The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มสาระสนเทศรร-65-2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sudarat Penmongkhol, 2023-06-21 11:33:33

รวมเล่มสาระสนเทศรร-65-2

รวมเล่มสาระสนเทศรร-65-2

Keywords: สารสนเทศ-65

1.1 ประวัติโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ เมื่อปีพุทธศักราช 2523 นายสำเริง นิลประดิษฐ์ มีดำริจะขยายโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ออกไป สี่มุมเมือง จึงได้ปรึกษากับ นายวัฒนา อัศวเหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในสมัยนั้น ให้จัดหาที่ดินสร้างโรงเรียน แต่ก็ติดปัญหา บางประการจึงระงับโครงการไป ต่อมากรมสามัญ ศึกษา ได้สั่งให้สำนักงานสามัญศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ รับสมัครนักเรียนในปีการศึกษา 2533 จำนวน 5 ห้องเรียน โดยฝากไว้ที่โรงเรียน สตรีสมุทรปราการ 2 ห้อง และโรงเรียน สมุทรปราการ 3 ห้อง รวมนักเรียนชาย–หญิง จำนวน 250 คน เมื่อประกาศจัดตั้งโรงเรียนแล้ว จึงนำนักเรียนที่ฝากไว้ มาเรียนที่ โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ทว่าเกิดปัญหาขัดข้อง ในเรื่องที่ดินสร้างโรงเรียน ทำให้ต้องยกนักเรียน ที่ฝากไว้ ให้เป็นนักเรียนของโรงเรียนนั้นไป ต ่ อ ม า ใ น ปีพ ุ ท ธ ศ ั ก ร า ช 2534 อาจารย์สุทธิ เพ็งปาน ผู้อำนวยการโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย เข้าพบ นายบรรจง พงศ์ศาสตร์ รองอธิบดีกรมสามัญศึกษา ในขณะ นั้น เพื่อขอปรึกษาเรื่องประกาศจัดตั้งโรงเรียนอีก ครั้งหนึ่ง ท่านรองอธิบดีฯ จึงได้สั่งการให้โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย จัดคณาจารย์ ขึ้นคณะ หนึ่ง โดยมีอาจารย์สุโข วุฑฒิโชติ ผู้ช่วย ผู้อำนวยการฝ่ายปกครอง เป็นหัวหน้าคณะ จัดเตรียมเอกการรับสมัคร และรับสมัครนักเรียน ปีการศึกษา 2534 ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2534


กระทรวงศึกษาธิการ จึงมีประกาศจัดตั้งโรงเรียนรัฐขึ้นใหม่ โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย สมุทรปราการ” เมื่อเปิดภาคเรียน ได้ฝากนักเรียนดังกล่าว จำนวน 306 คน ให้ศึกษาเป็นการ ชั่วคราว ที่โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 71 เพื่อรออาคารเรียนชั่วคราวจัดสร้างแล้วเสร็จ โดยมีนายไพฑูรย์ สุนทร วิภาค ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เป็นประธานประกอบพิธียกเสาเอก และเปิดป้ายอาคารเรียน ในปีเดียวกัน เ ม ื ่ อ อ า ค า ร ชั ่ ว ค ร า ว แ ล้ว เสร็จ จึงย้ายนักเรียนที่ฝากไว้ เข้าเรียนในอาคาร ดังกล่าว ในปีถัดมา กรมสามัญศึกษา คัดเลือก ให้เป็นโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม พุทธศักราช 2535 และ ได้รับพระราชทาน ชื่อโรงเรียน เป็นโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ มีรายชื่อผู้อำนวยการโรงเรียนตามลำดับดังนี้ 1. พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2542 นายสุโข วุฑฒิโชติ 2. พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2547 นายผจง อุบลเลิศ 3. พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2551 นายสุรัตน์อัตนวานิช 4. พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 นางสาวอารีย์ ธงชัยภูมิ 5. พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2558 นางเพ็ญพิไลลักษณ์ มณีภาค 6. พ.ศ 2558 – พ.ศ. 2561 นายบรรหาร เอี่ยมสอาด 7. พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน ว่าที่ร้อยตรี ลมบล บุญมานะ ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6


