The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วรรณวิภา โคตัน, 2019-06-04 00:27:38

unit 2

unit 2

18

บทที่ 2
จุลนิ ทรยี ์ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การผลิตสารชีวภาพ

19

บทที่ 2

จุลินทรียท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกับการผลติ สารชีวภาพ

สาระสาคญั

จลุ นิ ทรยี ์เป็นส่ิงมชี ีวิตที่มขี นาดเล็ก จาแนกตามประเภททเ่ี ก่ียวข้องกับการผลติ สารชีวภาพใน
งานผลิตพชื ได้ 4 ประเภท คือ จลุ ินทรีย์ท่ใี ช้เป็นปุ๋ยชวี ภาพ จลุ นิ ทรียท์ ่ีใช้ในปอ้ งกันกาจดั โรคพชื
จลุ ินทรีย์ท่ใี ช้ในปอ้ งกันกาจดั แมลงศัตรพู ืช และจลุ นิ ทรยี ์ท่ใี ช้ในปอ้ งกันกาจัดวชั พืชพชื

จุลนิ ทรียเ์ หลา่ นีม้ ีบทบาทในการตรงึ ไนโตรเจน การละลายฟอสเฟตและธาตุอาหารพชื ชนิด
อนื่ ๆ ย่อยสลายเซลลโู ลสหรอื อินทรยี วตั ถุ ผลิตฮอรโ์ มนสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ช่วยใหพ้ ืช
สามารถดดู ธาตอุ าหารได้มากข้นึ ปอ้ งกันกาจัดศัตรูพืช และยอ่ ยสลายสารพษิ ในดนิ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายประวัติการคน้ พบจุลนิ ทรียไ์ ด้
2. จาแนกประเภทของจลุ นิ ทรยี ไ์ ด้
3. จาแนกชนิดและประเภทของจลุ ินทรียท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั การผลติ สารชีวภาพได้
4. อธิบายบทบาทของจุลินทรีย์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการผลติ สารชวี ภาพได้
5. สบื ค้นข้อมูลชนดิ ของจุลนิ ทรียท์ ม่ี บี ทบาทในการผลิตสารชีวภาพในงานผลติ พชื
6. มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ การใช้จลุ นิ ทรยี ใ์ นการผลติ สารชีวภาพในงานผลิตพชื และมีกจิ นสิ ัยในการทางานดว้ ยความ
รับผดิ ชอบ ขยันและอดทน

ปัจจบุ นั ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ เช่น สหรัฐอเมรกิ า ญี่ป่นุ ต่างมนี โยบายสนบั สนนุ การคน้ คว้า
นาเทคโนโลยีชวี ภาพด้านจุลนิ ทรยี ์มาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ เพราะเช่อื ว่า วทิ ยาการแขนงน้จี ะชว่ ยให้
สามารถคดิ คน้ ตัวยาใหม่ ๆ และผลผลติ ดา้ นอาหารและเกษตรของโลกเพ่ิมมากข้นึ พอเพียงสาหรบั
ประชากรโลกในอนาคต สาหรบั ประเทศไทยเทคโนโลยชี ีวภาพดา้ นจลุ นิ ทรีย์ ได้รับความสนใจและการ
สง่ เสรมิ จากรฐั บาลเปน็ อย่างมาก เนือ่ งจากตอ้ งการใช้เทคโนโลยีชวี ภาพในการผลิตทางการเกษตร
เพ่อื ลดการใช้สารเคมีที่เปน็ ผลเสยี ตอ่ ส่งิ แวดล้อม เช่น การผลติ ปุ๋ยอินทรีย์ การผลติ ป๋ยุ ชวี ภาพ และ
การใช้จลุ ินทรยี ์ในการป้องกนั กาจัดศัตรูพชื เป็นต้น โดยมีการนาจุลินทรยี ช์ นิดตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ไวรัส
แบคทเี รีย รา ไส้เดอื นฝอย และโพรโทซวั มาผลิตและขยายเปน็ ผลติ ภณั ฑ์สารชวี ภาพในรปู ของ
ชวี ภัณฑ์ เพ่ือใช้เป็นสารชวี นิ ทรยี ์ ในการควบคุมศตั รพู ืช การนาจุลินทรีย์มาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
การกาจดั ขยะและน้าเสีย เป็นตน้ ดังนน้ั การนาจลุ ินทรยี ์มาใชใ้ นการผลติ สารชีวภาพในงานผลิตพชื
ควรมีความรคู้ วามเขา้ ใจในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี

ประวตั กิ ารค้นพบจลุ ินทรีย์

จลุ นิ ทรยี ์ หรอื จุลชพี หรอื จลุ ชีวัน (microorganism) เป็นสิง่ มีชีวิตทมี่ ขี นาดเล็กไมส่ ามารถ
มองเห็นไดด้ ้วยตาเปล่า มนษุ ย์เราได้นาจลุ นิ ทรียม์ าใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ เราเป็นเวลานานนบั พนั ๆ ปี
มาแลว้ ในรปู แบบง่าย ๆ ได้แก่ การหมกั ดองอาหาร เช่น เต้าเจีย้ ว แหนม ปลาร้า การทาเครอ่ื งด่ืม
แอลกอฮอล์ เชน่ สุรา ไวน์ เบยี ร์ เปน็ ตน้

20

นกั วทิ ยาศาสตรใ์ นปจั จบุ นั สนั นิษฐานว่าการกาเนิดของสิ่งมีชีวติ เร่ิมแรก เกิดจากการรวมตัว
กันของสารอนนิ ทรยี ์ ในปริมาณและสถานภาพทเ่ี หมาะสมย่ิง และสถานการณน์ ั้นเกดิ ขึ้นในระยะเวลา
อนั ส้นั เพยี งครง้ั เดยี ว เมื่อประมาณกว่าสามพนั ห้าร้อยล้านปมี าแล้ว เมอ่ื ชวี ิตแรกเริม่ แลว้ ต่อมามี
ววิ ฒั นาการทลี ะนอ้ ย ๆ ในช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมานับล้านๆ ปี จนกลายเปน็ สิ่งมีชีวติ ชนดิ ตา่ ง ๆ ตาม
หลักของวิวฒั นาการ แตก่ ารศึกษาเกีย่ วกับจลุ ินทรียเ์ ริม่ เมอื่ ประมาณ 300 ปที ่ีแลว้ จากการคน้ พบ
ของ แอนโทนี แวน ลเี วนฮคุ (Antony van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตรช์ าวเดนมาร์ก ประวัติ
การคน้ พบจลุ นิ ทรยี ์มีสาระโดยสงั เขป ดังน้ี

พ.ศ. 2175–2266 แอนโทนี แวน ลีเวนฮคุ ได้ประดษิ ฐก์ ลอ้ งจุลทรรศน์แบบเลนส์เดยี วท่ีมี
กาลงั ขยาย 200-300 เทา่ แล้วใชต้ รวจดหู ยดน้าจากแม่น้าลาคลอง พบสิง่ มีชีวิตเล็ก ๆ ในหยดนา้ ที่
ตรวจ และได้บนั ทกึ ลกั ษณะของสิง่ มีชวี ติ เล็ก ๆ นั้น จนไดร้ บั การยกยอ่ งว่าเป็นบคุ คลแรกทคี่ น้ พบ
จลุ นิ ทรยี โ์ ดยใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์

