)
หลกั กรรม
-วัฏฏะ 3
-ปปญั จธรรม 3 (ตณั หา มานะ ทิฎฐิ)
นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ)อตั ถะ 3
มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ)
มรรคมีองค์ 8
ปัญญา 3
สปั ปรุ สิ ธรรม 7
บญุ กิริยาวัตถุ 10
อบุ าสกธรรม 7
มงคล 38
- มศี ลิ ปวทิ ยา
- พบสมณะ
- ฟังธรรมตามกาล
- สนทนาธรรมตามกาล
พทุ ธศาสนสุภาษติ
อตฺตา หเว ชิตํ เสยโฺ ย ชนะตนน่นั แลดกี ว่า
ธมมฺ จารี สุขํ เสติ
ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยเู่ ป็นสุข
ปมาโท มจฺจโุ น ปทํ
ความประมาทเปน็ ทางแห่งความตาย
สสุ สฺ ูสํ ลภเต ปญฺญํ ผูฟ้ งั ด้วยดยี อ่ มได้
ปัญญา
ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
เรอื่ งนา่ รจู้ ากพระไตรปิฎก : พุทธปณิธาน 4
ในมหาปรินพิ พานสตู ร
7. เห็นคณุ คา่ และวเิ คราะห์การปฏบิ ัตติ นตาม การปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม (ตามสาระการ
หลกั ธรรมในการพัฒนาตน เพ่ือเตรยี มพร้อม เรียนรู้ ข้อ 6.)
สำหรบั การทำงานและการมีครอบครัว
8. เห็นคุณคา่ ของการพัฒนาจิตเพอ่ื การเรยี นรู้ พัฒนาการเรยี นรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนโิ ส
และดำเนนิ ชวี ิต ดว้ ยวธิ คี ิดแบบโยนโิ ส มนสิการ 2 วธิ ี คือ วธิ คี ิดแบบอรยิ สจั และวธิ คี ดิ
มนสกิ ารคือ วิธคี ดิ แบบอริยสัจ และวิธคี ดิ แบบสืบสาวเหตุปจั จยั
แบบสืบสาวเหตปุ ัจจยั หรอื การพัฒนาจติ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถอื
9. สวดมนต์ แผ่เมตตา บรหิ ารจติ และเจรญิ สวดมนต์แปล และแผเ่ มตตา
ปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทาง รู้และเขา้ ใจวธิ ีปฏิบัติและประโยชนข์ องการ
ของศาสนาที่ตนนับถอื บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา
ฝกึ การบริหารจติ และเจรญิ ปัญญาตามหลกั
สตปิ ัฎฐานเนน้ อานาปานสติ
นำวธิ ีการบรหิ ารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน
10. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งและยอมรับวิถี วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของศาสนกิ ชนศาสนาอ่นื ๆ
การดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืนๆ
สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนกิ ชนท่ดี ี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือ
ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. วเิ คราะหห์ นา้ ทแี่ ละบทบาทของสาวก หนา้ ทข่ี องพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลกั พระ
และปฏบิ ตั ิตนต่อสาวก ตามที่กำหนดได้ ธรรมวนิ ยั และจรยิ วัตรอยา่ งเหมาะสม
ถกู ต้อง การปฏิบัติตนตอ่ พระภิกษใุ นงานศาสนพิธีที่
บา้ น
การสนทนา การแต่งกาย มรรยาทการพูดกบั
พระภกิ ษตุ ามฐานะ
2. ปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ การเป็นศษิ ย์ทด่ี ี ตามหลักทศิ เบอ้ื งขวา ในทิศ 6
ตามหลักศาสนา ตามที่กำหนด ของพระพุทธศาสนา
3. ปฏบิ ัติหน้าที่ของศาสนิกชนท่ดี ี การปฏิบัตหิ น้าทีช่ าวพุทธตามพทุ ธปณิธาน 4 ใน
มหาปรนิ พิ พานสูตร
4. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธพี ิธีกรรมไดถ้ ูกต้อง พิธีทำบญุ งานมงคล งานอวมงคล
การนิมนต์พระภกิ ษุ การเตรียมท่ตี ง้ั
พระพทุ ธรปู และเครื่องบชู า การวงด้าย
สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียมเคร่ือง
รับรอง การจุดธปู เทียน
ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นวันเลีย้ งพระ การถวายขา้ วพระพุทธ
การถวายไทยธรรม การกรวดนำ้
ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
5. อธบิ ายประวตั ิวันสำคัญทางศาสนา ประวัติวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาใน
ตามทก่ี ำหนดและปฏบิ ตั ิตนไดถ้ ูกต้อง ประเทศไทย