ที่ตั้งของโรงเรียน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ตั้งอยู่เลขที่ 261 หมู่ 3 ถนนสุขุมวิท ตำบลบางปู อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280 ตราประจำโรงเรียน ตราประจำโรงเรียน เป็นพระนามาภิไธยย่อของสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีอักษรพระนามย่อ “สก” ภายใต้พระมหามงกุฎ ทรงพระราชทานให้แก่โรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นโรงเรียนในเครือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2535 โรงเรียนได้รับประกาศ จัดตั้งชื่อใหม่จากกระทรวงศึกษาธิการว่าโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัยสมุทรปราการ อันเป็นนามที่ได้รับพระราชทาน จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ตราประจำโรงเรียน เป็นตราของโรงเรียนพระตำหนัก สวนกุหลาบ ซึ่งได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตรานี้ เมื่อพ.ศ.2475 มีลักษณะของตราเป็นรูปหนังสือ ที่บริเวณหน้าปก ได้ประดิษฐานพระปรมาภิไทย ย่อ จ.ป.ร. และมีพระเกี้ยวยอดอยู่ด้านบน ในหนังสือมีขนนก ดินสอ ไม้บรรทัด ด้านขวามีช่อกุหลาบ 4 ดอก อันหมายถึงหัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิหรือ ฟัง พูด อ่าน และเขียน ด้านล่างซ้ายของหนังสือมีริบบิ้นผูกอยู่ที่ก้านกุหลาบ มีข้อความอยู่ที่ริบบิ้น เขียนว่า“โรงเรียนหลวงสวนกุหลาบ” ด้านบนปรากฏมีปรัชญา และคติพจน์ “สวิชาโน ภวํโหติ” ด้านล่างมีคำแปลว่า “ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ”


พระพุทธรูปประจำโรงเรียน เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ตั้งโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบขึ้นแล้วได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชรศิลปะเชียงแสนพระราชทานเพื่อเป็น พระพุทธรูปประจำโรงเรียนแก่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบเมื่อปีพุทธศักราช 2425 ทรงให้พระนามว่า “หลวงพ่อสวนกุหลาบ” ปรัชญา และคติพจน์ สุวิชาโน ภวํโหติ แปลว่า ผู้รู้ดีเป็นผู้เจริญ ผู้รู้ดี คือผู้รู้และเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ได้ดี คือ รู้อ่าน รู้คิด รู้เท่าทัน รู้ความ และรู้คุณผู้เจริญ คือ ผู้ที่เจริญด้วยความประพฤติดี ดีพร้อมทั้งกาย วาจา และใจกระทำแต่สิ่งที่ดีงาม สร้างสรรค์คำนึงถึง ผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว


คติประจำใจ เป็นผู้นำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณชาติ


คำขวัญประจำโรงเรียน รักษ์ศักดิ์ศรี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ สีประจำโรงเรียน สีชมพูเป็นสีประจำวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งตรงกับวัน อังคาร ความหมายของสีชมพู คือ ความสุภาพอ่อนหวาน อ่อนโยน นอบน้อมเป็นสีแห่งความรัก ความเอื้อเฟื้อ ที่มีต่อบุคคลทั่วไปเป็นสีแห่งความเมตตา สีฟ้า เป็นสีประจำวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ซึ่งตรงกับวันศุกร์ ความหมายของสีฟ้า คือ ความเข้าแข็งอดทน ความกล้าหาญ ความเสียสละเป็นสีของท้องฟ้าที่มีอาณาเขต กว้างใหญ่ไพศาลไม่มีที่สิ้นสุด เพราะเป็นสีแห่งจักรวาล ดอกไม้ประจำโรงเรียน ดอกกุหลาบพันธุ์จุฬาลงกรณ์ ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นกัลปพฤกษ์เป็นต้นไม้ที่เป็นสัญลักษณ์ แห่งความชัยชนะ และความอิสระแห่งผล


1.2แผนที่แสดงการเดินทาง และที่ตั้ง 1.3 แผนผังโรงเรียน 1.3.1 แผนผังโรงเรียนปัจจุบัน


