The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสมาชิกสหกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ccettd 15, 2020-06-05 05:34:39

คู่มือสมาชิกสหกรณ์

คู่มือสมาชิกสหกรณ์

ปัจจยั ควำมสำเร็จของธุรกจิ ซื้อ
1. บุคลากรสหกรณ์มีส่วนร่วมในธุรกิจต้งั แต่สมาชิก คณะกรรมการ ผนู้ ากลุ่ม เป็ นหัวใจสาคญั
ของการดาเนินธุรกิจ หากสามารถใหบ้ ุคคลเหล่าน้ีมีส่วนร่วมไดท้ ้งั หมด ธุรกิจก็จะประสบผลสาเร็จ เพราะ
มีลูกคา้ ที่แน่นอนเป็นลกู คา้ ประจา สหกรณ์ไม่ตอ้ งเส่ียงเหมือนกิจการทวั่ ไป
2. การบริการสมาชิกที่ร่วมธุรกิจให้เกิดความประทบั ใจ สมาชิกจะมีความตอ้ งการร่วมธุรกิจกบั
สหกรณ์ตอ่ ไป เป็นการสร้างความภกั ดีต่อองคก์ ร
3. สร้างเครือข่ายสหกรณ์ นอกจากการดาเนินธุรกิจซ้ือจะประสบความสาเร็จไดจ้ ากสมาชิกแลว้
เครือข่ายระหว่างสหกรณ์มีความจาเป็นอยา่ งมาก เช่น ขา้ วสารของสหกรณ์อาจนาไปฝากขายกบั สหกรณ์
อื่น หากสามารถสร้างเครือข่ายขยายเป็นลกั ษณะใยแมงมมุ ไดจ้ ะส่งผลใหม้ ีความมนั่ คงทางธุรกิจเพิม่ ข้ึน
4. ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปัจจุบนั ไมว่ า่ จะเป็นนโยบายรัฐบาลหรือสภาพเศรษฐกิจปัจจุบนั
5. คุณภาพสินคา้ เพราะธุรกิจซ้ือของสหกรณ์ตอ้ งเป็นท่ีน่าเชื่อถือของสมาชิก ในเร่ืองคุณภาพของ
สินคา้ สหกรณ์จะมีขอ้ ไดเ้ ปรียบจากร้านคา้ ทวั่ ไป คือมีการสารวจความตอ้ งการซ้ือก่อนจึงทาให้ไม่มีสินคา้
หมดอายุ หรือคา้ งสต๊อก
6. วิเคราะห์คู่แข่ง ปัจจุบนั คู่แข่งของสหกรณ์มีมากมาย ตอ้ งวิเคราะห์คู่แข่งเพ่ือนามาปรับปรุง
ธุรกิจของสหกรณ์ ขอ้ มูลท่ีควรนามาเปรียบเทียบ คือ ภูมิหลงั นโยบาย ผนู้ า กิจกรรมส่งเสริมการตลาด
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา ความมนั่ คงดา้ นการเงิน เครือขา่ ยของคูแ่ ข่ง

เทคนิคกำรดำเนินธุรกิจซื้อ การดาเนินธุรกิจซ้ือของสหกรณ์ในปัจจุบันมีไม่มากนักที่ประสบ
ผลสาเร็จ เพราะขาดบุคลากรท่ีมีทกั ษะจดั การธุรกิจน้ีและเป็ นธุรกิจท่ีมีคู่แข่งมาก เช่น ห้างสรรพสินคา้
ร้านคา้ ชุมชน เป็นตน้ สหกรณ์ที่ดาเนินธุรกิจซ้ือจึงควรมีเทคนิคเพ่อื ความสาเร็จของธุรกิจ

1. กำรประชำสัมพนั ธ์ ตอ้ งมีการประชาสัมพนั ธ์ใหส้ มาชิกทราบ เช่น เม่ือมีการประชุมกลุ่มก็ควร
นาสินคา้ ไปประชาสัมพนั ธ์ หรือประชาสมั พนั ธ์ในปฏิทิน แผน่ โฆษณา หรือวิทยชุ ุมชน หรือเวบ็ ไซด์ของ
สหกรณ์

2. กำรส่งเสริมกำรขำย
2.1 ลด แลก แจก แถม การดาเนินธุรกิจคร้ังแรกอาจมีการลด แลก แจก แถม บ้าง

เพื่อให้สมาชิกเกิดความสนใจในสินคา้ โดยอาจจดั ร่วมกบั เจา้ ของสินคา้ หรือร่วมกบั การทาธุรกิจอื่นของ
สมาชิก เช่น เม่ือชาระดอกเบ้ียเงินกตู้ ามกาหนดแจกป๋ ุย 1 กระสอบ เน่ืองจำกไม่มใี ครไม่ชอบของฟรี

2.2 มีกำรสะสมยอดซื้อ โดยสหกรณ์จดั ทาบตั รสะสมคะแนนตามยอดซ้ือโดยมีการมอบ
ของขวญั รางวลั ต่างๆ เป็นเทคนิคในการดึงดูดความสนใจจากสมาชิกไดว้ ิธีหน่ึง ซ่ึงสหกรณ์หลาย ๆ แห่ง
ดาเนินการแลว้ ประสบผลสาเร็จดีมาก โดยควรมีเงื่อนไขชดั เจนและปฏิบตั ิจริง ตำมหลักซื้อมำกได้รับตอบ
แทนมำก

44

3. บริกำรเป็ นกันเอง เจา้ หน้าที่ให้บริการเป็ นกันเองกับสมาชิก ย้ิมแยม้ แจ่มใส ให้สมาชิกเกิด
ความประทับใจ เจ้ำหน้ำท่ีทุกคนไม่เหมำะกับธุรกิจซื้อ มีเพียงบำงคนเท่ำน้ันที่จะทำให้ธุรกิจประสบ
ควำมสำเร็จ

4. ไม่ควรส่ังสินค้ำมำจำนวนมำกเกินไป ในช่วงแรกควรสังเกตพฤติกรรมการซ้ือของสมาชิกว่า
ตอ้ งการสินคา้ จานวนมากนอ้ ยเพียงใด เพือ่ ป้องกนั สินคา้ ลน้ สต๊อก

5. จัดส่งสินค้ำถึงบ้ำนสมำชิก จากเพราะสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้สมาชิกมีการ
เปล่ียนแปลง คือ การดาเนินชีวิตที่ซับซ้อน ประกอบอาชีพหลายอย่าง แข่งขนั กบั เวลา แสวงหาส่ิงท่ีดี
ใหก้ บั ชีวิต สหกรณ์จึงตอ้ งใหค้ วามสะดวกแก่สมาชิก

6. นำสินค้ำไปจำหน่ำยในวันประชุมกลุ่ม ประชุมใหญ่ เพราะสมาชิกเกือบท้งั หมดตอ้ งเขา้ ร่วม
ประชุม เพื่อสร้างบรรยากาศการประชุมใหด้ ูคึกคกั และเพมิ่ ปริมาณการซ้ือไดม้ ากข้ึน

7. สินค้ำทมี่ ีประโยชน์ต่อสุขภำพและไม่ทำลำยส่ิงแวดล้อม ตอ้ งเป็นสินคา้ ท่ีมีประโยชน์ต่อสุขภาพ
และไม่ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม ถา้ เป็ นของกินตอ้ งมีประโยชน์ต่อร่างกาย วสั ดุอุปกรณ์การเกษตรตอ้ งไม่มีโทษ
ตอ่ ธรรมชาติ เช่น ขา้ วกลอ้ ง ป๋ ุยอินทรีย์ เป็นตน้

8. เป็ นสินค้ำท่ีมีคุณภำพ ในภาวการณ์แข่งขนั การคา้ เสรี ผูซ้ ้ือสามารถหาซ้ือสินคา้ จากท่ีใดก็ได้
สหกรณ์จึงตอ้ งยดึ คณุ ภาพเป็นสาคญั

9. สินค้ำทันสมัย สินค้าต้องทันกับเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน เช่น มีอุปกรณ์
โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ จาหน่ายให้สมาชิกวยั ทางาน อาหารสุขภาพสาหรับวยั สูงอายุ อุปกรณ์
บนั เทิงสาหรับคนโสด

10. สินค้ำต้องมีลกั ษณะดูดี ตอ้ งเลือกสินคา้ ที่มีความสวยงาม สมาชิกมองเห็นคร้ังแรกก็ตอ้ งการ
ซ้ือ เขา้ กบั วยั ยงิ่ แนวโนม้ คนสูงอายมุ าก สินคา้ คนสูงอายตุ อ้ งมีความเช่ือมโยงกบั ประเพณี วฒั นธรรมยอ้ น
ยคุ

11. จำหน่ำยทำง Web Site จากสถานการณ์โลกที่เปล่ียนแปลงทาให้การติดต่อส่ือสารสะดวก
มากข้ึน สหกรณ์ทาธุรกิจซ้ือควรมีช่องทางการจาหน่ายทาง Web Site เพื่อสมาชิกสามารถเขา้ เปิ ดดูสินคา้
ของสหกรณ์ ไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง โดย Web Site ของสหกรณ์ควรนาเสนอต่อวยั รุ่นให้สนใจ
เน่ืองจากคนใชส้ ่ือสารช่องทางน้ีคือวยั ดงั กลา่ ว

12. กำลังซื้อที่สำคัญแห่งยุค กาลังซ้ือที่สาคัญแห่งยุค คือ วยั เยาวชน จึงควรหันมาสนใจจัด
กิจกรรมเพื่อเยาวชนพร้อมกบั นาเสนอสินคา้ ที่เยาวชนตอ้ งการ

13. ผู้นำต้องซื้อเป็ นตัวอย่ำง คณะกรรมการ ฝ่ ายจดั การ ตอ้ งเป็ นตวั อย่างซ้ือสินคา้ ของสหกรณ์
เพอ่ื ใหส้ มาชิกเกิดความศรัทธา เกิดความตอ้ งการมีส่วนร่วมในธุรกิจของสหกรณ์

14. เช่ือมโยงเครือข่ำยกับสหกรณ์อ่ืน ๆ เพ่ือแลกเปล่ียนสินคา้ เช่น สหกรณ์ทาธุรกิจซ้ือเช่ือมโยง
กบั สหกรณ์ที่ทาการผลิต

45

2.2 ธุรกจิ ขำย
หมายถึง การที่สหกรณ์ดาเนินการรวบรวมผลผลิตของสมาชิกไปจาหน่ายหรือแปรรูป เป็ นการ
ดาเนินการตามวตั ถุประสงคแ์ ห่งการจดั ต้งั สหกรณ์ ในการทางานร่วมกนั ไม่ใช่ต่างคนต่างผลิต ต่างคนต่าง
ขาย ผลผลิตท่ีสหกรณ์รวบรวมน้นั เป็นผลผลิตทางการเกษตรหรือผลิตภณั ฑอ์ ่ืน ๆ ที่สมาชิกทาการผลิต
วตั ถุประสงค์ของธุรกจิ ขำย
1. เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก เนื่องจากกลไกทางการตลาดปัจจุบันผูซ้ ้ือเป็ นผูก้ าหนดราคา
ผลผลิต ผูซ้ ้ือซ่ึงเป็ นพ่อคา้ คนกลางจึงมักจะกาหนดราคารับซ้ือต่า การรวมกันขายให้กับสหกรณ์เพ่ือ
สหกรณ์นาไปจาหน่ายจะสามารถต่อรองราคากบั ผูซ้ ้ือหรือผบู้ ริโภคได้ เพราะมีปริมาณผลผลิตจานวนมาก
จึงสามารถกาหนดราคาผลผลิตอยา่ งเป็นธรรม
2. เพือ่ สร้างความถกู ตอ้ งในระบบการชง่ั ตวง วดั ป้องกนั การเอารัดเอาเปรียบจากระบบการตลาด
ที่มีความไม่ยุติธรรม ไม่เท่ียงตรง โดยสหกรณ์สามารถควบคุมการจดั การดา้ นดงั กล่าวให้เป็ นไปอย่าง
ถกู ตอ้ ง เที่ยงธรรม ได้ ภายใตห้ ลกั การสหกรณ์ไมแ่ สวงหากาไร
3. เพ่ือจดั ระบบการประกอบอาชีพ วางแผนการผลิตให้เหมาะสมกบั ตลาดผบู้ ริโภค โดยสหกรณ์
สามารถสารวจตลาดก่อนแนะนาการผลิต ให้สมาชิกมีผลิตผลที่ตลาดตอ้ งการ มีช่วงเวลาเก็บเก่ียวท่ี
เหมาะสม
สภำพเดมิ
สหกรณ์ภาคการเกษตรให้ความสาคญั ในการจดั ให้มีการดาเนินธุรกิจขายน้อยกว่าธุรกิจสินเชื่อ มี
สภาพเช่นเดียวกับธุรกิจซ้ือ เนื่องจากธุรกิจขายมีความยุ่งยากในการจัดการ โดยเฉพาะผลผลิตทาง
การเกษตรท่ีออกเป็ นฤดูกาล ตลาดไม่แน่นอน เน่าเสียง่าย ภยั ธรรมชาติมีผลกระทบสูง ประกอบกบั เป็ น
ธุรกิจท่ีตอ้ งมีวสั ดุอุปกรณ์ในการดาเนินงานท่ีตอ้ งใชเ้ งินทุนสูง ขาดบุคลากรที่มีความชานาญในการจดั การ
ท้งั น้ีสังเกตไดว้ ่าภาคเอกชนท่ีดาเนินธุรกิจขายน้ีมีจานวนน้อยกว่าการดาเนินธุรกิจซ้ือ ที่มีจะเป็ นเอกชนท่ี
กิจการขนาดใหญ่ เช่น โรงสีขา้ ว เจา้ ของแพปลา โรงงานอาหารสัตว์ ฯ และมีขอ้ มูลความลม้ เหลวในการ
ดาเนินธุรกิจมากกว่าธุรกิจซ้ือ กบั สภาพเดิมท่ีมกั พบบ่อย ๆ คือ ระบบงานสหกรณ์ไม่เอ้ืออานวยต่อการ
ดาเนินธุรกิจขาย เน่ืองจากมีกฎระเบียบไม่คลอ่ งตวั เหมือนภาคเอกชน
การดาเนินธุรกิจขายเป็ นความสอดคลอ้ งกับการดาเนินชีวิตในการประกอบอาชีพของสมาชิก
สหกรณ์ สหกรณ์จึงมีความจาเป็นตอ้ งดาเนินธุรกิจน้ี โดยมีข้นั ตอนดาเนินงานคือ
ข้นั ตอนกำรดำเนินธุรกจิ ขำย
1. กำรส่งเสริมกำรผลติ
สหกรณ์ควรมีเจา้ หนา้ ท่ีส่งเสริมการผลิต เพื่อแนะนาส่งเสริมการประกอบอาชีพของสมาชิกเป็ น
แผนการผลิตที่มุ่งให้ไดผ้ ลผลิตท่ีมีคุณภาพดี ปริมาณมาก ตรงกบั ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภค รวมถึงคอย
ช่วยแกป้ ัญหาระหวา่ งผลผลิต เจา้ หนา้ ที่ส่งเสริมการผลิตจะสัมผสั กบั สมาชิกตลอดเวลา เป็นบุคคลตวั แทน

46

สหกรณ์ท่ีใกลช้ ิดกบั สมาชิก ซ่ึงนอกเหนือจากมีความรู้ ความชานาญการผลิตในแต่ละสาขาอาชีพแลว้ ตอ้ ง
มีความรู้ในกิจการอ่ืน ๆ ของสหกรณ์เพื่อตอบขอ้ ซักถามและแนะนาให้สมาชิกรู้ เขา้ ใจ มีส่วนร่วมใน
สหกรณ์ เนื่องจากการส่งเสริมการผลิตมีความเก่ียวเนื่องกบั ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจซ้ือ รวมถึงการบริการดา้ น
อื่น ๆ จากสหกรณ์

2. สำรวจควำมต้องกำรร่วมธุรกจิ
ใชร้ ูปแบบเดียวกบั การสารวจความตอ้ งการของธุรกิจซ้ือแต่ขอ้ มูลที่สารวจจะมุ่งที่ประเภทผลผลิต
ปริมาณ ช่วงเวลา สถานที่ การชาระค่าผลผลิต วสั ดุอุปกรณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งรวมถึงตน้ ทนุ ในการผลิต
3. รวบรวมข้อมูล
เพ่ือนาแผนการผลิตของสมาชิกมาวางแผนการดาเนินธุรกิจ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ เตรียมความ
พร้อมดา้ นบุคลากร วสั ดุอุปกรณ์ เงินทุน สหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีการแบ่งสมาชิกเป็นกลมุ่ ยอ่ ย สามารถ
มอบให้ประธานกลุ่มเป็นผรู้ วบรวมขอ้ มูล สาหรับสหกรณ์อ่ืนควรนารูปแบบตวั แทนสาขาของธุรกิจเอกชน
มาใชใ้ นสหกรณ์เพือ่ สัมผสั ขอ้ มลู จากสมาชิกโดยตรง
4. ดำเนินกำรรวบรวมผลผลติ

4.1 ทาขอ้ ตกลงกบั สมาชิก ซ่ึงควรเป็ นในลกั ษณะความร่วมมือของกลุ่มท่ีตกลงร่วมธุรกิจกบั
สหกรณ์ เพ่ือลงลึกในรายละเอียดว่ามีข้นั ตอนใดบ้าง แต่ละข้นั ตอนใครทาอะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ เท่าใด
อยา่ งไร ราคาเท่าใด การชาระเงินรูปแบบไหน ฯ

4.2 ตรวจสอบคุณภาพ ปริมาณ เม่ือมีการส่งมอบผลผลิต ยอ่ มมีความแตกต่างกนั ตามคุณภาพ
ถึงแมเ้ ป็นชนิดเดียวกนั จึงตอ้ งมีผชู้ านาญตดั สินคุณภาพอยา่ งเป็นที่ยอมรับของสมาชิก ท้งั น้ีควรมีเครื่องมือ
ท่ีเป็นสากลในการตรวจสอบและสมาชิกควรมีส่วนร่วมในการตรวจสอบดว้ ย

4.3 ตกลงซ้ือ - ขาย เป็ นการกาหนดราคาผลผลิตตามคุณภาพ ตามปริมาณ โดยสหกรณ์ยึด
ราคาตลาดเป็นราคาซ้ือขาย วธิ ีการซ้ือขายท่ีใชค้ อื

- สหกรณ์จ่ายเงินสดทนั ทีเป็นวิธีที่ดึงดูดความตอ้ งการขายจากสมาชิกไดม้ ากเพราะเม่ือขายก็ไดร้ ับ
เงินทนั ที โดยสหกรณ์สามารถหาแหล่ง เงินทุนไดจ้ ากเงินทุนของสหกรณ์เอง ธนาคาร โดยการกูจ้ าก ธกส.
หรือธนาคารพาณิชยอ์ ่ืน ๆ เงินสนบั สนุนจากรัฐบาล

- จ่ายเงินเพียงบางส่วน (ร้อยละ50 - 70) ส่วนท่ีเหลือสหกรณ์จ่ายให้สมาชิกเม่ือสหกรณ์จาหน่าย
สินคา้ ได้ วิธีการน้ีเป็ นวิธีการท่ีเหมาะสมสาหรับระบบงานสหกรณ์เพื่อร่วมกันรับผิด - รับชอบในการ
ดาเนินงาน

- ไม่จ่ายเงินสดเลย โดยจ่ายใหเ้ ม่ือสหกรณ์ขายผลผลิตไดจ้ ึงให้ สมาชิกมารับเงินสด
- จ่ายให้ในรูปแบบอ่ืนที่ไม่ใช่เงินสด เช่นขายขา้ วเปลือกให้สหกรณ์สมาชิกรับขา้ วสาร หรือรับป๋ ุย
หรือโอนเงินเขา้ บญั ชีเงินฝากของสมาชิก
5. จำหน่ำยหรือแปรรูป เม่ือรวบรวมผลผลิตแลว้ การจาหน่ายทาได้ 2 วิธีการ คือ

47

5.1 สหกรณ์ดาเนินการหาตลาดหรือพอ่ คา้ มารับซ้ือผลผลิตจากสหกรณ์ วิธีการน้ีสหกรณ์
ทาหนา้ ท่ีเป็นคนกลางระหวา่ งสมาชิกกบั พอ่ คา้

5.2 สหกรณ์ดาเนินการแปรรูปผลผลิตที่รวบรวมได้ เช่น สหกรณ์มีโรงสีขา้ ว รวบรวม
ขา้ วเปลือกจากสมาชิกแลว้ ผ่านกระบวนการสีขา้ วเป็นขา้ วสาร ปลายขา้ ว รา จาหน่าย ทาให้ผลผลิตมีราคา
สูงข้ึน แต่สหกรณ์ตอ้ งมีความพร้อมเร่ืองอุปกรณ์แปรรูปผลผลิต และตอ้ งมีความสามารถในการแปรรูป
ความสามารถดา้ นการตลาด

6. ประเมินควำมพงึ พอใจของสมำชิก
เพื่อนาไปปรับปรุงธุรกิจ โดยใช้วิธีการสอบถามจากสมาชิกหรือใช้การสังเกตพฤติกรรมเมื่อ
สมาชิกร่วมธุรกิจ หรือให้หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบนั การศึกษาที่มีการเปิ ดสอนหลกั สูตรการตลาด
เป็นผปู้ ระเมิน

แผนภำพที่ 10 ข้ันตอนกำรดำเนินธุรกจิ ขำย

กำรจัดกำรเดมิ กำรจดั กำรแนวใหม่

- ไมม่ ีการส่งเสริม ส่งเสริมการผลิต - ส่งเสริมโดยเอาตลาดเป็น
ตวั นา

- มีการสารวจนอ้ ย สารวจความตอ้ งการ - เป็นขอ้ มูลในการจดั การ

- ขอ้ มูลไม่ทนั สมยั รวบรวมขอ้ มูล - ขอ้ มลู เป็นปัจจุบนั

- เงินสด รวบรวมผลผลิต - เงินสด
- ปันส่วน
- จากดั เฉพาะคคู่ า้ - ชาระเมื่อจาหน่ายผลผลิต
- ไม่มีการประเมิน - ชาระในรูปแบบอื่น