วันวสิ าขบชู า (วนั สำคัญสากล)
6. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรอื วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั
แสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของศาสนา หลักปฏิบตั ติ น : การฟังพระธรรมเทศนา
ทีต่ นนับถือ การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพิธีที่วดั
การงดเว้นอบายมุข
การประพฤติปฏิบตั ิในวนั ธรรมสวนะและ
เทศกาลสำคญั
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
ข้ันเตรียมการ
ขน้ั พธิ ีการ
สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสังคม
มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบตั ติ นตามหน้าทข่ี องการเปน็ พลเมืองดี มคี า่ นิยมที่ดีงามและธำรงรกั ษา
ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวติ อยู่ร่วมกันในสงั คมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ
ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.3 1. อธิบายความแตกต่างของการกระทำ ลักษณะการกระทำความผิดทางอาญา
ความผดิ ระหวา่ งคดีอาญาและคดีแพ่ง และโทษ
ลักษณะการกระทำความผิดทางแพ่ง
และโทษ
ตัวอยา่ งการกระทำความผิดทางอาญา
เชน่ ความผิดเกยี่ วกับทรัพย์
ตวั อย่างการทำความผดิ ทางแพง่ เช่น
การทำผดิ สัญญา การทำละเมดิ
2. มสี ว่ นรว่ มในการปกป้องคุ้มครองผู้อ่นื ความหมาย และความสำคญั ของสทิ ธิ
ตามหลกั สทิ ธิมนษุ ยชน มนษุ ยชน
การมีสว่ นรว่ มคุม้ ครองสิทธมิ นษุ ยชน
ตามรฐั ธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทยตาม
วาระและโอกาสท่เี หมาะสม
ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
3. อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและเลอื กรับ ความสำคัญของวฒั นธรรมไทย
วัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม ภูมปิ ัญญาไทยและวฒั นธรรมสากล
การอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทยและภมู ิปัญญา
ไทยที่เหมาะสม
การเลือกรบั วัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสม
4. วเิ คราะห์ปัจจยั ทก่ี ่อใหเ้ กิดปญั หาความ ปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดความขัดแยง้ เช่น
ขดั แยง้ ในประเทศ และเสนอแนวคิดใน การเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม
การลดความขัดแยง้ ความเชือ่
สาเหตุปญั หาทางสงั คม เชน่ ปัญหา
สงิ่ แวดล้อม ปญั หายาเสพตดิ ปญั หา
การทจุ รติ ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ
แนวทางความรว่ มมอื ในการลดความ
ขดั แย้งและการสรา้ งความสมานฉันท์
5. เสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมี ปัจจัยทส่ี ่งเสริมการดำรงชวี ิตให้มี
ความสขุ ในประเทศและสงั คมโลก ความสขุ เช่น การอยรู่ ว่ มกนั อย่างมีขันติธรรม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เห็น
คุณคา่ ในตนเอง รจุ้ กั มองโลกในแงด่ ี สรา้ ง
ทักษะทางอารมณ์ รจู้ ักบรโิ ภคด้วยปัญญา
เลอื กรบั -ปฏเิ สธขา่ วและวัตถุต่างๆ
ปรับปรงุ ตนเองและสง่ิ ต่างๆ ใหด้ ีขึ้นอยู่เสมอ
สาระท่ี 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสงั คม
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยดึ ม่ัน ศรัทธาและธำรงรักษา
ไวซ้ ง่ึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.3 1. อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆ ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ท่ีใช้ในยุค
ที่ใชใ้ นยุคปจั จบุ ัน ปจั จบุ นั เชน่ การปกครองแบบเผด็จการ การ
ปกครองแบบประชาธปิ ไตย
เกณฑ์การตดั สินใจ
ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
2. วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บระบอบการ ความแตกต่าง ความคลา้ ยคลึงของการปกครอง