พ.ศ. 2365-2438 หลยุ ส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวฝรัง่ เศส เป็นผู้
วางรากฐานของวิชาจลุ ชีววิทยา ได้ช่อื ว่าเปน็ บิดาแห่งจลุ นิ ทรีย์วทิ ยา (Father of Modern
Microbiology) เปน็ คนแรกทีพ่ ิสจู นว์ า่ สิ่งมีชวี ิตตอ้ งเกดิ จากสง่ิ มชี ีวติ เทา่ นน้ั และพบวา่ กระบวนการ
หมักของจลุ นิ ทรีย์เกิดจากการกระทาของจลุ ินทรีย์หลายชนิด และได้ศกึ ษาปญั หาการเปรีย้ วของเหล้า
องุน่ พบวา่ การเปรี้ยวนเี้ กดิ จากปฏิกิริยาของจลุ นิ ทรยี ์บางชนิดในเหลา้ องุ่น แต่เหลา้ อง่นุ จะไม่เปร้ียว
ถ้าไปทาใหร้ อ้ น อีกครั้งทีอ่ ณุ หภมู ิ 50-55 องศาเซนเซยี ส นาน 30 นาที วธิ นี ตี้ อ่ มาเรียกวา่ การฆ่าชอื้
แบบพาสเจอรไ์ รซ์ (pasteurization) และถูกนามาใชด้ ดั แปลงในอตุ สาหกรรมทานม

พ.ศ. 2399-2496 ไวโนแกลดสกี (Winogradsky) พบแบคทีเรยี ทสี่ ามารถตรึงก๊าซไนโตรเจน
จากอากาศสู่ดนิ

พ.ศ. 2431 เฮลริเจล (H. Hellrieegel) และ วิลฟาย (H. Wilfarth) พบความสมั พันธแ์ บบ
พึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกนั (symbiosis) ระหวา่ งแบคทเี รยี กับพืชตระกูลถว่ั

พ.ศ. 2444 ไบเจอริงค์ (Beijerinck) นักจลุ ชวี วทิ ยาชาวเนเธอร์แลนด์ พบเชือ้ แบคทีเรยี
อะโซโตแบคเตอร์ (Azotobacter) ซึ่งเปน็ แบคทเี รียทส่ี ามารถตรึงกา๊ ซไนโตรเจนแบบอิสระในดิน

พ.ศ. 2417-2482 ลปิ แมน (Libman) นกั จลุ ชีววิทยาทางดนิ ชาวอเมริกัน สนใจศึกษาผลของ
จลุ นิ ทรีย์ต่อความอดุ มสมบูรณ์ของดินและการเจรญิ เ ตบิ โตของพืช จนไดร้ ับสมญานามวา่ เปน็ บิดา
ของจลุ ชวี วิทยาทางดนิ ในประเทศสหรัฐอเมริกา

ประเภทของจลุ นิ ทรยี ์

การจาแนกประเภทของจุลินทรยี ์ มวี ธิ จี าแนก หลายวิธี ได้แก่

1. การจาแนกตามลักษณะของเซลล์

การจาแนกจุลินทรยี ต์ ามลักษณะของเซลล์ สามารถจาแนกจุลินทรยี อ์ อ2กเปปร็นะเภท ดังนี้

1.1 พวกโพรคาริโอต (Prokaryotic cell) ลกั ษณะสาคัญของเซลล์กล่มุ นี้ คือ ไมม่ ีเย่ือ
หุ้มนิวเคลยี ส ลกั ษณะเซลล์จะค่อนข้างเล็ก มขี นาด 1-10 ไมโครเมตร ไดแ้ ก่ แบคทีเรยี สาหรา่ ยสี
เขียวแกมนา้ เงนิ แอกทโิ นไมซีทและไมโครพลาสมาปัจจบุ นั จดั สาหรา่ ยสเี ขียวแกมน้าเงินจัดเปน็ พวก

21

ไซยาโนแบคทเี รยี (cyanobacteria)
1.2 พวกยคู ารโิ อต (Eukaryotic cell) ลักษณะสาคัญของเซลลก์ ลมุ่ นี้ คอื นวิ เคลยี สมี

เยื่อห้มุ นวิ เคลยี ส มกี ารแบ่งตวั แบบไมโทซีส มีขนาด 1-100 ไมโครเมตร ไดแ้ ก่ พวกรา โพรโทซวั
และสาหร่าย

2. การจาแนกตามลักษณะการได้สารอาหาร
การจาแนกจุลนิ ทรยี ์ตามลกั ษณะการไดส้ ารอาหาร คอื การสังเคราะห์แสง การดดู ซึม

อาหาร และการกินอาหาร ในปี ค.ศ. 1969 โรเบิร์ต วทิ แทคเกอร์ (Robert Whittaker) เสนอใหแ้ บง่
สง่ิ มชี วี ติ ออกเป็น 5 อาณาจกั ร โดยมีจุลินทรยี อ์ ยู่ 3 อาณาจักร ดงั น้ี

2.1 อาณาจกั รโมเนรา (Kingdom Monera) เป็นจลุ ินทรยี ์พวกโพรคาริโอต ได้แก่
แบคทเี รยี ไซยาโนแบคทีเรีย

2.2 อาณาจักรโพรทสิ ตา (Kingdom Protista) เปน็ พวกยูคารโิ อต ได้แก่ สาหรา่ ย และ
โพรโตซวั สงิ่ มีชวี ติ ในอาณาจกั รนี้ มักมเี ซลลเ์ ดี่ยว ๆ

2.3 อาณาจักรรา (Kingdom Fungi) เปน็ พวกยคู ารโิ อต ส่วนมากมหี ลายเซลล์ ไม่
สามารถสรา้ งอาหารได้ดว้ ยตนเอง ส่วนมากยอ่ ยสลายสารอนิ ทรยี จ์ ากสิง่ มีชีวติ ที่ไปอาศยั อยู่ เชน่ ยีสต์
รา และเห็ด

3. การจาแนกตามขนาดรูปรา่ งและคุณสมบตั ิอ่นื ๆ
การจาแนกจุลนิ ทรีย์ตามขนาดรปู รา่ งและคุณสมบตั ิอน่ื ๆ ซ่งึ สามารถจาแนกจลุ นิ ทรีย์

ออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
3.1 แบคทเี รยี (bacteria) เปน็ สิง่ มชี วี ิตเซลลเ์ ดียวพวกโพรคาริโอต เปน็ จลุ ินทรียท์ ี่มี

มากทีส่ ดุ ในธรรมชาติ มที ้งั ที่อยู่เดยี่ ว ๆ และเป็นกลุ่ม เซลล์มีขนาดเล็กมากมองไมเ่ ห็นดว้ ยตาเปลา่
ขนาดยาว 2-10 ไมโครเมตร กวา้ ง 0.2-2.0 ไมโครเมตร ดารงชวี ิตดว้ ยการยอ่ ยสลายอาหารท่อี ยู่
รอบตวั โดยการเปลย่ี นสารอนิ ทรีย์ใหเ้ ป็นสารอนินทรยี ท์ ี่พืชนาไปใชไ้ ด้ เพมิ่ จานวนโดยการแบ่งตวั
แบบทวีคูณ มผี นงั เซลล์ซง่ึ ทาใหแ้ บคทีเรียคงรูปรา่ ง โดยพ้นื ฐานมรี ปู ร่าง 3 แบบ คือรูปรา่ งทรงกลม
ท่อน และเกลียว ดงั แสดงในภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 รปู รา่ งของแบคทีเรยี บางชนดิ
ทมี่ า: ดัดแปลงจาก ธวชั ชยั สุ่มประดษิ ฐ์ (ม.ป.ป.)