จาหน่าย / แปรรูป - ขยายเครือข่ายโดยใช้
เทคโนโลยี

ประเมินความพึงพอใจ - ประเมินเพือ่ พฒั นา

48

ปัจจัยควำมสำเร็จของธุรกจิ ขำย
1. บุคลากรสหกรณ์ตอ้ งให้ความสาคญั กบั ธุรกิจขาย โดยการมีส่วนร่วมในทุกข้นั ตอนของธุรกิจ
ตามบทบาทหน้าท่ี ความร่วมมือเป็ นปัจจยั พ้ืนฐานของความสาเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ใดได้รับความ
ร่วมมือจากบุคลากรย่อมประสบความสาเร็จ ในทิศทางตรงกนั ขา้ มสหกรณ์ท่ีไม่ได้รับความร่วมมือย่อม
ลม้ เหลว และฐานความร่วมมือท่ีสาคญั คือสมาชิกสหกรณ์
2. เชื่อมโยงธุรกิจกบั ภาคเอกชนและระหวา่ งสหกรณ์อ่ืน ๆ เป็ นการแปรเปล่ียนจากคู่แข่งเป็ นคู่คา้
จากการแขง่ ขนั เป็นความร่วมมือ จากศตั รูเป็นมิตรภาพ จากภาระเป็นพลงั
3. มีบริการท่ีดีให้กบั สมาชิก ปัจจยั น้ีมีความสาคญั ในทุกธุรกิจท่ีมีความเก่ียวขอ้ งกบั คน เนื่องจาก
คนมีการยึดตัวตน การได้รับบริการที่ดีเป็ นการทาให้มีคุณค่า แต่ในกรณีท่ีทาให้ตนไม่มีคุณค่าย่อมไม่
ตอ้ งการใชบ้ ริการ
4. ผลผลิตตอ้ งมีคุณภาพ ปัจจยั น้ีควรมีการสร้างระบบตรวจสอบยอ้ นกลบั ไดว้ ่าผลผลิตใดมาจาก
แหล่งใดเพื่อการรับประกนั ในกรณีคุณภาพดีสามารถใช้เป็ นขอ้ มูลในการเพ่ิมยอดการร่วมธุรกิจ ในกรณี
คุณภาพไม่ดีสามารถร่วมพฒั นาแกไ้ ขปัญหาการผลิตได้ ระบบน้ีประสบความสาเร็จในการดาเนินงานของ
สหกรณ์ในประเทศญ่ีป่ ุน และในปัจจุบนั หา้ งสรรพสินคา้ ในประเทศไทยกาลงั ใหค้ วามสาคญั
5. สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจุบนั เป็ นการยึดตลาดเป็ นหลกั ในการผลิต สถานการณ์ปัจจุบนั
ตอ้ งการสินคา้ ที่ปลอดภยั จากสารเคมี เป็นสินคา้ ท่ีไม่ทาลายสิ่งแวดลอ้ ม เป็นมิตรกบั ธรรมชาติ ใชภ้ ูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน สินคา้ บางชนิดเม่ือทาดว้ ยมือจะมีราคาสูง
6. วิเคราะห์คู่แข่งอื่น ๆ ที่ดาเนินธุรกิจเช่นเดียวกนั โดยหลกั ของการผลิตจะยึด 3 ประการ คือ เป็ น
ผลิตภัณฑ์แรกย่อมสร้ำงควำมสนใจของลูกค้ำ หำกเป็ นผลติ ภัณฑ์ชนิดเดียวกนั ต้องมีควำมแปลกแตกต่ำง
จำกเดมิ หำกเหมือนกนั ต้องดีกว่ำหรือดีท่สี ุดในบรรดำผลติ ภัณฑ์เดียวกนั
7. มีการส่งเสริมการผลิต อนั เป็นกิจการท่ีเดิมสหกรณ์ไมม่ ีจึงตอ้ งสร้างข้ึนใหม่
เทคนิคกำรดำเนนิ ธุรกจิ ขำย
1. สหกรณ์ต้องสร้ำงคณุ ค่ำให้เกดิ ขึน้ ตรงกบั ควำมต้องกำรของสมำชิก

1.1 สมาชิกตอ้ งไดร้ ับความสะดวกเม่ือร่วมธุรกิจ เช่น สหกรณ์เขา้ ไปรับซ้ือผลิตผลจาก
สมาชิกถึงบา้ น

1.2 สร้างคณุ ภาพชีวิตของสมาชิกใหด้ ีข้ึน เม่ือขายสินคา้ ใหก้ บั สหกรณ์แลว้ สมาชิกมีสภาพ
ทางสังคมดี เพราะไมถ่ กู เอารัดเอาเปรียบ สภาพทางเศรษฐกิจดีเพราะมีรายไดเ้ พิม่ ข้นึ

1.3 บริการให้สมาชิกมีความสุข เช่น ทกั ทายอย่างเป็ นกนั เอง หรือช่วงเวลาที่สมาชิกรอ
ขายผลผลิตก็อาจมีกิจกรรมบนั เทิง เช่น ดูหนงั ฟังเพลง เลน่ เกม เป็นตน้

49

2. สร้ำงควำมภักดีให้เกดิ กบั สมำชิก
2.1 ตอ้ งใชห้ ลกั ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ตอ้ งมีความผกู พนั กนั ไม่ตดั ขาดกนั ในระหวา่ งการทิ้ง

ช่วงเวลาของธุรกิจ
2.2 เพ่มิ ผลประโยชน์ใหส้ มาชิกอยา่ งต่อเนื่อง เช่น เงินเฉล่ียคืน การยกยอ่ งทางสงั คม
2.3 ตอบแทนพิเศษให้สมาชิกเป็นคร้ังคราว เช่น สมาชิกนาผลผลิตมาขายในช่วงเทศกาล

ปี ใหมส่ หกรณ์มีของขวญั มอบให้
2.4 มีการใชเ้ ทคโนโลยีการส่ือสาร เช่น ใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือติดต่อเม่ือสมาชิกตอ้ งการขาย

ผลผลิต หรือสหกรณ์ลง Web Site ผลผลิตที่สหกรณ์รวบรวมจากสมาชิกใหต้ ลาดภายนอกพิจารณา เป็ น
ตน้

3. กำรเช่ือมโยงเครือข่ำย
จากการเปิ ดตลาดการคา้ เสรี สหกรณ์ควรมีการเช่ือมโยงระหว่างสหกรณ์ผูบ้ ริโภค ธุรกิจ

ภาคเอกชน เพ่ือเพ่ิมช่องทางการจาหน่ายสินคา้ หรือการรับซ้ือผลผลิตจะขยายไปถึงผูท้ ี่ไม่เป็ นสมาชิก
สหกรณ์ถา้ มีความตอ้ งการขายสหกรณ์ก็สามารถรับซ้ือได้ เพราะในปัจจุบนั ตลาดของสหกรณ์ไม่ปิ ดก้นั แต่
สมาชิกเพยี งอยา่ งเดียว

4. เช่ือมโยงกบั ธุรกจิ สินเชื่อ
เช่น รับชาระหน้ีเป็นผลผลิตจากสมาชิกแทนเงินสด ทาให้สมาชิกอาจเลือกวิธีการน้ี แลว้ จะ

ทาใหป้ ระสบผลสาเร็จท้งั สองธุรกิจ
5. รวมรวมผลผลติ โดยมีเงื่อนไขน้อย
จุดอ่อนของสหกรณ์คือระเบียบ กติกา ข้ันตอนในการดาเนินการท่ีมีมากกว่าเอกชน หาก

สหกรณ์มีเงื่อนไขมากจะทาใหส้ มาชิกเปล่ียนความคิดไปทาธุรกิจกบั เอกชน
6. มกี ำรประกนั รำคำให้กบั สมำชิก
โดยราคาที่สหกรณ์รับซ้ือจะตอ้ งไม่ต่ากว่าตลาด แต่ไม่ทาให้สหกรณ์ประสบปัญหาในการ

จาหน่าย เพ่ือสร้างความมนั่ ใจ ความน่าเชื่อถือให้กบั สมาชิก สร้างระบบตลาดสินคา้ เกษตรในอนาคตของ
สหกรณ์

7. ส่งเสริมกล่มุ ผู้ผลติ ในสหกรณ์
ทาให้สหกรณ์มีผลผลิตอย่างแน่นอน ธุรกิจสามารถดาเนินไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง เช่นส่งเสริมการ

ปลูกผกั ปลอดภยั เพราะปัจจุบนั คนเร่ิมใหค้ วามสาคญั เร่ืองสุขภาพกนั มากข้ึน หรือการผลิตป๋ ยุ ชีวภาพ เป็น
ตน้

8. คณะกรรมกำร ผ้นู ำกล่มุ หรือแม้แต่ฝ่ ำยจัดกำรต้องร่วมกจิ กรรมกบั สหกรณ์
เพอื่ สร้างความเช่ือถือ ความมนั่ ใจใหก้ บั สมาชิก ตามหลกั การบริหารที่ผนู้ าเป็นตวั อยา่ ง

50

2.3 ธุรกจิ สินเช่ือ

หมายถึง การให้ทรัพยส์ ินส่ิงของหรือบริการที่เป็นประโยชนต์ รงกบั ความตอ้ งการของสมาชิก โดยมีเง่ือนไขเมื่อถึง
กาหนดเวลาก็ตอ้ งนามาส่งคนื พร้อมผลตอบแทน เช่น ดอกเบ้ีย หรือผลตอบแทนอน่ื ๆ ตามขอ้ ตกลงร่วมกนั ดว้ ยความ
เชื่อถือกนั เป็นธุรกิจด้งั เดิมของสหกรณ์ที่มีพ้นื ฐานมาจากการอยรู่ ่วมกนั ของมนุษยท์ ี่ตอ้ งมีความเช่ือถือไวว้ างใจกนั

วัตถปุ ระสงค์ของธุรกิจสินเช่ือ

1. เพื่อแกป้ ัญหาความเดือดร้อนของสมาชิกในเรื่องการขาดแคลนเงินทุนในการประกอบอาชีพ
ความเป็ นอยู่ หรือความเดือดร้อนอ่ืน ๆ ให้สมาชิกมีความเป็ นอยู่ดีข้ึน จากการใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะเป็ น
เงินทนุ หรือส่ิงของต่าง ๆ ทดแทนการขาดแคลน

2. เพื่อพฒั นาอาชีพ ความเป็นอยู่ หรือลงทนุ ดา้ นอื่น ๆ ของสมาชิก หรือครอบครัว เช่น ลงทุนซ้ือ
ท่ีดินประกอบอาชีพ สร้างบา้ นอยอู่ าศยั โดยใชป้ ระโยชน์จากเงินทุนหรือสิ่งของตา่ ง ๆ พฒั นาใหม้ ีข้ึน

3. เพอ่ื รักษาสภาพความมนั่ คงในอาชีพ ในความเป็นอยขู่ องสมาชิกและครอบครัว เช่น การรับจานา
ผลผลิต การศึกษาบุตร หลาน โดยใช้ประโยชน์จากเงินทุนหรือสิ่งของต่าง ๆ เพื่อทาให้เกิดความมนั่ คง
ยง่ั ยนื

สภำพเดิม
ธุรกิจสินเชื่อ เป็ นธุรกิจท่ีสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตรส่วนใหญ่
ดาเนินงาน โดยมีความเป็นมาต้งั แต่เร่ิมจดั ต้งั สหกรณ์ในประเทศไทยท่ีเป็ นสหกรณ์หาทุน นาเงินทุนมาให้
สมาชิกกูไ้ ปประกอบอาชีพการเกษตร ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2459 เม่ือการจดั ต้งั สหกรณ์ขยายไปทวั่ ประเทศ มีการ
นาธุรกิจสินเช่ือไปดาเนินงานในสหกรณ์ต่าง ๆ ด้วย ธุรกิจสินเช่ือจึงเป็ นเสมือนธุรกิจที่เกิดข้ึนมาพร้อมกบั
สหกรณ์ มีการจูงใจบุคคลที่จะเป็ นสมาชิกดว้ ยจานวนเงินที่จะให้กู้ การเป็ นสมาชิกสหกรณ์ในอดีตจึง
หมายถึงการตอ้ งการกู้เงินจากสหกรณ์นั่นเอง ต่อมาธุรกิจสินเช่ือมีบทบาทสาคญั ในสหกรณ์ออมทรัพย์
ท่ีต้งั ข้นึ สาหรับผมู้ ีรายไดป้ ระจาและในสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยนท่ีต้งั ข้นึ ในชุมชนต่าง ๆ
ธุรกิจสินเช่ือดาเนินงานเชิงเดี่ยวในระยะแรก ๆ กล่าวคือ สหกรณ์ปล่อยให้สมาชิกกูเ้ งินและรอรับ
ชาระคืน ต่อมามีการพฒั นาไปเชื่อมโยงกบั ธุรกิจอื่น ๆ เช่น ธุรกิจซ้ือ ธุรกิจขาย โดยเช่ือมโยงกนั เฉพาะ
ตน้ ทางและปลายทาง คอื เช่ือมโยงเม่ือจ่ายเงินกูแ้ ละเมื่อชาระคืน
ธุรกิจสินเชื่อแนวใหม่ถูกพฒั นาโดยสถาบนั ธุรกิจเอกชนที่ยึดหลกั การบริการลูกคา้ ที่เน้นความ
สะดวก รวดเร็ว เรียบง่าย ไม่รู้สึกดอ้ ยค่า มีการแข่งขนั กนั สูงเน่ืองจากมีเจา้ ของธุรกิจน้ีจานวนมากต้งั แต่ใน
หมู่บา้ นท่ีมีนายทุนประจา มีกองทุนหมู่บา้ น จนถึงระดบั ประเทศท่ีมีธนาคาร สหกรณ์ สถาบนั การเงิน ธุรกิจ
สินเชื่อแนวใหม่เป็ นการผกู โยงเขา้ กบั หลาย ๆ กิจการจนแยกกนั ไม่ออก เช่นสินเชื่อผ่านมือถือ สินเช่ือผา่ น
ห้างสรรพสินคา้ สินเชื่อกับระบบสาธารณูปโภค สินเช่ือกับระบบการศึกษา ระบบการเดินทาง ระบบ
ประกนั ภยั ฯลฯ

51

ข้นั ตอนกำรดำเนินธุรกจิ สินเช่ือ

1. สมำชิกมีควำมต้องกำร
สามารถแยกความตอ้ งการสินเช่ือของสมาชิกออกได้ 2 ประเภท คือความตอ้ งการแทก้ บั ความ
ตอ้ งการเทียม ความตอ้ งการแทถ้ ูกแบ่งยอ่ ยออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ตอ้ งการที่สามารถใชบ้ ริการสินเช่ือ
ไดโ้ ดยตรง หมายถึง มีความตอ้ งการที่ตรงกบั ขอ้ กาหนดให้รับสินเชื่อได้ และตอ้ งการที่สามารถใชบ้ ริการ
ไดท้ างออ้ ม หมายถึง มีความตอ้ งการที่ไม่ตรงกบั ขอ้ กาหนดจึงตอ้ งปรับปรุงความตอ้ งการทางเอกสารจึงจะ
รับสินเชื่อได้ ท้ังน้ีความต้องการแท้น้ีเป็ นความต้องการสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของธุรกิจสินเชื่อ
สาหรับความตอ้ งการเทียมเป็นความตอ้ งการอ่ืน ๆ ท่ีไม่ตรงกบั วตั ถุประสงค์ของธุรกิจสินเชื่อ แต่พยายาม
นาความตอ้ งการน้นั มาใชบ้ ริการสินเช่ือ
ตวั อย่าง สมาชิกผชู้ ายตอ้ งการแต่งงานเป็นความตอ้ งการเพ่ือพฒั นาชีวิตความเป็นอยตู่ ามธรรมชาติ
ของมนุษย์ หากสหกรณ์เปิ ดโอกาสใหก้ ูไ้ ดต้ ามระเบียบตามความตอ้ งการกูเ้ งินแต่งงานจะเป็นความตอ้ งการ
แทโ้ ดยตรง แต่หากสหกรณ์ไม่ไดก้ าหนดการกูเ้ งินเร่ืองน้ีไว้ สมาชิกจะกูไ้ ดต้ อ้ งระบุวตั ถุประสงคว์ า่ ลงทุน
ทานา ความต้องการน้ีเป็ นความตอ้ งการแท้โดยอ้อม เนื่องจากได้แรงงานภรรยามาทานาเพ่ิม แต่หาก
สมาชิกมีความตอ้ งการกูเ้ งินไปลงทุนเล่นการพนนั อนั ไม่ใช่แกป้ ัญหาความเดือดร้อน ไม่ใช่พฒั นา ไม่ใช่
รักษาอาชีพความเป็ นอยู่ ความตอ้ งการน้ีเป็นความตอ้ งการเทียม หากใช้วิธีการขอกูแ้ บบความตอ้ งการแท้
โดยออ้ ม
โดยสภาพทวั่ ไปแลว้ ความตอ้ งการของสมาชิกสหกรณ์จะมีอย่ตู ลอดเวลาตามธรรมชาติของมนุษย์
เพียงแค่ข้นั ตอนน้ีตอ้ งเป็ นความตอ้ งการท่ีแกป้ ัญหาความเดือดร้อน ความตอ้ งการเพื่อการพฒั นา ความ
ตอ้ งการเพ่อื ปกป้องรักษาอาชีพและความเป็นอยขู่ องสมาชิก
กำรจัดกำรธุรกจิ สินเช่ือแนวใหม่ควรใช้ควำมต้องกำรแท้เป็ นฐำนของกำรเริ่มต้นธุรกิจ ไม่ควรยึด
ควำมสำมำรถส่งชำระคืนได้เป็ นหลักสำคัญในกำรพิจำรณำ แค่ควรยึดหลกั ส่งเสริมคนดีให้มีโอกำสพัฒนำ
แก้ปัญหำกำรประกอบอำชีพและควำมเป็ นอยู่

2. ขอใช้บริกำรสินเชื่อ
จากการดาเนินธุรกิจด้งั เดิมที่นาเงินกูม้ าจูงใจให้เขา้ เป็ นสมาชิกสหกรณ์พฒั นาเป็นความเขม้ งวดใน
การใหบ้ ริการ โดยตอ้ งมีหลกั ประกนั ตอ่ มามีการผอ่ นคลายความเขม้ งวดเพื่อให้สหกรณ์สามารถทาธุรกิจน้ี
ไดใ้ นเชิงปริมาณ ซ่ึงมีปัญหาเรื่องหน้ีสินคา้ งชาระติดตามมา ในรูปแบบการจดั การแนวใหม่เห็นว่าอนั ดบั
แรกตอ้ งมีฐานขอ้ มูลความตอ้ งการแทเ้ ป็ นหลกั หลงั จากน้ันจึงพิจารณาแผนการใชเ้ งินกูถ้ ึงแนวโน้มความ
เป็ นไปได้ของการลงทุนและความสามารถชาระคืน ต่อไปจึงเป็ นข้นั ตอนท่ีจะประสานขอ้ มูลระหว่าง
สมาชิกกบั สหกรณ์เขา้ หากนั โดยกาหนดลู่ทางการขอใชบ้ ริการธุรกิจอยา่ งชดั เจน สะดวก เรียบง่าย ดว้ ย
เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ท่ีเม่ือสมาชิกแสดงความตอ้ งการจะสามารถแสดงผลไดท้ นั ทีถึงวงเงินกู้ ระยะเวลา

52

ชาระคืน อตั ราดอกเบ้ีย และท่ีสาคญั ในแนวใหม่สาหรับธุรกิจน้ีคือ ควรมีแผนการประกอบอาชีพ แผนการ
ลงทนุ ท่ีสามารถช้ีไดว้ า่ สหกรณ์จะเขา้ ไปมีส่วนร่วมแนะนาไดอ้ ยา่ งไร

ดา้ นเอกสารท่ีมกั เป็ นภาระของท้งั สหกรณ์และสมาชิก ควรจดั การแกไ้ ขดว้ ยเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั
สามารถใช้บตั รประจาตวั เพียงฉบบั เดียวหรือการแสกนลายมือคร้ังเดียว สามารถดาเนินการขอใช้บริการ
ธุรกิจสินเชื่อไดท้ นั ที

สาหรับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีระบบกลุ่มย่อยตามพ้ืนท่ีและยงั ไม่มีระบบเทคโนโลยี ควรให้
ความรู้ความเขา้ ใจในการติดต่อธุรกิจดา้ นเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง คุณสมบตั ิผูก้ ู้ ข้นั ตอนการร่วมธุรกิจ โดย
สหกรณ์ควรสร้างระบบกลุ่มให้เขม้ แข็ง ควบคุมดูแลจดั การภายในกลุ่มเองได้ คลา้ ยกับชุมชนเขม้ แข็งที่
สามารถดูแลคนในชุมชนให้ปลอดยาเสพติดได้ สาหรับกลุม่ สหกรณ์ควรมีบทบาทคดั เลือกสมาชิกเขา้ กลุ่ม
ใหค้ วามเห็นชอบสมาชิกขอใชบ้ ริการธุรกิจสินเชื่อ ควบคุมการใชเ้ งินกูต้ ามวตั ถุประสงค์ แนะนาส่งเสริม
การประกอบอาชีพ ติดตามทวงถามการชาระคนื เงินกสู้ มาชิกในกลุ่ม

3. อนุมัตใิ ห้บริกำรสินเชื่อ
สหกรณ์จะยึดหลกั ความสามารถชาระคืนได้เป็ นเกณฑ์สาคญั ในการอนุมตั ิ ซ่ึงเห็นได้ชัดจาก
สหกรณ์ออมทรัพยท์ ี่มีสมาชิกเป็ นบุคคลท่ีมีเงินไดร้ ายเดือนจะอนุมตั ิให้โดยไม่สนใจวตั ถุประสงคใ์ นการกู้
ท้งั น้ีเน่ืองจากสามารถหักชะราหน้ีคืนไดจ้ ากตน้ สังกดั เคยมีการกล่าววา่ เหตุผลท่ีมกั ใชข้ อกูก้ นั คือ การต่อ
เติมท่ีอยอู่ าศยั ซ่ึงหากเป็นจริงนบั ต้งั แต่ขอกูม้ าถึงปัจจุบนั แตล่ ะคนคงมีบา้ นยาวเป็นกิโลเมตร
ในแนวทางใหม่ ควรยดึ ความสามารถสร้างสมาชิกให้พ่ึงตนเองไดเ้ ป็นหลกั สาคญั ในการพิจารณา
โดยเม่ือมีแผนการใช้เงิน แผนการลงทุน สหกรณ์เห็นว่าสามารถสร้างอาชีพ สร้างความมนั่ คงในชีวิตให้
สมาชิกได้ ประกอบกบั วิเคราะห์แลว้ มีแนวโน้มก่อให้เกิดรายได้ที่สามารถนามาชาระหน้ีคืนไดจ้ ึงอนุมตั ิ
สินเช่ือ แนวทางใหม่น้ีสอดคลอ้ งกบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีแนะนาแนวทางการดาเนินชีวิตให้มี
ความพอประมาณ มีเหตุมีผล สร้างภมู ิคุม้ กนั ตวั เองได้ กล่าวคือ เม่ืออนุมตั ิสินเช่ือท่ีขอใชบ้ ริการมาอยา่ งมี
เหตุมีผล พอดีกบั ความสามารถของตนเองแลว้ ทาใหส้ มาชิกพ่ึงตนเองไดม้ ีอาชีพมนั่ คง ครอบครัวเป็นสุข
เป็นภมู ิคมุ้ กนั ในการดาเนินชีวติ ได้
หลกั ประกนั คนดี ดีกว่าหลกั ประกนั อื่น เป็นอีกหน่ึงขอ้ เสนอในการจดั การธุรกิจสินเชื่อแนวใหม่
เพ่ือเปล่ียนแปลงจากการใชท้ ี่ดินเป็ นหลกั ประกนั ซ่ึงมีความยุ่งยากในการจดทะเบียนจานองประกนั จด
ทะเบียนถอนจานองและการฟ้องร้อง ซ่ึงถึงแมจ้ ะหาตวั ช้ีวดั เป็ นวิทยาศาสตร์ยากว่าใครเป็ นคนดี แต่โดย
ระบบการรวมกลุ่มสามารถช้ีไดว้ ่าใครเป็นคนดี การส่งเสริมคนดีในการใชบ้ ริการสินเชื่อ จะเป็นประโยชน์
ท้งั การใช้เงินอย่างเป็ นประโยชน์ การส่งเสริมคนดีให้เป็ นตัวอย่าง และสามารถลดข้นั ตอนการทางาน
ไดม้ าก โดยลดเรื่องการหาหลกั ประกนั ลดเร่ืองการตรวจสอบการใชเ้ งิน ลดเรื่องการเร่งรัดหน้ีสิน