1.3.2 แผนผังการพัฒนาโรงเรียน


ทำเนียบผู้บริหาร นายสุโข วุฑฒิโชติ (พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2542) นายผจง อุบลเลิศ (พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2547) นายสุรัตน์ อัตนวานิช (พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2551) นางสาวอารีย์ ธงชัยภูมิ (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555)


1.4 ทำเนียบผู้บริหาร (ต่อ) นางเพ็ญพิไลลักษณ์ มณีภาค (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2558) นายบรรหาร เอี่ยมสอาด (พ.ศ 2558 – พ.ศ. 2561) ว่าที่ร้อยตรี ลมบล บุญมานะ (พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน)


1.5 ข้อมูลนักเรียน ระดับ ชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 คน ห้อง ช ญ รวม ช ญ รวม ช ญ รวม ช ญ รวม ช ญ รวม ช ญ รวม 1 20 13 33 10 25 35 16 20 36 10 29 39 9 30 39 7 28 35 2 10 22 32 12 22 34 15 20 35 15 28 43 19 24 43 16 22 38 3 4 24 28 9 21 30 11 18 29 14 28 42 17 27 44 20 22 42 4 11 25 36 18 20 38 13 19 32 25 15 40 22 16 38 22 21 43 5 20 18 38 14 22 36 15 16 31 16 23 39 15 25 40 19 22 41 6 20 18 38 19 18 37 11 17 28 15 22 37 12 39 41 8 22 30 7 24 15 39 22 15 37 22 14 36 4 37 41 6 30 39 12 27 39 8 20 17 37 23 13 36 21 14 35 20 19 39 25 14 39 23 18 41 9 17 19 36 26 11 37 19 16 35 21 18 39 28 13 41 21 19 40 10 21 18 39 18 19 37 20 16 36 10 25 35 9 12 21 4 17 21 11 24 14 38 17 20 37 21 13 34 5 16 21 12 18 21 39 18 19 37 23 12 35 13 21 17 38 19 17 36 23 13 36 14 22 16 38 20 17 37 23 11 34 รวม 252 258 510 244 259 504 253 219 472 155 260 415 162 220 382 152 218 370 ชาย 1,218 หญิง 1,434 ทั้งหมด 2,652


1.5.1 จำนวนของนักเรียนตามระดับชั้น (จำแนกตามเพศ) 20 10 4 11 20 20 24 20 17 21 24 18 21 22 13 22 24 25 18 18 15 17 19 18 14 21 17 16 0 5 10 15 20 25 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชาย หญิง 10 12 9 17 14 19 22 23 27 18 17 18 18 20 25 22 21 21 23 18 15 13 10 19 20 18 18 17 0 5 10 15 20 25 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชาย หญิง


1.5.1 จำนวนของนักเรียนตามระดับชั้น (จำแนกตามเพศ) (ต่อ) 16 15 11 13 15 11 22 21 19 20 21 23 23 23 20 20 18 19 16 17 14 14 16 16 13 12 13 11 0 5 10 15 20 25 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชาย หญิง 10 15 14 25 16 15 4 20 21 10 5 29 28 28 15 23 22 37 19 18 25 16 0 5 10 15 20 25 30 35 40 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชาย หญิง


1.5.1 จำนวนของนักเรียนตามระดับชั้น (จำแนกตามเพศ) (ต่อ) 9 19 17 22 15 12 6 25 28 9 30 24 27 16 25 39 30 14 13 12 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชาย หญิง 7 16 20 22 19 8 12 23 21 4 28 22 22 21 22 22 27 18 19 17 0 5 10 15 20 25 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ชาย หญิง


1.5.2 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนตามระดับชั้น 32 35 28 36 38 39 39 37 38 39 38 39 38 38 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ ำนวนนักเรียน 35 34 30 38 37 37 37 36 37 37 37 36 36 37 0 5 10 15 20 25 30 35 40 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ ำนวนนักเรียน


1.5.2 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนตามระดับชั้น (ต่อ) 36 35 29 32 31 28 37 35 36 36 35 36 37 36 0 5 10 15 20 25 30 35 40 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ ำนวนนักเรียน 39 43 42 40 39 37 41 39 39 35 21 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จ ำนวนนักเรียน


1.5.2 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนตามระดับชั้น (ต่อ) 39 43 44 38 40 41 39 39 41 21 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ ำนวนนักเรียน 35 38 42 43 41 30 39 41 40 21 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ ำนวนนักเรียน