22
3.2 รา หรอื เชื้อรา (fungi) เปน็ สิ่งมีชวี ิตพวกยูคาริโอตที่ไม่มคี ลอโรฟลิ ล์ สังเคราะห์
อาหารเองไม่ได้ สืบพนั ธุโ์ ดยการแบ่งตัว แตกหน่อ หรอื สร้าง สปอร์ สามารถแยกเช้ือราออกเป็น 2
กลุม่ ใหญ่ คอื เชอื้ ราท่มี ีลกั ษณะของเซลล์เปน็ เซลล์เดี่ยว (unicellular fungi) ซึง่ เรยี กรวมๆวา่ ยสี ต์
(yeasts) และเช้ือราที่มีลกั ษณะของเซลล์เป็นแบบเส้นสาย (filamentous fungi) เชน่ รา (molds;
moulds) และเหด็ (mushrooms) รามอี ย่มู ากมายตามธรรมชาติ จดั เป็นจุลินทรียท์ ีม่ ศี กั ยภาพสงู
มากในการใช้เปน็ เช้ือในการควบคุมทางชีวภาพของศตั รูพชื มีกจิ กรรมทเ่ี ป็นประโยชน์มากมาย เชน่
ในกระบวนการหมัก การผลิตสารปฏิชีวนะ ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตของพืช การควบคุมแมลง
ศัตรูพชื และไส้เดือนฝอย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงมีความสาคัญท่ีสุดในกระบวนการยอ่ ยสลายเซลลูโลสและ
ลิกนิน เชน่ ยสี ต์ Aspergilus niger และ Penicillium sp. ดังภาพที่ 2.2

ก. ยีสต์ ข. Aspergillus ค. Penicillium
ภาพท่ี 2.2 รปู ร่างของเช้ือราบางชนิด
ที่มา: ดดั แปลงจาก พิมพ์เพญ็ พรเฉลิมพงศ์ และนิธยิ า รัตนาปนนท์ (ม.ป.ป.)
3.3 สาหร่าย (algae) สาหรา่ ยเป็นสง่ิ มีชีวติ เซลล์เดยี วชนดิ ยคู าริโอต มคี ลอโรฟิลล์และ
สามารถสังเคราะห์แสงได้ แตกตา่ งจากพชื สีเขียวคือมโี ครงสร้างในการสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศเป็น
แบบง่าย ๆ ส่วนในการสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศัยเพศ มีขนาดและรูปร่างแตกตา่ งกัน บางชนิดเปน็ เซลล์
เด่ียว ๆ อาจมีรูปรา่ งกลม ท่อน หรือเรียวแหลม บางชนดิ อยกู่ นั หลายเซลล์ ทาใหเ้ กิดรูปรา่ งทีต่ ่าง
ออกไป อาจเปน็ โคโลนี เปน็ เส้นสายเด่ยี ว ๆ หรอื เส้นสายเปน็ กลุม่ (แตล่ ะสายอาจแตกแขนงหรือไม่ก็
ได้) พบได้ทัว่ ไปในแหลง่ น้า หรือดนิ ชื้นแฉะ ตัวอย่างสาหร่ายในกลุ่มนี้ ไดแ้ ก่ สาหร่ายสีแดง สาหรา่ ย
สีนา้ ตาล ดงั ภาพที่ 2.3

ภาพท่ี 2.3 สาหรา่ ยสนี ้าตาล
ทีม่ า: ดดั แปลงจาก สสวท. (2554: 38)

23
3.4 โพรโทซวั (protozoa) โพรโทซัวเปน็ ส่ิงมีชีวติ พวกยูคาริโอตกิ สว่ นใหญม่ กั มเี ซลล์
เดยี ว สามารถเคลอ่ื นท่ีไดใ้ นบางระยะของวงจรชวี ิตและไม่มผี นังเซลล์ มีขนาดเล็กสว่ นใหญม่ ี
เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางขนาด 5-250 ไมโครเมตร เซลล์ของโพรโทซัวอาจรวมกนั เปน็ กลุ่มกอ้ นท่เี รยี กวา่
โคโลนี โดยมีสายไซโทพลาซมึ เช่อื มกนั มกั พบในแหลง่ ท่ีอยชู่ ื้นแฉะ ทะเล ดนิ นา้ จดื สามารถทนต่อ
สภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสมไดโ้ ดยการแปรสภาพเปน็ ซสี ต์

ภาพที่ 2.4 ลักษณะของโพรโทซวั
ทมี่ า: ธวชั ชยั สุ่มประดิษฐ์ (ม.ป.ป.)
3.5 แอกทโิ นไมซีท (actinomycetes) เปน็ แบคทีเรยี ท่ีมลี กั ษณะเปน็ เสน้ ใยคล้ายราแต่
มีขนาดเล็กกวา่ มีการสืบพันธ์โุ ดยการสร้างสปอรท์ ี่ไมท่ นทานต่อสภาพแวดล้อม ทาใหอ้ ัตราการ
เจรญิ เติบโตเพิ่มปริมาณช้ากวา่ แบคทเี รีย มีอยู่หลายกลมุ่ ดงั แสดงในภาพท่ี 2.5 พบในดินประมาณ
ร้อยละ 10-33

ภาพท่ี 2.5 กลุม่ ของแอกทิโนไมซีทท่อี ยู่ในดนิ
ทมี่ า: สายพณิ ไชยนันทน์ (2547: 63)
3.6 ไวรัส (virus) เป็นสงิ่ มีชวี ิตที่มีขนาดเลก็ ทส่ี ุด ไม่สามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยกลอ้ ง
จุลทรรศนธ์ รรมดา ตอ้ งใชก้ ล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน เจริญได้เฉพาะในเซลลข์ องสงิ่ มีชีวิตเท่านนั้ มี
กรดนวิ คลอี ิกเพียง ชนิดเดยี ว คอื DNA หรือ RNA อย่างใดอยา่ งหนึ่ง มีหลายรูปแบบ
ชนดิ และประเภทของจลุ ินทรยี ท์ ่เี กยี่ วขอ้ งกับการผลิตสารชวี ภาพ
การนาจลุ นิ ทรยี ์มาใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ สารชวี ภาพในงานผลิตพืช อาจจาแนกได้เป็น 4
ประเภท คอื จลุ นิ ทรยี ท์ ่ใี ช้เปน็ ปยุ๋ ชีวภาพและปยุ๋ อนิ ทรีย์ จุลินทรียท์ ใ่ี ชใ้ นการผลติ สารชีวภาพป้องกนั