53

โดยทว่ั ไปหลกั เกณฑท์ ี่ควรใช้เป็ นองคป์ ระกอบในการอนุมตั ิสินเช่ือคือ เป็นคนดี การใชเ้ งินดีต่อ
อาชีพและชีวิต ไม่มีปัญหาเร่ืองการชาระคืน อีกประการท่ีสาคญั คือ ความสะดวกรวดเร็วในการอนุมตั ิ
เนื่องจากปัจจุบนั มีเทคโนโลยใี นการทางาน สหกรณ์จึงนามาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์

4. กำรใช้ประโยชน์
เมื่อสหกรณ์อนุมตั ิให้สมาชิกใชบ้ ริการสินเช่ือได้ ระบบการรับสินเช่ือควรสะดวก ปลอดภยั ทนั
ใช้ ทนั ความตอ้ งการ โดยควรเปล่ียนจากการรับเงินสดเป็นวสั ดุที่ตอ้ งการ หรือรับเครดิตที่สมาชิกสามารถ
นาไปใชใ้ นระบบเศรษฐกิจได้
การใช้ประโยชน์จากธุรกิจสินเชื่อของสมาชิก คือ การใช้เงินสดหรือส่ิงของตามวตั ถุประสงค์ที่
ระบุไวใ้ นคาขอกู้ ซ่ึงส่วนใหญ่แบ่งเป็ น 2 ดา้ น คือ การประกอบอาชีพและความเป็ นอยู่ ซ่ึงการจดั การ
แนวใหม่ไม่ควรให้ข้ันตอนน้ีสร้างความห่างเหินกับสหกรณ์ โดยควรมีการดูแลหลังการขายบริการ
กลา่ วคือ ตอ้ งมีการแนะนาอาชีพในกรณีสมาชิกกูเ้ งินเพ่ือการประกอบอาชีพ และแนะนาการดาเนินชีวิตใน
กรณีสมาชิกกเู้ งินเพ่ือความเป็นอยู่
การให้บริการภายหลงั จากการรับสินเช่ือไปแลว้ อาจทาได้ 2 แนวทางคือ แนวทางแรกเป็ นการ
ใหบ้ ริการท่ีคิดค่าใชจ้ ่ายอนั มีลกั ษณะเป็นธุรกิจบริการ กบั แนวทางที่สองเป็นการใหบ้ ริการท่ีไม่คดิ คา่ ใชจ้ ่าย
มีลกั ษณะเป็ นการบริการชุมชน สหกรณ์จะใช้แนวทางใดข้ึนอยู่กบั ความพร้อม องคป์ ระกอบของแต่ละ
สหกรณ์ โดยสหกรณ์ขนาดใหญ่ที่มีความมนั่ คง มีฐานะการเงินดีควรเลือกใชแ้ นวทางท่ีสอง แต่สหกรณ์ท่ี
ยงั ไม่มีความพร้อมดา้ นกาลงั คน ฐานะการเงิน ควรเลือกใชแ้ นวทางแรก ท้งั น้ีสามารถใช้เทคนิคทางการ
บริหารโดยขอความร่วมมือกบั หน่วยงานราชการในการเป็ นผูท้ าหน้าท่ีบริการหลงั ขายแทนสหกรณ์ เช่น
กรณีสมาชิกกูเ้ งินไปลงทุนเล้ียงปลา สามารถประสานงานให้สานักงานประมงจงั หวดั ให้บริการคาแนะนา
กรณีกูเ้ งินไปเล้ียงโคขุน สามารถประสานงานให้สานักงานปศุสัตวจ์ งั หวดั ให้บริการคาแนะนา เป็ นตน้
หรือกรณีกูเ้ งินทุนการศึกษาใหบ้ ตุ ร สามารถประสานงานสานกั งานจดั หางานดา้ นขอ้ มูลแหล่งงานให้
การมีความเก่ียวขอ้ งผกู พนั กนั ในข้นั ตอนน้ีมีประโยชน์มาก ย่ิงในกรณีมีสภาพปัญหาทางการผลิต
หรือปัญหาในการดาเนินชีวติ สหกรณ์จะไดร้ ับรู้ขอ้ มูลทนั ที จะไดพ้ ิจารณาทาแนวทางแกไ้ ขไม่ตอ้ งรอถึงสิ้น
ปี บญั ชี ซ่ึงเมื่อรับรู้ขอ้ มลู ในขณะน้นั ไมส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ ได้

5. กำรชำระคืน
ข้นั ตอนสุดทา้ ยของสมาชิกในการร่วมธุรกิจสินเชื่อ เป็ นข้นั ตอนที่สมาชิกท่ีดีจะหมดความกงั วล
ความเครียดจากการเป็ นหน้ี โดยจะรีบชาระคืนทันที แตกต่างจากสมาชิกท่ีขาดความรับผิดชอบที่เป็ น
ปัญหาของสหกรณ์ แตห่ ากดาเนินการตามข้นั ตอนต่าง ๆ ที่ระบไุ ว้ ข้นั ตอนน้ีจะไมม่ ีปัญหาอุปสรรค
แนวทางหน่ึงของการจัดการธุรกิจสินเชื่อที่ตอนหลังนิยมนามาใช้กันคือ การจัดการเชิงรวม
หมายถึง สร้างความเกี่ยวเน่ืองผูกพนั กนั กับธุรกิจอื่น อนั สามารถนามาใชใ้ นข้นั ตอนน้ีไดด้ ี โดยสมาชิก

54

สามารถชาระคืนไดด้ ว้ ยผลผลิตที่สามารถผลิตได้ ชาระคืนไดด้ ว้ ยการโอนเงินฝากท่ีสะสมเป็นประจาชาระ
หน้ีสิน ชาระคนื ไดด้ ว้ ยแรงงานท่ีช่วยงานสหกรณ์ สาหรับวธิ ีการชาระคืนสหกรณ์ควรอานวยความสะดวก
ให้สมาชิก สิ่งท่ีเลวร้ายที่สุดของธุรกิจสินเช่ือคือ สมาชิกนาเงินมาชาระแต่ไม่สามารถชาระได้ ไม่ว่าจะ
เหตุผลใด ๆ ก็ตาม อีกเร่ืองที่นาเสนอคอื สมาชิกของสหกรณ์ใดนาเงินมาชาระพร้อมกบั การเตรียมดอกเบ้ีย
อยา่ งพอดีเพราะสามารถคิดดอกเบ้ียเงินกูไ้ ด้ คือความยอดเย่ียมของสหกรณ์น้ัน เพราะเป็ นการให้ความรู้
สมาชิกไปด้วยหรือไม่ก็เป็ นเพราะสหกรณ์มีสมาชิกท่ีมีความรู้ การที่สหกรณ์มีสมาชิกท่ีมีความรู้ความ
เขา้ ใจเรื่องสหกรณ์ยอ่ มทาใหส้ หกรณ์ประสบความสาเร็จไดด้ ีกวา่ สหกรณ์มีสมาชิกท่ีขาดความรู้ ความเขา้ ใจ
ตรงกบั คากล่าวว่า สหกรณ์ของคนยากจนแต่มีความรู้ความเขา้ ใจ ย่อมดีกว่าสหกรณ์ของคนรวยแต่ขาด
ความรู้ ความเขา้ ใจ จากประสบการณ์ในข้นั ตอนน้ีกรณีสหกรณ์ท่ีหกั ชาระจากเงินไดร้ ายเดือนของสมาชิกที่
หน่วยงานตน้ สังกดั สมาชิกมกั ไม่ค่อยสนใจตรวจสอบจนนาสู่ปัญหาทุจริตในบางสหกรณ์ จึงควรมีระบบ
การตรวจสอบภายในท่ีเขม้ งวด จริงจงั ไดผ้ ล

ปัญหาใหญ่สุดของธุรกิจสินเช่ือคือ การมีหน้ีคา้ ง ซ่ึงขอ้ เสนอการจดั การแนวใหม่ของธุรกิจน้ี คือ
การสร้างระบบ GCP คือ Good Credit Practice หรือระบบการปฏิบตั ิที่ดีในการให้สินเช่ือ อนั หมายถึง
การปฏิบตั ิงานในแต่ละข้นั ตอนของใหส้ ินเช่ืออยา่ งดี ยอ่ มไดร้ ับผลออกมาดี รายละเอียดตามผงั ข้นั ตอนน้ี

55

แผนภำพท่ี 11 ข้ันตอนกำรดำเนินธุรกจิ สินเชื่อกรณีกู้รอบเดียว

กำรจดั กำรเดิม สมาชิกตอ้ งการสินเช่ือ กำรจดั กำรแนวใหม่
- ฝ่ายจดั การเริ่มทาธุรกิจเลย - ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ประกอบการ

แลว้ หาสมาชิกเขา้ ร่วม ดาเนินธุรกิจ

- ใชเ้ อกสาร ทาเร่ืองขอใชบ้ ริการ - จดั เก็บดว้ ยระบบคอมพิว-
เตอร์มีโปรแกรมเฉพาะท่ี
สามารถใหส้ มาชิกไดท้ นั ที

- ใชเ้ วลานาน ตอ้ งรอประชุม อนุมตั ิโดยคณะกรรมการ - ตรวจสอบขอ้ มลู สมาชิก
- ยดึ หลกั ชาระคนื ได้ แลว้ ตดั สินอยา่ งรวดเร็ว

- ยดึ หลกั ช่วยคนดี

- รับเป็นเงินสด สมาชิกรับสินเชื่อและใชป้ ระโยชน์ - รับเงินสด, บตั รเครดิต ,
โอนเขา้ บญั ชี ,รับเป็นวสั ดุ
- แบบธนวตั ิ

- ไมม่ ีบริการ บริการหลงั การขาย - จดั บริการแนะนาท้งั อาชีพ
- ดว้ ยเงินสด ชาระคนื และความเป็ นอยู่

- โอนเงินเขา้ บญั ชี
- ชาระดว้ ยผลผลิต
- ชาระดว้ ยอื่น ๆ

56

แผนภำพท่ี 12 ข้ันตอนกำรดำเนินธุรกจิ สินเช่ือกรณกี ู้หลำยรอบ
สมาชิกตอ้ งการสินเช่ือ

ชาระคนื ทาเร่ืองขอใชบ้ ริการ

สมาชิกรับสินเชื่อ อนุมตั ิโดยคณะกรรมการ

ปัจจัยควำมสำเร็จของธุรกจิ สินเช่ือ
1. บุคลากรมีส่วนร่วมกับธุรกิจซ่ึงเป็ นปัจจัยสาคัญของความสาเร็จในทุกธุรกิจ เป็ นปัจจัย
ความสาเร็จของสหกรณ์ รวมถึงเป็นปัจจยั ความสาเร็จของทกุ องคก์ ร
2. เช่ือมโยงกับสหกรณ์อ่ืน เช่ือมโยงกับเอกชนในเร่ืองเงินทุน เชื่อมโยงกับธุรกิจอื่นของ
สหกรณ์ การจดั การธุรกิจแบบเช่ือมโยงเป็นการสร้างความมน่ั คงดว้ ยการเพิ่มฐานรากของธุรกิจ

3. บริการที่ดีให้กับสมาชิก ต้ังแต่ข้ันตอนแรกจนถึงข้ันตอนสุดท้ายคือการบริการหลังจาก

ธุรกิจ อนั เป็นความผกู พนั ที่ไมร่ ้างรา
4.ต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น เร่ืองอตั ราดอกเบ้ีย ภาวการณ์ลงทุน ตอ้ งมีการ

ตรวจสอบขอ้ มลู ทางเศรษฐกิจทางการเงินในประเทศและต่างประเทศเน่ืองจากปัจจุบนั การเคลื่อนยา้ ยเงินทุน
เป็นไปอยา่ งรวดเร็วและมีความออ่ นไหว

5. วิเคราะห์คู่แข่ง ปัจจุบนั คู่แข่งธุรกิจสินเชื่อมีมาก แข่งขนั กนั ดว้ ยเทคนิควิธีการต่าง ๆ สหกรณ์
ควรมีขอ้ มูลที่นามาประกอบการวิเคราะห์ คือ ข้นั ตอนการดาเนินธุรกิจ อตั ราดอกเบ้ีย วงเงินกู้ เง่ือนไข
การชาระคนื การลด แลก แจก แถมเพื่อประชาสัมพนั ธ์ ตอ้ งดาเนินธุรกิจดว้ ยหลกั การว่า เพื่อช่วยสมำชิก
ให้มีควำมเป็ นอยู่ที่ดี ไม่ใช่เพื่อหำกำไรเข้ำสหกรณ์ ซ่ึงเป็ นจุดแข็งของสหกรณ์ที่เป็ นภูมิคุม้ กันธุรกิจให้
พฒั นาอยา่ งมนั่ คง

57

เทคนคิ กำรดำเนินธุรกจิ สินเช่ือ
1. ต้องรับสมำชิกท่ีดี
ดีในที่น้ีตอ้ งพิจารณาจากหลาย ๆ ดา้ น เช่น ฐานะการเงินของครอบครัวมีความมน่ั คงหรือไม่ การ
ประกอบอาชีพมีความมนั่ คงหรือไม่ มีคุณธรรมในการพ่ึงตนเองคือขยนั ประหยดั พฒั นาชีวิต ไม่เสพติด
อบายมขุ ซ่ึงหากเร่ิมตน้ ท่ีคนดียอ่ มนาสู่การประสบความสาเร็จสูง
2. ต้องมกี ำรทำควำมเข้ำใจกบั สมำชิกก่อนจ่ำยเงินกู้
เพ่ือช้ีแจงกำรร่วมธุรกิจกบั สหกรณ์ที่ไม่ใช่ในฐำนะเจ้ำหนีก้ บั ลูกหนี้เหมือนกบั การทาธุรกิจทว่ั ไป แต่
เป็ นกำรช่วยเหลือกันเพื่อสร้ำงอำชีพ สร้ำงควำมเป็ นอยู่โดยยืมเงินทุนของเพ่ือนสมาชิกในระยะเวลาหน่ึง
และในระหว่างน้นั ตอ้ งมีความร่วมมือกนั ตลอดเวลา รวมถึงการช้ีแจงสัญญาและเง่ือนไขการชาระหน้ีให้มี
ความชดั เจน สมาชิกก็จะปฏิบตั ิตามเงื่อนไขไดถ้ ูกตอ้ ง หากสมาชิกที่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขไม่ไดก้ ็สามารถ
แจง้ ยกเลิกการกเู้ งินได้
3. เจ้ำหน้ำทีส่ หกรณ์ต้องเป็ นนักบริกำร
ให้บริการทนั กบั ความตอ้ งการของสมาชิก เพราะสภาพการณ์ในปัจจุบนั เปล่ียนแปลงตลอดเวลา
สมาชิกมีการดาเนินชีวิตที่สลบั ซับซอ้ นมากข้ึน สหกรณ์ตอ้ งปรับเปลี่ยนวิธีการบริการให้ทนั กบั เหตุการณ์
ปัจจุบนั และเป็นนกั บริการที่ดี
4. กล่มุ ย่อยของสหกรณ์ ต้องมีระบบทีด่ ี ควบคุม ดูแลภำยในกล่มุ ได้ดี
ผูน้ ากลุ่มต้องเป็ นหลกั คือ สามารถควบคุมสมาชิกได้ ตอ้ งรู้ว่าสมาชิกแต่ละคนเป็ นอย่างไร ใช้
บริการสินเชื่อตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่ ตอ้ งการรับความช่วยเหลือดา้ นใด มีกาลงั ชาระคืนหรือไม่ เป็ นผู้
กระตนุ้ สมาชิกเม่ือถึงกาหนดชาระคืน สหกรณ์ใดที่ไม่มีระบบกลุ่มยอ่ ยควรสร้างระบบน้ีข้นึ
5. มกี ำรส่งเสริมอำชีพให้กบั สมำชิก
เพ่อื ส่งเสริมให้สมาชิกมีรายไดเ้ พ่ิมจากอาชีพเดิมหรืออาชีพเสริม เมื่อสมาชิกมีรายไดเ้ พิ่มข้ึน ธุรกิจ
สินเช่ือของสหกรณ์ก็สามารถดาเนินการไปได้อย่างต่อเนื่อง อาชีพที่ควรส่งเสริม เช่น ปลูกผกั ปลอด
สารพษิ ผลิตภณั ฑข์ องใชใ้ นครัวเรือนท่ีปลอดสารเคมี เพอื่ ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดในปัจจุบนั
6. มีกำรเช่ือมโยงระหว่ำงธุรกจิ สินเชื่อกบั ธุรกจิ ขำย
เช่น สมาชิกกูเ้ งินไปแตไ่ ม่มีเงินชาระหน้ี กใ็ ชว้ ิธีการนาผลผลิตมาใหก้ บั สหกรณ์ เป็นวธิ ีการแกไ้ ข
ปัญหาหน้ีคา้ งชาระไดว้ ิธีหน่ึง หรือเช่ือมโยงกนั โดยวธิ ีอื่นตามแตส่ มาชิกตอ้ งการและมีความพร้อม
7. ผ้นู ำต้องเป็ นตัวอย่ำงท่ีดี
ไม่วา่ จะเป็นคณะกรรมการ ผนู้ ากลุ่ม เมื่อร่วมธุรกิจสินเชื่อตอ้ งเป็นตวั อยา่ งใหก้ บั สมาชิก ชาระตรง
กาหนดเวลา ปฏิบตั ิตามเง่ือนไขของสหกรณ์ สาหรับสังคมไทยที่ยึดถือตวั บุคคลถือว่าเป็ นขอ้ กาหนดที่
สาคญั ท่ีผนู้ าตอ้ งปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี

58

8. เจ้ำหน้ำท่ตี ้องท่มุ เทกำรทำงำนด้วยควำมซ่ือสัตย์
หลายสหกรณ์ท่ีเจา้ หน้าท่ีใช้ธุรกิจสินเชื่อเป็ นช่องทางการทุจริต เช่น ปลอมชื่อสมาชิกกูเ้ งินจาก
สหกรณ์ไป หรือเม่ือสมาชิกมาชาระเงินก็ไม่นาเขา้ สหกรณ์ อาจใชว้ ิธีแกไ้ ขดว้ ยการตรวจสอบหน้ีคงเหลือ
จากสมาชิกวา่ ถูกตอ้ งตรงกบั ทะเบียนคุมยอดลกู หน้ีหรือไม่ ส่ิงสาคญั เมื่อกาหนดใหส้ มาชิกสหกรณ์เป็นคนดี
ธุรกิจสินเช่ือจดั บริการสาหรับคนดีเจา้ หน้าที่สหกรณ์จึงตอ้ งเป็ นคนดีเท่าน้ัน ควรกำจัดคนไม่ดีออกจำก
ระบบสหกรณ์และควรให้คนดีขึน้ เป็ นผ้ปู กครองคนในสหกรณ์
9. กำรจดั ช้ันสมำชิก
โดยการพิจารณาจากประวตั ิการมีส่วนร่วมในสหกรณ์ของสมาชิก เช่นการเขา้ ร่วมประชุม การถือ
หุน้ การฝากเงิน การทาธุรกิจ โดยจดั ระดบั การมีส่วนร่วมเป็นสามระดบั แลว้ นามาจดั ช้นั สมาชิกเป็นช้นั หน่ึง
ช้นั สอง ช้นั สาม หรือช้ันดี ช้นั ปานกลาง ช้ันควรปรับปรุง ใครเป็ นสมาชิกช้นั หน่ึง ช้นั ดี ก็ได้วงเงินกู้
มาก เสียดอกเบ้ียต่า ระยะเวลาชาระคนื นาน โดยมีการประเมินการจดั ช้นั สมาชิกทกุ ปี เพื่อปรับเปลี่ยนช้นั
10. กำรต้งั กองทนุ ชำระหนี้
เป็นการรวมเงินของสมาชิกต้งั เป็นกองทุนไว้ เม่ือถึงกาหนดเวลาชาระ สมาชิกคนใดมีเงินไม่พอก็
สามารถยืมเงินจากกองทุน นาไปชาระหน้ีกับสหกรณ์ เมื่อย่ืนกูใ้ หม่ไดร้ ับเงินกู้ก็นามาชาระคืนกองทุน
หมุนเวียนกนั ไป ดีกว่าการใช้วิธีกูเ้ งินนอกระบบตอ้ งเสียดอกเบ้ียที่สูง สมาชิกก็จะเดือดร้อนมากข้ึน การ
จดั ต้งั กองทุนชาระหน้ีเป็ นการแกไ้ ขปัญหาในยามจาเป็ นเช่นเกิดอุทกภยั เป็ นตน้ ท้งั น้ีเพื่อไม่ให้เสียประวตั ิ
ของคนดี
11. กำรตอบแทนในกำรทวงหนี้
เพื่อให้โอกาสคนท่ีมีความสามารถในการทวงหน้ีไดร้ ับค่าตอบแทน เช่น ญาติ ผูน้ าชุมชน ผูใ้ หญ่
ที่ลกู หน้ีใหค้ วามเคารพและเกรงใจ โดยกาหนดเป็นมติที่ประชุมคณะกรรมการวา่ หากใครสามารถทวงหน้ีที่
คา้ งชาระ 10 – 20 ปี ตามรายชื่อท่ีกาหนด จะได้รับค่าตอบแทนร้อยละเท่าไร หรือเงื่อนไขอื่น ๆ ที่
คณะกรรมการกาหนด โดยวตั ถุประสงคก์ ็เพื่อแกไ้ ขปัญหาหน้ีที่คา้ งชาระนาน ๆ จนจะกลายเป็นหน้ีสูญให้
ไดร้ ับชาระคืน นอกจากไดร้ ับชาระคนื แลว้ ทาใหส้ หกรณ์มีทุนหมุนเวยี นใหส้ มาชิกเพิ่มข้นึ อีกดว้ ย
12. กำรดำเนนิ คดีกบั คนดงั
เม่ือมีการทวงถามถึงที่สุดแลว้ สหกรณ์จาเป็นตอ้ งดาเนินคดีกบั ผทู้ ่ีไมม่ าชาระหน้ี โดยอาจเร่ิมท่ีคน
มีชื่อเสียงในตาบล อาเภอ เพ่ือใหส้ มาชิกไดเ้ ห็นว่าสหกรณ์มีความจริงจงั จะไดไ้ ม่กลา้ คา้ งชาระนาน ๆ แต่
บางคร้ังสหกรณ์ก็ตอ้ งเลือกสมาชิกท่ีจะฟ้องวา่ ถา้ ฟ้องแลว้ ตอ้ งไดร้ ับชาระคนื แน่ ๆ เพื่อป้องกนั การเสียเวลา
เสียท้งั เงินค่าธรรมเนียม ค่าทนาย ไม่คุม้ กบั ที่เสี่ยงฟ้องร้อง และท่ีสาคญั เม่ือฟ้องร้องแลว้ สหกรณ์ตอ้ ง
เดด็ ขาด ไม่ใจอ่อน ประนีประนอม ไมเ่ ช่นน้นั ก็จะส่งผลตอ่ หน้ีคา้ งรายอ่ืนท่ีอาจด้ือแพ่งตามมา