ปกครองของไทยกบั ประเทศอ่ืนๆ ทมี่ ีการ ของไทย กบั ประเทศอืน่ ๆ ทม่ี ีการปกครอง
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบอบประชาธปิ ไตย
3. วิเคราะหร์ ัฐธรรมนญู ฉบบั ปัจจุบันใน บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนญู ในมาตราต่างๆ ท่ี
มาตราตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกบั การเลือกต้ัง เกยี่ วขอ้ งกับการเลอื กตั้ง การมสี ว่ นรว่ ม และ
การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้ การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ
อำนาจรัฐ อำนาจหนา้ ทขี่ องรฐั บาล
บทบาทสำคัญของรฐั บาลในการบรหิ าร
ราชการแผ่นดิน
ความจำเปน็ ในการมรี ัฐบาลตามระบอบ
ประชาธปิ ไตย
4. วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปญั หาที่เป็น ประเด็น ปญั หาและผลกระทบทีเ่ ปน็
อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประชาธิปไตยของ อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตย
ประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข ของประเทศไทย
แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การใช้ทรัพยากร
ท่มี ีอยจู่ ำกดั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมทัง้ เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ การ
ดำรงชวี ิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ
ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.3 1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกจิ ความหมายและประเภทของตลาด
ความหมายและตวั อย่างของอุปสงค์และ
อปุ ทาน
ความหมายและความสำคญั ของกลไกราคา
และการกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินคา้
และบรกิ าร
2. มีสว่ นร่วมในการแก้ไขปญั หาและ สำรวจสภาพปจั จบุ นั ปัญหาท้องถ่นิ ทั้ง
พัฒนาท้องถิน่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกิจและสง่ิ แวดล้อม
พอเพยี ง วเิ คราะหป์ ญั หาของท้องถน่ิ โดยใชป้ รชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แนวทางการแก้ไขและพัฒนาทอ้ งถ่นิ ตาม
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแนวคิด แนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การพฒั นา
เศรษฐกจิ พอเพยี งกับระบบสหกรณ์ ในระดบั ต่างๆ
หลักการสำคญั ของระบบสหกรณ์
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแนวคดิ เศรษฐกิจ
พอเพียงกับหลกั การและระบบของสหกรณ์เพื่อ
ประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชน
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความ
จำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. อธบิ ายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน บทบาทหนา้ ท่ีของรฐั บาลในการพัฒนา
ระบบเศรษฐกิจ ประเทศในดา้ นต่างๆ
บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
รัฐบาล เชน่ การผลติ สินคา้ และบรกิ ารสาธารณะที่
เอกชนไมด่ ำเนนิ การ เชน่ ไฟฟ้า ถนน โรงเรียน
-บทบาทการเกบ็ ภาษเี พ่ือพัฒนาประเทศ ของรัฐ
ในระดับตา่ งๆ
-บทบาทการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา
เพ่อื การแจกจ่ายและการจดั สรรในทางเศรษฐกจิ
บทบาทอน่ื ของรฐั บาลในระบบเศรษฐกิจใน
สังคมไทย
2. แสดงความคดิ เหน็ ต่อนโยบาย และ นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของ
กจิ กรรมทาง เศรษฐกจิ ของรัฐบาลท่มี ตี อ่ รัฐบาล
บุคคล กล่มุ คน และประเทศชาติ
3. อภิปรายบทบาทความสำคัญของ บทบาทความสำคัญของการรวมกลมุ่ ทาง
การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ระหว่าง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ
ประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ
กล่มุ ทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคต่างๆ
4. อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะ ผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะเงนิ เฟ้อ เงินฝืด
เงนิ เฟ้อ เงินฝดื ความหมายสาเหตุและแนวทางแกไ้ ขภาวะเงนิ
เฟอ้ เงินฝดื
5. วเิ คราะห์ผลเสยี จากการวา่ งงาน และ สภาพและสาเหตุปัญหาการวา่ งงาน
แนวทางแก้ปัญหา ผลกระทบจากปญั หาการวา่ งงาน
แนวทางการแก้ไขปัญหาการวา่ งงาน
สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้
วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ
ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ม.3 1. วิเคราะห์เรอื่ งราวเหตุการณ์สำคัญทาง ขั้นตอนของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์
ประวตั ิศาสตร์ได้อย่างมเี หตผุ ลตามวิธกี าร สำหรบั การศกึ ษาเหตุการณ์ทาง
ทางประวตั ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตรท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในทอ้ งถน่ิ ตนเอง
2. ใช้วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ใน นำวิธกี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าใช้ใน
การศกึ ษาเร่ืองราวต่างๆ ท่ตี นสนใจ การศึกษาเร่ืองราวท่เี ก่ยี วข้องกับตนเอง
ครอบครัว และท้องถิ่นของตน
วิเคราะห์เหตกุ ารณ์สำคัญในสมยั
รัตนโกสนิ ทร์ โดยใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์
สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จุบัน ในดา้ นความสัมพันธแ์ ละ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วเิ คราะห์
ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ
ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ม.3 1. อธิบายพฒั นาการทางสังคม ทตี่ ้งั และสภาพทางภมู ิศาสตร์ของภูมิภาค
เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาค ตา่ งๆของโลก (ยกเวน้ เอเชีย) ที่มีผลตอ่
ต่างๆ ในโลกโดยสังเขป พฒั นาการโดยสงั เขป
2. วิเคราะหผ์ ลของการเปล่ียนแปลงที่ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และ
นำไปสคู่ วามรว่ มมือ และความขัดแย้ง การเมืองของภูมิภาคต่างๆของโลก (ยกเวน้
ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 ตลอดจนความ เอเชยี )โดยสงั เขป
พยายามในการขจัดปญั หาความขัดแย้ง อิทธพิ ลของอารยธรรมตะวนั ตกท่ีมีผลตอ่
พัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก
ความร่วมมอื และความขดั แยง้ ใน
คริสตศ์ ตวรรษที่ 20 เชน่ สงครามโลกครั้งท่ี 1
คร้ังท่ี 2 สงครามเยน็ องค์การความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.3เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรกั ความภมู ิใจและ
ธำรงความเปน็ ไทย
ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม.3 1. วเิ คราะหพ์ ัฒนาการของไทยสมัย การสถาปนากรงุ เทพมหานครเป็นราชธานี
รัตนโกสินทร์ในด้านตา่ งๆ ของไทย
2. วิเคราะหป์ ัจจัยทีส่ ่งผลตอ่ ความม่ันคง ปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ ความม่นั คงและ
และความเจรญิ รุ่งเรืองของไทยในสมัย ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์
รัตนโกสนิ ทร์ บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ไทยใน
3.วิเคราะห์ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย ราชวงศจ์ กั รีในการสร้างสรรค์ความเจรญิ และ
สมยั รัตนโกสนิ ทร์ และอิทธิพลตอ่ การ ความมัน่ คงของชาติ
พฒั นาชาติไทย พฒั นาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
ทางดา้ นการเมอื ง การปกครอง สังคม
เศรษฐกจิ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ตามช่วงสมยั ตา่ งๆ
เหตุการณส์ ำคัญสมัยรตั นโกสินทร์ทม่ี ี