24

กาจดั โรคพืช จลุ ินทรยี ท์ ใ่ี ช้ในการผลติ สารชีวภาพควบคุมแมลงศัตรูพชื และจลุ ินทรียท์ ี่ใช้ในการผลติ
สารชีวภาพควบคุมวชั พืช

1. จุลนิ ทรียท์ ีใ่ ชเ้ ปน็ ปุ๋ยชวี ภาพ

จลุ ินทรยี ์ทจ่ี ดั เปน็ ปุ๋ยชีวภาพแบ่งไดเ้ ป็น 3 กลุม่ ได้แก่ จลุ นิ ทรยี ต์ รงึ ไนโตรเจน จุลินทรีย์
ละลายฟอสเฟตและธาตอุ าหารพชื และจุลนิ ทรยี ย์ อ่ ยสลายเซลลูโลสหรืออินทรียวตั ถุ

1.1 จุลินทรยี ์ตรึงไนโตรเจน (nitrogen fixing microorganisms) เปน็ จลุ ินทรยี ์ที่มี
ความสามารถเปลีย่ นไนโตรเจนในอากาศ (N2) ไปเป็นแอมโมเนยี ม (NH4+) ซึง่ จลุ ินทรยี ์และพชื
สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ จลุ ินทรยี ์กลมุ่ นีม้ วี ิธกี ารตรึงไนโตรเจนได้ 2 แบบ คอื

1.1.1 จุลินทรยี ท์ ต่ี รงึ ไนโตรเจนแบบพ่งึ พาอาศยั กนั และกนั (symbiotic nitrogen
fixing microorganisms) เป็นจลุ นิ ทรีย์ที่ต้องมีชีวิตอยูร่ ่วมกบั สิง่ มชี ีวิตอืน่ แบบตา่ งไดร้ ับประโยชน์ซ่งึ

กนั และกนั จึงจะสามารถตรึงไนโตรเจนได้ ดงั แสดงในตารางที่ 2.1 จลุ นิ ทรีย์กลุ่มนมี้ ีท้ังพวกแบคทเี รยี
และสาหรา่ ยสีเขียวแกมนา้ เงนิ ดังภาพท่ี 2.6

ตารางที่ 2.1 จลุ นิ ทรีย์ทต่ี รึงไนโตรเจนแบบพ่ึงพาอาศัยกันและกนั

ชนิดของจุลินทรีย์ ชนดิ ของสิง่ อาศยั

กลุ่มแบคทเี รยี พชื ตระกูลถวั่
ไรโซเบยี ม (Rhizobium sp.) พชื ทีไ่ มใ่ ช่ถั่ว
แฟรงเคีย (Frankia sp.) หญ้า
อะโซโตแบคเตอร์ (Azotobacter paspli) พชื ตระกูลหญ้า
อะโซสไปรลิ ลัม (Azospirilum sp.) ขา้ วและพชื ตระกลู หญา้
เครปซิลลา (Klebsiella sp.) พวกปรง และ ลิเวอรเ์ วริ ต์
นอสตอก (Nostoc sp.)
แหนแดง
กล่มุ สาหร่ายสีนา้ เงนิ แกมเขยี ว
สาหร่ายสนี า้ เงินแกมเขียว (Anabaena azollae)

ท่ีมา : ดดั แปลงจาก ธงชัย มาลา (2546: 9)

ภาพท่ี 2.6 แบคทเี รียและสาหร่ายสเี ขียวแกมนา้ เงินบางชนิด
ที่ตรึงไนโตรเจนแบบพง่ึ พาอาศัยกนั และกัน

ท่มี า: สสวท. (2554: 27-29); กรมวชิ าการเกษตร (2548 ก: 23-26)

25
1.1.2 จุลนิ ทรยี ์ทต่ี รงึ ไนโตรเจนไดอ้ ย่างอิสระ (non-symbiotic nitrogen fixing
microorganisms) เปน็ จลุ นิ ทรยี ท์ ่ใี ชส้ ารอินทรยี ์จากสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ อาหาร แลว้ ตรึงไนโตรเจนได้เลย
ไดแ้ ก่

1) แบคทีเรยี เช่น Azotobacter sp. Azospirilum sp. Azomonas sp.
Beijerinckia sp. Derxia sp. Clostridium sp. และ Rhodopseudomonas sp. เปน็ ต้น ดงั
ภาพท่ี 2.7

ภาพท่ี 2.7 ลกั ษณะเซลล์ของไบเจอริงเคยี
ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2548 ก: 25)
2) สาหร่ายสเี ขยี วแกมน้าเงนิ เช่น Tolypothrix sp. Calothix sp.
Nostoc sp. Anabaena sp. และ Cylindrospermonas sp. เป็นตน้ ดังภาพท่ี 2.8

ภาพท่ี 2.8 ลักษณะของสาหร่ายสีเขียวบางชนิดทแี่ ยกได้จากดนิ
(a) N. commune (b) Calothrix sp. (c) Tolypothrix sp. (d) S. hyalinum

ทม่ี า: Chris M. Yeager et al (2007: 91)
1.2 จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตและธาตอุ าหารพืช (phosphate and orther nutrient
elements solubilizing microorganisms) เป็นจลุ ินทรยี ์ทส่ี ามารถทาใหธ้ าตอุ าหารพชื หลายชนดิ
เชน่ ฟอสฟอรัส เหลก็ สงั กะสี ทองแดง ไตรแคลเซยี ม อลูมนิ ัม และแมงกานสี ทอ่ี ยู่ในรปู ท่ไี มล่ ะลาย
นา้ ใหล้ ะลายออกมา รวมทงั้ จุลินทรียท์ ีส่ ามารถส่งเสริมใหพ้ ืชดดู ธาตุอาหารท่ีปกติไม่สามารถดดู ได้
จลุ ินทรียก์ ลมุ่ น้ี แบ่งไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ คือ

26
1.2.1 จลุ ินทรีย์ท่ลี ะลายหินฟอสเฟตทีอ่ ยูอ่ ยา่ งอิสระ จลุ ินทรยี เ์ หล่าน้ีจะดารงชีวติ
อยู่อย่างอิสระ ได้แก่

1) แบคทีเรยี เชน่ บาซิลลสั (Bacillus sp.) เชอรเิ ชีย (Scherichia sp.)
ซโู ดโมแนส (Pseudomonas sp.) และไธโอบาซิลลัส (Thiobacillus sp.) เปน็ ต้น

2) เช้อื รา เช่น แอสเพอร์จลิ ัส (Aspergillus sp.) เพนนซิ เิ ลียม (Penicilium
sp.) และฟวิ ซาเรียม ออกซสิ ปอร์รัม (Fusarium oxysporum) เปน็ ตน้