59

13. กำรปล่อยเงนิ กู้รวดเร็ว
ปัจจุบนั คนเร่ิมดาเนินชีวิตภายใตก้ ารแข่งขนั ที่สูงข้ึน ประกอบอาชีพหลายอย่าง สหกรณ์ควรใช้
เวลาพจิ ารณาเงินกใู้ หส้ ้ันลง เช่น พิจารณาจากจานวนหุ้น ประวตั ิ ฐานะการเงิน ถา้ ผา่ นก็อนุมตั ิเลยไม่ตอ้ ง
รอประชุมคณะกรรมการท้งั น้ีตอ้ งดาเนินการให้มีระเบียบรองรับ สหกรณ์ควรปล่อยเงินกู้หลายประเภท
เช่น เงินกูฉ้ ุกเฉิน กูแ้ ลว้ ไดร้ ับเงินทนั เมื่อมีเหตุการณ์เร่งด่วน แต่ควรมีกาหนดวงเงินและระยะเวลาคืนให้
ชดั เจนรวดเร็วเหมือนตอนที่ขอกู้ เงินกูร้ ะยะส้ันควรมีการจ่ายทุกสปั ดาห์หรือสปั ดาห์ละ 2 คร้ัง เงินกรู้ ะยะ
ปานกลางควรปรับปรุงระบบค้าประกนั ใหส้ ามารถดาเนินการไดร้ วดเร็ว เพ่ือสามารถจ่ายเงินกูไ้ ดร้ วดเร็วข้ึน
หรืออาจมีการเพ่ิมหลกั ประกนั อื่น ๆ เช่น ถา้ จ่ายเงินกูใ้ ห้แม่คา้ ก็ใช้แผงคา้ เป็ นหลกั ประกนั คลา้ ยกับการ
แปลงสินทรัพยเ์ ป็นทุน
14. ทยอยรับชำระ
บางคร้ังการรับชาระหน้ีท้งั หมดสมาชิกบางคนอาจไม่สามารถรวบรวมมาชาระได้ แต่ถา้ ใชว้ ิธีการ
ทยอยชาระคร้ังละ 100, 200 หรือ 500 บาท ก็จะทาให้สามารถทยอยชาระได้ง่ายข้ึน สหกรณ์ตอ้ งใช้
วธิ ีการสังเกตวา่ รายไดข้ องสมาชิกมีช่วงไหนจะไดท้ ยอยเก็บช่วงน้นั ได้ หรือใหค้ วามสะดวกกบั สมาชิกโดย
การเดินเก็บตามบ้าน จะทาให้สมาชิกเต็มใจท่ีจะชาระหน้ี สหกรณ์ก็ลดความเสี่ยงหน้ีค้างชาระได้
ยกตวั อย่างเช่นสมาชิกสหกรณ์ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือจะมีรายได้พิเศษในช่วงเทศกาลสงกรานต์
เน่ืองจากบุตรหลานเดินทางกลบั จากกรุงเทพมหานครเพ่อื ฉลองวนั ปี ใหม่ไทยโดยจะนาเงินมาใหค้ ุณพ่อคุณ
แม่
15. นำระบบเทคโนโลยีมำใช้
เพ่ือให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ถูกตอ้ ง เกิดประโยชน์กับสมาชิกมากข้ึน เช่น ใชค้ อมพิวเตอร์
กรอกรายละเอียดในการขอกูข้ องสมาชิก เก็บขอ้ มูลการกู้ การชาระเงิน ประวตั ิสมาชิก เป็ นตน้ สหกรณ์
สามารถสร้างระบบเวบ็ ไซดเ์ ป็นของตนเองเพอื่ อานวยความสะดวกใหส้ มาชิกตรวจสอบขอ้ มูลไดท้ ่ีบา้ น
16. กำรยกหนใี้ ห้
สาหรับเทคนิคน้ีสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนได้สร้างวิธีการที่น่าสนใจโดยสมาชิกที่เขา้ หลกั เกณฑ์เมื่อ
เสียชีวิตจะไดร้ ับการยกหน้ีให้ โดยบางกรณีสหกรณ์เพ่ิมค่าหุ้นคืนให้มากกว่าท่ีถืออยู่ สาหรับสหกรณ์อื่น
สามารถสร้างระเบียบข้ึนถือใชก้ รณีสมาชิกท่ีดี แต่เสียชีวิตขณะมีหน้ีกบั สหกรณ์ สหกรณ์ลดหย่อนหรือยก
หน้ีให้ ท้งั น้ีตอ้ งศึกษาแนวทางที่เหมาะสม

2.4 ธุรกจิ รับฝำกเงิน
หมายถึง การท่ีสมาชิกนาเงินมาฝากกบั สหกรณ์ สหกรณ์ทาหน้าท่ีรับฝากเงินของสมาชิกไว้ เม่ือ
สมาชิกตอ้ งการใช้เงินก็สามารถถอนเงินฝากดงั กล่าวได้ ระหว่างที่ฝากไวส้ มาชิกได้รับผลตอบแทนจาก
สหกรณ์ในรูปดอกเบ้ียเงินฝาก ธุรกิจรับฝากเงินน้ีบางคร้ังก็รวมอยกู่ บั ธุรกิจสินเช่ือ เน่ืองจากตอ้ งอาศยั ความ
เช่ือใจกนั จึงจะนาเงินฝากไว้ แต่ในการนาเสนอคร้ังน้ีขอแยกเป็นธุรกิจตา่ งหากเพื่อลงในรายละเอียดเฉพาะ

60

วัตถุประสงค์ของธุรกจิ รับฝำกเงนิ
การจดั ให้มีข้ึนของธุรกิจรับฝากเงิน ควรไดร้ ับความสาคญั เป็นอนั ดบั แรกของธุรกิจสหกรณ์ ท้งั น้ี
เพราะเป็นการสนบั สนุนอุดมการณ์สหกรณ์ในการมุ่งให้สมาชิกพ่ึงพาตนเองได้ การพ่ึงพาตนเองไดจ้ ะตอ้ ง
มีเงินออมเป็นทุนในการประกอบอาชีพ เป็นทุนในการดาเนินชีวติ ธุรกิจรับฝากเงินจึงมีวตั ถุประสงคค์ อื

1. เพื่อส่งเสริมการออมของสมาชิก อนั เป็ นการสร้างความมน่ั คงให้กบั ชีวิตความเป็ นอยู่
ในอนาคต

2. เพ่ือช่วยเหลือสมาชิกดว้ ยกนั อนั เป็ นการเอ้ืออาทรระหว่างกนั ในสถานะคนท่ีมีฐานะ
ดีกวา่ ช่วยเหลือคนที่ฐานะดอ้ ยกวา่ คนแขง็ แรงช่วยเหลือคนอ่อนแอกวา่

สภำพเดมิ
การรับฝากเงินของสหกรณ์สภาพเดิมไม่ค่อยได้รับความนิยมจากสมาชิก สังเกตได้จากเวลา
ตอ้ งการใช้เงินสมาชิกจะมากูเ้ งินที่สหกรณ์ แต่เวลามีเงินเหลือจะนาเงินไปฝากธนาคาร ดว้ ยภาพที่เชื่อว่า
ธนาคารมีความมน่ั คงกวา่ สหกรณ์ ประกอบกบั สหกรณ์เองยงั ไม่ส่งเสริมธุรกิจน้ีมากนกั เน่ืองจากมีปัญหา
ความกงั วลใจเรื่องการหมุนเวียนเงินเพ่ือสารองจ่ายคืน กรณีมีสมาชิกมาถอนเงิน แต่ต่อมามีการรณรงค์
ระดมการออมเงินเพื่อส่งเสริมการประหยดั ตามอุดมการณ์สหกรณ์ สหกรณ์ตา่ ง ๆ จึงสนใจทาธุรกิจรับฝาก
เงินเพ่ิมข้ึน บุคลากรฝ่ ายจัดการมีความรู้ด้านการเงินเพิ่มข้ึน มีเทคนิคการบริหารเงินเพิ่มข้ึน มี
ประสบการณ์กบั วงจรหมุนเวียนการเงินของสหกรณ์เพิ่มข้ึน สิ่งต่าง ๆ เป็ นเหตุท่ีส่งผลต่อการขยายกิจการ
รับฝากเงินในปัจจุบนั
เหตุการณ์สาคญั มากต่อการขยายตวั ของธุรกิจรับฝากเงินของสหกรณ์เกิดข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2538 –
2540 ที่ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ สถาบนั การเงินขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร กองทุนการเงิน
บรรษทั หลกั ทรัพย์ ประสบภาวะหน้ีไม่ก่อใหเ้ กิดรายไดจ้ นขาดเงินทุนหมุนเวียน ตอ้ งปิ ดกิจการ อนั ส่งผล
ให้ลูกคา้ ที่ฝากเงินไม่สามารถถอนเงินฝากไดจ้ นถึงข้นั รัฐบาลตอ้ งเขา้ รับประกนั เงินฝาก เพื่อยืดเวลาในการ
หาทางแกป้ ัญหาวิกฤติการณ์คร้ังน้ี ทาให้เงินฝากจานวนมากไหลเขา้ สู่ระบบสหกรณ์ เน่ืองจากในสภาวะ
น้ันสหกรณ์ยงั สามารถดาเนินงานไดต้ ามปกติไม่ไดร้ ับผลกระทบจากภาวะวิกฤติ จากเหตุการณ์ดงั กล่าว
สถาบนั สหกรณ์ไดร้ ับความเช่ือมนั่ อย่างสูงจากประชาชน เกิดการขยายตวั ในธุรกิจรับฝากเงินแบบเท่าตวั
ซ่ึงยงั ส่งผลทางจิตวิทยาถึงปัจจุบนั
ข้ันตอนกำรดำเนนิ ธุรกจิ รับฝำกเงิน
1. สมำชิกมีรำยได้ ซ่ึงหลงั หักค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพ ในการดาเนินชีวิตแลว้ ยงั คงเหลือ
ดว้ ยการปฏิบตั ิตนตามอุดมการณ์สหกรณ์ท่ีสมาชิกตอ้ งมีความขยนั หารายได้ และประหยดั รายจ่าย
2. สมำชิกต้องกำรออมเงินไว้กับสหกรณ์ โดยมีความเชื่อมน่ั ในระบบและจากการส่งเสริมทาง
ธุรกิจของสหกรณ์

61

3. สหกรณ์เปิ ดดำเนินธุรกจิ รับฝำก โดยกาหนดระเบียบข้นึ ถือใช้ ท่ีมีการกาหนดอตั ราดอกเบ้ียเงิน
ฝาก ประเภทเงินฝาก เง่ือนไขการฝาก – ถอน

4. สหกรณ์ รับฝำกเงิน ข้ันตอนน้ีควรเปลี่ยนแปลงจากระบบบันทึกด้วยมือเป็ นใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ในการบนั ทึกขอ้ มูล การคานวณดอกเบ้ีย การพิมพส์ มุดเงินฝาก และควรอานวยความสะดวก
เพิ่มเติมจากการถือเงินสดมาฝากเป็ นการรับฝากเงินดว้ ยวิธีอื่น ๆ เพิ่ม เช่น การโอนเงินค่าขายผลผลิตเป็ น
เงินฝาก การโอนเงินระหวา่ งบญั ชีธนาคารฝากกบั บญั ชีสหกรณ์

ข้นั ตอนน้ีหลกั การสาคญั คือ สมาชิกทุกคนควรมีเงินฝากกบั สหกรณ์และสมาชิกควรฝากอย่าง
สม่าเสมอ กล่าวไดว้ ่าสหกรณ์ท่ีมีสมำชิกจำนวนมำกฝำกเงินแม้จำนวนเงินน้อย แต่ย่อมดีกว่ำสหกรณ์ที่มี
สมำชิกจำนวนน้อยมำฝำกเงินมำก ๆ เพราะยงั คงยืนยนั หลักการสหกรณ์ท่ีว่าด้วยการมีส่วนร่วมทาง
เศรษฐกิจของสมาชิก

5. สมำชิกถอนเงิน ข้นั ตอนการถอนเงินเนน้ เร่ืองความสะดวก และถอนไดด้ งั ใจ ในสมยั ปัจจุบนั
เป็ นไปไม่ได้ที่ผูฝ้ ากเงินมาถอนเงินแล้วถอนไม่ได้เพราะไม่มีเงินจ่าย สหกรณ์จึงต้องมีการสารองเงิน
หมุนเวียนเงินอย่างคล่องตวั โดยสามารถสร้างเครือข่ายกบั ธนาคารหรือสถาบนั การเงินต่าง ๆ รวมท้ัง
สหกรณ์ดว้ ยกนั

ความเห็นท่ีสาคัญในข้นั ตอนการถอนเงินน้ีจากผูจ้ ดั การสหกรณ์ท่านหน่ึง คือ ย่ิงกำรถอนเงิน
สะดวกเท่ำใด ย่ิงทำให้มีเงินฝำกเพิ่มขึ้น ซ่ึงหากฟังอย่างผิวเผินแลว้ ไม่น่าจะเป็ นไปได้ การถอนเงินง่าย
น่าจะทาให้เงินฝากลด แต่เหตุผลท่ีผูพ้ ูดอา้ งประกอบคือ เมื่อธนาคารใช้การถอนเงินผ่านตูอ้ ตั โนมตั ิ 24
ชั่วโมง ทาให้ลูกค้าถอนเงินฝากได้ง่ายมาก สะดวกมาก จากการทาเช่นน้ีของธนาคารแรก ส่งผลให้
ธนาคารน้นั มีเงินฝากไหลเขา้ มากมาย จึงสรุปไดว้ ่าลูกคา้ ฝากเงินเพราะตอ้ งการถอน เม่ือถอนง่ายก็ยิ่งฝาก
มาก ตอ่ ความเห็นน้ีเสนอวา่ สหกรณ์ควรนาไปพิจารณาประกอบการจดั การธุรกิจรับฝากเงินแนวใหม่

6. ประเมินควำมพึงพอใจ ข้นั ตอนเพื่อช้ีวดั ความมนั่ คงของธุรกิจ คือ ต้องเป็ นกิจการที่
สมาชิกมีความพึงพอใจ สหกรณ์จึงตอ้ งประเมินผลเพ่อื นามาพฒั นาธุรกิจ

62

แผนภำพที่ 13 ข้ันตอนกำรดำเนนิ ธุรกจิ รับฝำกเงิน

กำรจดั กำรเดมิ สมาชิกมีรายไดแ้ ละ กำรจดั กำรแนวใหม่
- ไม่มีขอ้ มูลการมีส่วนร่วม ตอ้ งการฝากเงิน - ใชเ้ ป็นขอ้ มูลการตดั สินใจ

จากสมาชิก ประกอบธุรกิจ

- ไม่มีขอ้ มลู สารวจความตอ้ งการของ - ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการ
สมาชิก ประกอบธุรกิจ
- ขอ้ มลู ไมท่ นั สมยั
- ล่าชา้ ใชร้ ะบบมือ รวบรวมขอ้ มลู - รู้สถานะทางเศรษฐกิจของ
เทคโนโลยี ดาเนินธุรกิจรับฝาก - ถอน สมาชิก
- ไมม่ ีการประเมิน
ประเมินความพงึ พอใจ - ขอ้ มูลเป็นปัจจุบนั
- ใชข้ อ้ มูลวางแผนธุรกิจ

- รวดเร็วดว้ ยระบบ

- สะดวก รวดเร็ว ถูกตอ้ ง

- ปรับปรุงและพฒั นา

ปัจจยั ควำมสำเร็จของธุรกจิ รับฝำกเงิน
1. บคุ ลากรสหกรณ์มีส่วนร่วมในธุรกิจอยา่ งต่อเน่ืองเช่นเดียวกบั ทกุ ธุรกิจ
2. ใหก้ ารบริการสมาชิกที่ดี ต้งั แต่สมาชิกเร่ิมทาธุรกิจ จนถึงข้นั ตอนสุดทา้ ย
3. เชื่อมโยงกบั ธุรกิจอ่ืนของสหกรณ์ เช่นจดั สวสั ดิการสงเคราะห์สาหรับสมาชิกท่ีมีเงินฝาก โอน

ถอนเงินฝากชาระค่าสินคา้

63

4. วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบนั แลว้ ดาเนินการให้สอดคลอ้ ง เช่น อตั ราดอกเบ้ียของสถาบัน
การเงินอื่น ๆ หรือ คนเริ่มให้ความสาคญั เร่ือง สุขภาพ คณุ ภาพชีวิต จึงเห็นความสาคญั ของ
การออมมากข้นึ กลมุ่ เยาวชนท่ีมีการส่งเสริมการออม เป็นตน้

5. มีบริการหลงั ขาย ธุรกิจรับฝากเงินสามารถจดั บริการหลงั ขายได้ เช่นเมื่อนาเงินมาฝากมีการ
แนะนาใหบ้ ริการจดั การรายได-้ รายจ่าย เม่ือถอนเงินมีบริการแนะนาการใชเ้ งิน เป็นตน้

เทคนิคกำรดำเนนิ ธุรกจิ รับฝำกเงนิ
1. อัตรำดอกเบี้ยต้องดึงดูดสมำชิก หากสหกรณ์มีเงินทุนเพียงพอหรือหมุนเวียนทาธุรกิจให้มี
รายไดก้ ็สามารถกาหนดให้สูงกว่าสถาบนั การเงินอ่ืนไดเ้ ล็กน้อย เพื่อให้สมาชิกมีส่วนร่วมมากข้ึน และ
ควรข้นึ - ลงตามสถานการณ์
2. ต้องบริกำรให้เกิดควำมประทับใจกับสมำชิก เช่น เม่ือสมาชิกเปิ ดประตูเขา้ มาก็ทกั ทายสวสั ดี
คลา้ ยกบั การบริการของเซเวน่ อิเลฟเวน่ เป็นความประทบั ใจคร้ังแรกสมาชิกก็เกิดความอบอนุ่ ใจ นอกจากน้ี
ควรบริการดว้ ยสีหน้ายิ้มแยม้ แจ่มใส รวดเร็วทนั ใจ เพราะปัจจุบนั เวลาของสมาชิกมีจากดั และประกอบ
อาชีพหลายอย่าง ถา้ ตอ้ งมานงั่ รอนาน ๆ อาจจะเกิดความเบ่ือหน่ายได้ ในการบริการเจา้ หนา้ ท่ีควรคานึงถึง
การเอาใจเขามาใส่ใจเรา แลว้ จะทาใหธ้ ุรกิจประสบผลสาเร็จไปกวา่ คร่ึง
3. สำนักงำน กำรแต่งกำย ต้องดูดี การท่ีจะให้คนมีเงินเอาเงินมาให้ ต้องมีความน่าเชื่อถือซ่ึง
รูปลกั ษณ์ภายนอกเห็นไดจ้ ากสานกั งานท่ีดูมน่ั คง โอโ่ ถง เจา้ หนา้ ที่แต่งกายน่าเช่ือถือ
4. มีเงินรำงวัลให้กับสมำชิกที่มีเงินฝำกสูงสุด พิจารณา 1 ปี 1 คร้ังและประกาศในวนั ประชุม
ใหญ่ โดยสหกรณ์กาหนดรางวลั เช่น ทองคา วสั ดุอุปกรณ์ ส่ิงของ หรือเพ่ิมยอดเงินฝากให้กบั สมาชิก
ตามความเหมาะสม เป็นวิธีการดึงดูดใจใหส้ มาชิกตอ้ งการฝากเงินมากข้นึ
5. สหกรณ์กำหนดสิทธิพเิ ศษ ใหส้ าหรับสมาชิกท่ีมีเงินฝากกบั สหกรณ์ในการร่วมธุรกิจอื่น ๆ เช่น
ผทู้ ี่เปิ ดบญั ชีเงินฝากกบั สหกรณ์เมื่อกูเ้ งินจะเสียอตั ราดอกเบ้ียถูกกว่าสมาชิกรายอ่ืน หรือเมื่อร่วมธุรกิจซ้ือ
กบั สหกรณ์จะไดส้ ่วนลดพเิ ศษ เป็นตน้
6. ผู้นำสหกรณ์ต้องเร่ิมเป็ นตัวอย่ำงที่ดีกับสมำชิก โดยการเปิ ดบญั ชีเงินฝากกบั สหกรณ์ทุกคน
เพื่อสร้างความน่าเช่ือถือให้กับสมาชิก รวมถึงเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ทุกคนตอ้ งฝากเงินกับสหกรณ์ การจ่าย
เงินเดือนเจา้ หนา้ ที่ใชว้ ิธีการโอนเขา้ เป็นเงินฝาก
7. ขยำยกรอบกำรร่วมธุรกิจกับสหกรณ์ โดยให้ผทู้ ี่ไม่ใช่สมาชิก เช่น ลูกสมาชิก ใช้วิธีการแจก
กระปุกออมสินแลว้ นาเงินฝากกบั สหกรณ์ เป็ นกลุ่มท่ีสหกรณ์ควรส่งเสริมในยุคสมยั น้ี หน่วยงานภายใน
ชุมชน เช่น วดั โรงเรียน บุคคลทว่ั ไป โดยอาจแนะนาให้มาสมคั รเป็ นสมาชิกสมทบ แต่ท้งั น้ีควรมีการ
กาหนดวงเงินตามความเหมาะสม ขอ้ แนะนาท่ีหลายสหกรณ์ถือปฏิบตั ิ คือ การรับฝากเงินจากวดั หรือพระ
ซ่ึงจะเป็นเงินฝากท่ีไมค่ ่อยถอน ทาใหว้ างแผนบริการการเงินไดง้ ่ายข้ึน ท้งั น้ีตอ้ งดาเนินการให้สอดคลอ้ งกบั
ระเบียบดว้ ย

