หลัลั ลัลั กสูสู สูสู ตรสมรรถนะ และบทบาทครูรู รูรู ตามหลัลั ลัลั กสูสู สูสู ตรสมรรถนะ และการพัพั พั ฒ พั ฒนาศัศั ศัศั กยภาพครูรู รูรู ด้ด้ ด้ด้ านการจัจั จัจั ดการเรีรี รีรี ยนรู้รู้รู้รู้ โดย นันั นันั กศึศึ ศึศึ กษา ป.บับั บับั ณฑิฑิฑิฑิต กลุ่ลุ่ลุ่ลุ่ม 01
สมาชิกในกลุ่ม นายมูฮัมมัดฮาวารี นายมูฮัมมัดกาแมล นายมูฮำ หมัดซอและ นายมูฮำ หมัดนะอีม นายเฟาซี นายมูซัมมี อูซิน สะอิ กูนา หะยีหามะ เถาว์กลอย เบ็ญมูซอ 655141013 655141012 655141017 655141018 655141008 655141011
หลักสูตรฐานสมรรถนะ คือ คื อะไร ? สมรรถนะ (COMPETENCY) หมายถึงความสามารถของคนเราในการใช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และ คุณลักษณะต่าง ๆ ที่ตนเองมีมาประยุกต์ใช้กับการทำ งานหรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ จนประสบความสำ เร็จในระดับใดระดับหนึ่ง หลักสูตรฐานสมรรถนะ (COMPETENCY - BASED CURRICULUM : CBC) คือ หลักสูตรการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (LEARNER CENTRIC) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ตามความสนใจ ความถนัด และก้าวหน้าไปตามความสามารถของตน โดยมีเป้าหมายให้ผู้ เรียนเกิดสมรรถนะหลักที่จำ เป็น สำ หรับการทำ งาน การแก้ปัญหา และการดำ รงชีวิต
ทำ ไมต้อ ต้ งฐานสมรรถนะ? 1.เพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (PERSONALIZATION) 2.เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดสุขภาวะ (WELL-BEING) 3.เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำ เป็นเพื่อใช้ในการดำ รงชีวิต 4.เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้รู้เท่าทันและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
หลักลัคิดคิของหลักลัสูต สู ร ฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum) 1 เก่งในแบบของตัวเอง มีสุขภาวะ 2 3 เรียนไปใช้งานเป็น ยืดหยุ่นพร้อมปรับตัว 4
ประโยชน์ของหลักสูตรฐานสมรรถนะ 1. ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา สมรรถนะหลักที่สำ คัญต่อการใช้ ชีวิต การทำ งาน และการเรียนรู้ ซึ่ง จำ เป็นป็ต่อการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 2. ช่วยให้การจัดการเรียนรู้ โดยมุ่ง เป้าไปที่การพัฒนาผู้เรียนให้เกิด สมรรถนะที่ต้องการ ไม่ใช่ที่การ สอนเนื้อหาความรู้จำ นวนมากซึ่งไม่ จำ เป็นป็หรือเป็นป็ ประโยชน์แก่ผู้เรียน 3. ช่วยลดการเรียนรู้บางอย่างที่ไม่ จำ เป็นป็อันส่งผลให้สามารถจัดพื้นที่ ในการเรียนรู้ที่เป็นป็ความต้องการที่ แตกต่างกันของผู้เรียน วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ และบริบทได้ มากขึ้น 4. ช่วยลดภาระ และเวลาในการ สอบตามตัวชี้วัดจำ นวนมาก การ สอบวัดสมรรถนะหลักของผู้เรียน ช่วยให้เห็นความสามารถของผู้เรียน ช่วยให้เห็นความสามารถที่เป็นป็องค์ รวมของผู้เรียน
จุดเด่นและข้อดี ของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ช่วยสร้างผู้สำ เร็จการศึกษาที่มี ความเป็นเลิศในการปรับตัว ช่วยสร้างผู้สำ เร็จการศึกษาที่ มีทักษะสอดคล้องกับงาน/อาชีพ ช่วยลดสาระการเรียนรู้ที่ไม่จำ เป็น ช่วยลดภาระ และเวลาในการสอบตามตัวชี้วัด จำ นวนมากอย่างที่เคยเป็นมาตลอด 1 2 3 4
หลักสูตรฐานสมรรถนะ 2565 ได้กำ หนดแนวทางการพัฒนา สมรรถนะผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะหลัก 6 ด้าน ได้แก่ สมรรถนะหลัก 6 ด้าน สมรรถนะการจัดการตนเอง สมรรถนะการคิดขั้นสูง สมรรถนะการสื่อสาร สมรรถนะการรวมพลัง ทำ งานเป็นทีม สมรรถนะการเป็น พลเมืองที่เข้มแข็ง สมรรถนะการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และวิทยาการอย่างยั่งยืน
หลักสูตรฐานสมรรถนะประเมินอย่างไร? การประเมินผลผู้เรียนจาก “สมรรถนะ” นั้นคือการประเมินผู้เรียนจากพฤติกรรม ซึ่งจะต้องมีการกำ หนดกรอบ สมรรถนะหลัก ที่ประกอบไปด้วยนิยามของแต่ละสมรรถนะ ระดับความเชี่ยวชาญ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีความชัดเจน จะทำ ให้ผู้เรียนได้ลงมือทำ มากกว่าแค่เรียนรู้จากในตำ ราเรียน เพื่อให้ได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำ ไปใช้ได้จริงทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน โดยการประเมินสมรรถนะที่สำ คัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน นั้นมี 4 ด้าน ความสามารถ ในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต 1 2 3 4
หลักสูตรฐานสมรรถนะ จะกำ หนดมาตรฐานสมรรถนะ (COMPETENCY STANDARDS) ขึ้นเป็นสมรรถนะเบื้องต้น ที่จำ เป็นสำ หรับผู้เรียน เพื่อการดำ รงชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ สมรรถนะหลัก (CORE COMPETENCY) สมรรถนะเฉพาะ (SPECIFIC COMPETENCY)
ในการจัดการเรียน การสอนตามหลักสูตร ฐานสมรรถนะ สามารถดำ เนินการได้ 6 แนวทาง การเรียนการสอน ตามหลักสูตร ฐานสมรรถนะ ใช้งานเดิม เสริมสมรรถนะ ใช้งานเดิม ต่อเติมสมรรถนะ ใช้รูปแบบการเรียนรู้ สู่การพัฒนาสมรรถนะ สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตัวชี้วัด บูรณาการผสาน หลายสมรรถนะ สมรรถนะชีวิต ในกิจวัตรประจำ วัน
บทบาทครูรู รูรู ครูเตรียมพร้อม อย่างไร..เมื่อการ ศึกษาไทยก้าวสู่ ฐานสมรรถนะ ครูผู้สอนจำ เป็นต้อง ได้รับการพัฒนาใน ด้านต่าง ๆ ดังนี้ การเป็นผู้มีกรอบความ คิดแบบเติบโต ( GROWTH MINDSET) ความรู้ ความเข้าใจที่ เกี่ยวข้องกับการศึกษา ฐานสมรรถนะ การสอนที่ตอบสนอง ความแตกต่างระหว่าง บุคคล (DIFFERENTIATED INSTRUCTION) การบูรณาการความรู้ ข้ามศาสตร์ การจัดกระบวนการ เรียนรู้เชิงรุก (ACTIVE LEARNING) ด้านทักษะการเป็นผู้ ชี้แนะ (COACH) และการเป็นผู้อำ นวยการการ เรียนรู้ (LEARNING FACILITATOR)
บทบาทของครูผู้สอน เมื่อต้องเข้าสู่การศึกษาฐานสมรรถนะก็ ย่อมต้องเปลี่ยนแปลงไป โดยสามารถ แบ่งบทบาทของครูผู้สอนตามมิติต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1. บทบาท ในการจัดการเรียนรู้ 2.บทบาท ในการพัฒนาผู้เรียน 3. บทบาทในการ ประเมินผลผู้เรียน 4.บทบาทในการ พัฒนาการศึกษาแบบ มีส่วนร่วม
การพัฒ พั นา การพัฒนา คือ การทำ ให้เปลี่ยนแปลง การพัฒนา คือ การทำ ให้ดีขึ้น การพัฒนา คือ ทำ ให้เจริญขึ้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้ความหมายของ “พัฒนา” ว่าคือ “ทำ ให้เจริญ” ดังนั้นการพัฒนาจึงหมายถึง การทำ ให้เจริญ “การพัฒนา” หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าโดย ทั่วๆ ไป เช่น การพัฒนาชุมชน พัฒนาประเทศ คือ การทำ สิ่งเหล่านั้นให้ดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความ ต้องการของประชาชนส่วนใหญ่ให้ได้ดียิ่งขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า “การพัฒนา” เป็นกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพ ที่ไม่น่าพอใจไปสู่สภาพที่น่าพอใจ การพัฒนาเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอ ไม่หยุดนิ่งการพัฒนามีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ความเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ การพัฒนา หมายถึง กระบวนการของการเปลี่ยนแปลง ที่มีการวางแผนไว้ แล้ว คือการทำ ให้ลักษณะเดิมเปลี่ยนไป โดยมุ่งหมายว่า ลักษณะใหม่ที่เข้ามาแทนที่นั้นจะดีกว่าลักษณะเก่า แต่โดยธรรมชาติแล้วการเปลี่ยนแปลง ย่อมเกิดปัญหา ในตัวมันเอง เพียงแต่ว่าจะมีปัญหามาก หรือปัญหาน้อย “การพัฒนา” ในความเข้าใจแบบสมัยใหม่ หมายถึง การทำ ให้เจริญในด้านวัตถุ รูปแบบ และในเชิง ปริมาณ เช่น ถนนหนทาง ตึกรามบ้านช่อง ดัชนีชี้วัดทาง เศรษฐกิจ เป็นต้น
ศักยภาพ ศักยภาพ : [สักกะยะพาบ] (ปรัชญา) น. ภาวะแฝง, อํานาจหรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ อาจทําให้ พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้ เช่น เขามีศักยภาพในการทำ งานสูง น้ำ ตกขนาดใหญ่มีศักยภาพในการให้ พลังงานได้มาก.
การส่ง ส่ เสริม ริ และพัฒ พั นาครู สภาพปัจจุบัน และปัญหา วิชาชีพครูใน ประเทศไทย ครู คือ ผู้กำ หนดคุณภาพประชากรในสังคม และคุณภาพประชากรในสังคม คือ ตัวพยากรณ์ความสำ เร็จในการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม วิชาชีพครูจึงควรเป็นที่รวมของ คนเก่ง คนดี สามารถเป็นต้นแบบทางคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตน การดำ รงชีวิต และการชี้นำ สังคมไปในทางที่เหมาะสม จากสภาพความเป็นจริงที่ปรากฏในปัจจุบัน วิชาชีพครูกลับเป็นวิชาชีพที่คนทั่วไปดูหมิ่นดูแคลน เป็นวิชาชีพที่ รายได้ต่ำ ผู้ประกอบวิชาชีพครูยากจน ผู้ปกครองที่มีการศึกษาสูงและมีฐานะดี ไม่ประสงค์จะให้บุตรหลานของตนศึกษา เพื่อออกไปประกอบวิชาชีพครู เยาวชนที่สำ เร็จการศึกษาชั้น ม.๖ ก็ไม่ประสงค์ที่จะสมัครเรียนในสาขาวิชาชีพครู ผู้สมัคร เรียนในสาขาครูจึงมักเป็นผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์ทธิ์างการเรียนต่ำ เมื่อไม่สามารถสอบเข้าเรียนในสาขาวิชาชีพอื่นได้แล้วจึงจะ สมัครเรียนเพื่อออกไปเป็นครู
ปัญหาเกี่ยวกับ วิชาชีพครู ปัญหาเกี่ยวกับ กระบวนการผลิต ปัญหาเกี่ยวกับ กระบวนการใช้ครู ปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร จัดการเพื่อให้การผลิตและการ ใช้ครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
แนวทางการส่ง ส่ เสริมริและ ยกระดับ ดั วิชวิาชีพ ชี ครู การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพของครูให้เป็นครูที่ดีและประสบความสำ เร็จใน วิชาชีพครูอาจดำ เนินการได้อย่างน้อย 3 ทาง การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพตนเองของครู การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพ ของครูโดยสถานศึกษา การพัฒนาศักยภาพและสมรรถภาพ ของครูโดยหน่วยงานกลาง
สำ นัก นั งานเลขาธิก ธิ ารคุรุ คุ ส รุ ภา ได้สด้ รุป รุ ว่า ว่ การพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อยกระดับคุณภาพครูสู่มาตรฐานวิชาชีพควรเป็นการพัฒนาที่ครู ได้ฝึกฝนตนเองในสภาวะของการปฏิบัติงานปกติ สร้างโอกาสให้ครูได้ทำ กิจกรรมตามความถนัด ความสนใจ ด้วยวิธีการต่างๆหลากหลาย ครูจะแสดงบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะต่างๆ แตกต่างกันตามระดับ คุณภาพมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งสามารถวิเคราะห์การแสดงออกของครูใน 3 มิติ ดังนี้ มิติที่ 1 ระดับฝีมือ ของครู มิติที่ 2 การเพิ่มบทบาท ของผู้เรียน มิติที่ 3 ผลที่เกิด กับผู้เรียน
การพัฒพั นาตนเองให้เป็นผู้ประสบความสำ เร็จในอาชีพครูมืออาชีพ นั้นจะต้องได้รับการพัฒพั นาปรับปรุงด้วยตัวเองมาเป็นลำ ดับ โดยผู้บังคับ บัญชาได้เสนอวิธีการพัฒพั นาตนเองบางประการเพื่อก้าวไปสู่ความสำ เร็จ เช่น ฝึกตนเองให้ตรงต่อเวลา ทุกคนมีเวลาเท่ากัน ผู้ที่บริหารเวลาเก่งจะ ต้องยึดมั่นในหลักการพื้นฐาน ได้แก่ มีความกระตือรือร้นและมีความตื่นตัว อยู่ตลอดเวลาไม่ผัดวันประกันพรุ่งในการทำ งานทุกประเภททั้งงานเล็กงาน ใหญ่ ให้ความสำ คัญเท่าเทียมกันเตรียมตัวให้พร้อมอยู่เสมอ เป็นคนขยันขันขั แข็ง เป็นคนทำ งานรวดเร็วลักษณะคนทำ งานรวดเร็ว ฝึกตนให้มีความเชื่อ มั่นในตนเอง ทำ ให้ตนเป็นที่ต้องใจของผู้อื่น ทำ ตนให้รู้จักกาลเทศะ และทำ ให้ ตนเองเป็นที่น่าเชื่อถือ สรุป mrs Chad Gibbons