1.2.2 จลุ นิ ทรีย์ทลี่ ะลายหินฟอสเฟตท่ีอยู่อยา่ งพึง่ พาอาศัยกับพชื ชนิดอน่ื เช่น เชอ้ื
ราไมคอรไ์ รซ่า (Mycorrhizal fungi) เป็นตน้ ดงั ภาพที่ 2.9

ภาพท่ี 2.9 เอคโตไมคอร์ไรซา
ท่ีมา: โครงการตาราวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรม์ ูลนิธิ สอวน. (2555: 86)
1.3 จลุ ินทรีย์ยอ่ ยสลายเซลลูโลส หรอื จลุ ินทรียเ์ ร่งการย่อยสลายอนิ ทรยี วัตถุ
(cellulolytic microorganisms : cellulolytic decomposers) เปน็ จุลนิ ทรยี ท์ ีม่ ปี ระสทิ ธิภาพสูง
ในการยอ่ ยสลายเซลลโู ลส หรือเศษพชื จุลนิ ทรียพ์ วกนี้พบได้ทว่ั ไปในระหว่างการสลายตวั ของเศษพืช
ก่อให้เกดิ ปยุ๋ อนิ ทรยี ช์ นดิ ต่างๆ เช่น ปยุ๋ หมัก ปุ๋ยคอก และปยุ๋ พชื สด ตวั อยา่ งจลุ ินทรยี ์ยอ่ ยสลาย
เซลลูโลส ดงั ภาพท่ี 2. 10 ไดแ้ ก่

ภาพที่ 2.10 ตวั อยา่ งจุลินทรีย์ในหัวเชือ้ ย่อยสลายช่วยในการทาปุย๋ หมัก
ที่มา: ภาวนา ลกิ ขนานนท์ วทิ ยา ธนานสุ นธิ์ และ สุปรานี ม่นั หมาย (2549: 2)

27

1.3.1 แบคทเี รยี เชน่ บาซิลลัส เซลลโู ลโมแนส (Cellulomonas sp.) และ
ไซโทฟากา (Cytophaga sp.) เปน็ ตน้

1.3.2 เช้อื รา เช่น เชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า (Trichoderma sp.) เชือ้ ราคโี ตเม่ียม
(Chaetomium sp.) เชอ้ื ราไมโรทเี ซี่ยม (Myrothecium sp.) เชอื้ ราแอสเพอร์จิลสั (Aspergillus
spp.) และ เช้ือราเพนนิซิเลี่ยม (Penicillium sp.) เป็นตน้

1.3.3 แอกติโนไมซิท เชน่ เทอรโ์ มแอกติโนไมซทิ (Thermoactinomyces) เป็นต้น

2. จุลินทรยี ท์ ี่ใช้ในปอ้ งกนั กาจัดโรคพืช

จุลินทรียท์ ี่นามาใช้ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั กาจดั โรคพืช ไดแ้ ก่

2.1 แบคทเี รยี แบคทีเรยี ท่ีนามาใช้ในการควบคมุ โรคพชื เช่น บาซิลลสั
อะโกรแบคเตอรเ์ รี่ยม เรดโิ อแบคเตอร์ (Agrobacterium radiobacter) ซูโดโมแนส
(Pseudomonas spp) เออร์วิเนีย เฮอร์บโิ คลา่ (Erwinia herbicola) และ พาสตูเรีย พนี ที รานส์
(Pastueria penetrans เปน็ ต้น

2.2 เชอื้ รา เชื้อราท่นี ามาใช้ในการควบคุมโรคพืชเช่น เช้อื ราไตรโคเดอรม์ า่ และเช้อื รา
คีโตเมี่ยม เปน็ ต้น

3. จุลินทรีย์ท่ใี ช้ในการควบคุมแมลงศตั รพู ืช

จุลนิ ทรยี ท์ ่ใี ชใ้ นการควบคุมแมลงศัตรพู ชื จลุ ินทรยี ์เหล่าน้ีเปน็ เชื้อสาเหตุที่ทาให้แมลง
ศัตรูพืชเกิดโรคและตาย ตวั อย่างจุลินทรยี ์ทีเ่ ปน็ สาเหตขุ องโรคแมลงศัตรูพชื ทน่ี ามาใชใ้ นการกาจัด
แมลงศตั รูพชื ได้แก่

3.1 ไวรัส ไวรสั ท่ีนามาใชใ้ นการกาจดั แมลงศัตรพู ชื เชน่ ไวรัสเอนพีวี (Nuclear
Polyhedrosis Virus : NPV) และ Granulosis Virus : GV เปน็ ตน้

3.2 แบคทเี รยี แบคทีเรียที่นามาใช้ในการกาจัดแมลงศัตรูพืช ไดแ้ ก่ แบคทีเรียพวก
บาซลิ ลสั เชน่ Bacillus thuringiensis, B. popilliae, B. lentimorbus, และ B. sphaericus
เป็นต้น

3.3 เช้ือรา เชอื้ ราที่นามาใชใ้ นการควบคมุ แมลงศตั รูพืช เชน่ เชื้อราเมทาไรเซียม
แอนิโซพลี (Metarrhizium anisopliae) เชือ้ ราบิวเวอเรีย บาเซยี น่า (Beauveria bassiana)
เชอื้ ราเอนโตมอฟทอร่า (Entomophthora sp.) เช้ีอรามาโซสปอรรา่ (Masospora sp.)
เชอื้ ราคอรด์ ิเซป (Cordyceps sp.) และเชื้อราแอสเชอรโ์ ซเนีย (Aschersonia sp.) เปน็ ตน้

3.4 โพรโทซวั โพรโทซัวทน่ี ามาใชใ้ นการกาจัดแมลงศตั รพู ชื เชน่ Nosema locstae
และ N. bombycis เป็นต้น

3.5 ไส้เดอื นฝอย ไส้เดือนฝอยท่ีนามาใช้ในการกาจัดแมลงศัตรูพืช เชน่ สไตเนอร์นมี ่า
คารโ์ ปแคปซ่ี (Steinernema carpocasae) เฮทเทอโรแรบดสั ( Heterorhabdus sp.) และ
โรมาโนเมอนอส คัลลิซิโวแรกซ์ (Romanomernos culicivorax) เป็นต้น

28

4. จุลนิ ทรีย์ทีใ่ ช้ในการควบคุมวชั พืช

จลุ นิ ทรยี ท์ น่ี ามาใช้ในการควบคุมวชั พืชเปน็ จลุ ินทรียท์ เี่ ป็นสาเหตขุ องโรคพชื เศรษฐกจิ ซง่ึ

ทาใหว้ ชั พืชเกิดโรคได้เชน่ เดยี วกนั ตัวอยา่ งจลุ ินทรีย์สาเหตุโรคพืชท่นี ามาใช้เปน็ สารชีวภาพควบคุม
วัชพชื เช่น เชอ้ื ราอะครีโมเนี่ยม ดโิ อสไปริ (Acremonium diospyri) เช้ือราไฟทอฟทอรา่ พัลมิโวรา่
(Phytopthora palmivora) เช้อื ราคอลเลทโททรกิ มุ้ กลิโอสปอรอยด์ (Colletotrichum

gloeosporiodes) เชอ้ื ราเซอร์โคสปอรา่ รอดมานู (Cercospora rodmanoo) และ
เช้อื ราพักซิเนยี โครอันดรลิ ินา่ (Puccinia chroundrillina) เป็นต้น