64

8. ใช้เทคโนโลยีกำรส่ือสำรทำง Web Site ซ่ึงปัจจุบนั เป็นการส่ือสารท่ีสะดวก รวดเร็ว สหกรณ์
ควรลงขอ้ มูลกิจกรรมธุรกิจใน Web Site เพ่ือประชาสัมพนั ธ์หรือใชว้ ิธีการใหม่ ๆ เช่น เปิ ดบญั ชีผ่านทาง
Web Site แลว้ โอนเงินเขา้ บญั ชีสหกรณ์ เป็นตน้

9. เช่ือมโยงกับธุรกิจอ่ืน ๆ เมื่อสมาชิกนาสินคา้ มาขายกใ็ หส้ มาชิกฝากเงินเขา้ บญั ชี โดยไม่ตอ้ งรับ
เงินสด หรือเม่ือสมาชิกซ้ือสินคา้ สามารถหกั เงินฝากชาระค่าสินคา้ ได้ หรือใชบ้ ญั ชีเงินฝากเป็นหลกั ประกนั
เงินกไู้ ด้

10. จดั เทศกำลเงนิ ฝำก โดยเม่ือสมาชิกนาเงินมาฝากในช่วงเทศกาลจะมีของท่ีระลึกมอบให้
11. สร้ำงวัฒนธรรมกำรฝำกเงินให้เกิดกับสมำชิก อบรมให้ความรู้ ประโยชน์ ของการฝากเงิน
อยา่ งต่อเน่ือง เพราะในยคุ ปัจจุบนั คนเร่ิมใหค้ วามสาคญั เร่ืองการออมกนั มากข้นึ เป็นผลมาจากกระแสของ
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงท่ีทุกหน่วยงานใหค้ วามสาคญั ประกอบกบั ผูส้ ูงอายมุ ีเพิ่มข้ึนการดาเนินชีวิตในวยั
สูงอายจุ าเป็นตอ้ งมีเงินออม
12. ต้องรักษำภำพพจน์ ช่ือเสียง ในเรื่องกำรเงินของสหกรณ์ เพ่ือสมาชิกเกิดความเช่ือถือ
ตอ้ งยอมรับวา่ หากเกิดความเสียหายดา้ นการเงินข้ึนในสหกรณ์จะส่งผลกระทบต่อธุรกิจรับฝากเงินมาก และ
เมื่อกระทบแลว้ กวา่ จะกลบั คืนใชเ้ วลานานมาก

2.5 ธุรกจิ บริกำร
หมายถึง กิจการที่สหกรณ์จดั ใหม้ ีข้ึนเพอ่ื บริการ อานวยความสะดวก ตอบสนองความตอ้ งการของ
สมาชิก โดยสหกรณ์คิดค่าตอบแทนในอตั ราท่ีเหมาะสม รูปแบบของกิจการมีความหลากหลาย แตกต่าง
กนั ไปตามวิถีชีวิตของสมาชิก ตวั อย่างเช่น สมาชิกตอ้ งทางานต้งั แต่โมงเชา้ จนถึงหกโมงเยน็ ไม่มีใครเล้ียง
ลูกให้ สหกรณ์จึงทาธุรกิจบริ การรับเล้ียงลูก โดยให้สมาชิกมาส่งลูกตอนเช้าและรับกลับตอนเย็น
นอกจากน้ีอาจหมายถึงกิจการจดั งานแต่งงาน งานบวช หรืองานศพ หรือกิจการที่เก่ียวขอ้ งกบั การประกอบ
อาชีพ เช่น สมาชิกทานาสหกรณ์จดั บริการรถเกี่ยวขา้ ว สมาชิกปลูกมะพร้าวสหกรณ์จดั บริการเก็บมะพร้าว
หรือสมาชิกตอ้ งการบา้ นที่อยอู่ าศยั สหกรณ์บริการปลูกบา้ นใหส้ มาชิก เป็นตน้
วัตถุประสงค์ของธุรกจิ บริกำร

1. เพอื่ อานวยความสะดวกในการประกอบอาชีพของสมาชิก
2. เพือ่ อานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิตของสมาชิก
สภำพเดมิ
สหกรณ์จดั บริการธุรกิจน้ีน้อยมากจนมีการจดั ต้งั เป็ นสหกรณ์ประเภทบริการดาเนินกิจการเฉพาะ
ดา้ น เช่น สหกรณ์บริการไฟฟ้า สหกรณ์มีดอรัญญิก สหกรณ์เคหสถาน สหกรณ์แท็กซ่ี สหกรณ์บริการ
น้าประปา เป็ นตน้ สหกรณ์บริการเหล่าน้ีจะเป็ นลกั ษณะเอกประสงค์ ทางานดา้ นเดียว ต่อมาพฒั นามี
กิจการอ่ืน ๆ ในเครือข่ายเดียวกนั เพม่ิ ข้ึน เช่น สหกรณ์เคหสถานนอกจากร่วมทุนกนั จดั ซ้ือบา้ นแลว้ ต่อมา

65

ดาเนินกิจการด้านรักษาความปลอดภยั ซ่อมแซมบา้ น สหกรณ์แท็กซ่ีนอกจากร่วมทุนกนั ซ้ือรถแท็กซ่ี
ต่อมาดาเนินกิจการดา้ นน้ามนั ดา้ นวิทยสุ ื่อสาร บริการเรียกรถรับ – ส่ง

รู ป แบ บ ข องก ารจัดก ารธุ รกิ จบ ริ ก ารแนวให ม่เกิ ดข้ึ นจาก ก ารพัฒ นาก ารของธุ รกิ จเดิม ท่ี มี อยู่
เนื่องจากแต่ละธุรกิจจะดาเนินการเฉพาะเร่ืองไม่ครบถว้ นทุกข้นั ตอน ส่งผลให้สมาชิกตอ้ งพ่ึงพาธุรกิจจาก
บุคคลอื่น เม่ือขอ้ มูลเหล่าน้ีรู้ถึงสหกรณ์ก็มีการสร้างเป็นกิจการบริการข้ึนมา ตามตวั อย่างท่ียกในช่วงแรก
สหกรณ์ใดมีการพฒั นาตามลกั ษณะน้ีนับได้ว่าเป็ นการจดั การท่ียึดสมาชิกเป็ นสาคญั ให้ความสาคญั กบั
สมาชิก โดยเคยมีคาพดู ของผจู้ ดั การสหกรณ์การเกษตรขนาดใหญ่สหกรณ์หน่ึงบอกว่า ธุรกจิ ต่ำง ๆ ที่มีอยู่
ทุกวันนี้ ล้วนมำจำกสมำชิกมำบอกท้ังสิ้น ไม่ได้คิดธุรกจิ ขึน้ เอง แมแ้ ต่กิจการตลาดกลางพืชผกั ผลไมข้ นาด
ใหญ่ก็เกิดข้ึนจากสมาชิกมาแนะนาว่าควรทา ซ่ึงเมื่อดาเนินการแลว้ ก็ได้รับความร่วมมือจากสมาชิกจน
ประสบผลสาเร็จ สิ่งเหล่าน้ีคอื แนวทางการจดั การธุรกิจบริการแนวใหม่ของสหกรณ์

อีกประการหน่ึงท่ีคิดว่าสาคญั มากก็คือ เคยมีการจดั แบ่งการพฒั นาสังคมของโลกว่า จะเร่ิมจาก
สงั คมเกษตรกรรมที่มีประชากรประกอบอาชีพทาการเกษตร ต่อมาจะพฒั นาเป็นสังคมอุตสาหกรรมท่ีมีการ
ใช้เคร่ืองจกั รกลเขา้ มาทาการผลิต และจากน้ันจะพฒั นาเป็ นสังคมบริการท่ีเต็มไปดว้ ยเทคโนโลยีต่าง ๆ
โดยผูค้ นให้ความสาคญั กับการไดร้ ับบริการที่ดี ซ่ึงแนวคิดน้ีพิสูจน์ไดว้ ่ามีความเป็ นจริง โดยสังเกตจาก
เมืองไทยได้ว่าจากที่ประชาชนใช้ท่ีดินและแรงงานเพ่ือการประกอบอาชีพการเกษตรในอดีต ปัจจุบัน
ประชาชนจานวนมากปฏิบตั ิงานอยกู่ บั โรงงานอตุ สาหกรรม ที่ดินจานวนมากถกู ใชเ้ พ่อื การปลกู สร้างอาคาร
ทางการอุตสาหกรรมท่ีนาถูกปล่อยรกร้าง และทิศทางภายหนา้ จะเห็นว่าประเทศไทยมีรายไดห้ ลกั จากธุรกิจ
การท่องเท่ียวที่ประกอบดว้ ย ธุรกิจที่พกั ธุรกิจอาหาร ธุรกิจการเดินทาง ธุรกิจนาเท่ียว ธุรกิจการเสริม
สวย กิจการเพ่ือสุขภาพ อนั หมายถึงแนวโน้มการพฒั นาเขา้ สู่สังคมบริการ ย่ิงเทคโนโลยีการสื่อสารที่
รวดเร็วทันสมัย ยิ่งส่งให้ประเทศไทยพัฒนาเข้าสู่สังคมบริการเร็วข้ึน เม่ือเป็ นดังน้ีสหกรณ์ควรให้
ความสาคญั ในการจดั ให้มีธุรกิจบริการในสหกรณ์อยา่ งครอบคลุมเพื่อใหท้ นั ยคุ ทนั สมยั และท่ีสาคญั เพอื่ ให้
สหกรณ์อย่ไู ด้ เนื่องจากหากสหกรณ์ไม่ปรับตวั ตามสังคม สหกรณ์จะเป็นองค์กรโบราณลา้ สมยั ไม่มีใคร
คบคา้ ดว้ ยและจะตอ้ งตกยุคไปในท่ีสุด สหกรณ์ใดต้องกำรเป็ นสหกรณ์ที่ทันสมัย เป็ นสหกรณ์สมัยใหม่ก็
ต้องหันมำให้ควำมสำคัญดำเนนิ กจิ กำรธุรกจิ บริกำร

ข้นั ตอนกำรดำเนนิ ธุรกจิ บริกำร
1. สมำชิกดำเนินชีวิตตำมปกติ ประกอบอาชีพปกติ เป็ นอยู่ตามปกติ แต่มีบางเรื่องท่ีตอ้ งจดั ซ้ือ
หรือจดั จา้ งจากผรู้ ับจา้ งทว่ั ไปซ่ึงสหกรณ์ไมม่ ีการบริการเช่นน้นั
2. สมำชิกร้องขอให้สหกรณ์จัดบริกำร หรือเจา้ หน้าที่สหกรณ์สังเกตเห็นเองว่ามีความจาเป็ นของ
สมาชิกในการตอ้ งใชบ้ ริการ การช่างสงั เกตเป็นเร่ืองที่การจดั การแนวใหมต่ อ้ งใหค้ วามสาคญั

66

3. สหกรณ์สำรวจข้อมูล เพื่อประกอบการพิจารณาทาแผนธุรกิจ กำรประกอบกิจกำรใดของ
สหกรณ์ต่อไปนี้ต้องมีแผนธุรกิจ ไม่เพียงแต่คิดแต่นึกแต่เห็นก็ลงมือทาเลยเพราะมีโอกาสผิดพลาดใน
รายละเอียด

4. เสนอแผนธุรกิจให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรพิจำรณำ เมื่อคณะกรรมการอนุมัติแผน ให้
นาเสนอที่ประชุมใหญ่เพ่ือขออนุมตั ิแผนงานงบประมาณประจาปี ในข้นั ตอนน้ีอาจจะดูว่าเป็ นข้นั ตอนที่
ตอ้ งใชเ้ วลา ในสถานการณ์ปัจจุบนั อาจจะทาให้ไม่ทนั การกบั คู่แข่ง แต่ในขอ้ เสนอตามแนวคิดเห็นว่าเป็ น
การสร้างธุรกิจใหม่ ควรประชาสัมพนั ธ์และร่วมกันพิจารณาจากเจ้าของสหกรณ์ และหากไดร้ ับความ
เห็นชอบผอู้ นุมตั ิจะเป็นลกู คา้ ไดท้ นั ที

5. ให้บริกำรตำมแผนธุรกิจ ข้นั ตอนน้ีหากเป็ นธุรกิจใหม่ควรเร่ิมจากเล็กไปหาใหญ่ ไม่ควรทา
แบบใหญ่โตโดยไม่มีประสบการณ์เพราะอาจจะพบกบั สภาพปัญหาที่แกไ้ ขไม่ได้ จนทาให้ตอ้ งลม้ เลิก
กิจการไป การเริ่มจากเล็กเป็นการทากิจการไปเรียนรู้ไปมีประสบการณ์ไปทาใหม้ ีรากฐานท่ีมน่ั คง การเร่ิม
จากใหญ่เป็นเหมือนคนตวั โตที่อยุ้ อา้ ย เคล่ือนยา้ ยตดั สินใจอะไรยาก และคนตวั ใหญต่ อ้ งมีคา่ ใชจ้ ่ายสูง

6. สมำชิกร่วมธุรกิจ ธุรกิจบริการมีข้นั ตอนเช่นเดียวกบั ธุรกิจอื่นคือ จดั ใหม้ ีข้ึนเพอื่ บริการสมาชิก
ลกู คา้ ของธุรกิจสหกรณ์คอื สมาชิก ทกุ ธุรกิจดาเนินการอยไู่ ดเ้ พราะลกู คา้ เมื่อมีสมาชิกเป็นลูกคา้ ธุรกิจของ
สหกรณ์จึงอยไู่ ดเ้ พราะสมาชิก

7. ประเมินควำมพึงพอใจ เป็ นข้นั ตอนท่ีการจดั การสหกรณ์ทุกธุรกิจควรนามาใช้ให้มีเพ่ือพฒั นา
ปรับปรุงใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของสมาชิกอยา่ งต่อเน่ือง

ปัจจยั ควำมสำเร็จกำรดำเนนิ ธุรกจิ บริกำร
1. บคุ ลากรสหกรณ์มีส่วนร่วมในธุรกิจ เช่นเดียวกบั ธุรกิจอ่ืน ๆ ของสหกรณ์
2. การให้บริการที่ดีกบั สมาชิกต้งั แต่เริ่มดาเนินการจนถึงข้นั ตอนสุดทา้ ย เพื่อสร้างความภกั ดีต่อ
องคก์ ร
3. สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสมาชิกตามสถานการณ์ปัจจุบนั ที่มีการเปลี่ยนแปลง เป็นธุรกิจ
ที่แปรเปลี่ยนไดเ้ มื่ออาชีพเปลี่ยนเมื่อวิถีชีวิตเปล่ียน
4. ส่ิงที่บริการสมาชิกตอ้ งมีคุณภาพ ยง่ิ บริการเพื่อชีวิตความเป็นอยตู่ อ้ งปลอดภยั ไดป้ ระโยชน์
5. เช่ือมโยงธุรกิจอ่ืน ๆ เชื่อมโยงกบั หน่วยงานอื่น ๆ เช่น กิจการดูแลผสู้ ูงอายุโดยร่วมกบั พระภิกษุ
สงฆ์
6. วิเคราะห์คู่แข่งขนั โดยขอ้ มูลท่ีควรวิเคราะห์ คือ ข้นั ตอนการดาเนินงาน กิจการบริการ ความ
พร้อมทางดา้ นบุคลากร เงินทนุ วสั ดุอุปกรณ์ กระบวนการส่งเสริมธุรกิจ
ปัจจยั ความสาเร็จการดาเนินธุรกิจบริการของสหกรณ์ดังกล่าวแยกไดเ้ ป็ น 2 ปัจจยั ใหญ่ ๆ คือ
ความสาเร็จที่เกิดจากสหกรณ์เอง กบั ความสาเร็จท่ีเกิดจากการร่วมมือกบั หน่วยงานอื่น ซ่ึงอธิบายไดว้ ่า ตวั
สหกรณ์ตอ้ งมีความแข็งแรงในการดาเนินธุรกิจ และตอ้ งแสวงหาส่วนร่วมในกิจการ ยกตวั อย่างสหกรณ์

67

จดั บริการสอนภาษาอังกฤษให้สมาชิกท่ีมีท่ีอยู่ในแหล่งท่องเที่ยว โดยสมาชิกได้ทาโครงการนาเที่ยว
สหกรณ์สามารถร่วมมือกบั สถานศึกษากบั การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยกบั องค์การบริหารส่วนตาบล
ดาเนินกิจการดงั กลา่ ว

แผนภำพที่ 14 ข้ันตอนกำรดำเนนิ ธุรกจิ บริกำร

กำรจัดกำรเดมิ กำรจัดกำรแนวใหม่

- สมาชิกไมต่ อ้ งการมีส่วนร่วม สมาชิกแจง้ ความตอ้ งการ - จดั บริการตรงกบั ความตอ้ ง
- จดั บริการไมต่ รงความตอ้ งการ การของสมาชิก

- สมาชิกเตม็ ใจใหส้ ่วนร่วม

- สอดคลอ้ งกบั วิถีชีวติ

- มีการสารวจนอ้ ยหรือบาง สหกรณ์สารวจ - เป็นขอ้ มลู ในการจดั การ
สหกรณ์ไม่มีเลย - บริหารอยา่ งมีขอ้ มูล

- ขอ้ มูลไมท่ นั สมยั รวบรวมขอ้ มลู - ขอ้ มูลเป็นปัจจุบนั
- ไมม่ ีการวางแผน บริการ - มีการวางแผนตามขอ้ มูล

- ไมต่ รงกบั ความตอ้ งการ สนบั สนุน
- ลา้ ชา้
- มุ่งกาไร - รวดเร็ว ตรงกบั ความ
- เงินสดทนั ที ตอ้ งการ

- ไมม่ ีการประเมิน รับค่าตอบแทน - เงินสดทนั ที
- ยดึ ตามความพอใจของคน - ผอ่ นชาระ
- ผลผลิต
ทางาน - แลกเปลี่ยน

ประเมินความพึงพอใจ - เพื่อพฒั นาปรับปรุง
- ยดึ ความพอใจของสมาชิก

68

เทคนคิ กำรดำเนินธุรกจิ บริกำร
1. บริกำรเกี่ยวกับสุขภำพ ปัจจุบันประชาชนให้ความสาคัญเร่ืองสุขภาพ สหกรณ์ควรบริการ

เกี่ยวกบั สุขภาพ เช่น จดั บริการแอโรบิคตอนเยน็ จดั บริการตรวจสุขภาพ
2. บริกำรรองรับโครงสร้ำงประชำกรที่เปล่ียนแปลง โครงสร้างทางประชากรทาให้มีข้อมูล

ประชากรวยั โสดจะเพิ่มมากข้ึน สหกรณ์ก็ควรจดั บริการสาหรับคนโสด เช่น จัดบริการอุปกรณ์กีฬา
บริการเสริมสวย นอกจากน้ีประชากรวยั เด็กมีสัดส่วนใกลเ้ คียงกับวยั สูงอายุ สหกรณ์จดั บริการรับเล้ียง
คนชรา หรือบริการรักษาพยาบาล ซ่ึงเป็นธุรกิจท่ีหลายประเทศดาเนินการแลว้ ประสบความสาเร็จอยา่ งมาก

ส่วนวยั เด็กก็ควรจดั บริการรับเล้ียงเด็ก จดั บริการสวนสนุก สถานที่ต้งั อาจจะเป็นใจกลางชุมชนท่ี
สมาชิกอยู่ หรือที่ทาการสหกรณ์เวลาสมาชิกมาติดต่องานลูกสมาชิกสามารถใชบ้ ริการได้

3. บริกำรอินเตอร์เน็ตท จัดบริการอินเตอร์เน็ตที่สหกรณ์เพราะปัจจุบันการสื่อสารสามารถ
ติดต่อกนั ไดร้ วดเร็ว และส่ือสารกันได้ทวั่ โลก ลูกสมาชิกท่ีอยู่ในวยั เยาวชนก็จะใช้บริการไดส้ ะดวกข้ึน
หรือบริการเช่าโทรศพั ทม์ ือถือสาหรับสมาชิกบางรายที่ตอ้ งการติดต่อสื่อสารทางโทรศพั ท์

4. ผู้นำต้องเป็ นตัวอย่ำง คณะกรรมการ ผูน้ ากลุ่ม ควรใช้บริการของสหกรณ์เพ่ือเป็ นตวั อย่าง
ใหก้ บั สมาชิกและตอ้ งร่วมธุรกิจอยา่ งต่อเน่ือง

5. ค่ำตอบแทนเหมำะสม คดิ ค่าตอบแทนในอตั ราท่ีเหมาะสมไมส่ ูงจนเกินกาลงั ของสมาชิก
6. บริกำรรวดเร็ว บริการรวดเร็วทันต่อความตอ้ งการใช้บริการของสมาชิก เพราะปัจจุบนั ตอ้ ง
ดาเนินการชีวิตแข่งกบั เวลาสมาชิกอาจจะเปล่ียนไมร่ ่วมธุรกิจกบั สหกรณ์
7. กำรประชำสัมพันธ์ ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบว่ามีธุรกิจบริการด้านใดบ้าง
เพอื่ ให้สมาชิกมีส่วนร่วมมากข้ึน โดยการประชาสมั พนั ธ์ผา่ นผนู้ ากลุ่ม ที่ประชุมใหญ่ ปากต่อปาก หรือลง
Web Site ของสหกรณ์
8. กิจกำรรองอำจหล่อเลีย้ งธุรกิจหลัก เช่น ธุรกิจตลาดกลางของสหกรณ์มีรายไดห้ ลกั จากการคิด
ค่าบริการใชห้ อ้ งสุขา หรือค่าเช่าท่ีพกั ผซู้ ้ือสินคา้ ท่ีตอ้ งเดินทางไกล บริการรถเกี่ยวขา้ วทาใหก้ ารชาระหน้ีดี
ข้ึน
9. ธุรกจิ บริกำรจะสร้ำงควำมรู้สึกที่ดีต่อกัน เนื่องจากเป็ นการอานวยความสะดวกในการดาเนิน
ชีวิต จึงยอ่ มเสริมใหส้ มาชิกร่วมมือกบั ธุรกิจอ่ืนของสหกรณ์
10. คนให้บริกำรต้องมีจติ วิญญำณบริกำร ตรวจสอบง่าย ๆ ไดจ้ าก รับฟังคนอื่นไดท้ ุกเร่ืองหรือไม่
ยม้ิ กบั คนไม่รู้จกั ไดห้ รือไม่ ขอโทษคนอ่ืนไดท้ ุกกรณีหรือไม่ ขอบคุณคนอ่ืนไดท้ ุกกรณีไหม ตอ้ งการให้
ผอู้ ่ืนมีความสุขใช่หรือไม่ เห็นความไม่ถูกใจเป็นเรื่องปกติใช่หรือไม่