1.6 ข้อมูลครู และบุคลากร 1.6.1 ตารางแสดงข้อมูลวิทยฐานะของบุคลากรครู ที่ รายการ จำนวน รวม คศ.4 คศ.3 คศ.2 คศ.1 ครู ผู้ช่วย พนักงาน ราชการ/ ครูพิเศษ 1 ฝ่ายบริหาร - 2 2 - - - 4 1.1 ผู้อำนวยการ - 1 - - - 1 1.2 รองผู้อำนวยการ - 1 2 - - - 3 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย - 2 1 6 2 1 12 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ - 2 2 13 1 1 19 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม - 7 3 4 2 - 16 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - 6 4 12 1 - 23 5.1 วิทยาศาสตร์ - 3 3 9 - - 15 5.2 เทคโนโลยี - 3 1 3 1 - 8 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ - 2 4 7 6 2 21 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา - 1 5 1 2 9 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา - 4 3 3 - - 10 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ - 2 3 2 2 - 9 10 แนะแนว - 2 2 - - 4 รวม 0 27 25 54 15 6 127


1.6.2 แผนภูมิแสดงร้อยละข้อมูลวิทยฐานะของบุคลากรครู 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% ข้อมูลวิทยฐานะของบุคลากรครู ช ำนำญกำรพิเศษ ช ำนำญกำร ครู ครูผู้ช่วย พนักงำนรำชกำร/ครูพิเศษ


1.6.3 ตารางแสดงข้อมูลคุณวุฒิทางการศึกษาของบุคลากรครู ที่ รายการ วุฒิการศึกษา หมาย เหตุ ปริญญา เอก ปริญญา โท ปริญญา ตรี 1 ฝ่ายบริหาร - 4 - 4 1.1 ผู้อำนวยการ - 1 - 1 1.2 รองผู้อำนวยการ - 3 - 3 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย - 2 10 12 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ - - 19 19 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม - 3 13 16 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - 10 13 23 5.1 วิทยาศาสตร์ - 6 9 15 5.2 เทคโนโลยี - 4 4 8 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ - 5 16 21 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา - 2 7 9 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา - 2 8 10 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ - 3 6 9 10 งานแนะแนว - 1 3 4 รวม 0 32 95 127


1.6.4 แผนภูมิแสดงร้อยละของวุฒิการศึกษาของบุคลากรครู 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% วุฒิการศึกษาของบุคลากรครู ปริญญำเอก ปริญญำโท ปริญญำตรี


1.7 ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ แผนผังการใช้ห้องเรียน ชั้น 5 แผนผังการใช้ห้องเรียน ชั้น 4


แผนผังการใช้ห้องเรียน ชั้น 3 แผนผังการใช้ห้องเรียน ชั้น 2


แผนผังการใช้ห้องเรียน ชั้น 1 1.8 ข้อมูลด้านงบประมาณ 1.8.1. สรุปรายงานการใช้งบประมาณ ปีการศึกษา 2565 กลุ่มบริหารวิชาการ ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 4,004,794.70 2,710,859.49 1,293,935.21 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4,712,080.00 1,986,985.55 2,725,094.45 3 เงินรายได้สถานศึกษา 9,591,744.00 6,955,465.80 2,636,278.20 4 อื่น ๆ 187,000.00 56,800.00 130,200.00 รวม 18,495,618.70 11,710,110.84 6,785,507.86


กลุ่มบริหารงบประมาณ ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 3,926,500.00 2,945,766.87 980,733.13 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 0.00 0.00 0.00 3 เงินรายได้สถานศึกษา 850,000.00 570,073.43 279,926.57 4 อื่น ๆ 0.00 0.00 0.00 รวม 4,776,500.00 3,515,840.30 1,260,659.70 กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 320,220.00 239,717.00 6,504.70 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 603,600.00 527,300.00 76,300.00 3 เงินรายได้สถานศึกษา 1,150,800.00 699,694.00 451,106.00 4 อื่น ๆ 2,267,000.00 451,500.00 1,815,500.00 รวม 4,341,620.00 1,918,211.00 2,349,410.70