บทบาทของจลุ ินทรยี ท์ เี่ กย่ี วข้องกับการผลติ สารชวี ภาพ

จุลินทรยี ท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลิตสารชีวภาพ มีบทบาทในการผลติ พืช 7 ข้อ ดังน้ี

1. บทบาทของจลุ นิ ทรยี ์ในการตรงึ ไนโตรเจน

ในอากาศมีไนโตรเจนอยรู่ ้อยละ 78 แต่มนษุ ย์

สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ไดน้ ้อยมาก ในขณะท่ีแบคทเี รียบาง

ชนดิ เช่น ไรโซเบยี ม อะโซโตแบคเตอร์ สามารถตรึงก๊าซ กิจกรรมสรา้ งสรรค์
ไนโตรเจนจากอากาศใหก้ ลายเปน็ แอมโมเนยี และแบคทีเรียพวก ใบงานที่ 2.1 บทบาทของจุลินทรยี ท์ ี่
ไนตรไิ ฟอิงแบคทเี รยี เปลย่ี นแอมโมเนยี ให้เป็นไนเตรท ดังภาพท่ี เก่ยี วข้องกบั การผลติ สารชีวภาพ

2.11 การตรึงไนโตรเจนทางชีวภาพน้จี ะเกดิ ขึน้ มากหรือน้อย

ขึน้ อยู่กบั ความตอ้ งการของจลุ นิ ทรียช์ นิดน้นั โดยทว่ั ไปแล้วปฏิกริ ิยาการตรึงก๊าซไนโตรเจนให้เกดิ เปน็

สารประกอบไนโตรเจนเกิดข้ึนอย่ตู ลอดเวลา และพบว่าการตรึงไนโตรเจนทางชวี ภาพเปน็ การตรงึ

ไนโตรเจนทเี่ กดิ ขน้ึ มากที่สุด (ประมาณ 175 ล้านตันตอ่ ปี)

ภาพท่ี 2.11 การตรงึ ไนโตรเจนทางชีวภาพ
ทม่ี า: สถาบนั นวัตกรรมและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ มหาวทิ ยาลัยมหิดล (ม.ป.ป.)

2. บทบาทของจลุ ินทรยี ์ในการละลายฟอสเฟตและธาตอุ าหารพชื ชนิดอน่ื ๆ

ฟอสฟอรัสในดนิ สว่ นใหญ่ประมาณ ร้อยละ 95–99 อยใู่ นรปู ท่ไี มล่ ะลายน้า พืชจงึ
นาไปใช้ประโยชน์ไมไ่ ดก้ ารขาดฟอสฟอรัสในดนิ จึงเกดิ ขนึ้ ทั่วโลก ปจั จุบนั พบวา่ มแี บคทีเรยี และรา
หลายชนดิ สามารถละลายอนนิ ทรีย์ฟอสฟอรสั ใหพ้ ืชใช้ประโยชนไ์ ด้ และสามารถละลายหนิ ฟอสเฟต
ซึง่ เป็นปุย๋ ฟอสเฟตอย่างหน่งึ ปลดปล่อยฟอสฟอรสั ท่ีเป็นประโยชน์เพ่มิ ข้ึน ดงั ภาพท่ี 2.12 โดย

29

จลุ นิ ทรียเ์ หลา่ นีจ้ ะสรา้ งเอนไซม์หรือกรดอนิ ทรยี อ์ อกมายอ่ ยหนิ ฟอสเฟต เชน่ เช้อื ราแอสเพอรจ์ ลิ ัส
บาซิลลสั ซโู ดโมแนส ไรโซเบียม และแอกติโนไมซที เปน็ ต้น นอกจากนจ้ี ลุ นิ ทรยี ์ที่อาศัยในเขตราก
พชื ยงั ช่วยกระตนุ้ ใหพ้ ชื ดดู ธาตุอ่นื ๆ เช่น แมงกานีส เหลก็ สังกะสี เหลก็ และโปแตสเซยี มไดม้ ากขึน้

ภาพท่ี 2.12 วัฎจักรฟอสเฟต
ท่มี า: สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2557)
3. บทบาทของจุลินทรยี ์ในการยอ่ ยสลายเซลลโู ลสหรอื อินทรยี วตั ถุ
3.1 จุลนิ ทรยี ์จะเปน็ ตัวการในการย่อยสลายวสั ดุเหลือใชท้ างการเกษตร ซากพืช ซาก
สัตว์ ซึ่งเปน็ อนิ ทรียว์ ัตถุ แล้วปลดปลอ่ ยธาตุอาหารให้แก่พชื
3.2 จุลนิ ทรีย์บางชนดิ จะช่วยเรง่ การยอ่ ยสลายของอนิ ทรียว์ ัตถุให้เกดิ ไดเ้ รว็ ขึน้
เกษตรกรสามารถนาคุณสมบตั ขิ ้อน้ไี ปใช้ในการทาปุ๋ยหมกั
4. บทบาทของจลุ นิ ทรยี ใ์ นการผลติ ฮอรโ์ มนสง่ เสริมการเจรญิ เตบิ โตของพืช
จลุ ินทรยี ์บางชนดิ เช่น ไรโซเบียม อะโซสไปริลลมั และสาหรา่ ยสเี ขียวแกมนา้ เงิน เป็นตน้
สามารถผลิตฮอร์โมนและกรดอนิ ทรีย์ทีช่ ว่ ยส่งเสริมการเจรญิ เติบโตของพืช เชน่ ออกซนิ จิบเบอ
เรลลิน ไซโตไตนนิ วติ ามนิ บี 12 และกรดแอสคอบกิ เปน็ ตน้
5. บทบาทของจลุ ินทรีย์ในการช่วยใหพ้ ืชสามารถดดู ธาตอุ าหารได้มากขึน้
จุลินทรีย์บางชนิด ไดแ้ ก่ เชอื้ ราไมคอรไ์ รซ่าชว่ ยใหพ้ ืชสามารถดดู ธาตุอาหารไดม้ ากขึ้น
โดยการสรา้ งเส้นใยห่อหมุ้ บริเวณรากพชื ทาใหร้ ากพืชมโี อกาสสัมผสั กบั ธาตอุ าหารมากขึน้ จึงทาให้พชื
ดดู ธาตอุ าหารได้มากขึน้
6. บทบาทของจุลินทรยี ์ในการป้องกันกาจัดศัตรูพืช
6.1 จลุ นิ ทรยี ์บางชนิดสามารถทาให้แมลงศัตรพู ชื เกิดโรค จนกระทัง่ ออ่ นแอและตายใน
ทส่ี ดุ เช่น เชื้อราเมทาไรเซยี ม เช้ือราบวิ เวอเรีย และไส้เดอื นฝอย เปน็ ตน้
6.2 จุลนิ ทรยี บ์ างชนดิ สามารถสร้างปฏชิ วี นสารออกมาทาลายเชอ้ื โรคพืช หรอื มีการ
เจริญของเสน้ ใยแขง่ ขันกบั เชือ้ โรคพืช แยง่ สารอาหารท่ีจาเปน็ จนเช้อื โรคไมส่ ามารถเจริญได้ เช่น เช้ือ
ราไตรโคเดอรม์ า และเชือ้ แบคทีเรียสกลุ บาซิลลัส เป็นต้น

30

6.3 จุลนิ ทรยี ์ทเ่ี ป็นสาเหตโุ รคพชื ในพืชเศรษฐกจิ สามารถทาให้วัชพชื เกิดโรคได้
เชน่ เดียวกัน เช่น เช้อื ราสกุลคอลเลทโททรกิ ุ้ม และเช้อื ราสกุลไฟทอฟทอรา เปน็ ต้น

7. บทบาทของจลุ ินทรยี ์ในการยอ่ ยสลายสารพิษในดนิ

จลุ นิ ทรียบ์ างชนิดสามารถย่อยสลายสารพิษทีเ่ กิดจากการใช้สารเคมที างการเกษตรที่
ตกคา้ งอยู่ในดิน เช่น แบคทเี รียสกลุ ซูโดโมแนส สามารถย่อยสลายสารกาจัดวัชพชื ใบกว้างพวกอาทรา
ซนี ที่ตกคา้ งในดินใหก้ ลายเป็นก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ และแอมโมเนยี

สรุป

จุลนิ ทรีย์เป็นส่งิ มีชีวิตขนาดเลก็ ไมส่ ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า ถกู ค้นพบคร้ังแรกโดยแอนโทนี
แวน ลเี วนฮคุ สามารถจาแนกตามขนาด รูปรา่ ง และคุณสมบตั อิ ่ืน ๆ ได้ 6 กลุม่ คอื แบคทีเรีย เช้อื รา
สาหรา่ ย แอกตโิ นไมซีท โพรโทซัว และไวรัส

การนาจุลินทรียม์ าใช้ในการผลิตเป็นสารชวี ภาพในงานผลิตพชื ในปจั จุบนั ถูกนามาใชป้ ระโยชน์เพือ่
ผลิตเป็นปุ๋ยชวี ภาพและป๋ยุ อินทรยี ์ ใช้สาหรบั ปอ้ งกันกาจดั ศัตรูพืช เชน่ โรคพชื แมลงศตั รพู ชื และวัชพชื โดย
จลุ ินทรีย์เหลา่ นีจ้ ะมบี ทบาทสาคัญในการเพมิ่ ธาตุไนโตรเจนใหแ้ ก่ดนิ ชว่ ยใหฟ้ อสฟอรัสและธาตอุ าหารชนิดอื่น
อยูใ่ นรูปทพี่ ืชสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ชว่ ยใหพ้ ชื สามารถดดู นา้ และธาตุอาหารไดม้ ากขึ้นทาใหพ้ ืชทนแล้ง
และเจริญเติบโตได้ดี นอกจากนจี้ ลุ นิ ทรีย์บางชนิดยงั มบี ทบาทในการชว่ ยกาจัดศตั รพู ชื อกี ด้วย

แบบฝึกหดั ท้ายบท

จงตอบคาถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ ง (30 คะแนน) กิจกรรมสร้างสรรค์

1. จงบอกประวตั ิการค้นพบจลุ ินทรยี ์โดยสงั เขป (3 คะแนน) ๆ ทาแผนทคี่ วามคิดและแบบฝกึ หดั
2. การจาแนกประเภทของจุลนิ ทรยี ต์ ามขนาดรปู ร่างและคณุ สมบตั ิอืน่
ทสา้ ายมบาทรดถ้วยจคา่ะแนก

จุลินทรีย์เป็นกีก่ ลมุ่ อะไรบา้ ง (3 คะแนน)

3. จลุ ินทรียท์ ีจ่ ัดเป็นปยุ๋ ชวี ภาพ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มอะไรบา้ ง (3 คะแนน)

4. จุลนิ ทรยี ช์ นิดใดสามารถตรงึ ไนโตรเจนได้ บอกมา 3 ชนดิ (3 คะแนน)

5. จุลินทรียช์ นดิ ใดทีส่ ามารถละลายฟอสเฟตทมี่ อี ยใู่ นดนิ ได้ กต็ ่อเมอื่ ต้องอยอู่ าศยั กับพืชอ่ืน (1

คะแนน)

6. ในกองปยุ๋ หมักเรามกั พบจลุ ินทรยี ์ชนดิ ใด (1 คะแนน)
7. จลุ ินทรีย์ชนิดใดในกลุ่มต่อไปน้ี ทน่ี ิยมนามาผลติ เปน็ ชวี ภณั ฑส์ าหรบั กาจัดแมลงศตั รูพชื (5

คะแนน)
7.1 ไวรัส
7.2 แบคทเี รยี

7.3 เช้ือรา
7.4 โพรโทซัว

7.5 ไส้เดือนฝอย
8. จุลนิ ทรียช์ นิดใดในกลมุ่ ตอ่ ไปนี้ ท่ีนิยมนามาผลติ เปน็ ชวี ภัณฑ์สาหรับกาจัดโรคพชื (2
คะแนน)

8.1 แบคทีเรีย

31

8.2 เช้อื รา
9. จุลนิ ทรียช์ นดิ ใด ท่นี ยิ มนามาผลิตเป็นชีวภณั ฑ์สาหรบั กาจัดวชั พืช ตอบมา 2 ชนิด (2
คะแนน)
10. จลุ นิ ทรยี ท์ ี่เก่ียวข้องกบั การผลิตสารชวี ภาพมบี ทบาทอยา่ งไรบา้ ง พร้อมยกตวั อย่างชนดิ ของ
จลุ ินทรีย์ที่แสดงบทบาทนั้น (7 คะแนน)

บรรณานกุ รม

กรมวชิ าการเกษต.ร 2545. ปุ๋ยชวี ภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไ.ทย

. 2548 ก. ป๋ยุ ชีวภาพและผลิตภัณฑ์ป๋ยุ ชวี ภา.พกรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จาก.ัด

. 2548 ข. พษิ และกลไกการออกฤทธข์ิ องวัตถมุ พี ิษเกษตร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

กรรณิการ์ สจั จาพันธ์ และ ยงยทุ ธ โอสถสภา. 2550. เทคโนโลยชี วี ภาพเพอื่ การพฒั นา
ทรัพยากรดิน. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. 2555. ชวี วิทยา 1. กรุงเทพฯ: มูลนธิ ิ
ส่งเสรมิ โอลมิ ปกิ วิชาการและพฒั นามาตรฐานวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา โดยพระอุปถมั ภส์ มเด็จพระ
เจา้ พีน่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยานวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์.

ธงชยั มาลา. 2546. ปุย๋ อินทรียแ์ ละปุ๋ยชวี ภาพ : เทคนิคการผลติ และการใช้ประโยชน์.
กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวชั ชยั สมุ่ ประดิษฐ์. ม.ป.ป. บทที่ 3 ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลนิ ทรีย์. แหลง่ ทมี่ า:
http://www.sci.nu.ac.th/Biology/Biodiversity, 15 ตลุ าคม 2558.