69

กำรจัดกำรสหกรณ์ด้วยปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. สหกรณ์กบั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สหกรณ์ หมายถึง คณะบุคคลซ่ึงร่วมกนั ดาเนินกิจการเพ่ือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดย
ช่วยตนเองและช่วยเหลือกนั ซ่ึงไดจ้ ดทะเบียนตามพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึง แนวพระราชดาริแห่งพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชต่อ
การดาเนินชีวติ ของประชาชนทุกระดบั ยดึ หลกั ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการมีภมู ิคุม้ กนั ตวั เอง
ต่อผลกระทบใด ๆ

เม่ือเปรียบเทียบสหกรณ์กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พบวา่ มีประเดน็ วเิ คราะห์ ดงั น้ี
1.1 เป้ำหมำย

สหกรณ์มีเป้าหมายทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงสามารถกล่าวไดว้ า่ เป้าหมายของสหกรณ์คือ
การมีเศรษฐกิจดีและสังคมดี หรือความเป็ นอยู่ดี มีสันติสุข ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามขอ้ ความช่ือ
ปรัชญามีเป้าหมายทางเศรษฐกิจ แต่เม่ือศึกษาลึกลงในรายละเอียดของปรัชญาพบว่ามุ่งให้ดารงชีวิตอยู่ได้
ภายใตท้ ุกสถานการณ์ อนั หมายถึงทุกสภาพแวดลอ้ มจึงหมายรวมถึงสังคมดว้ ย เป้าหมายของสหกรณ์และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมีเป้าหมายเดียวกนั

เป้ำหมำยสหกรณ์ = เป้ำหมำยปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.2 ควำมสำคญั

สหกรณ์ให้ความสาคญั กบั คนมากกว่าส่ิงอ่ืนใด ตามคาแปลสหกรณ์ที่ สห คือ การรวมกนั
กรณ์ คือ การกระทา สหกรณ์คือการกระทาร่วมกนั โดยเน้นการรวมกันของคนเพ่ือทางานแก้ปัญหาหรือ
พฒั นาตามที่ตอ้ งการ นอกจากน้นั ดูไดจ้ ากการกาหนดกติกาในสหกรณ์ให้ คน 1 คน ออกเสียงได้ 1 เสียง ใน
1 เรื่อง ไม่ไดย้ ึดจานวนทรัพยส์ ินท่ีมี กบั กาหนดให้สมาชิก1 คน ถือหุน้ กบั สหกรณ์ไดไ้ ม่เกิน 1 ใน 5 ท้งั น้ี
เพือ่ ไม่ใหอ้ านาจเงินควบคุมบงั คบั สหกรณ์

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาเพ่ือการพฒั นาการดาเนินชีวิตของคนใหอ้ ยู่ไดใ้ น
ทุกสถานการณ์ เป็นการดาเนินชีวิตสายกลาง มีภูมิตา้ นทานในตวั เองให้อยไู่ ดอ้ ย่างมนั่ คง ยงั่ ยนื ซ่ึงแสดงถึง
การมุ่งสู่การพฒั นาคนเพื่อให้คนเป็ นศูนยก์ ลางของการพฒั นา ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ที่ 10 ดงั น้นั การใหค้ วามสาคญั ของสหกรณ์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงให้ความสาคญั กบั คน
คณุ ค่าความเป็นคน หรือศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์

สหกรณ์ให้ควำมสำคัญกบั คน = ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้ควำมสำคญั กบั คน

70

1.3 วธิ กี ำรบรรลเุ ป้ำหมำย
สหกรณ์ระบุว่า การช่วยตนเองและการร่วมมือช่วยเหลือกนั เป็นการทาใหบ้ รรลุประโยชน์

ทางเศรษฐกิจและสังคม มีการขยายความกำรช่วยตนเองว่าหมายถึงการเป็ นคนขยนั ประหยดั พฒั นาชีวิต
ไม่เสพติดอบายมุข กำรช่วยเหลือกนั คือการร่วมแรงกาย แรงใจ กาลงั ความคดิ กาลงั ทรัพย์ การช่วยเหลือกนั
น้ีตอ้ งมีคุณธรรม 4 ประการ เป็นที่ต้งั คือ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความสามคั คี การมีระเบียบวนิ ยั

การบรรลเุ ป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยเ์ รียนรู้ปรัชญาตามแนวพระราชดาริ
ระบุเง่ือนไขการปฏิบตั ิคือ การมีความรอบรู้ ความรอบคอบระมดั ระวงั มีคณุ ธรรมความซ่ือสตั ยส์ ุจริต ท้งั น้ี
ตามพระบรมราโชวาทเม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2541 ความตอนหน่ึงวา่ “...เศรษฐกิจพอเพียงนที้ ี่จะมาบอกว่าให้
พอเพียงเฉพาะตวั เอง 100 เปอร์ เซน็ ต์ เป็นสิ่งท่ีทาไม่ได้ จะต้องมกี ารแลกเปลี่ยน ต้องมีการช่วยกนั ถ้ามีการ
ช่วยกันแลกเปลย่ี นไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียงแล้ว แต่ว่าพอเพียงในทฤษฎหี ลวงนคี้ ือสามารถท่ีจะดาเนินงาน
ได้ ...”

ศนู ยเ์ รียนรู้ปรัชญาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาริขยายความวา่ ควำม
พอประมำณไดม้ าจากการยนื ไดด้ ว้ ยลาแขง้ ของตนเอง การวางชีวิตอยา่ งสมดุล ใชจ้ ่ายอยา่ งตนเองไม่
เดือดร้อน ควำมมีเหตุมีผลไดม้ าจากการพจิ ารณาปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งในปัจจุบนั หรืออนาคตแลว้ ตดั สินใจใน
มิติต่าง ๆ อยา่ งเก่ียวเนื่องกนั กำรมีภูมิค้มุ กนั ในตวั ไดม้ าจากความพร้อมรับผลกระทบ ความสามารถอยไู่ ด้
เม่ือมีความเปล่ียนแปลง โดยแต่ละประการจะมีไดต้ อ้ งมีความรู้ในเร่ืองที่เกี่ยวขอ้ ง ตดั สินใจถูกตอ้ ง มีการ
วางแผน มีสติ มีคุณธรรม คอื ความซื่อสตั ย์ สุจริต อดทน เพียรพยายาม สิ่งเหลา่ น้ีก่อใหเ้ กิดความสมดุลท้งั
เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม จึงเป็นการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื

ดงั น้ัน วิธีการบรรลุเป้าหมายของสหกรณ์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวคิดท่ี
สอดคลอ้ งกนั โดยมองท่ีคนและส่ิงแวดลอ้ ม และกาหนดบุคลิกภาพของคนที่เหมาะสม มองการพฒั นาที่
มนั่ คง ยง่ั ยนื

วธิ ีกำรบรรลุเป้ำหมำยสหกรณ์
แนวคดิ ท่ีสอดคล้องกนั

วิธีกำรบรรลเุ ป้ำหมำยปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.4 องค์ประกอบ

องค์ประกอบสหกรณ์ คือ
1. บคุ คลท่ีช่วยตนเองได้
2. รวมบุคคลตามขอ้ 1 เป็นคณะบคุ คล
3. คณะบุคคลตามขอ้ 2 ร่วมมือช่วยเหลือกนั
4. การร่วมมือช่วยเหลือกนั มุ่งประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสงั คม
เดียวกนั

71

5. จดั ต้งั เป็นองคก์ รระดบั ชุมชน ระดบั ประเทศ
6. ดาเนินงานอยา่ งต่อเนื่องเพือ่ บรรลุผลความเป็นอยทู่ ี่ดี มีสนั ติสุข
7. เป็นการพฒั นาอยา่ งมนั่ คง ยง่ั ยนื

องค์ประกอบปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ดา้ นปัจเจกชน ยนื บนขาของตนเองไดต้ ามศกั ยภาพ
2. ดา้ นชุมชน ตอ้ งเขม้ แขง็ ตามลกั ษณะประชากร ทรัพยากร วฒั นธรรม
3. ระดบั ประเทศ ดา้ นเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ นโยบายมีโครงสร้างท่ี
สร้างความเป็นอยทู่ ่ีดีแก่ประชาชน มีความสมดุลดา้ นการออมและ
การลงทนุ
4. เป็นการพฒั นาอยา่ งมนั่ คง ยง่ั ยนื

องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์มีรูปแบบเป็ นไปในทิศทาง
เดียวกนั คือ ประกอบดว้ ย ความเป็นรายบคุ คล ความเป็นชุมชนเป็นองคก์ ร และความเป็นชาติประเทศ

ตำรำงที่ 3 เปรียบเทยี บกำรสหกรณ์กบั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รำยกำร สหกรณ์ ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. เป้าหมาย ทางเศรษฐกิจและสังคม ทางเศรษฐกิจและสภาพแวดลอ้ ม

2. ความสาคญั คุณคา่ ความเป็นคน ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์

3. วิธีการ แต่ละคนช่วยตนเอง การยนื ดว้ ยลาแขง้ ตวั เอง
แตล่ ะคนร่วมมือช่วยเหลือกนั ตอ้ งช่วยกนั
คณะบคุ คลเพือ่ แต่ละบุคคล สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์

4. หลกั คณุ ธรรม ซ่ือสัตย์ เสียสละ สามคั คี ซื่อสัตย์ สุจริต มีสติ อดทน
มีระเบียบวินยั เพียรพยายาม

5. องคป์ ระกอบ รายบุคคล คณะบคุ คล องคก์ ร ปัจเจกชน ชุมชน ชาติประเทศ

72

จากตาราง พบว่าแนวคิดระบบสหกรณ์กบั แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความ
สอดคล้องกัน โดยนาคนเป็ นฐานจากน้ันกาหนดให้คนพ่ึงพาตนเองได้เพื่อเป็ นรากฐานที่ม่ันคง แล้วจึง
เก้ือกูลกันเป็ นชุมชนเขม้ แข็ง จำกคนดีเป็ นสังคมดี ต่อจากน้ันจึงเป็ นในระดับชาติ เพ่ือให้ประเทศพฒั นา
อยา่ งมน่ั คงในทุกสถานการณ์

1.5 กระบวนกำรระบบ
กระบวนการในระบบสหกรณ์คอื กระบวนการพฒั นาตนเองรายบุคคลสู่กระบวนการความ

ร่วมมือช่วยเหลือกนั สู่กระบวนการความเป็นอยทู่ ี่ดี มีสันติสุข ซ่ึงสามารถเขยี นเป็นแผนภาพไดต้ ามแผนภาพ
ท่ี 1

แผนภำพที่ 15 กระบวนกำรระบบสหกรณ์

พฒั นำตน พง่ึ ตนเอง พฒั นำควำม ช่วยเหลือกัน ควำมเป็ นอยู่
ร่วมมือกนั ดี

รำยคน คณะบคุ คล

กระบวนการระบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คอื กระบวนการสร้างตนเองใหย้ นื บนลา
แขง้ ตวั เองได้ สู่กระบวนการชุมชนเขม้ แขง็ สู่ความมีเสถียรภาพของประเทศ ซ่ึงสามารถเขยี นเป็นแผนภาพ
ไดต้ ามแผนภาพที่ 2

แผนภำพท่ี 16 กระบวนกำรปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สร้ำงตนบนควำม ยืนบนลำแข้งได้ ชุมชนเข้มแข็ง ประเทศมี
พอเพยี ง เสถยี รภำพ

รำยคน ชุมชน ประเทศ

หากนากระบวนการระบบท้งั สองมาผสมผสานกนั จะไดร้ ะบบใหม่ท่ีเรียกวา่ การจดั การ
สหกรณ์ดว้ ยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ที่สามารถนาไปใชใ้ นการบริหารงานสหกรณ์ซ่ึงสามารถเขยี น
เป็นแผนภาพไดต้ ามแผนภาพท่ี 3

73

แผนภำพท่ี 17 ระบบกำรจัดกำรสหกรณ์ด้วยปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พฒั นำตนจน ร่วมกันดำเนิน - เป็ นอย่ดู ี
พงึ่ ตนเองได้ กจิ กำร - มเี สถียรภำพ
- มน่ั คง ยงั่ ยืน
- ขยัน ประหยัด - รวมคนพงึ่ ตนเองได้
- ควำมพอเพยี ง - รวมเงิน - รำยคน
- เลือกคนบริหำร - กลุ่มคน
- กิจกำรสนับสนุนอย่ำง - มนั่ คง
พอเพยี ง - ประเทศ

- สินเชื่อ
- รวมซื้อ
- รวมขำย
- รวมบริกำร

2. กำรจดั กำรสหกรณ์ด้วยปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การจดั การสหกรณ์ด้วยการใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถทาได้อย่างลงตัว
เพราะจากการศึกษาข้างต้นพบว่าเป็ นระบบท่ีมีความสอดคล้องกัน จึงอยู่ท่ีภาคปฏิบัติการในการระบุ
รายละเอียดแต่ละกระบวนการข้นั ตอนของการดาเนินงานว่าจะจดั การอย่างไรให้เป็ นไปตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่ึงตอ่ ไปน้ีขอนาเสนอภาคปฏิบตั ิการตามข้นั ตอน คือ

2.1 กำรรวมกนั ของคณะบุคคล
การจดั ต้ังสหกรณ์เกิดข้ึนจากการประสบปัญหาในการดาเนินชีวิต หรือความตอ้ งการ

พฒั นาชีวิตความเป็นอยู่ จึงรวมกนั เป็นกลุ่มคนที่มีความตอ้ งการเดียวกนั จดั ต้งั ข้ึนเป็นสหกรณ์ ในการจดั ต้งั
เป็ นสหกรณ์และการรับสมคั รบุคคลเขา้ เป็ นสมาชิกใหม่ การปฏิบตั ิงานในข้นั ตอนน้ีเป็นการรวมกลุ่มคน
โดยใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ

ข้นั ตอนแรก กำรคัดคน
การจดั การสหกรณ์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในข้นั ตอนการคดั คน ตอ้ งคดั คนที่มี
คุณคา่ ความเป็นคน หรือมีศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ คอื ตอ้ งเป็นบุคคลที่ใชส้ ายกลางในการดาเนินชีวิต มีความ
พอดี พอประมาณ สร้างภูมิตา้ นทานในตวั เองให้อยรู่ อดได้ ซ่ึงดูไดจ้ ากพฤติกรรมภายนอก คือ

74

• เป็ นคนขยัน ประหยัด
การดูวา่ ใครเป็นคนขยนั ดูไดจ้ ากเปรียบเทียบกบั คนเกียจคร้าน คนเกียจคร้านไม่ชอบทางาน

ชอบแต่สบาย ไมช่ อบเหน่ือยยากลาบากกายอา้ งไปสารพดั เช่นยงั เชา้ อยู่ สายแลว้ ไมม่ ีใครเขาทากนั เลย อยู่
เฉย ๆ กด็ ีอยแู่ ลว้ ชอบแบมือขอ รอโชคช่วย หวงั รวยทางลดั

มีคากล่าวถึงคนขยนั วา่
ลาบากยามหน่มุ สาว ดกี ว่าแก่เฒ่ายงั ต้องเหนื่อย
ไม่ให้เหงื่อออกที่กาย มกั จะไหลออกท่ีตา
ความยากจน ไม่มใี นหม่คู นขยนั
คนขยนั เห็นทุกส่ิงเป็นงาน จึงสร้างงานได้จากทุกสิ่ง
เวลาจะกลืนกินคนเกียจคร้าน แต่จะเป็นทรัพยากรอันมคี ่าของคนขยนั

คนขยนั เป็นคนท่ีรู้จกั ค่าของเวลา รู้จกั คา่ ของความเป็นคนท่ีเกิดมาแลว้ ตอ้ งทางาน ไม่
ปล่อยเวลาใหล้ ่วงเลยไป ในชีวิต 1 คนมีอายุอยไู่ ดไ้ มเ่ กิน 30,000 วนั คนขยนั ตื่นแต่เชา้ ทางานไม่หยดุ ไปจน
เขา้ นอน ไม่ยอมแพต้ อ่ ปัญหาอุปสรรคในชีวติ มมุ านะบากบน่ั ไมย่ อ่ ทอ้ มีความสุขกบั การทางาน ไมเ่ คยมี
เวลาวา่ ง ทางานทกุ อยา่ งไมม่ ีเก่ียงงอน ไม่เกี่ยงงาน ไมม่ ีปัญหาโรคอว้ น คนขยนั ไมย่ อมอยนู่ ่ิงเฉยจึง
มองเห็นสรรพส่ิงเป็นงานไดห้ มด

นอกจากความเป็นคนขยนั แลว้ ความพอดีตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยงั หมายถึง
ความเป็นคนประหยดั การประหยดั เป็นความอดทนต่อความอยาก เป็นลกั ษณะของคนไม่ฟ่ มุ เฟื อย ไม่
สุรุ่ยสุร่าย อดทนต่อกระแสสงั คมที่ส่งเสริมจูงใจใหบ้ ริโภคสินคา้ การประหยดั เป็นการใชจ้ ่ายอยา่ งพอดี
หมายถึง มีรำยได้ = รำยจ่ำย + กำรออม หากใชจ้ ่ายมากกวา่ รายไดแ้ สดงวา่ ไม่พอดี หากเกบ็ ออมมากเกินไป
ไมย่ อมใชจ้ ่ายกแ็ สดงวา่ ไม่พอดีเช่นกนั

สูตรการจดั สรรรายไดส้ าหรับคนที่มีความพอดีคือ แบ่งรายไดอ้ อกเป็น 4 ส่วน ใชจ้ ่าย 3
ส่วน เกบ็ ออม 1 ส่วน หรือร้อยละ 25 นนั่ เอง คานวณงา่ ย ๆ คือ มีรายได้ 100 บาท ตอ้ งเกบ็ ออม 25 บาท มี
รายได้ 1,000,000 บาท ตอ้ งเกบ็ ออม 250,000 บาท จึงสามารถคานวณไดว้ า่ ณ บดั น้ีควรมีการเกบ็ ออม
จานวนเทา่ ใด โดยนาเอารายไดถ้ ึงปัจจุบนั หารดว้ ย 4 ค่าที่ไดค้ อื จานวนเงินเกบ็ ออม หรือในกรณีไม่มีขอ้ มลู
รายไดใ้ นอดีต สามารถคานวณไดจ้ ากสูตรดงั น้ี

ณ วนั น้ี คณุ ออมเงินพอเพยี งหรือยงั ใหใ้ ชส้ ูตรการคานวณ คือ

จานวนเงินออมท่ีพอเพียง = อำยุของคณุ x รำยได้ท้งั ปี
15

75

สมมติขณะน้ีอายุ 40 ปี มีรายไดท้ ้งั ปี 240,000 บาท ตอ้ งมีเงินออมถึงวนั น้ีเป็นเงิน 640,000
บาท หากมีนอ้ ยกวา่ น้ีตอ้ งเพิ่มสัดส่วนการออม หากมีมากกวา่ น้ีตอ้ งลดสดั ส่วนการออม การออมตอ้ งฝึกให้
เป็นนิสยั เมื่อมีรายไดต้ อ้ งหกั ออม เมื่อมีรายจ่ายตอ้ งออม และตอ้ งออมอยา่ งมีวินยั

แผนการใชจ้ ่ายเงินรายได้ ตามขอ้ แนะนาท่ีใหแ้ บง่ เป็น 4 ส่วน น้นั แต่ละส่วนคือ ส่วนที่
หน่ึงใชเ้ พื่อการกินอยู่ อุปโภค บริโภค ส่วนท่ีสองใชเ้ พื่อการลงทนุ ประกอบอาชีพ ส่วนที่สามใชเ้ พอื่ การ
บารุง ดูแลบคุ คลท่ีเกี่ยวขอ้ งอนั ไดแ้ ก่ พ่อแม่ ลูกหลาน ญาติท้งั หลาย ส่วนที่ส่ีเพ่อื การเกบ็ ออม

ความเป็นคนไม่ประหยดั ของคนทวั่ ไป คือการใชจ้ ่ายเพ่ืออบายมุขท้งั หลายท้งั ปวง คือ การ
เที่ยวเตร่ การเสริมความงาม การดูการแสดง ดนตรี คอนเสร์ิต การแต่งกายเกินพอดี การสูบบหุ ร่ีดื่มเหลา้ การ
กินอาหารเกินความจาเป็นเกินความพอดี เลน่ การพนนั เล่นหวย สภาพหน่ึงของชุมชนชนบทที่เห็นวา่ ไม่
ประหยดั ชดั เจนคือ การจดั งานประเพณีท่ีฟ่ ุมเฟื อย เป็นหน้ีสิน จึงควรเปลี่ยนค่านิยมใหช้ ุมชนยกยอ่ งคน
ประหยดั แทนการชมเชยคนฟ่ ุมเฟื อย รวมถึงตอ้ งคดั เลือกคนขยนั คนประหยดั เป็นผนู้ าชุมชน เพือ่ เป็น
ตวั อยา่ งตน้ แบบใหก้ บั คนในชุมชน

การคดั คนเป็นสมาชิกสหกรณ์ตอ้ งคดั คนที่มีศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ เพราะหากคนใดมี
ศกั ด์ิศรีจะวางตนเป็นคนดี มีศีลธรรม ไมม่ วั่ สุมอบาย ไมว่ างตนเป็นปัญหา ตอ้ งเป็นคนขยนั ประหยดั

• เป็ นคนซื่อสัตย์ เสียสละ
คนมีศักด์ิศรีย่อมไม่ทาความเสื่อมเสียแก่ตนเองและผูอ้ ่ืน คนดีจะมีคุณธรรมในการอยู่

ร่วมกบั คนอ่ืน โดยเป็นคนซ่ือสัตย์ เสียสละเพื่อส่วนรวม มีความสมคั รสมานสามคั คี ยินดีปฏิบตั ิตนตามกฎ
กติกา ระเบียบวินัยที่สังคมกาหนด ยกตวั อย่างคนชอบฝ่ าไฟแดงเป็ นคนไม่รักษาระเบียบวินัย อนั นาความ
เดือดร้อนในการอยรู่ ่วมกนั กบั คนอ่ืนเพราะจะเป็นตน้ เหตุให้เกิดอบุ ตั ิเหตุ ทรัพยส์ ินเสียหาย อนั ตรายถึงชีวติ