กลุ่มบริหารบุคคล ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 206,210.00 34,691.00 171,519.00 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 0.00 0.00 0.00 3 เงินรายได้สถานศึกษา 5,013,000.00 4,451,302.50 561,697.50 4 อื่น ๆ 329,000.00 171,050.00 157,950.00 รวม 5,548,210.00 4,657,043.50 891,166.50 กลุ่มบริหารทั่วไป ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 1,267,400.00 964,547.25 302,852.75 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 0.00 0.00 0.00 3 เงินรายได้สถานศึกษา 4,553,240.00 3,505,150.20 1,048,089.80 4 อื่น ๆ 156,400.00 0.00 156,400.00 รวม 5,977,040.00 4,469,697.45 1,507,342.55


กลุ่มบริหารนโยบายและแผนงาน ที่ แหล่งที่มาของเงิน งบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรร เงินที่ใช้ เงินคงเหลือ 1 เงินอุดหนุนรายหัว 826,000.00 668,546.13 157,453.87 2 เงินอุดหนุนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 10,000.00 0.00 10,000.00 3 เงินรายได้สถานศึกษา 100,000.00 0.00 100,000.00 4 อื่น ๆ 362,000.00 13,000.00 349,000.00 รวม 1,298,000.00 681,546.13 616,453.87


2.1 คณะผู้บริหารโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ว่าที่ร้อยตรีลมบล บุญมานะ ผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ


นายสายชล อยู่นุช รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารวิชาการ นางเมตตา สิงห์งาม รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงบประมาณ และกลุ่มบริหารทั่วไป นางสาวศิริพร ภูมิภัทรพงศ์ รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารบุคคล และกิจการนักเรียน นางวนิดา จันทร์กระจ่าง ครูปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายและแผน


2.2 โครงสร้างบริหารงาน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ กระจายอำนาจการบริหารงานให้ บุคลากรในสถานศึกษาได้ร่วมกันตัดสินใจ และปฏิบัติงานร่วมเพื่อบรรลุเป้าหมายในการดำเนินงานและ ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยแบ่งโครงสร้างการบริหารเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหาร งบประมาณ กลุ่มบริหารบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป และฝ่ายงานนโยบายและแผน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการ โรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ หัวหน้าระดับชั้น หัวหน้าคณะสี หัวหน้ากลุ่มสาระ ซึ่งมีขอบข่ายและภารกิจการบริหารจัดการสถานศึกษา ดังนี้


3.1 วิสัยทัศน์ (VISION) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล ดำรงตนตามแนวพระราชดำริ 3.2 พันธกิจ (MISSION) 1. ส่งเสริมการบริหารจัดการองค์กรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสู่ความเป็นเลิศตามหลักธรรมาภิบาล 2. ส่งเสริมกระบวนการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพเพื่อดำรงคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากลอย่าง ยั่งยืน 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เป็นผู้นำที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงามบนพื้นฐานแห่งความเป็นไทย 4. พัฒนา ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 5. เสริมสร้างเครือข่ายเชื่อมโยง ความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำระหว่างบ้าน วัด โรงเรียนและองค์กร ภายนอก เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 3.3 เป้าหมาย (GOALS) 1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน 5. พัฒนาอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของสถานศึกษาเพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานตาม นโยบายของรัฐ 6. ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสาธารณะ 7. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ เน้นทักษะการคิด และการสื่อสารอย่างมีคุณภาพ


