การอบรมเชิงปฏิบตั ิการขบั เคลื่อน 6 มิติคณุ ภาพสู่การ
สรุปผล ปฏิบตั ิ ระดบั ปฐมวยั และการทบทวนการจดั การเรียนรู้
ตามแนวคิดไฮสโคป (High Scope)
นางสุนีย์ อุทุมทอง
นางฐิตินันท์ อุปการ
กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
สานกั งานเขตพ้ ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2
คำนำ
กำรดำเนินงำนกำรอบรมเชงิ ปฏิบตั ิกำรรบั เคล่ือน 6 มิติ
คณุ ภำพสกู่ ำรปฏิบัติ ระดับปฐมวยั ทบทวนกำรจัดกำรเรยี นรูต้ ำม
แนวคิดไฮสโคป (High Scope) และ PLC ครูปฐมวยั ปีกำรศึกษำ
2565 เพอ่ื พฒั นำกำรศึกษำปฐมวยั โรงเรยี นในสังกัด สำนักงำน
เขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำอุดรธำนี เขต 2 ดำเนินกำรโดยใช้
กล่มุ เครอื ขำ่ ยเป็นฐำน ซึ่ง แบ่งกล่มุ ผเู้ ขำ้ รบั กำรอบรมเปน็ 8 กล่มุ
นำโดย นำงสุนีย์ อุทุมทอง และ นำงฐติ ินันท์ อุปกำร ศกึ ษำนิเทศก์
ผู้รบั ผิดชอบ ดังนี้
1. กล่มุ อำเภอกมุ ภวำปี โซน 1
2. กล่มุ อำเภอกมุ ภวำปี โซน 2
3. กล่มุ อำเภอกมุ ภวำปี โซน 3
4. กล่มุ อำเภอวงั สำมหมอ
5. กล่มุ อำเภอศรธี ำตุ
6. กล่มุ อำเภอโนนสะอำด
7. กล่มุ อำเภอหนองแสง
8. กล่มุ อำเภอประจักษ์ศลิ ปำคม
กำรดำเนินกำรโดยครูแกนนำแต่ละกล่มุ เครอื ข่ำยจัดกิจกรรม
กำรเรยี นรูต้ ำมแนวคิดไฮสโคปเต็มรูปแบบ คณะผ้รู ว่ มอบรม
สังเกตกำรณ์ตลอดระยะเวลำจัดกำรสอน ถอดบทเรยี น จำกน้ัน
รว่ มกิจกรรม PLC เพื่อถอดบทเรยี นจำกกำรดำเนินงำนในปที ี่ผำ่ น
มำ ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพฒั นำในปีกำรศึกษำ
2565
จำกกำรดำเนินงำนดังกล่ำวได้สรุปเปน็ เอกสำรเพอื่ ให้เปน็
แนวทำงในกำรปฏิบัติงำนของครูปฐมวยั ต่อไป และขอขอบคณุ
คณะกรรมกำรขบั เคล่ือน คณะผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ คณะครู
ปฐมวัยทุกคน ท่ีมงุ่ ม่ัน เสยี สละ ในกำรพัฒนำกำรศึกษำปฐมวยั ให้
ประสบผลสำเรจ็
กล่มุ นิเทศ ติดตำมและประเมนิ ผลกำรจัดกำรศึกษำ
สำนักงำนเขตพ้นื ท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำอุดรธำนี เขต 2
การดาเนินการ ขบั เคลื่อน 6 มิติคณุ ภาพสูก่ ารปฏิบตั ิ ระดบั ปฐมวยั และทบทวน
การจดั กิจกรรมตามแนวคิดไฮสโคป (High Scop) โดยใชก้ ลมุ่ เครือข่ายเป็ นฐาน
ดาเนินการดงั น้ ี
1. เขตพ้ นื ที่การศึกษา แจง้ แนวดาเนินการขบั เคล่ือนจุดเนน้ การพฒั นาการศึกษาปฐมวยั
ปี การศึกษา 2565 กลุม่ เป้าหมายคือ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครผู ูส้ อนปฐมวยั ทุกคน
2. กลุ่มเครือขา่ ยโรงเรียน กาหนดสถานที่อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ โดยรวมกนั จดั เป็ นกลุ่มโนน 8 โนน
แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินงาน เชน่ วิทยากรอบรม
3. ครูท่ีเป็ นวทิ ยากรมาจากครแู กนนาในการขบั เคลื่อนแต่ละกลุ่มเครือขา่ ย
4. ผูบ้ ริหารและครูสงั เกตการจดั กิจกรรมของโรงเรียน ต้งั แต่กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมเคลื่อนไหว
และจงั หวะ การเตรียมเด็กในหอ้ งเรียน
5. ครวู ิทยากร ดาเนินการจดั กิจกรรมการสอนตามแนวคิดไฮสโคป (High Scope) เต็มรูปแบบต้งั แต่
>การจดั กิจกรรมกลุ่มใหญ่
> Plan : วางแผนเขา้ มุมเป็ นกลุม่ ยอ่ ยทีละคน
> Do : ปฏิบตั ิกิจกรรมตามมุม ตามแผนท่ีวางไว้
> Review : ทบทวน นาเสนอการปฏิบตั ิกิจกรรมแตล่ ะมุม
ครูสรุปการจดั กิจกรรมทา้ ยชวั่ โมง
6. ผูบ้ ริหารและครูท่ีรว่ มสงั เกตการจดั ประสบการณ์ รว่ มสะทอ้ นผลการจดั กิจกรรม เสนอแนะ
เพื่อการพฒั นา
7. PLC ครปู ฐมวยั เพ่อื สะทอ้ นปัญหาการดาเนินงานในปี 2564 และแนวทางในการขบั เคล่ือน
การศึกษาใน ปี การศึกษา 2565
8. กลุม่ เครือขา่ ย สรุป รายงานผลการดาเนินงาน
9. เขตพ้ นื ท่ีกาหนดปฏิทิน นิเทศ ติดตาม โดยใชห้ อ้ งเรียนเป็ นฐาน
ถอดบทเรยี น
สรปุ ผลการสงั เกตชนั้ เรยี น : ) หอ้ งเรยี นอนบาล 2 และ 3 พบว่า
กิจกรรมกลม่ ุ ใหญ่ : ครสู รา้ งขอ้ ตกลงกบั เด็กกอ่ นการวางแผนในเรอื่ ง สญั ลกั ษณ์
ประจาตวั เด็กแต่ละคน กาหนดเวลา กติการการเขา้ มมุ และการทบทวนผลงาน
ของเด็ก
Plan ; ครทู กุ โรงเรยี น วางแผนกบั แด็ก กลม่ ุ ท่ีรว่ มวางแผนกบั คร ูบนั ทึกการวางแผน
ของเด็กแต่ละคน
; เด็กกลม่ ุ อื่น วางแผนเองทีละคนจนครบทกุ คน โดยติดสญั ลกั ษณข์ องตนเอง
ในตาราง PDR ตามมมุ ท่ีครเู ตรียมไว้
; เม่ือเด็กวางแผนครบทกุ คน ทกุ มมุ แลว้ ครใู หส้ ญั ญาณ เด็กเขา้ มมุ ปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม ตามแผนที่วางไว้
Do ; เด็กปฏิบตั ิกิจกรรมตามมมุ ท่ีวางแผนไวต้ ามลาดบั
; ครสู งั เกตเด็กแต่ละมมุ ซกั ถามการปฏบิ ตั ิกิจกรรม จดบนั ทึกกิจกรรม
จนครบทกุ คน
; เม่ือหมดเวลา ตามที่กาหนด ครใู หส้ ญั ญาณเวลา
; เด็กเก็บของเขา้ ที่ บ มมุ ไปตามที่วางแผน จนครบทกุ มมุ
; เมื่อเด็กเขา้ มมุ ครบทกุ และเก็บสญั ลกั ษณเ์ ขา้ กลอ่ งสว่ นตวั เรยี บรอ้ ยทกุ คน
Review ; ครรู วมกลม่ ุ เด็กเตรยี มการนาเสนอผลงานของเด็กกลม่ ุ ที่รว่ มวางแผนกบั คร ู
; เด็กที่รว่ มวางแผนกบั คร ูเลา่ ใหค้ รแู ละเพื่อนๆฟังว่า วางแผนเลน่ ตามมมุ
กี่มมุ มมุ ใดบา้ ง และชอบมมุ ใดมาที่สดุ
; เด็กๆ เลือกมมุ ที่ชอบท่ีสดุ เลา่ เก่ียวกบั ผลงานท่ีปฏิบตั ิใหเ้ พ่ือน ๆ ฟัง
; ครู จดบนั ทึกในสงิ่ ที่เด็กๆ เลา่ และซกั ถาม กระตนุ้ คิด
1. เขา้ มมุ ใดบา้ ง
2. เขา้ ไปทาอะไรในมมุ นน้ั
3. ทาไมจึงทาสิง่ นนั้
4. ถา้ อยากเพิ่มเติมจะทาอะไรเพิ่มอีก
; เพื่อนๆ รว่ มกนั ซกั ถาม เพ่ิมเติม
; ครสู รปุ การปฏบิ ตั ิกิจกรรม เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี นกิจกรรมตอ่ ไป
ขอ้ เสนอแนะ ; ครคู วรตง้ั คาถามกระตนุ้ การคิดขนั้ สงู
; ครคู วรใจเยน็ โดยเวน้ ระยะเวลาใหเ้ ด็กคิดกอ่ นตอบ ไมค่ วรเรง่ รดั คาตอบ
จากเด็ก
; ครคู วรเตรียมสอ่ื ในแต่ละมมุ ใหเ้ พียงพอกบั เด็ก
สรุปผลการPLC
ปัญหาท่พี บ : ) เด็ก แนวทางการแกไ้ ข : ) ครู
1. เด็กสมาธิส้นั 1. เกมการศึกษา
2. เด็กไมก่ ลา้ แสดงออก 2. ฝึกใหเ้ ด็กนาเสนอผลงาน
3. เด็กมภี าวะถดถอยทางพฒั นาการ 3. กระตุน้ โดยใชเ้ พลง เกม ท่ีหลากหลาย
4. เด็กขาดวนิ ัย เก็บของไมเ่ ป็ นที่ 4. สญั ลกั ษณส์ ่ิงของ กระตุน้ ใหเ้ ด็กเก็บ
สิ่งของท่ีนามาใชแ้ ลว้ กลบั ท่ีเดิม
ปัญหาทพ่ี บ : ) ครู แนวทางการแกไ้ ข : )ครู ผูบ้ ริหาร
1. ไมต่ รงวุฒิ 1. ครูศึกษาความรเู้ พิ่มเติม ศึกษาดงู าน
2. ไมม่ ีประสบการณ์ 2. ผูบ้ ริหาร สงั เกต ช้ ีแนะ
3. ไมช่ ดั เจนหลกั สูตร 3. ศึกษาหลกั สูตรฯใหช้ ดั เจน ลึกน้ ึง
4. ภารงานมาก ขาดงบประมาณ 4. ผูบ้ ริหารควรจดั ใหค้ รผู ูส้ อนอนุบาลมเี วลา
อยกู่ บั เด็กใหม้ ากที่สุด
ปัญหาท่พี บ : ) ผูบ้ ริหาร แนวทางการแกไ้ ข : )เขตพ้ ืนที่
1. ไมเ่ ขา้ ใจการศึกษาปฐมวยั 1. ทาความเขา้ ใจกบั ผูบ้ ริหารเก่ียวกบั
2. ไมเ่ ขา้ ใจหลกั สตู รฯ หลกั สูตรฯ
3. ไมน่ ิเทศอยา่ งเป็ นรปู ธรรม 2. สง่ เสริมสนับสนุนการจดั การศึกษาฯ
4. ขาดงบประมาณ 3. นิเทศ ติดตาม อยา่ งต่อเนื่อง
ปัญหาท่ีพบ : ) ผูป้ กครอง ปัญหาทพี่ บ : ) โรงเรียน
1. คาดหวงั ใหเ้ ด็กอา่ นออก เขียนได้ 1. ประชุมผูป้ กครองเพ่ือทาความเขา้ ใจ
2. ปลอ่ ยใหเ้ ด็กเลน่ โทรศพั ท์ 2. ครพู ดู คุยกบั ผูป้ กครองเด็กรายคน
3. รกั ลกู มากเกินไป ไมย่ อมใหเ้ ด็กชว่ ยเหลือ 3. ผูบ้ ริหาร ครู PLC เพ่ือแกป้ ัญหาร่วมกนั
ตนเอง
สรุ ปผลการดาเนิ นงาน
การดาเนิ นงาน อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการขับเคล่อื น 6 มิตคิ ุณภาพ
สู่การปฏบิ ตั ิ ระดบั ปฐมวยั ,ทบทวนการจัดกิจกรรมตามแนวคิด
ไฮสโคปและ PLC ปีการศึกษา 2565 ดาเนิ นการครบตามกาหนด
ระยะเวลา โดยสรุปการดาเนิ นงาน ดังน้ี
ดา้ นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
1. มคี วามเข้าใจเก่ยี วกับการจดั การศึกษาและหลักสตู รการศึกษา
ปฐมวัยมากข้ึน
2. มคี วามชดั เจนเกี่ยวกับการจัดมมุ ประสบการณ์ การจัดหา สื่อ
อุปกรณ์การสอนระดบั ปฐมวัยมากข้ึน
3. มคี วามเข้าใจจดั กจิ กรรมตามแนวคิดไฮสโคปมากข้ึน
4. มคี วามพึงพอใจเกีย่ วกับการจดั กิจกรรม ระดบั มาก
5. พรอ้ มนิ เทศ ชน้ั เรยี นอยา่ งเป็นรูปธรรม
ดา้ นครูผสู้ อนปฐมวยั
1. สามารถนาหลักสูตรสถานศึกษาบรู ณาการสู่การปฏบิ ตั ิในชน้ั
เรยี นได้
2. ครูมีความเข้าใจการจัดกิจกรรมตามแนวคิดไฮสโคปมากข้ึน
3. ครูมคี วามชดั เจนเกี่ยวกบั การจดั มมุ ประสบการณ์ตาม
หลักสูตรฯกาหนด และจัดมุมไดเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของโรงเรยี น
4. ครูมคี วามพรอ้ มในการจัดกจิ กรรมในชน้ั เรยี น
5. ครูมีความพรอ้ มรบั การนิ เทศชน้ั เรยี น อย่างเป็นรูปธรรม
นวัตกรรมทส่ี ามารถนาไปแกป้ ญั หาได้ คือ
“ การจดั การเรยี นรูต้ ามแนวคดิ ไฮสโคป (High Scope)”
ภาระงานตอ่ ไป >>นัดหมาย
“นิเทศตดิ ตามเชงิ รุก โดยใชห้ ้องเรยี นเปน็ ฐาน”