ความซ่ือสัตย์ หากคนในสังคมใดมี สงั คมจะอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข ไม่มีขโมย ลดจานวน
ตารวจไดม้ าก การทะเลาะเบาะแวง้ ลดลง ความซื่อสัตยเ์ ป็นสมบตั ิของคนดี หากวา่ ใครไมม่ ีชาติน้ีเอาดีไมไ่ ด้
มีความรู้ท่วมหัวเอาตวั ไม่รอดถมไป คดโกงแลว้ ใครจะรับไวใ้ ห้ร่วมแผ่นดิน การทุจริตการคดโกงเป็นการ
บ่อนทาลายความมน่ั คงขององค์กร หมู่คณะ ชุมชน สังคม ประเทศ งานสหกรณ์จาเป็ นตอ้ งคดั เลือกคน
ซื่อสตั ยเ์ ขา้ ร่วมกิจการ

ความเสียสละ เป็ นการช่วยเหลือกันภายในชุมชน เนื่องจากความแข็งแรงทางกาย ทาง
ความคิด ทางกาลงั ทรัพยข์ องคนมีความแตกต่างกนั การมาอยู่ร่วมกนั ทางานร่วมกนั จึงตอ้ งอาศยั กนั เก้ือกูล
กนั คนดีช่วยคนป่ วย คนรวยช่วยคนจน เพ่ือพากนั อยู่รอดท้งั หมู่คณะ ไม่ใช่ใครคนหน่ึงคนใดไปรอดแต่
ปล่อยใหค้ นอื่นตอ้ งลาบากยากแคน้ แสนเขญ็ ทุกขท์ รมาน แตท่ ้งั น้ีแต่ละคนตอ้ งช่วยตนเองอยา่ งสุดกาลงั ดว้ ย

การคดั คนท่ีมีคุณค่า มีลกั ษณะเป็ นคนขยนั ประหยดั ซื่อสัตย์ เสียสละ เข้ามาเป็ นคณะ
บุคคลในสหกรณ์ ถือเป็ นการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จดั การในจุดเร่ิมตน้ ที่สาคญั ของงาน
สหกรณ์ ยงิ่ สหกรณ์ใหค้ วามสาคญั กบั คนการจดั การคดั คนยง่ิ สาคญั ตามไปดว้ ย

76

ในทิศทางตรงกนั ขา้ มจากสภาพความเป็ นจริงของสหกรณ์ในปัจจุบนั พบว่าสภาพปัญหา

ใหญ่ท่ีสุดของสหกรณ์คือ ปัญหาคุณภาพคน ที่ไม่ร่วมมือกนั ขาดความรับผิดชอบ ไม่มีความรู้ความเขา้ ใจ

บุคคลในสหกรณ์ท่ีมีพฤติกรรมเหมาะสมกบั การเป็ นคนสหกรณ์มีจานวนไม่ถึงร้อยละ 50 แต่ตอ้ งเป็นหลกั

ค้าใหส้ หกรณ์ดาเนินงานอยไู่ ด้ ในขณะที่เมื่อลงลึกในรายละเอียดวา่ คนลกั ษณะใดท่ีเป็นปัญหาของสหกรณ์
พบว่าคือคนท่ีดาเนินชีวติ ท่ีไม่สามารถยนื บนลาแขง้ ของตนเองได้ คนท่ีขาดความซื่อสัตย์ เสียสละ ขาดการมี

ระเบียบวินัย การจดั การสหกรณ์ดว้ ยการใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นความจาเป็นและเป็นความ

อยไู่ ดข้ ององคก์ รสหกรณ์

ตำรำงที่ 4 ลกั ษณะคนในสหกรณ์ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ลกั ษณะคนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ใช่ ไมใช่

คนขยนั คนเกียจคร้าน

คนประหยดั คนฟ่ ุมเฟื อย สุรุ่ยสุร่าย

รายรับมากกวา่ รายจ่าย รายจ่ายมากกวา่ รายได้

มีศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ไมม่ ีศกั ด์ิศรี

มีคณุ คา่ ความเป็นคน หาคณุ ค่าไดไ้ ม่

ซื่อสัตย์ คดโกง

เสียสละ เห็นแก่ตวั

ปฏิบตั ิตามระเบียบ ฝ่ าฝื นระเบียบ

พ่ึงตนเองได้ พ่ึงพาผอู้ ่ืน

พอเพียง พอดี พอประมาณ ขาด – เกิน

คมุ้ กนั ตวั เองได้ เอาตวั ไม่รอด

มน่ั คง ออ่ นแอ

เพ่ือส่วนรวม เพอ่ื ส่วนตวั

ชีวติ คือการเดินไปสู่เป้าหมาย ชีวิตไม่มีเป้าหมาย

2.2 กำรรวมทนุ
เม่ือไดค้ นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลว้ นับว่าไดค้ นดี มีความพร้อมท่ีจะดาเนิน

ชีวิตร่วมกนั ภายใตร้ ะบบงานสหกรณ์ ต่อจากการรวมคนดีคือ การรวมทุนเพื่อเตรียมดาเนินงาน ที่มาแหล่ง
เงินทุนของระบบงานสหกรณ์น้นั มาจาก เงินค่าหุ้นที่สมาชิกทุกคนถือกบั สหกรณ์ เงินรับฝากจากสมาชิก
เงินรับบริจาคจากบุคคลผมู้ อบให้สหกรณ์ตามวตั ถุประสงค์ เงินกูท้ ่ีสหกรณ์ไปขอกูม้ าจากแหล่งเงินทุน เงิน
จดั สรรจากกาไรสุทธิของสหกรณ์ การรวบรวมเงินทุนของสหกรณ์หากดาเนินการตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ควรมีวิธีการจดั การ คือ

77

เงนิ ทุนภำยในมำกกว่ำหรือเท่ำกบั เงินทุนภำยนอก
เงินทุนภายในของสหกรณ์คอื เงินคา่ หุ้น เงินรับฝาก เงินจดั สรรจากกาไรสุทธิ เม่ือรวมสาม
รายการแลว้ ควรมากกวา่ หรือเท่ากบั เงินรับบริจาคบวกเงินกู้ ท้งั น้ีเพ่ือยดึ หลกั การการยนื บนลาแขง้ ของตวั เอง
เพ่ือเป็ นองค์กรสายกลาง มีความพอดี พอประมาณ ไม่ควรจดั การโดยปล่อยให้สหกรณ์มีภาระหน้ีสิน
มากมาย หน้ีเกินตวั หน้ีลน้ พน้ ตวั จนนายทุนมีอิทธิพลสัง่ การจนอาจทาใหผ้ ิดหลกั การปกครองตนเองและมี
ความเป็ นอิสระ ท้งั น้ีน่าจะยกเวน้ เม่ือมีการลงทุนที่จาเป็ นที่วิเคราะห์ความเป็ นไปได้แลว้ เพื่อนาบริการสู่
สมาชิก
การสร้างเงินทุนภายในเกิดขึน้ ได้จาก
• ค่ำหุ้น มวลสมาชิกสหกรณ์พึงร่วมกนั ถือหุ้นท่ีมีมูลค่าหุ้นละ 10 บาท อย่างเต็มกาลงั โดย
การถือหุ้นน้ันกาหนดไวว้ ่าจะถือเม่ือแรกเขา้ เป็ นสมาชิกใหม่ ถือหุ้นเม่ือกูเ้ งินจากสหกรณ์ ถือหุ้นประจาปี
ถือหุ้นเมื่อไดร้ ับเงินปันผล ถือหุ้นเป็ นรายเดือนตามสัดส่วนรายได้ ถือหุ้นตามกิจการที่ส่งเสริม เช่นหุ้นซ้ือ
ท่ีดินสานกั งาน หุ้นโรงสีขา้ ว รวมไปถึงหุน้ อ่ืน ๆ ท่ีสหกรณ์กาหนด การถือหุน้ เป็นไปตามสถานการณ์แสดง
ความเป็ นเจ้าของ การถือหุ้นจานวนมากทาให้สะสมเงินออมได้มากเป็ นความมนั่ คงในชีวิตอนาคต งาน
สหกรณ์ที่ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงควรจดั การการถือหุน้ ของสมาชิกใหถ้ ือหุ้นเป็นประจา สม่าเสมอ
เป็นความเคยชินจนเป็นนิสัยประหยดั ตามคณุ สมบตั ิคนดีท่ีสหกรณ์ตอ้ งการ โดยขอ้ แนะนาคอื รายไดจ้ ากการ
ถือหุน้ คือเงินปันผลน้นั ควรนามาสะสมเป็นหุน้ ตอ่ ไปดว้ ยแนวคิดวา่ ผลของเงินออมควรเป็ นของเงินออม
• เงนิ ฝำก เป็นการส่งเสริมการเกบ็ ออมเงินเมื่อมีรายไดโ้ ดยเฉพาะควรออมตามส่วนที่กาหนด
คือ 1 ใน 4 ของรายได้ การออมเงินน้ีมีสถาบนั การเงินให้สมาชิกฝากเงินจานวนมากและมีบริการที่ดี แต่ใน
สถานะความเป็นเจา้ ของ สมาชิกพึงตอ้ งนาเงินออมมาฝากไวก้ บั สหกรณ์ โดยสหกรณ์จดั การบริการรับฝาก
ให้สอดคลอ้ งกบั การดาเนินชีวิต เบิก-ถอนที่สะดวก มีความคล่องตวั ในการแปรสภาพเป็ นเงินสดมากกว่า
การถือหุ้น ดังน้ันสหกรณ์พึงจดั การหาข้อตกลงกันกับสมาชิกในการส่งเสริมการออมเงิน ข้อคิดเห็น
ประการหน่ึงท่ีมีประสบการณ์สาหรับการจดั การส่งเสริมการรับฝากเงินของสหกรณ์คอื การกาหนดใหอ้ ตั รา
ดอกเบ้ียเงินฝากสูงกว่าสถาบนั การเงินอ่ืน หากมองในแง่การจดั การเพ่ือสมาชิกก็เห็นว่าเหมาะสม หากมอง
ในแง่ของเจา้ ของสหกรณ์ก็เห็นว่าไม่จาเป็ นตอ้ งคิดอตั ราดอกเบ้ียให้สูงกว่าราคาตลาด หำกยึดปรัชญำของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งที่ยึดสำยกลำง พอประมำณ กเ็ ห็นว่ำสหกรณ์ควรจัดกำรเร่ืองกำรกำหนดอตั รำดอกเบีย้ เงิน
ฝำกในอตั รำท่เี ท่ำกนั กบั สถำบันกำรเงินท่ัวไป

• เงินจำกกำรจัดสรรกำไรสุทธิ กาไรของสหกรณ์ตอ้ งจดั สรรตามท่ีข้อบงั คับกาหนด คือ
จดั สรรเป็นเงินสารองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 เป็นเงินบารุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยไม่เกิน 10,000
บาท เป็ นเงินปันผลตามหุ้นไม่เกินร้อยละ 10 เป็ นเงินเฉล่ียคืน เงินโบนัส เงินสะสมในรายการต่าง ๆ การ
สร้างเงินทนุ ภายในจากการจดั สรรกาไรสุทธิท่ีสหกรณ์ควรนามาเป็นวิธีการจดั การตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง คือควรจดั สรรเป็นเงินสารองให้มาก กว่าร้อยละ 10 ส่วนจะมากเท่าใดข้ึนอยสู่ ภาพการณ์ท้งั ภายใน

78

และภายนอก กรณีสหกรณ์ต้ังใหม่ต้องจดั สรรจานวนมากเพ่ือสร้างรากฐานที่มั่นคงให้สหกรณ์ กรณี
สหกรณ์เก่ามีความมน่ั คงดว้ ยทุนภายในแลว้ ก็จดั สรรจานวนน้อย เปรียบเทียบคลา้ ยกบั การดาเนินชีวิตคนท่ี
เมื่อเร่ิมแรกตอ้ งเก็บหอมรอมริบ พออายุมากก็สามารถใช้ประโยชน์จากการเก็บออมน้นั โดยทุกสหกรณ์
ควรมีแผนการเพิ่มเงินทุนสารองจนเพียงพอกับเงินทุนดาเนินงานที่ต้องใช้ อาจจะใช้เงื่อนเวลากี่ปี เป็ น
ตวั กาหนด หากสามารถทาไดด้ งั กลา่ วสหกรณ์จะมีความมนั่ คงมาก ท้งั น้ีตอ้ งยดึ ความพอดี ความพอประมาณ
ไม่เร่งรัดการสะสมจนมากเกินไป ไมป่ ล่อยให้เวลาผา่ นไปจนเน่ินนานเกินไป ตอ้ งเป็นสายกลางยดึ เหตุยดึ ผล
ตามพละกาลงั

เท่าที่มีให้เห็นในปัจจุบนั มีหลายสหกรณ์ที่ใช้แนวทางการจดั สรรกาไรสุทธิตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจนส่งผลให้สหกรณ์มีเงินสารองสูงมาก เงินสารองน้ีเป็ นเงินทุนที่ไม่มีค่าใช้จ่าย
เน่ืองจากไม่ตอ้ งจ่ายเงินปันผลเหมือนเงินค่าหุ้น ไม่ตอ้ งจ่ายดอกเบ้ียเหมือนเงินรับฝาก เป็ นเงินทุนท่ีไดม้ า
โดยมีตน้ ทุนเท่ากบั ศูนย์ จึงสร้างความมนั่ คงให้กบั สหกรณ์มากสามารถสารองไวห้ มุนเวียนในธุรกิจซ่ึง
ก่อใหเ้ กิดรายไดโ้ ดยไม่ตอ้ งหักค่าใช้จ่าย สร้างความเชื่อมนั่ ให้กบั สมาชิกและองคก์ รท่ีเก่ียวขอ้ ง รวมไปถึง
สร้างประโยชน์ให้กบั สมาชิกสหกรณ์รุ่นหลงั ต่อไป ส่ิงเหล่าน้ีคือการมีภูมิคุม้ กนั ตวั องคก์ รสหกรณ์เอง เป็ น
ผลท่ีปรากฏอยา่ งสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เปรียบเทียบการจดั การสหกรณ์ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยการสร้างเงินทุน
ภายในใหม้ ากกวา่ หรือเท่ากบั เงินทนุ ภายนอกตามตารางที่ 5

ตำรำงท่ี 5 เปรียบเทียบกำรจดั กำรเงนิ ทนุ สหกรณ์ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รำยกำรเงินทนุ สหกรณ์ ทุนภำยใน ทนุ ภำยนอก

ค่าหุน้

เงินรับฝาก /

จดั สรรกาไรสุทธิเป็นเงินสารอง /

เงินรับบริจาค /

เงินกจู้ ากองคก์ รภายนอก /

ระดบั ความมนั่ คง /

ไมม่ นั่ คง

มนั่ คงนอ้ ย ต่ากวา่ ร้อยละ 50 สูงกวา่ ร้อยละ 50

มน่ั คงปานกลาง ร้อยละ 50 ร้อยละ 50

มน่ั คงมาก ร้อยละ 50 – 60 ร้อยละ 40 – 50

มน่ั คงมากท่ีสุด ร้อยละ 60 – 80 ร้อยละ 20 – 40

สูงกวา่ ร้อยละ 80 ต่ากวา่ ร้อยละ 20

79

2.3 กำรจดั กำรโครงสร้ำงสหกรณ์
โครงสร้างสหกรณ์กาหนดใหม้ ีบคุ ลากรคือ สมาชิก คณะกรรมการดาเนินการ ผตู้ รวจสอบ

กิจการ ที่ปรึกษา เจา้ หนา้ ที่ฝ่ ายจดั การ และบุคลากรราชการองคก์ รต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง การจดั การโครงสร้าง
สหกรณ์ไดร้ ะบุบทบาทหนา้ ที่ ที่มาของคณะบุคคลแต่ละกลุ่มไวแ้ ลว้ เม่ือนามาจดั การดว้ ยปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง จะไดโ้ ครงสร้างตามแผนภาพท่ี 4

แผนภำพที่ 18 โครงสร้ำงสหกรณ์ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ประชำชนผ้ยู ืนได้ด้วยลำแข้งตัวเอง

สมำชิกสหกรณ์

ประชุมใหญ่ = กำหนดนโยบำยจดั กำรสหกรณ์ด้วยปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี ง

คณะกรรมกำรดำเนนิ กำร ผู้ตรวจสอบกจิ กำร
กำหนดบริหำรด้วยควำมพอประมำณควำมมี ตรวจสอบให้สหกรณ์ดำเนนิ งำนตำมนโยบำยของ
เหตผุ ล กำรมีภมู คิ ้มุ กนั ตัวเอง ทป่ี ระชุมใหญ่

บุคคลผ้ยู ึดปรัชญำเป็ นที่
ปรึกษำ

ผ้จู ัดกำร = จดั กำรตำมนโยบำยคณะกรรมกำรดำเนนิ กำร

ธุรกิจ กจิ กำร

เจ้ำหน้ำท่ี เจ้ำหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่

สภาพปัญหาเดิมของบุคลากรสหกรณ์ คือ ความไม่ร่วมมือ ความไม่ทางานตามบทบาท
หน้าท่ี การขาดความร่วมมือทางเงินทุนดาเนินงาน คุณภาพศกั ยภาพสมาชิก คณะกรรมการดาเนินการ

80

เจา้ หนา้ ท่ีฝ่ ายจดั การ และสถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่ิงแวดลอ้ ม ดงั น้นั การคงสภาพโครงสร้าง
เดิมแต่เพ่ิมการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาระบุแตล่ ะข้นั ตอนจะสามารถแกไ้ ขสภาพปัญหาเดิมที่มีอยู่
ได้ และสามารถกา้ วไปขา้ งหน้าอยา่ งมนั่ คงยง่ั ยืน โดยอธิบายโครงสร้างสหกรณ์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไดว้ า่ เป็นการกาหนดใหค้ นในสหกรณ์ทุกฝ่ ายยดึ หลกั ปรัชญาเป็นหลกั ในการแสดงบทบาทชีวิต ใน
การทางาน เริ่มต้นจากสมำชิกท่ียืนได้ด้วยลำแข้งตนเองเท่ำน้ันท่ีจะเข้ำในวงกำรสหกรณ์ได้ โดยกรณีน้ี
สหกรณ์เครดิตยูเน่ียนไดม้ ีบททดสอบก่อนการเป็ นสมาชิกท่ีสมควรนามาเป็ นแบบอย่าง เมื่อสหกรณ์เป็ น
ศูนยร์ วมของคนพ่ึงตนเองไดจ้ ะร่วมกนั กาหนดนโยบายในที่ประชุมใหญ่สหกรณ์เพ่ือร่วมมือช่วยเหลือกนั
แลกเปล่ียนกนั ซ่ึงแน่นอนว่าความสาเร็จในชีวิตของแต่ละคนย่อมถูกถ่ายทอดออกเป็ นนโยบาย เมื่อได้
นโยบายแล้วคณะกรรมกำรดำเนินกำรต้องนำสหกรณ์เข้ำสู่เง่ือนไขของควำมรอบรู้ ควำมรอบคอบ
ระมัดระวงั มอบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีสหกรณ์นาไปปฏิบตั ิงานอยา่ งมีความซ่ือสัตยส์ ุจริต บริการสู่สมาชิก

การนาเสนอโครงสร้างสหกรณ์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ี สามารถแกไ้ ขสภาพ
ปัญหาเดิมอนั เป็ นปัญหาหลกั ของสหกรณ์ได้ คือปัญหาความไม่ร่วมมือ ปัญหาการไม่ปฏิบตั ิตามบทบาท
หน้าท่ี ปัญหาคนขาดคุณภาพ ปัญหาการดาเนินงานขาดประสิทธิภาพ และปัญหาความเปลี่ยนแปลงของ
ส่ิงแวดลอ้ มภายนอกองคก์ ร โดยสรุปไดใ้ นตารางท่ี 6

ตำรำงที่ 6 กำรแก้ไขสภำพปัญหำเดิมด้วยกำรจดั กำรโครงสร้ำงสหกรณ์ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สภาพปัญหาเดิม การแกป้ ัญหาดว้ ยการจดั การโครงสร้างสหกรณ์ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

- ความไมร่ ่วมมือ - คดั คนท่ีมีลกั ษณะยนื ไดด้ ว้ ยลาแขง้ ตนเองเป็นสมาชิก
-ไมป่ ฏิบตั ิตามบทบาทหนา้ ที่ - คดั คนท่ีมีคณุ ธรรมเสียสละ ซ่ือสัตยเ์ ป็นคณะกรรมการดาเนินการ
- คนขาดคณุ ภาพ - คดั คนขยนั ซ่ือสัตย์ มีความรอบรู้เป็นเจา้ หนา้ ท่ีฝ่ายจดั การ
- พฒั นาคนในสหกรณ์สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

- ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข า ด - กาหนดนโยบายจดั การสหกรณ์ดว้ ยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ

ประสิทธิภาพ มุง่ สร้างความเป็นอยู่ พอดี สร้างสงั คมดี

- ค ว า ม เป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง - ตรวจสอบใหส้ หกรณ์ดาเนินงานตามนโยบาย

สภาพแวดลอ้ ม - ธุรกิจ กิจการ มีเป้าหมาย สงั คมดี เศรษฐกิจดี มีการร่วมมือกนั

2.4 กำรจัดกำรธุรกจิ สหกรณ์
หลงั จากการรวมคนโดยคดั คนท่ีเหมาะสม รวมเงินทุน จดั โครงสร้างภายใต้ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งแลว้ จึงนาสู่การนาเอาหลกั การสหกรณ์ 7 ขอ้ มาสู่ภาคปฏิบตั ิการลงมือดาเนินงานที่เรียกว่า
วิธกี ำรสหกรณ์ ซ่ึงหมายถึงกิจการอนั เป็นธุรกิจของสหกรณ์

81

การจดั การธุรกิจสหกรณ์บนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต้องยึดตามความหมายของ
ปรัชญาที่ใหม้ ีความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุม้ กนั ตวั เอง ดว้ ยเงื่อนไขการมีความรู้ ความ
รอบคอบ ความมีคณุ ธรรม การจดั การธุรกิจสหกรณ์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จึงหมายถึงการทาให้
สหกรณ์มีธุรกิจท่ีเหมาะสม ขบั เคล่ือนองคก์ รไดอ้ ย่างมนั่ คง โดยสามารถนาปรัชญาลงสู่การจดั การธุรกิจ
สหกรณ์ในแต่ละข้นั ตอน คอื

ข้นั ตอนที่ 1 กำรสำรวจข้อมูลสมำชิก
ข้นั ตอนน้ีเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการดาเนินธุรกิจโดยสหกรณ์ตอ้ งมีฐานขอ้ มูลของมวลสมาชิก
ทุกคน เพื่อรู้สภาพความเป็ นอยู่ การประกอบอาชีพ ส่ิงแวดลอ้ ม ซ่ึงโดยปกติจะไดม้ าจากใบสมคั รเขา้ เป็ น
สมาชิก เม่ือมีขอ้ มูล การจดั การขอ้ มูลโดยนาไปคดั กรองประเภทสมาชิกเป็ น 2 ประเภทโดยใชต้ วั วดั
ลกั ษณะคนตามตารางท่ี 2 คือ 1. สมาชิกท่ียึดมนั่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการดาเนินชีวิต
2. สมาชิกที่ไม่ยึดมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางการดาเนินชีวิต เมื่อคัดแยกเป็ น 2
ประเภทใหญ่ ๆ ให้ใช้ขอ้ มูลน้ีประกอบการตดั สินใจ โดยควรบริการธุรกิจกับบุคคลประเภทแรก ส่วน
ประเภทหลังควรดาเนิ นกิจการพัฒ นา ให้การศึกษาอบรม ปลูกฝังคุณ ธรรม ทดสอบ จนผ่าน
กระบวนการพฒั นา

ข้นั ตอนที่ 2 กำรสำรวจควำมต้องกำรร่วมธุรกจิ
ข้นั ตอนน้ีเป็นการวางแผนธุรกิจโดยวิเคราะหค์ วามเป็นไปไดใ้ นแต่ละธุรกิจจากขอ้ มูลพ้ืนท่ี
การผลิต ประเภทผลผลิต ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ปริมาณผลิตผล เป็นขอ้ มูลที่ควรไดต้ ้งั แต่ตน้ ปี ฤดูการผลิต เพ่ือ
ใชใ้ นการแนะนาการผลิต ใหพ้ อประมาณ มีภูมิคมุ้ กนั ยกตวั อยา่ งเช่น การผลิตทางการเกษตรควรแนะนาให้
ทาการเกษตรหลายประเภท ท้งั ปลกู พืช เล้ียงสัตว์ หัตถกรรม อนั จะสามารถป้องกนั ปริมาณผลผลิตมากเกิน
ความตอ้ งการตลาด สามารถส่งเสริมการผลิตที่ตลาดตอ้ งการ รวมไปถึงการเพิ่มมูลค่าผลผลิต หรือส่งเสริม
การดาเนินชีวติ ใหอ้ ยไู่ ดแ้ มป้ ระสบปัญหาราคาผลผลิตตกต่าดว้ ยการนาผลผลิตมาอุปโภค บริโภคเอง สภาพ
ปัญหาประการหน่ึงของผูผ้ ลิตคือลงมือผลิตพืชหรือสัตวช์ นิดเดียวด้วยความคุน้ เคย เคยชิน หรือเพ่ือหวงั
ร่ารวย ข้นั ตอนน้ีจึงนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างไดผ้ ลให้ดาเนินการผลิตอยา่ งมีเหตุมีผล อีก
ประการหน่ึงคอื ความรอบรู้ ยกตวั อยา่ งความตอ้ งการของผบู้ ริโภคปัจจุบนั ตอ้ งการความปลอดภยั ไม่ทาลาย
ส่ิงแวดลอ้ ม สหกรณ์สามารถจดั การสนองความตอ้ งการลูกคา้ ไดโ้ ดยการให้คาแนะนาการผลิต การส่งเสริม
การผลิต การปฏิบตั ิการผลิตท่ีดี
หากเป็ นธุรกิจกู้เงิน เม่ือสมาชิกมีความตอ้ งการยื่นขอกูเ้ งิน การจดั การธุรกิจสินเชื่อดว้ ย
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจาเป็ นตอ้ งถือใช้ วตั ถุประสงค์เพ่ือไม่ให้สมาชิกใช้จ่ายเงินเกินความ
จาเป็ น เกินความพอดี การจดั การในข้นั น้ีตอ้ งยึดหลกั การว่าสหกรณ์ไม่ต้องกำรรำยได้จำกกำรทำธุรกจิ กับ
สมำชิก แต่สหกรณ์ต้องกำรสร้ำงควำมเป็ นอยู่ท่ีดีให้กบั สมำชิก จึงตอ้ งนาขอ้ มูลที่ประกอบการดาเนินธุรกิจ

82

อย่างเหมาะสม เม่ือได้ข้อมูลความต้องการร่วมธุรกิจแลว้ สหกรณ์นาไปวิเคราะห์ความเป็ นไปได้การ
ดาเนินงาน ซ่ึงหากเป็ นไปไม่ได้ในเชิงธุรกิจสหกรณ์สามารถช่วยสมาชิกด้วยการประสานงานจดั การ
ผลผลิตน้นั กบั องคก์ รเอกชน หากเป็นไปไดเ้ ชิงธุรกิจสหกรณ์จึงกาหนดดาเนินงาน

ข้นั ตอนท่ี 3 ทำควำมเข้ำใจกำรร่วมธุรกจิ
เป็นการอธิบายกระบวนการธุรกิจใหม้ วลสมาชิกรู้และเขา้ ใจ ข้นั ตอนน้ีใชห้ ลกั ปรัชญาบน
เง่ือนไข ความรอบรู้ ระมดั ระวงั เพราะสหกรณ์เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ทุกคนตอ้ งรู้ ตอ้ งเขา้ ใจ ใน
ส่ิงท่ีตนเองเกี่ยวขอ้ ง เมื่อรู้แลว้ จะนาสู่การตดั สินใจวา่ จะร่วมธุรกิจหรือไม่ สอดคลอ้ งกบั หลกั ความสมคั รใจ
อนั เป็ นหลกั การสหกรณ์ขอ้ ท่ี 1 ความรู้ในการร่วมกิจการน้ี สร้างความสะดวก ความคล่องตวั ให้กบั การ
จดั การธุรกิจของสหกรณ์ ยกตวั อยา่ ง เช่น มีการช้ีแจง การรวบรวมขา้ วเปลือกโดยรถยนตบ์ รรทุก 10 ลอ้
ที่สหกรณ์มี 1 คนั ทาให้ตอ้ งมีการวางแผนการรวบรวมขา้ วตามพ้ืนท่ี เรียงลาดบั ก่อนหลงั สมาชิกมีการ
วางแผนการดูแลเก็บรักษาขา้ ว ป้องกนั จากการโจรกรรมหรือจากน้าฝนดว้ ย หรือสหกรณ์ดาเนินธุรกิจรวม
ซ้ือดว้ ยการส่งสินคา้ ถึงกลุ่มสมาชิกเดือนละ 1 คร้ัง สมาชิกจะไดว้ างแผนส่ังสินคา้ ให้เพียงพอต่อการใช้
อปุ โภคบริโภคใน 1 เดือน เป็นตน้ ข้นั ตอนน้ีสหกรณ์สามารถสื่อสารดว้ ยรูปแบบต่าง ๆ สู่สมาชิกโดยควร
เป็นการส่ือสารแบบ 2 ทาง คือรับฟังและช้ีแจง
เง่ือนไขปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่กาหนดให้มีความรอบรู้ ความรอบคอบ ความ
ระมดั ระวงั ในการตดั สินใจน้นั สอดคลอ้ งกบั หลกั การสหกรณ์ขอ้ 5 วา่ ดว้ ยการศึกษา อบรม ขอ้ มูลข่าวสาร
การจดั การสหกรณ์จึงควรนามาใชต้ ้งั แต่ในระดบั สมาชิก จนถึงบคุ ลากรอ่ืน ๆ ทุกฝ่าย

ข้นั ตอนที่ 4 ดำเนนิ ธุรกจิ
เมื่อมีขอ้ มูลที่พร้อม ข้นั ตอนน้ีสหกรณ์จึงตดั สินใจดาเนินธุรกิจบริการสมาชิกตามความ
เหมาะสม พอประมาณ มีเหตุมีผล ให้สมาชิกมีความม่ันคง เข้มแข็ง ใครควรได้รับบริการธุรกิจใด
ปริมาณเท่าใด ระยะเวลาใด ในอตั ราใด ที่จะทาให้ชีวิตของสมาชิกยืนอยู่บนลาแขง้ ของตวั เองได้ การ
ให้บริการธุรกิจนอกจากตอ้ งมีความเสมอภาค เป็นธรรมแลว้ การใหบ้ ริการตอ้ งเต็มไปดว้ ยจิตบริการ ความ
ขยนั ความซื่อสัตย์ ที่สาคญั ตอ้ งสร้างเสริมให้บุคคลท่ีไม่ยดึ มน่ั ในปรัชญาพฒั นามาเป็นผดู้ าเนินชีวิตโดยใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มีหลายสหกรณ์จดั ช้นั สมาชิกเพ่ือจดั บริการธุรกิจตามช้นั ที่จดั ซ่ึงบุคคลผูย้ ึดมนั่ ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงควรมีโอกาสไดร้ ่วมรับบริการมากกวา่ บุคคลผไู้ ม่มีปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
แนวทางดาเนินชีวิต เป็ นการเปิ ดโอกาสให้พฒั นาตนเอง และทาให้เห็นขอ้ แตกต่างเพ่ือจูงใจให้เกิดการ
พฒั นา ดงั แผนภาพที่ 19

83

แผนภำพท่ี 19 จดั กำรธุรกจิ ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
17

เพือ่ การมองเห็นภาพท่ีชดั เจนข้ึนกบั การจดั การธุรกิจสหกรณ์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงขอนาเสนอ
ตวั อยา่ งตามตารางท่ี 7

ตำรำงท่ี 7 กำรจัดกำรธุรกจิ ตำมปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ธุรกจิ พอประมำณ มีเหตผุ ล มีภูมคิ ุ้มกนั

สหกรณ์ (สมดลุ พง่ึ ตนเองได้) (ปัจจัยปัจจุบนั เกย่ี วเน่ือง (มนั่ คงยัง่ ยืน)

อนำคต)

สินเชื่อ - ส ม าชิ ก มี แ ผ น ก ารใช้ เงิน เพ่ื อ ก าร - สมาชิกมีรายได้เพียงพอต่อ - สมาชิกมีงานทา มีรายได้

ประกอบอาชีพหรือเพื่อความเป็ นอยู่ตาม การชาระคืน - สหกรณ์รวบรวมผลผลิต

ความจาเป็นที่แทจ้ ริง - ทาให้สมาชิกประกอบอาชีพ - มีกองทุนชาระหน้ี

- สมาชิกมีเงินสะสมของตนเองส่วนหน่ึง ได้

- ส ห กรณ์ อนุ มัติและจ่ายเงิน ให้ ตาม - ผลผลิตเป็ นท่ีต้องการของ

แผนการผลิต ตลาด

84

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ธุรกจิ พอประมำณ มเี หตุผล มีภูมิคุ้มกนั

สหกรณ์ (สมดลุ พง่ึ ตนเองได้) (ปัจจยั ปัจจุบนั เกยี่ วเน่ือง (มน่ั คงย่ังยืน)

อนำคต)

รวมซ้ือ - มีสินคา้ ที่สมาชิกตอ้ งการ จาเป็นตอ้ งใช้ - เพ่ือความเป็นอยู่ - สุขภาพดี

- กาหนดราคาเหมาะสม - เพื่ อ ก ารป ระ ก อ บ อ าชี พ - ประหยดั

- บริการสะดวก ทนั เวลา ผลผลิต - ไมท่ าลายธรรมชาติ

- ยึดประโยชน์ มากกว่าตรา

สัญลกั ษณ์

รวมขาย - มีตลาดจาหน่ายผลผลิต - ยดึ คุณภาพ - สร้างงาน สร้างอาชีพ

- กาหนดราคาเหมาะสม - บริหารเสมอภาค - ไม่ทาลายธรรมชาติ

- บริการสะดวก ทนั เวลา - วางแผนอาชีพอนาคตได้ - ปลอดภยั

- ตลาดนาการผลิต

บริการ - สนองความจาเป็นในการดาเนินชีวิต การ - เพือ่ ความเป็นอยู่ - ส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ

ประกอบอาชีพ - เพือ่ การประกอบอาชีพ - หลกั ประกนั อาชีพ

- บริการสะดวก ทนั เวลา

- กาหนดราคาเหมาะสม

ทุกธุรกิจ - ไม่แสวงหากาไร - สร้างความเป็นอยทู่ ่ีดี - สังคมดี

- บริการสมาชิก - ชุมชนมีสนั ติสุข - เศรษฐกิจดี

ข้นั ตอนท่ี 5 สรุปผลธุรกจิ
เป็ นการรายงานผลการดาเนินธุรกิจเพ่ือสรุปรวมผลการดาเนินงาน ข้นั ตอนน้ีการจดั การ
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาใชเ้ พื่อวดั ผลใน 2 เป้าหมาย คือ ดูผลท่ีสมาชิกกบั ดูผลท่ี
ตวั องคก์ รคือสหกรณ์
ผลต่อสมาชิก คือ มีความเป็นอยทู่ ี่เหมาะสมท้งั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน โดยสมาชิกแต่
ละคนพ่ึงตนเองได้ ยืนอยู่บนลาแขง้ ตวั เองได้ สมาชิกมีความขยนั ประหยดั ซื่อสัตย์ เสียสละ ชุมชนมี
ความเขม้ แขง็ มีการทากิจกรรมร่วมกนั
ผลต่อองค์กรสหกรณ์ คือ มีกิจการดาเนินงานอย่างต่อเน่ืองบรรลุผล มีความมั่นคง
สามารถใหค้ วามช่วยเหลือดูแลสมาชิกได้ เอ้ืออาทรต่อชุมชนได้

85

3. สรุป

การจดั การสหกรณ์ดว้ ยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นไปอยา่ งสอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย
ความสาคัญ วิธีการ องค์ประกอบ ของระบบงานสหกรณ์ โดยสามารถจดั การในด้านการรวมคนใน
สหกรณ์ การรวมเงินทุนของสหกรณ์ การจดั โครงสร้างสหกรณ์ และการจดั การธุรกิจสหกรณ์ โดยเม่ือใช้
ปรัชญาจะส่งผลตอ่ ความเป็นองคก์ รที่มน่ั คงและยงั่ ยนื ตามแผนภาพท่ี 20

แผนภำพที่ 20 สหกรณ์กบั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สมำชิกยึดปรัชญำ

เศรษฐกจิ ดี มที นุ
สังคมดี เพยี งพอ

จดั กำร โครงสร้ำงตำม
ธุรกิจ ปรัชญำ

86

บทบำทหน้ำที่สมำชิกสหกรณ์

หน้ำท่สี มำชิก

คือ สิ่งที่สมาชิกสหกรณ์จะตอ้ งปฏิบตั ิหรือกระทาตามหากไมป่ ฏิบตั ิตามหนา้ ท่ีแลว้ สมาชิกยอ่ มจะ
มีความผิด ซ่ึงอาจจะถูกลงโทษ หรือบางคร้ังอาจจะทาให้สหกรณ์ไม่เจริญเท่าท่ีควร หรือสมาชิกจะเสีย
ประโยชนท์ ้งั ส่วนตวั และส่วนรวมดว้ ย

หน้ำทขี่ องสมำชิก มีดงั นี้
1. ปฏิบตั ิตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั และมติท่ีประชุมใหญ่
2. เขา้ ประชุมทุก ๆ คร้ัง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การประชุมใหญ่
3. มีความสามคั คี กลมเกลียว ซื่อสตั ย์ และเสียสละ เพ่อื ประโยชน์ของส่วนรวม
4. ใหค้ วามร่วมมือส่งเสริมกิจการสหกรณ์ โดยถือหุน้ เพิ่ม หรือฝากเงินเพ่มิ
5. ควบคุมดูแลกิจการของสหกรณ์ เลือกสมาชิกที่ดีและเหมาะสมเป็ นกรรมการของ
สหกรณ์
6. ประพฤติตนในทางที่ถูกท่ีควร
7. อุดหนุนสหกรณ์ดว้ ยความภกั ดี พยายามสนใจใช้บริการและชกั ชวนให้คนอื่นเขา้ มา
เป็ นสมาชิก

สิทธิของสมำชิกสหกรณ์

คอื อานาจของบุคคลท่ีกฎหมายคมุ้ ครอง สาหรับในสหกรณ์น้นั สิทธิ คือ อานาจของสมาชิกท่ีจะ
กระทาการใด ๆ ไดต้ ามพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ระเบียบหรือขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์

1. เขา้ ร่วมประชุมแสดงความคิดเห็น และความต้องการของตนต่อท่ีประชุมใหญ่ ตลอดจน
สามารถซักถามขอ้ ขอ้ งใจ แสดงขอ้ คิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ และออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ได้
เท่าเทียมกนั คอื หน่ึงคนตอ่ หน่ึงเสียงจะมอบหมายใหค้ นอื่นออกเสียงแทนไมไ่ ด้

2. ออกเสียงเลือกต้งั คณะกรรมการ และมีสิทธิไดร้ ับเลือกต้งั เป็นคณะกรรมการดาเนินการได้

87

3. สอบถามการดาเนินงานของสหกรณ์ จากคณะ กรรมการหรือเจา้ หน้าท่ีของสหกรณ์ไดเ้ สมอ
รวมท้ังมีสิทธิท่ีจะขอดูเอกสาร และรายงานการประชุมต่าง ๆท่ีเกี่ยวกับสหกรณ์ได้เสมอ
สมำชิกจะให้สหกรณ์เจริญได้อย่ำงไร

1. ตอ้ งเขา้ ใจว่า สหกรณ์คือกลุ่มของบุคคล ซ่ึงรวมกนั โดยมีความตอ้ งการอย่างเดียวกนั เช่น
เงินกู้ อาหาร ไฟฟ้า ขายผลิตผล หรือ ซ้ือส่ิงจาเป็นในทางการเกษตร

2. ตอ้ งเขา้ ใจวา่ ในฐานะเป็นสมาชิกสหกรณ์สมาชิกเป็นท้งั เจา้ ของและผใู้ ชบ้ ริการ
3. ถา้ สมาชิกตอ้ งการความช่วยเหลือจากสหกรณ์สมาชิกจะตอ้ งช่วยกนั ให้สหกรณ์ดาเนินการได้

และเจริญกา้ วหนา้
4. ช่วยเหลือในการจดั หาและรวบรวมขอ้ มูลเมื่อพิจารณาในการเริ่มตน้ จดั ต้งั สหกรณ์
5. ตอ้ งเขา้ ใจในระเบียบของสหกรณ์ ขอ้ บงั คบั และกฎหมายของสหกรณ์
6. เลือกสมาชิกท่ีดีเป็นกรรมการดาเนินการสหกรณ์
7. เขา้ ร่วมประชุมและชกั ชวนเพ่อื นร่วมประชุมโดย สม่าเสมอ
8. ในการเขา้ ประชุมตอ้ งแสดงความคิดเห็น ออกเสียงอภิปรายปัญหา และยอมรับมติที่ประชุม

จากเสียงส่วนใหญ่
9. เรียนใหร้ ู้ถึงวิธีดาเนินการสหกรณ์ และสามารถอธิบายใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจได้
10. มีใจกวา้ งขวาง ยอมรับวธิ ีการใหม่ ๆ ซ่ึงจะช่วยใหส้ หกรณ์เจริญกา้ วหนา้
11. พยายามสนใจและใชบ้ ริการของสหกรณ์ และชกั ชวนคนอื่นใหเ้ ขา้ เป็นสมาชิก
12. พยายามติดต่อธุรกิจเก่ียวกับสหกรณ์ด้วยเงินสด และหากกู้ยืมเงินก็จะตอ้ งรีบชาระเม่ือถึง

กาหนด
13. ชกั ชวนเพื่อนสมาชิกช่วยกนั ลงทุนในสหกรณ์ โดยการถือหุน้ เพ่มิ ฝากเพม่ิ ข้นึ
14. ช่วยทางานพเิ ศษใหส้ หกรณ์ดว้ ยความเตม็ ใจ และเสียสละ
15. พึงระลึกว่า สหกรณ์เป็ นของสมาชิก มิใช่เป็ นของคนอ่ืน เพราะสมาชิกเป็ นท้ังเจ้าของ

สหกรณ์ (OWNER) ผใู้ ชบ้ ริการสหกรณ์ (USER) สมาชิกสหกรณ์ (MEMBER)
16. ช้ีแจงใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้ ใจเก่ียวกบั สหกรณ์ใหถ้ กู ตอ้ ง เม่ือมีการเขา้ ใจผดิ
17. พิจารณาปัญหาของสมาชิก กรรมการดาเนินการ และเจา้ หนา้ ท่ีสหกรณ์โดยใจเที่ยงธรรม
18. ขายสินคา้ ท่ีมีคุณภาพที่ดีใหแ้ ก่สหกรณ์
19. อยา่ แสวงหาอภิสิทธ์ิจากสหกรณ์ เช่นซ้ือของถูกกวา่ คนอื่น หรือกูเ้ งินไดม้ ากกวา่ คนอื่น
20. เผยแพร่งานสหกรณ์แก่ผสู้ นใจทว่ั ไป
21. ระลึกวา่ สหกรณ์เป็นของสมาชิก จงภูมิใจในการท่ีไดเ้ ป็นสมาชิกสหกรณ์
22. จาไวใ้ ห้ดี อยากให้สหกรณ์เจริญ สมาชิกตอ้ งติดต่อสหกรณ์โดยสม่าเสมอและสนใจกิจการ

ของสหกรณ์ดว้ ย

88

สิทธิประโยชน์ของสมำชิกสหกรณ์

1. ไดร้ ับเงินปันผลจากการร่วมถือหุน้
2. ไดร้ ับเงินเฉล่ียคนื จากการมีส่วนร่วมธุรกิจ
3. ร่วมธุรกิจกบั สหกรณ์ตามความตอ้ งการทางเศรษฐกิจพ้ืนฐาน สงั คม และวฒั นธรรม
4. เขา้ ประชุมแสดงความคิดเห็น
5. สมคั รเป็นคณะกรรมการตวั แทนสมาชิก
6. เลือกต้งั กรรมการเป็นตวั แทน
7. ทาธุรกรรมกบั สหกรณ์
8. ไดร้ ับการยกเวน้ ภาษเี งินได้ อากรแสตมป์
9. เงินปันผล เงินเฉล่ียคืน ดอกเบ้ียเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากแบบมีเง่ือนไข ค่าเบ้ียเล้ียงพาหนะ
หนงั สือค้าประกนั หนงั สือกูเ้ งิน
10.ไดร้ ับสวสั ดิการจากสหกรณ์เพอื่ ตนเองครอบครัว

89




Click to View FlipBook Version