ผลตอ่ การพฒั นาชาติไทย เช่น การทำ
สนธสิ ญั ญาเบาว์รงิ ในสมยั รัชกาลที่ 4 การ
ปฏริ ูปประเทศในสมัยรชั กาลท่ี 5 การเข้ารว่ ม
สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และครั้งที่ 2 โดยวเิ คราะห์
สาเหตุปัจจัย และผลของเหตุการณ์ต่างๆ
ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยในสมยั
รตั นโกสนิ ทร์
บทบาทของไทยต้งั แตเ่ ปลย่ี นแปลง
การปกครองจนถึงปัจจุบันในสงั คมโลก
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธข์ องสรรพสิง่ ซ่ึงมผี ลต่อกัน ใชแ้ ผน
ท่แี ละเครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการ
ทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ
ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.3 1. วิเคราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของ ท่ตี ัง้ ขนาด และอาณาเขตของทวปี อเมริกา
ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมรกิ าใต้ เหนอื และทวปี อเมริกาใต้
โดยเลือกใชแ้ ผนทเี่ ฉพาะเรื่องและ การเลอื กใช้แผนท่เี ฉพาะเรื่องและเครื่องมือ
เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตรส์ บื ค้นขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตรส์ บื คน้ ขอ้ มูลลกั ษณะทางกายภาพ
ของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมรกิ าใต้
2. วเิ คราะหส์ าเหตุการเกดิ ภัยพบิ ตั ิและ สาเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ัตแิ ละผลกระทบในทวีป
ผลกระทบในทวปี อเมริกาเหนือ และ อเมริกาเหนอื และทวปี อเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กับสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อใหเ้ กิดการสร้างสรรค์
วถิ กี ารดำเนินชวี ิต มีจิตสำนกึ และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม
เพื่อการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ม.3 1. สำรวจและระบทุ ำเลทตี่ ั้งของ ทำเลท่ีตงั้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีป สังคม เช่น พ้ืนท่เี พาะปลกู และเล้ียงสตั ว์ แหล่ง
อเมริกาเหนือและทวีปอเมรกิ าใต้ ประมง การกระจายของภาษาและศาสนาใน
ทวปี อเมริกาเหนอื และทวปี อเมริกาใต้
2. วิเคราะหป์ จั จัยทางกายภาพและ ปัจจัยทางกายภาพและปจั จยั ทางสงั คมที่
ปัจจยั ทางสงั คมทสี่ ง่ ผลต่อทำเลทีต่ ้ังของ สง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างทาง
กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวปี ประชากร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกจิ สังคมและ
อเมรกิ าเหนือและทวีปอเมริกาใต้ วฒั นธรรมในทวีปอเมรกิ าเหนือ และทวีป
อเมรกิ าใต้
3. สืบค้น อภปิ รายประเด็นปัญหาจาก ประเดน็ ปัญหาจากปฏิสมั พันธร์ ะหว่าง
ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ แวดลอ้ มทาง สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ท่เี กิดข้ึนใน
กายภาพกับมนษุ ย์ที่เกิดขึ้นในทวีป ทวีปอเมรกิ าเหนือ และทวปี อเมริกาใต้
อเมรกิ าเหนอื และทวปี อเมริกาใต้
4. วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การภยั พิบัติ แนวทางการจัดการภัยพิบตั ิและการจดั การ
และการจดั การทรัพยากรและ ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในทวีปอเมรกิ าเหนอื
สิง่ แวดลอ้ มในทวปี อเมริกาเหนอื และ และทวปี อเมรกิ าใต้ทีย่ ัง่ ยนื
ทวปี อเมรกิ าใตท้ ีย่ ่ังยนื
5. ระบคุ วามรว่ มมือระหวา่ งประเทศที่มี เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืนของโลก
ผลต่อการจัดการทรพั ยากรและ ความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศที่มีผลต่อการ
สง่ิ แวดล้อม จัดการทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม