The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานลูกประคบสมุนไพร-ม.5.4 เลขที่ 34

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sasiparphafaikhao99, 2021-03-22 12:10:56

โครงงานลูกประคบสมุนไพร-ม.5.4 เลขที่ 34

โครงงานลูกประคบสมุนไพร-ม.5.4 เลขที่ 34

โครงงาน
เรอ่ื ง ลูกประคบสมนุ ไพร

จัดทำโดย

นางสาวศศปิ ระภา ฝา้ ยขาว เลขท่ี 34
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/4

เสนอ
คุณครูวนิดา บญุ พเิ ชฐวงศ์

โรงเรยี นสตรีราชินูทศิ จงั หวัดอดุ รธานี
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 20

ชือ่ เร่อื ง ลูกประคบสมนุ ไพร ชัน้ ม.5/4 เลขที่ 34
ผู้ศกึ ษาคน้ คว้า นางสาวศศปิ ระภา ฝ้ายขาว
ครูทปี่ รกึ ษาโครงงาน คณุ ครูวนิดา บญุ พเิ ชฐวงศ์
ปีการศกึ ษา 2563

บทคัดย่อ

ในปจั จุบนั คนไทยนยิ มนำสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น นำมาหั่นให้มีขนาดเลก็ ลง หรอื นำมาบด
เป็นผง สมนุ ไพรนอกจากจะนำมาใช้ประโยชนเ์ ปน็ ยารกั ษาโรคแลว้ ยงั สามารถนำมาใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นอน่ื ๆ
อีก เช่น นำมาบรโิ ภคเปน็ อาหาร อาหารเสริมสขุ ภาพ เคร่ืองดม่ื สผี สมอาหาร และสีย้อม ตลอดจนใช้ทำ
เครื่องสำอางอีกดว้ ยสมุนไพร

สมุนไพรน้ันลว้ นมสี รรพคุณมากมาย หลายด้าน สามารถนำมาใชร้ ักษาโรคไดห้ ลายรูปแบบแต่ก็ควร
คำนึงถงึ ความปลอดภยั ในการใชส้ มนุ ไพร ต้องรจู้ ักสรรพคณุ ของสมนุ ไพรแต่ละชนดิ ถึงจะใช้สมนุ พรใหม้ ี
ประสิทธิภาพ

การรกั ษาโรคดว้ ยสมนุ ไพรนั้น ยกตวั อยา่ ง เช่น การใชล้ ูกประคบสมนุ ไพร เพือ่ ผ่อนคลายกล้ามเนือ้
บรรเทาอาการปวดเม่ือยเหมาะสมสำหรับทกุ เพศทุกวัย

กติ ติกรรมประกาศ

การศกึ ษาค้นควา้ IS3 เร่ือง ลูกประคบสมุนไพร สำเรจ็ ไดด้ ้วยความกรณุ าจากคุณครูที่ให้คำแนะนำ
ปรึกษา ใหค้ วามรู้ แก้ไขข้อบกพร่องตา่ งๆ และคุณยายที่ให้สอนวธิ กี ารทำลกู ประคบสมนุ ไพร จนการศึกษา
คน้ ควา้ เสรจ็ สมบรู ณ์

คณะผูจ้ ัดทำขอขอบพระคุณครทู ี่ปรกึ ษา คุณยาย ทใ่ี ห้ความช่วยเหลอื ให้ความรู้ คำแนะนำ
คำปรกึ ษาตลอดจนการตรวจแก้ไขข้อบกพร่องตา่ งๆเปน็ อย่างดี

นางสาวศศิประภา ฝ้ายขาว

บทท่ี 1

บทนำ

ทม่ี าและความสำคัญ

ในปัจจุบนั คนไทยนิยมนำสมุนไพรมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น นำมาหั่นให้มขี นาดเล็กลง หรือนำมาบด
เป็นผง สมุนไพรนอกจากจะนำมาใช้ประโยชนเ์ ปน็ ยารกั ษาโรคแลว้ ยังสามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ทางดา้ นอน่ื ๆ
อกี เชน่ นำมาบรโิ ภคเปน็ อาหาร อาหารเสรมิ สุขภาพ เคร่ืองด่มื สีผสมอาหาร และสยี ้อม ตลอดจนใชท้ ำ
เครอ่ื งสำอางอีกด้วยสมนุ ไพร

สมนุ ไพรนนั้ ลว้ นมสี รรพคณุ มากมาย หลายด้าน สามารถนำมาใช้รักษาโรคได้หลายรปู แบบแตก่ ค็ วร
คำนงึ ถึงความปลอดภัยในการใชส้ มุนไพร ต้องร้จู กั สรรพคณุ ของสมนุ ไพรแต่ละชนดิ ถึงจะใชส้ มุนพรใหม้ ี
ประสิทธิภาพ

การรกั ษาโรคด้วยสมนุ ไพรนน้ั ยกตวั อย่าง เชน่ การใชล้ กู ประคบสมนุ ไพร เพือ่ ผ่อนคลายกลา้ มเนอื้
บรรเทาอาการปวดเมื่อยเหมาะสมสำหรับทกุ เพศทกุ วยั

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1. เพือ่ ศึกษาการรักษาโรคดว้ ยสมุนไพรในธรรมชาติ
2. เพื่อศึกษาว่านำสมนุ ไพรมาทำลูกประคบรักษาโรคได้

สมมติฐานการศึกษา

สมุนไพรเป็นพืชท่ีมีอยู่มากในธรรมชาตแิ ละสามารถนำมารักษาโรคได้จริง

ขอบเขตของการศกึ ษา

1. คน้ หาและศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกับสมุนไพรรักษาโรค
2. การทำลูกประคบรักษาโรค

วิธกี ารดำเนินงาน วนั เดือน ปี ผ้รู ับผดิ ชอบ
3 มกราคม พ.ศ. 2564 นางสาวจริ ชั ญา ศรศิลป์
ข้นั ตอนการดาเนินงาน 11 มกราคม พ.ศ. 2564 นางสาวเกวลิน นคิ ม
1. จดั กลุม่ และแบ่งกลุ่ม 27 มกราคม พ.ศ. 2564 นางสาวศศปิ ระภา ฝ้ายขาว
2. นำเสนอเคำ้ โครงเร่ือง 10 มนี าคม พ.ศ. 2564 นางสาวณฐั กานต์ ประทุมพงษ์
3. ส่งเคำ้ โครงเรื่อง นางสาวจริ ชั ญา ศรศิลป์
4. แกแ้ ละปรับปรุงเคำ้ โครงเรื่อง

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รับ

1. รู้จักสมนุ ไพรทนี่ ำมารักษาโรคมากข้นึ
2. สามารถนำสมุนไพรที่ศกึ ษาไปใช้ไดใ้ นชวี ิตประจำวันได้
3. นำลูกประคบไปใชร้ กั ษาอาการต่างๆ เช่น ปวดเม่ือย

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง

ในการดำเนินโครงงานเร่อื งลูกประคบสมนุ ไพร นผ้ี ู้จัดทำไดศ้ กึ ษาค้นควา้ เอกสารและงานวจิ ัยที่
เกยี่ วขอ้ ง เพ่ือให้สามารถจัดทำโครงงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ ไปได้ดว้ ยดี โดยทำการศึกษาคน้ ควา้
เอกสารและทฤษฏีทเ่ี ก่ียวข้องดังหัวข้อต่อไปนี้

1. ความหมายของสมุนไพร
2. ประโยชน์ของพชื สมนุ ไพร
3. ความหมายของลูกประคบ
4. ข้อควรระวงั ในการใชล้ กู ประคบสมนุ ไพร

1.ความหมายของสมุนไพร

สมุนไพร แมจ้ ะเป็นส่ิงท่มี าจากธรรมชาติ แต่ไม่ได้หมายความวา่ จะไมม่ ีอันตรายร้ายแรงเกิดขึ้น
เพราะทส่ี ุดแล้วหากใชไ้ ม่ถูกต้อง ใช้ไม่ถกู กับอาการ ไมถ่ ูกกับโรค ปริมาณขนาดที่ใชไ้ ม่เหมาะสมหรือใชก้ ับผู้ท่ี
แพ้สมนุ ไพรบางชนดิ กอ็ าจเกิดอันตรายที่คาดไมถ่ งึ ไดเ้ ช่นกัน ดงั น้ันจงึ เป็นความจำเปน็ อยา่ งย่งิ สำหรับผู้ท่ี
ต้องการใชส้ มุนไพรบำบัดโรค จะต้องศกึ ษาหาความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรนั้น ๆ กอ่ นทกุ ครัง้ เพอ่ื ป้องกนั
อนั ตรายท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น นอกจากน้นั การนำสมุนไพรมาใช้เปน็ ยา ยังต้องคำนึงถึงรายละเอยี ด อ่ืนๆอกี ด้วย
เช่น ธรรมชาตขิ องสมุนไพรแตล่ ะชนดิ สายพนั ธ์ุ สภาวะแวดลอ้ มในการปลกู ฤดูกาลและชว่ งเวลาเกบ็ ซึง่ ส่ิง
ตา่ ง ๆ เหลา่ นเ้ี ปน็ ปัจจัยสำคัญต่อการออกฤทธิ์ในการรักษาโรค ซ่งึ หากทำไม่ถูกต้องตามหลกั วิชาการ คณุ ภาพ
ของยาสมุนไพรนัน้ ๆ ก็จะดอ้ ยประสทิ ธภิ าพ ดังนัน้ ถ้าต้องการใชส้ มนุ ไพรอย่างใหไ้ ด้ผลดที ่สี ดุ กต็ ้องใชอ้ ย่างมี
ความรู้ โดยยึดหลักดังต่อไปนี้ (หลกั การใชย้ า, สมาคมเภสชั และอายรุ เวชโบราณแหง่ ประเทศไทย) คือ

1. ใช้ให้ถูกตน้ สมุนไพรสว่ นใหญม่ ชี ื่อพ้องหรือซำ้ กนั มากแลว้ แตล่ ะท้องถิ่นก็อาจเรยี กช่ือแตกต่างกนั
ทั้ง ๆ ท่เี ป็นพืชชนิดเดยี วกนั หรอื บางครงั้ ช่ือเหมือนกัน แต่เปน็ พืชคนละชนดิ เพราะฉะนั้นจะใชส้ มุนไพรอะไร
ก็ต้องใชใ้ ห้ถกู ตน้ จรงิ ๆ ดังเช่นกรณีของหญ้าปักก่ิงท่ยี กตัวอย่างข้างต้นทน่ี ำหญ้าชนิดอืน่ มาขายคนทไ่ี ม่รู้จกั

2. ใชถ้ ูกสว่ น พืชสมนุ ไพรไมว่ ่าราก ดอก ใบ เปลอื ก ผล หรอื เมล็ด จะมีฤทธ์ิในการรักษาหรือบำบดั
โรคไมเ่ ทา่ กนั แม้กระทง่ั ผลอ่อน หรอื ผลแกก่ ม็ ีฤทธแิ์ ตกต่างกนั ดังนนั้ การนำมาใชก้ ็ต้องมคี วามรู้จรงิ ๆ

3. ใช้ให้ถกู ขนาด ธรรมชาติของยาสมุนไพร คือ หากใชน้ ้อยไป ก็จะรักษาไม่ได้ผล แตถ่ า้ ใชม้ ากไปก็
อาจเกิดอันตรายต่อร่างกายได้ เช่นกัน

4. ใชใ้ หถ้ ูกวธิ ี สมุนไพรท่ีจะนำมาใช้ บางชนดิ ตอ้ งใชต้ ้นสด บางชนิดต้องผสมกับเหล้า บางชนิดใชต้ ้ม
หรอื ชง ซ่งึ หากใช้ไม่ถูกต้องก็ไม่เกดิ ผลในการรักษา

5. ใช้ให้ถกู โรค เชน่ มอี าการท้องผูก กต็ ้องใช้สมุนไพรทม่ี ีฤทธ์เิ ป็นยาระบาย ถ้าไปใช้สมุนไพรท่ีมีรส
ฝาด จะทำให้ท้องย่งิ ผูกมากข้ึน

2. ประโยชน์ของพืชสมุนไพร

สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ โดยไมต่ ้องใชย้ าแผนปัจจบุ ัน ซง่ึ บางชนิดอาจมีราคาแพง และตอ้ งเสยี
ค่าใช้จา่ ยมาก อกี ท้งั อาจหาซ้ือได้ยากในท้องถิ่นน้นั ให้ผลการรกั ษาไดด้ ใี กล้เคยี งกบั ยาแผนปจั จบุ ัน และให้
ความปลอดภยั แก่ผใู้ ชม้ ากกว่าแผนปัจจบุ ัน สามารถหาได้ง่ายในท้องถ่นิ เพราะสว่ นใหญ่ได้จากพืชซึ่งมอี ยู่ทว่ั ไป
ทง้ั ในเมืองและ ชนบท มีราคาถกู สามารถประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือยาแผนปัจจุบัน ที่ต้องสัง่ ซื้อจากต่าง
ประเทศเปน็ การลดการขาดดุลทางการค้า

- ใชเ้ ปน็ ยาบำรงุ รกั ษาให้ร่างกายมีสุขภาพแขง็ แรง

- ใชเ้ ป็นอาหารและปลกู เปน็ พชื ผักสวนครัวได้ เชน่ กะเพรา โหระพา ขิง ขา่ ตำลึง

- ใช้ในการถนอมอาหารเชน่ ลกู จันทร์ ดอกจนั ทรแ์ ละกานพลู

- ใช้ปรงุ แต่ง กล่ิน สี รส ของอาหาร เชน่ ลูกจันทร์ ใช้ปรงุ แตง่ กลน่ิ อาหารพวก ขนมปงั เนย ไส้กรอก

- สามารถปลูกเป็นไม้ประดับอาคารสถานท่ีต่าง ๆ ใหส้ วยงาม เช่น คนู ชุมเหด็ เทศ

- ใช้ปรุงเป็นเครือ่ งสำอางเพ่ือเสริมความงาม เช่น ว่านหางจระเข้

- ใช้เปน็ ยาฆ่าแมลงในสวนผัก, ผลไม้ เช่น สะเดา ตะไคร้ หอม ยาสบู

- เป็นพชื ท่ีสามารถสง่ ออกทำรายได้ใหก้ บั ประเทศ เช่น กระวาน ขม้นิ ชนั

3. ความหมายของลูกประคบ

ภูมิปัญญาไทยมีมาต้ังแตโ่ บราณหลังการนวดรกั ษาผปู้ ่วย หมอมักจะนำเอาสมุนไพรทอ่ี ยู่ในหอ่ ผ้า ซ่งึ
เราเรยี กวา่ “ลูกประคบ” มาประคบใหห้ ลังจากการนวด หรือบางอาการท่ไี ม่เหมาะกับการนวดหมอกจ็ ะใชล้ ูก
ประคบมาประคบตามส่วนต่าง ๆของรา่ งกายท่มี ีอาการปวด เมอื่ ยทำให้เรารูส้ ึกผ่อนคลายสบายตัว และรับรไู้ ด้
ถึงอาการปวด เม่ือยดขี น้ึ อาการปวด ตึงไดค้ ลายลง ซึง่ หลายทา่ นอาจเคยสงสยั ว่าในห่อผ้าน่นั มีสมุนไพรอะไร
อยู่บา้ ง วันนเี้ รามาทำความรูจ้ ัก กับลกู ประคบสมนุ ไพรกนั

สมนุ ไพรในลูกประคบ และสรรพคุณสมนุ ไพร

1. ไพล ชว่ ยลดอาการปวดเมื่อย เคล็ดขดั ยอก คลายกล้ามเนอ้ื ลดอาการอักเสบ ฟกชำ้ บวม

2. ขม้นิ ชนั ช่วยลดอาการอักเสบ แกโ้ รคผวิ หนงั

3. ขม้ินอ้อย ชว่ ยลดอาการอกั เสบ แกโ้ รคผิวหนัง บำรงุ ผวิ พรรณ

4. ตะไครบ้ า้ น แต่งกลิ่น ลดอาการฟกช้ำ ลดอาการปวด เม่ือย

5. ผวิ มะกรูด มนี ้ำมันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน

6. ใบมะขาม ช่วยใหเ้ ส้นเอน็ หยอ่ น แกโ้ รคผิวหนังผน่ื คนั ช่วยบำรงุ ผวิ

7. พิมเสน แต่งกลิน่ ลดอาการพพุ องผดผน่ื บำรุง หัวใจ

8. การบูร แตง่ กล่นิ บำรุงหวั ใจ ชว่ ยให้ทางเดินหายใจโล่งบรรเทาอาการหวดั คดั จมูก

9. เกลอื ชว่ ยดดู ความร้อนและช่วยพาให้ตวั ยาซมึ ผา่ นผวิ หนังไดด้ ขี ึ้น

วธิ ใี ช้ นำไปนงึ่ ใหอ้ ุ่นๆประมาณ 10-15 นาที วางประคบตามส่วนตา่ ง ๆของร่างกายสว่ นทม่ี ี
อาการ ปวดเมื่อย ชว่ ยคลายกล้ามเนื้อ ลดการปวดเมื่อย กลิ่นของนำ้ มัน หอมระเหยในสมุนไพร การบูรและ
พมิ เสน ช่วยทำใหร้ สู้ กึ สดชน่ื ผอ่ นคลายความเครียด ลูกประคบสมุนไพรมีอยู่ ด้วยกันหลายสูตรท้ังนข้ี ึ้นอยกู่ ับ
สรรพคุณท่ีตอ้ งการสามารถปรบั เปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม

4.ขอ้ ควรระวังในการใช้ลกู ประคบสมุนไพร
1. ระวังในผปู้ ว่ ยท่ีสงสยั วา่ มีประวตั แิ พส้ มุนไพรในลูกประคบสมุนไพร
2. ทดสอบความร้อนก่อนทำการประคบทุกครัง้ ไม่ควรให้ร้อนเกนิ ไปเพราะอาจทำใหผ้ ิวหนงั พพุ อง
3. ควรมผี ้าขนหนรู องเพือ่ คลายความรอ้ นท่สี ัมผสั กบั ผวิ หนงั โดยตรง
4. ควรระวงั ในผ้ปู ว่ ยทเ่ี ป็นโรคเบาหวาน อมั พาต เด็ก และผู้สงู อายุ
5. ไม่ควรใช้ลกู ประคบสมนุ ไพรในกรณที ่ีมีแผล อกั เสบ (ปวด บวม แดง รอ้ น) ในช่วง 24 ชว่ั โมงแรก

บทที่ 3
วธิ ีการดำเนนิ การศึกษา

ตารางปฏบิ ตั กิ ิจกรรมโครงงาน 1 พ.ย. 2563 - 8 ม.ค. 2564

สัปดาห์ท่ี กจิ กรรมท่ีปฏิบตั ิ สถานทที่ ำ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
กจิ กรรม
1 - เลือกหวั ข้อการทำโครงงาน
1 พฤศจิกายน 2563 - ศึกษาข้อมลู จากอนิ เทอร์เน็ต หอ้ งเรยี น สมาชิกในกลุ่ม
- ทำรายงานเสนอครู ครทู ี่ปรึกษา

2 - ลงมอื ปฏบิ ตั ทิ ำลูกประคบสมุนไพร ร้านขาย สมาชกิ ในกลุ่ม
5 ธนั วาคม 2563 ลูกประคบ

3 - ทำเพาเวอร์พอยต์วธิ กี ารทำลกู ปะคบสมุนไพร ห้องเรียน สมาชิกในกลุ่ม
3 มกราคม 2564

4 - นำเสนอการทำลูกประคบสมุนไพร ห้องเรียน สมาชิกในกลมุ่
17 มกราคม 2564 ครูทปี่ รกึ ษา
- จัดทำรปู เลม่ โครงงาน
5 - สรปุ ผลการปฏิบัติงาน ห้องเรยี น สมาชิกในกลุ่ม
6 มนี าคม 2564

เครอ่ื งมอื และวัสดุอปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในการศกึ ษา
อปุ กรณ์
1. โครก
2. ผา้ ขาวบาง
3. ตอกหรือทม่ี ัด
4. สมุนไพร
วสั ดุ
1. ใบขีห้ นอน
2. ไพล
3. ส้มปอย
4. ใบมะขาม
5. เปลือกชะลูด
6. การบรู
วิธีการศกึ ษา
1. ศกึ ษาจากวทิ ยากรท้องถิ่น โดยการสอบถามคณุ เหรียญ และฝึกปฏิบัตทิ ำลูกประคบ
2. ศึกษาจากเอกสารอา้ งองิ และคำบอกเลา่ ของผ้รู ู้
3. ประเดน็ การศึกษา
- ไดร้ ถู้ งึ สรรพคุณของลกู ประคบสมนุ ไพร
- ได้รวู้ ธิ ีในการทำลูกประคบสมนุ ไพร
ผลการศึกษา
1. ได้ศกึ ษาสรรพคุณลูกประคบสมนุ ไพร
2. ไดศ้ ึกษาวิธกี ารทำลูกประคบสมุนไพร

บทที่ 4
ผลการศึกษา

โครงงาน เรื่อง ลกู ประคบสมุนไพร ผู้ศึกษาไดเ้ สนอผลการวิเคราะหแ์ ละศกึ ษาเกี่ยวกับสมุนไพรมีผลการ
ดำเนินการ ดังนี้

ผลการดำเนนิ การ

เนือ่ งจากสมุนไพรนน้ั มมี ากมายหลากหลายชนิด อาจมีมากถึง 1,000 ชนิดเลยกว็ า่ ได้ ซง่ึ แตล่ ะชนดิ ก็
จะให้สรรพคุณทแ่ี ตกต่างกันออกไป จึงจำเป็นต้องมีการจำแนกประเภทออกมาเพ่ือใหน้ ักวทิ ยาศาสตรแ์ ละผู้ท่ี
ศกึ ษาเก่ยี วกบั สมนุ ไพรสะดวกตอ่ การใชง้ านและง่ายต่อการจดจำ

ประเภทของสมนุ ไพรสามารถจำแนกออกได้เป็นหลายอยา่ ง โดยอาจจำแนกตามลกั ษณะการใช้งานซง่ึ
จะได้ออกมาทง้ั หมด 6 ประเภทดังนี้

1. ประเภทน้ำมันหอมระเหย อยา่ งเชน่ ตะไคร้ท่ีใช้ในอตุ สาหกรรมยาสระผม และสบู่

2. ประเภทยารับประทาน อย่างเช่น กะเพรา ทใ่ี ชส้ ำหรับแก้ท้องอดื

3. ประเภทยาสำหรับใช้ภายนอก อย่างเช่น ตำลึงท่ีใชใ้ นการรักษาโรคผวิ หนังอย่างงสู วดั

4. ประเภทเครอ่ื งดม่ื และยาเสรมิ อาหาร อย่างเช่น หญ้าหนวดแมว ทีน่ ำมาทำเป็นเครอ่ื งดืม่ บำรงุ
สขุ ภาพ

5. ประเภทเครื่องอำสาง อยา่ งเช่น อัญชนั หรือว่านหางจระเข้ และประเภทสุดทา้ ย ประเภทผลติ ภณั ฑ์
ปอ้ งกันกำจัดศัตรพู ชื เชน่ สะเดา ตะไครห้ อม เป็นต้น และเนอ่ื งจากวา่ สมนุ ไพรนั้นกไ็ มไ่ ด้เกดิ พชื เพยี งอย่าง
เดยี ว แต่ยังไดม้ าจากสตั วแ์ ละแรธ่ าตุ อยา่ งเขาสตั วแ์ ละกระดกู ท่ีสามารถนำมาเปน็ ส่วนผสมในการทำยารกั ษา
อกี ด้วย โดยสมุนไพรตา่ งๆ จำเป็นต้องนำมาแปรรูปอยา่ ง การอบ คัน้ ตม้ เสยี ก่อน แลว้ จงึ นำมาใชง้ าน

ทำให้สามารถจำแนก พชื สมนุ ไพรตามลักษณะภายนอกได้ 5 ประเภท ได้แก่

1. ประเภทต้น เช่นกระดงั งา กระถนิ

2. ประเภทเถา เช่น มะแวงเครอื

3. ประเภทหวั เชน่ ขม้ิน

4. ประเภทผกั เช่น ใบบวั บอก ผักเสย้ี นผี

5. ประเภทหญ้า เชน่ กระถืบยอด และยงั สามารถจำแนกตามลกั ษณะภายนอกได้อีกแบบ ได้แก่ ราก,
ลำตน้ , ใบ, ดอกและผล อีกทั้งนอกจากยังสามารถจำแนกไดต้ ามวิชา ได้แก่ สมนุ ไพรแผนปจั จุบันและสมุนไพร
แผนโบราณ

ตัวอย่างสมนุ ไพรและสรรพคุณของสมุนไพร

1. ขม้นิ ชัน

สรรพคุณทางยาของขมนิ้ ชนั กัน ส่วนท่ีใช้กค็ ือ "เหงา้ " ที่มีรสฝาดนน่ั เอง โดยเหง้ามีฤทธฆิ์ า่ เช้ือ
แบคทีเรีย เชอื้ รา ลดการอักเสบ และมฤี ทธ์ใิ นการขบั น้ำดี ต้านอนุมลู อิสระป้องกันการเกิดมะเรง็ ในตับ ชว่ ย
บำรงุ ตบั นอกจากน้ี ยังมีสารอาหารหลายชนดิ ทงั้ วติ ามนิ เอ วิตามินซี วติ ามินอี และเกลือแร่ต่าง ๆ

สว่ นน้ำมนั หอมระเหยในขม้ินชนั ก็มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจกุ เสียดไดด้ ้วย
จงึ นิยมนำขมิน้ มาใชส้ มานแผลในกระเพาะอาหาร ทำความสะอาดลำไส้ รักษาโรคกระเพาะอาหาร

การศึกษาวจิ ยั เพ่มิ เติมยังพบว่า ขมิน้ มีสรรพคุณบำรุงรา่ งกายอีกหลายอยา่ ง ท้งั ช่วยรักษาระบบ
ทางเดนิ หายใจที่ผดิ ปกติ หดื ไอ เวียนศีรษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออักเสบ เพ่ิมภมู คิ ุ้มกัน
ให้แกร่ า่ งกาย ช่วยขบั น้ำนมสตรหี ลงั คลอดบุตร

2. ตน้ ดีปลี

สรรพคุณในผลสุกของดปี ลมี ีนำ้ มันหอมระเหย ในนำ้ มันของดปี ลตี ามการวิจยั ของสถาบันการแพทย์
แผนไทยบอกวา่ มีฤทธ์ฆิ ่าแมลง ดว้ งงวงและด้วงถ่ัว ถ้าหากนำมาสกัดเปน็ สารกำจดั แมลงสตู รจากธรรมชาติก็ไม่
เลว

- ลำต้นหรอื เถา รสเผ็ดรอ้ น แกป้ วดฟนั จุกเสยี ด แก้รดิ สดี วงทวาร ชว่ ยเจริญอาหาร

- ดอกน้นั รสเผด็ ร้อนขม แก้ท้องรว่ ง ขับลมในลำไส้ แก้หดื หอบ แก้ลม วงิ เวียนปรงุ เปน็ ยาธาตุ แกต้ บั
พกิ าร

- รากรสเผด็ ร้อนขม แกห้ ืดหอบ แกล้ มวงิ เวยี น แกเ้ สมหะ แกป้ วดทอ้ ง บำรุงธาตุ แกเ้ สน้ อัมพฤกษ์
อมั พาต

- ดอกแก่ ตม้ น้ำดม่ื แก้ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ และชว่ ยใหห้ ายวงิ เวยี น สว่ นหากจะแกไ้ ขใ้ หใ้ ชด้ อกแกแ่ หง้
คร่งึ กำมือฝนกบั น้ำมะนาว กวาดคอหรือจิบบอ่ ย ๆ

3. ตะไคร้

สรรพคณุ : ทง้ั ตน้ ใช้เปน็ ยารักษาโรคหืด แก้ปวดทอ้ ง ขบั ปัสสาวะและแก้อหวิ าตกโรค หรือทำเป็นยา
ทานวดกไ็ ด้ และยังใชร้ วมกับสมุนไพรชนิดอื่นรกั ษาโรคได้ เช่น บำรงุ ธาตุ เจริญอาหาร และขับเหงื่อ

หวั เปน็ ยารักษาเกลอ้ื น แก้ท้องอืดทอ้ งเฟ้อ แกป้ สั สาวะพิการ แก้นิว่ บำรงุ ไฟธาตุ แก้อาการขดั
เบา ถา้ ใชร้ วมกบั สมุนไพรชนิดอน่ื จะเปน็ ยาแก้อาเจียน ยานอนหลับลดความดันสงู แก้ลมอมั พาต แก้กษยั เสน้
และแกล้ มใบ ใบสด ๆ จะช่วยลดความดันโลหติ สูง แก้ไข้

ราก ใช้เปน็ ยาแกไ้ ข้เหนือ ปวดท้องและท้องเสยี

ตน้ ใช้เป็นยาแก้ขบั ลม แก้เบื่ออาหาร แก้ผมแตก แก้โรคทางเดนิ ปัสสาวะ น่วิ เป็นยาบำรุงไฟ
ธาตใุ ห้เจรญิ แตถ่ ้าเอาผสมกับสมนุ ไพรชนิดอน่ื จะแก้โรคหนองใน และนอกจากน้ียงั ใชด้ ับกล่นิ คาวด้วย

4. ใบบัวบก

สรรพคุณ

1. ขบั ร้อน ขบั ชน้ื

เนือ่ งจากรสขม ฤทธิ์เยน็ ขมสามารถสลายช้นื เย็นสามารถขบั ร้อนได้ ดังน้ัน โรคท่มี สี าเหตุ
จากความช้ืนกบั ความร้อนรว่ มกัน เกดิ การอุดกนั้ จงึ สามารถใชบ้ วั บกรกั ษาได้

ดีซา่ น ในทศั นะแพทย์แผนจีนเกดิ จากภาวะร้อนขึ้น เมือ่ ความช้ืนตกคา้ งในทางเดินอาหารไม่
สามารถขับทงิ้ เกดิ การอุดกน้ั สะสมความร้อน จึงเกดิ การรวมตวั เช่น เกิดนวิ่ ในถุงนำ้ ดี ถุงน้ำดีอักเสบ ฯลฯ
หลกั การรกั ษาดีซา่ นใน จินคยุ้ เอย่ี วเลี้ย กลา่ วไว้ว่า

"โรคดซี ่านท้ังหลาย ให้ขับทางปสั สาวะ" ให้ขับไฟด้านบน ขบั ชน้ื ด้านลา่ ง (ปัสสาวะ) ทำให้เสีย
ช่ี (สิ่งก่อโรค) ออกทางปสั สาวะ ถ้าร้อนชื้นหาย ดีซ่านกจ็ ะหาย

ทอ้ งเสยี ในฤดรู ้อน ฤดรู อ้ นมีอากาศรอ้ น มักมีความชนื้ เข้าเกี่ยวข้องชว่ งอากาศร้อนบรโิ ภค
ของเยน็ อาหารดบิ มากเกนิ ไป ทำใหเ้ กดิ ความร้อนชน้ื ปดิ กน้ั กระเพาะอาหารและลำไส้ เกิดอาการท้องเสีย ถา้
ขจดั ความร้อนช้ืนออกไป ท้องเสียกจ็ ะหยดุ

โรคบิด อาการปวดเบ่งอจุ จาระ หรือมมี ูกมีเลือดปน เรียกวา่ มภี าวะร้อนชืน้ ของลำไส้ บัวบกมี
ฤทธเ์ิ ยน็ รสขม เหมาะสำหรับการรักษาโรคบิด

2. ระบายร้อนขบั ไฟ

ไฟและความร้อนเป็นพลงั หยาง มีสาเหตจุ ากภายนอก (ความร้อนของอากาศ ส่ิงแวดลอ้ ม)
และจากความรอ้ น (ไฟ) ทีเ่ กิดภายในรา่ งกาย ความร้อนเหล่าน้ีกอ่ ให้เกดิ อาการไข้ ตวั ร้อน กระหายนำ้ เชน่
การติดเชื้อทางเดินอาหารแล้วมกี ารอักเสบไข้สูง (แผนปัจจุบนั ) ตาอักเสบบวมแดงรวมท้ังการอักเสบของ
ผวิ หนงั เช่น ไฟลามทุ่ง เป็นต้น

อากาศร้อนในฤดรู ้อน ทำให้เกดิ ไข้ อักเสบตัวรอ้ น กระหายน้ำเหง่ือออกมาก อ่อนเพลีย พิษ
ร้อนสะสมภายใน คือเสยี ช่ี (สง่ิ กอ่ โรค) เขา้ สู่ระดับช่ี การใช้บัวบกทมี่ ฤี ทธเ์ิ ยน็ รสขม จงึ ช่วยระบายความร้อน
การอักเสบในฤดูร้อนได้ดี

5. ดอกอัญชนั
สรรพคุณอัญชัน
1. น้ำอัญชนั มีส่วนช่วยต่อตา้ นอนมุ ูลอิสระในรา่ งกาย
2. เครือ่ งด่ืมนำ้ อัญชันช่วยเสริมสรา้ งภมู ิต้านทานให้ร่างกายและเพ่ิมพลังงานใหร้ า่ งกาย
3. มีสว่ นชว่ ยในการชะลอวยั และริว้ รอยแห่งวยั
4. ประโยชน์ของดอกอัญชนั มีส่วนช่วยในการบำรงุ สมอง เพม่ิ การไหลเวยี นเลอื ด
5. ดอกอัญชันมีฤทธ์ิในการละลายล่มิ เลือด
6. ช่วยปอ้ งกนั โรคเสน้ เลอื ดสมองตบี
7. ชว่ ยรักษาอาการผมรว่ ง (ดอก)
8. อญั ชนั ทาคิ้ว ทาหัว ใช้เปน็ ยาปลูกผม ปลกู ขนช่วยให้ดกเดาเงางามยิ่งขน้ึ (นำ้ คนั้ จากดอก)
9. ช่วยลดความเสีย่ งจากการเกิดเส้นเลอื ดอุดตัน
10.ชว่ ยลดความเส่ียงของการเกดิ โรคหวั ใจและหลอดเลือดหวั ใจอดุ ตนั
11. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคมะเรง็ ดว้ ยสารต้านอนมุ ลู อสิ ระ
12. ช่วยลดระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดของผู้ป่วยท่เี ป็นโรคเบาหวาน
13. อัญชนั มคี ุณสมบตั ใิ นการช่วยล้างสารพิษและของเสียออกจากร่างกาย
14. ช่วยบำรุงสายตา แกอ้ าการตาฟาง ตาแฉะ (นำ้ ค้นั จากดอกสดและใบสด)

15. ช่วยป้องกันโรคตอ้ กระจก ตอ้ หนิ ตามเส่ือมจากโรคเบาหวาน (ดอก)
16. ช่วยเพม่ิ ความสามารถในการมองเหน็ ใหด้ ยี ิง่ ขึน้
17. นำรากไปถูกับน้ำฝน นำมาใช้หยอดตาและหู (ราก)
18. นำมาถูฟันแก้อาการปวดฟนั และทำให้ฟนั แขง็ แรง (ราก)
19. ใช้เป็นยาระบาย แต่อาจทำให้คล่ืนไส้อาเจยี นได้ (เมล็ด)
20. ใชร้ ากปรุงเปน็ ยาขับปสั สาวะ (ราก,ใบ)
21. แกอ้ าการปัสสาวะพิการ
22. สรรพคุณอญั ชนั ใชแ้ ก้อาการฟกช้ำ (ดอก)
23. ชว่ ยปอ้ งกันและแก้อาการเหนบ็ ชาตามน้วิ มือนิว้ เท้า
24. นำมาทำเปน็ เครื่องด่ืมนำ้ อญั ชันเพ่ือใช้ดับกระหาย
25. ดอกอญั ชันตากแหง้ สามารถนำมาชงดื่มแทนนำ้ ชาไดเ้ หมอื นกัน
26. ดอกอญั ชันนำมารับประทานเป็นผกั ก็ได้ เช่น นำมาจิม้ น้ำพรกิ สดๆ หรือนำมาชุบแป้งทอดกไ็ ด้
27. น้ำดอกอญั ชนั นำมาใชท้ ำเป็นสีผสมอาหารโดยใหส้ ีมว่ ง เชน่ ขนมดอกอัญชนั ข้าวดอกอัญชนั
28. ช่วยปลกู ผมทำใหผ้ มดกดำข้ึน (ดอก)
29. ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ อยา่ ง ครีมนวดผม ยาสระผม เปน็ ตน้
30. ประโยชน์ของอัญชันข้อสุดทา้ ยคือนยิ มนำมาปลกู ไวต้ ามร้ัวบา้ นเพอ่ื ความสวยงาม

สมุนไพรต่างๆกย็ ังสามารถนำมาทำลูกประคบได้อีกด้วย
ภูมปิ ัญญาไทยมีมาตั้งแตโ่ บราณหลังการนวดรกั ษาผ้ปู ว่ ย หมอมักจะนำเอาสมุนไพรทอ่ี ยู่ในหอ่ ผ้า ซึง่

เราเรยี กวา่ “ลูกประคบ” มาประคบใหห้ ลังจากการนวด หรือบางอาการทไี่ ม่เหมาะกับการนวดหมอกจ็ ะใชล้ กู
ประคบมาประคบตามส่วนตา่ งๆของร่างกายท่ีมีอาการปวด เมือ่ ยทำให้เราร้สู ึกผ่อนคลายสบายตัว และรับรไู้ ด้
ถงึ อาการปวด เมื่อยดีข้ึน อาการปวด ตงึ ไดค้ ลายลง ซ่ึงหลายทา่ นอาจเคยสงสยั วา่ ในห่อผ้านนั่ มีสมนุ ไพรอะไร
อยู่บ้าง วันน้เี รามาทำความรู้จัก กับลกู ประคบสมุนไพรกัน

สมนุ ไพรในลูกประคบ และสรรพคณุ สมนุ ไพร
ไพล ชว่ ยลดอาการปวดเม่ือย เคล็ดขดั ยอก คลายกลา้ มเน้ือ ลดอาการอกั เสบ ฟกชำ้ บวม
ขมิน้ ชนั ชว่ ยลดอาการอักเสบ แก้โรคผวิ หนงั
ขมิน้ อ้อย ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง บำรงุ ผวิ พรรณ
ตะไคร้บา้ น แตง่ กลนิ่ ลดอาการฟกช้ำ ลดอาการปวด เม่ือย
ผิวมะกรูด มนี ้ำมนั หอมระเหย แก้ลมวิงเวยี น
ใบมะขาม ช่วยใหเ้ ส้นเอน็ หย่อน แกโ้ รคผิวหนงั ผนื่ คัน ช่วยบำรุงผิว
พิมเสน แตง่ กล่ิน ลดอาการพุพองผดผื่น บำรุง หวั ใจ
การบูร แต่งกล่ิน บำรุงหวั ใจ ช่วยใหท้ างเดินหายใจโล่งบรรเทาอาการหวัดคดั จมูก
เกลอื ชว่ ยดูดความร้อนและช่วยพาใหต้ ัวยาซึม ผา่ นผิวหนังไดด้ ขี ึ้น

วิธใี ช้ นำไปนง่ึ ให้อนุ่ ๆประมาณ 10-15 นาที วางประคบตามส่วนต่างๆของร่างกายสว่ นทม่ี ีอาการปวดเมอ่ื ย
ช่วยคลายกล้ามเนอื้ ลดการปวดเมือ่ ย กล่ินของน้ำมนั หอมระเหยในสมุนไพร การบรู และพมิ เสน ช่วยทำให้
รู้สึก สดชนื่ ผอ่ นคลายความเครียด ลูกประคบสมุนไพรมีอยู่ ดว้ ยกนั หลายสตู รท้งั นข้ี นึ้ อย่กู ับสรรพคุณที่
ตอ้ งการสามารถปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ลกู ประคบสมุนไพร

ระวังในผูป้ ่วยท่ีสงสยั ว่ามปี ระวตั ิแพส้ มนุ ไพรในลกู ประคบสมนุ ไพร
ทดสอบความร้อนกอ่ นทำการประคบทุกคร้งั ไม่ควรใหร้ อ้ นเกินไปเพราะอาจทำใหผ้ ิวหนังพุ พอง ไหม้

ได้ ควรมผี า้ ขนหนูรองเพ่อื คลายความร้อนที่สัมผัสกับผวิ หนังโดยตรง
ควรระวังในผู้ปว่ ยที่เปน็ โรคเบาหวาน อัมพาต เดก็ และผูส้ งู อายุ เนอื่ งจากผู้ปว่ ยกลมุ่ น้ีมีความร้สู กึ ตอบสนอง
ความรอ้ นช้า อาจทำให้ผิวหนงั ไหม้ พองได้
ไมค่ วรใชล้ ูกประคบสมุนไพรในกรณที ่ีมีแผล อกั เสบ (ปวด บวม แดง รอ้ น) ในช่วง 24 ชั่วโมงแรก อาจจะ ทำ
ใหเ้ กดิ อาการบวมมากข้ึนควรใชน้ ำ้ แขง็ ประคบเย็นก่อน

บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

จากการศึกษาเรือ่ ง การรักษาโรคดว้ ยสมุนไพร ทำใหเ้ ราทราบวา่ สมุนไพร หมายถึง พชื ท่ีใช้ทำเป็นเครื่องยา
สว่ นยาสมุนไพร หมายถึง ยาทไี่ ด้จากสว่ นของพืช สัตว์ และแร่ ซ่งึ ยงั มไิ ดผ้ สมปรุง หรือแปรสภาพ ส่วนการ
นำมาใช้ อาจดัดแปลงรปู ลักษณะของสมนุ ไพรใหใ้ ชไ้ ดส้ ะดวกขึ้น เราได้ทำการนำสมุนพรต่างๆท่เี รารจู้ ักมาทำ
เปน็ ลกู ประคบสมุนไพร ท่มี สี รรพคุณมากมาย เชน่ บรรเทาอาการปวดเมอื่ ย ผ่อนคลายสบายตวั

ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคน้ คว้าครั้งตอ่ ไป
1. ผลิตภณั ฑ์ท่ีทำควรมีการนำไปทดลองใชก้ ับบคุ คลและเผยแพร่ความรู้เรื่องการทำลกู ประคบสมุนไพร
2. ควรรปู แบบทหี่ ลากหลายในการเผยแพรค่ วามรู้ เช่น การจัดป้ายนทิ รรศการ

ภาคผนวก

ขัน้ ตอนและวธิ ีการทำลูกประคบสมนุ ไพร
1. นำขมิ้นชนั หวั ไพล ตะไคร้ มะกรดู มาล้างใหส้ ะอาดตากให้แห้งจนสะเดด็ นำ้ มะกรูดนำมาฝานเอา
เฉพาะผวิ

2. นำท้งั หมดมาหนั่ เสร็จแลว้ ใส่ในครกตำหยาบ ๆ นำไปตากแดดให้แห้ง ใบมะขามก็ตากแดดให้แห้ง

3. นำสมนุ ไพรทตี่ ากแดดแหง้ แล้วมาผสมกบั เกลือ การบรู และพมิ เสนมาผสมคลุกรวมกัน ในกะละมัง
จนกระทง่ั เป็นเนื้อเดยี วกัน

4. นำสมนุ ไพรทผ่ี สมเขา้ ดว้ ยกันแลว้ มาแบ่งเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กันแล้วใสล่ งบนผา้ ดิบท่เี ตรยี มไว้ ยกชาย
ผ้าทัง้ สี่มุมขน้ึ แลว้ ใช้เชอื กมัดให้แนน่ เป็นลูกประคบ

คณะผ้จู ดั ทำทำการประชุมเกี่ยวกับการตัง้ เพจเพื่อจัดจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์
การนำผลติ ภัณฑท์ ีท่ ำไปเผยแพร่และจดั จำหนา่ ย ทางเพจ Facebook

บรรณานุกรม

ธนศักด์ิ ต้ังทองจิตร. (2555). หนงั สอื น้ำสมนุ ไพร. กรงุ เทพฯ : ไทยควอลติ ี้บุค๊ ส์.
สุภคั ภริ มย์. (2551). หนังสือ 97 สมนุ ไพรใกลต้ ัว เสริมสุขภาพและความงาม. กรงุ เทพฯ : ไทยควอลิตบี้ คุ๊ ส์.
ชลดา เจยี มเมืองปัก. (2556). สมุนไพร, สบื ค้นเม่ือ 19 ธนั วาคม 2563,

https://sites.google.com/site/smunphithai/
บดินทร์ ชาตะเวที. ใชส้ มนุ ไพรอยา่ งไรใหป้ ลอดภยั . สืบค้นเมื่อ 31 ธนั วาคม 2564,

http://www.ttmed.psu.ac.th/blog.php?p=218
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลโรงพยาบาลรามาธิบด.ี การรักษาโรคดว้ ยสมุนไพร.

สืบคน้ เมือ่ 2 พฤศจิกายน 2563, https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/
เพ็ญนภาพร สารพัฒน์. ความหมายของสมนุ ไพร. สืบค้นเม่ือ 30 มกราคม 2564,

https://sites.google.com/site/napaherb/smunphir-khux-xari-1
สำนักงานโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื . ( 2554). การอนุรกั ษ์พันธุก์ รรมพชื . สืบคน้ เมอื่ 15 กุมภาพันธ์

2564, http://www.rspg.or.th/index.html


Click to View FlipBook Version