นนั ทกร บุญเกดิ . 2534. "ปยุ๋ ชีวภาพในระบบเกษตรย่ังยืน." เกษตรยั่งยนื . กรมวชิ าการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 108-124.

. 2551. "การวิจยั การผลติ และการใชป้ ยุ๋ ชวี ภาพในประเทศเพ่ือนบา้ น." วารสารดนิ และ
ปุ๋ย. 30 (2): 109-112.

พงศเ์ ทพ อนั ตะริกานนท์. 2544 ก. “การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพ่อื เพิม่ คณุ ภาพปุ๋ยหนิ ฟอสเฟต.”
วิทยาศาสตร์สาหรับเยาวชน เลม่ 11 เทคโนโลยีชวี ภาพใกลต้ วั (2). กรุงเทพฯ: บริษัท
ซีเอ็ดยูเคช่ัน จากัด (มหาชน), 6-8.

. 2544 ข. “ไบโอฟอสก้า.” วิทยาศาสตร์สาหรับเยาวชน เลม่ 11 เทคโนโลยชี ีวภาพ
ใกล้ตัว(2). กรุงเทพฯ: บริษทั ซีเอด็ ยเู คชน่ั จากดั (มหาชน), 9-10.

และ ประเสริฐ อะมะรติ . 2544. “เสรมิ คุณภาพเพิม่ ผลผลิตด้วยปุ๋ยชวี ภาพ.”
วิทยาศาสตรส์ าหรับเยาวชน เล่ม 11 เทคโนโลยีชวี ภาพใกลต้ ัว (2). กรุงเทพฯ: บรษิ ัทซี
เอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน), 11-16.

พมิ พ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนธิ ิยา รตั นาปนนท์. ม.ป.ป. รา. แหลง่ ท่ีมา:
http://www.foodnetworksolution.com/wiki, 15 มนี าคม 2558

32

ภาวนา ลิกขนานนท์ วิทยา ธนานสุ นธิ์ และ สุปรานี มั่นหมาย. 2549. ผลติ ภัณฑห์ วั เช้อื จลุ ินทรีย์
ย่อยสลายวัสดอุ นิ ทรีย์ทาปยุ๋ หมัก ป๋ยุ อินทรยี น์ ้าและป๋ยุ อินทรยี น์ า้ หมัก. กลุ่มงานวจิ ยั
จุลนิ ทรียด์ ิน กรมวิชาการเกษตร.

ภาควชิ าจุลชวี วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 2554. จลุ ชีววทิ ยาปฏิบัติการ. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั
เจา้ พระยาระบบพมิ พ์ จากัด.

ศภุ มาศ พนิชศกั ดพิ์ ฒั นา. 2529. จุลชวี วิทยาของดินเพ่ือผลติ ผลทางการเกษตร. คณะเกษตร
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.). 2557. วฎั จกั รสารในระบบนิเวศ.
แหลง่ ที่มา: http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/2410, 21
มนี าคม 2558.

. 2554. หนังสอื เรยี นเพมิ่ เตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5-6. กรงุ เทพฯ:
ศกึ ษาภัณฑ์พาณชิ ย์.

สายพณิ ไชยนันทน์. 2547. จลุ ินทรียด์ นิ . ภาควิชาจลุ ชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี.

สุดฤดี ประเทืองวงศ์ และ คณะ. 2542. เทคโนโลยีการเพม่ิ ผลผลิตและคณุ ภาพสบั ปะรดในสวน
ยางพารา. กรุงเทพฯ: เอ พลัส มเี ดยี .

สดุ ใจ เกตเุ ดชา. 2551. สารชีวภาพในงานผลติ พชื . เพชรบูรณ์: โรงพิมพ์ ดดี ี การพิมพ์.

สบุ ณั ฑติ า น่ิมรตั น์. 2549. จลุ ชวี วทิ ยาทางดิน. กรงุ เทพ ฯ: โอเดียนสโตร์.

สภุ าลัย ไชยสตุ . 2551. พันธศุ าสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

อตนิ ุช แซ่จิว, จนั ทรจ์ รัส วีรสาร และ ชวนพิศ อรณุ รงั สกิ ลุ . 2548. “มารู้จักป๋ยุ อินทรีย์ และปุ๋ย
ชีวภาพกนั เถอะ.” วารสารข่าวศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั และเรือนปลูกพชื ทดลอง. 19 (1): 14-
19.

ออมทรัพย์ นพอมรบดี. 2545. "ปุ๋ยชวี ภาพกบั การจัดการดนิ และปุย๋ ." เอกสารวชิ าการ ปุย๋
ชวี ภาพ. พิมพ์คร้งั ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
1-22.

, จริ ะศักด์ิ อรุณศรี, และ ประยรู สวัสดี. 2536. "การปรับปรุงบารงุ ดินโดยปุ๋ยชีวภาพ."
เกษตรย่ังยืน : อนาคตของการเกษตรไทย เอกสารวิชาการ ประจาปี 2536. กรมวิชาการ
เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 131-176.

อาณัฐ ตนั โช. 2551. เกษตรธรรมชาติประยกุ ต์ : หลกั การ แนวคิด เทคนิคปฏบิ ตั ใิ นประเทศไทย.
พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. ปทุมธานี: สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ.

อาภารตั น์ มหาขันธ์. 2544 ก. “การตรงึ ไนโตรเจน.” วิทยาศาสตร์สาหรบั เยาวชน เลม่ 11
เทคโนโลยชี วี ภาพใกล้ตัว (2). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ซเี อด็ ยูเคชนั่ จากดั (มหาชน), 17-18.

33

. 2544 ข. “ปุ๋ยชีวภาพจากสาหรา่ ยสนี า้ เงนิ แกมเขยี ว.” วทิ ยาศาสตร์สาหรบั เยาวชน
เลม่ 11 เทคโนโลยีชีวภาพใกลต้ ัว (2). กรงุ เทพฯ: บริษทั ซเี อ็ดยเู คชน่ั จากัด (มหาชน),
19-22.

. 2544 ค. “การผลิตป๋ยุ ชวี ภาพจากสาหร่ายในประเทศไทย”. วิทยาศาสตรส์ าหรบั
เยาวชน เล่ม 11 เทคโนโลยชี ีวภาพใกลต้ ัว(2). กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ซเี อ็ดยเู คชนั่ จากัด
(มหาชน), 23-25.

อานาจ สุวรรณฤทธ์ิ. 2551. ปุ๋ยกบั การเกษตรและส่งิ แวดลอ้ ม. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรุงเทพ:
สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

Chris M. Yeager et al. 2007. Three distinct clades of cultured heterocystous
cyanobacteria constitute the dominant N2-fixing members of biological
soil crusts of the Colorado Plateau. แหลง่ ท่ีมา:
http://femsec.oxfordjournals.org/content/60/1/85, 15 มนี าคม 2558

Krempels Dana M.. 2009: GENERAL BOTANY - BIL 226. แหล่งทมี่ า:
http://www.bio.miami.edu/dana/226/226F08_22print.html, 25 October 2115


Click to View FlipBook Version