3.4 ปรัชญาการศึกษา สถานศึกษาได้จัดการศึกษาโดยยึดปรัชญาของโรงเรียนที่ว่า “สุวิชาโน ภวํ โหติ” แปลว่า ผู้รู้ดีเป็นผู้ เจริญเน้นการจัดการศึกษาที่สนองความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่นพัฒนาสมรรถภาพด้านการเขียน อ่าน ฟัง พูด การคิดที่เป็นระบบ การสื่อสารด้วยวิธีการจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนานักเรียนให้ เต็มศักยภาพที่ดีโดยยึดหลักการ “ทุกคนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามศักยภาพ” 3.5 เอกลักษณ์ของสถานศึกษา วิชาการเด่น เป็นผู้นำ กิจกรรมเยี่ยม 3.6 อัตลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย “เป็นผู้นำ รักเพื่อน นับถือพี่ เคารพครู กตัญญูพ่อแม่ ดูแลน้อง สนองคุณแผ่นดิน” 3.7 อัตลักษณ์ของนักเรียนกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ “ลูกนวมินทราชินี รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สืบสานความเป็นไทย สร้างสรรค์ศิลปาชีพ” 3.8 อัตลักษณ์ของนักเรียน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ “มีความรู้ คู่คุณธรรม เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ” 3.9 มาตรฐานคุณภาพ “กุหลาบหลวง” มาตรฐานคุณภาพ“กุหลาบหลวง”เป็นข้อกำหนดในการดำเนินงานของสถานศึกษาเครือข่าย สวนกุหลาบวิทยาลัย เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เจริญงอกงามอย่างสมดุลทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา มีอัตลักษณ์ “สุภาพบุรุษ/สุภาพสตรี สวนกุหลาบฯ” เจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล มี สมรรถนะเป็นพลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21 วัตถุประสงค์ มาตรฐานคุณภาพ “กุหลาบหลวง” กำหนดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้และระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาเครือข่าย


สวนกุหลาบวิทยาลัย ให้มีประสิทธิภาพเป็นแนวเดียวกัน 2. สร้างความตระหนัก ความพยายาม เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายในการ สนับสนุนส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อความเป็นเลิศด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 3. เป็นปทัสถานในการบริหารจัดการสถานศึกษาอย่างมีธรรมาภิบาล เสริมสร้างประสิทธิภาพด้วย ระบบเครือข่ายเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนสูงสุด องค์ประกอบ มาตรฐานคุณภาพ“กุหลาบหลวง”ประกอบด้วยข้อกำหนดในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนที่เกิดจากการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 มาตรฐานคุณภาพครอบครัวสวนกุหลาบฯ ส่วนที่ 2 มาตรฐานคุณภาพครูที่ปรึกษาสวนกุหลาบฯ ส่วนที่ 3 มาตรฐานคุณภาพครูผู้สอนสวนกุหลาบฯ ส่วนที่ 4 มาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาสวนกุหลาบฯ ส่วนที่ 5 มาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการเครือข่ายสวนกุหลาบฯ 3.10 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Character) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 3.11 สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน (Competency) 1. ความสามารถในการสื่อสาร


2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3.12 ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่ายและ พร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่าง หรือกิเลส มีความละอาย เกรงต่อบาปตามหลักของศาสนา 12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง 3.13 การดำเนินงานของสถานศึกษา (Improvement) โรงเรียนดำเนินการบริหารจัดการโดยระดมทรัพยากร การมีส่วนร่วม ในการจัดทำแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนา การประกันคุณภาพ การประเมินภายใน อันจะนำไปสู่การพัฒนาโดย มีการกระจายอำนาจ การบริหารให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วม (Participate) มีจิตสำนึก (Awareness) ความพยายามในการปฏิบัติ (Attempt) และนำไปสู่ความสำเร็จ (Achievement) โดยมีการวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Do) การ ตรวจสอบประเมินผล (Check) และการปรับปรุงแก้ไข (Action) ตามกระบวนการวงจรคุณภาพ (PDCA)


3.14 การจัดการเรียนการสอน (Learning) โรงเรียนใช้หลักสูตรในการจัดการศึกษา คือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักสูตรท้องถิ่น สนองความต้องการของชุมชนและผู้ปกครอง 3.15 กลยุทธ์ระดับโรงเรียน กลยุทธ์ในการพัฒนาของสถานศึกษาเน้นการพัฒนาคุณภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของชาติ และการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกำหนดกลยุทธ์การพัฒนา ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการบริหารจัดการองค์กรโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสู่ความเป็นเลิศตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์เชิงจุดมุ่งหมาย 1.1 ส่งเสริมให้มีระบบการบริหารจัดการที่คล่องตัว สะดวก รวดเร็ว มีความยืดหยุ่นในการบริหาร จัดการ มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอำนาจ 1.2 พัฒนาระบบอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้และระบบสาธารณูปโภคให้เอื้อต่อ การปฏิบัติงานและสนับสนุนต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 1.3 ส่งเสริมการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 1.4 ส่งเสริมการบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความ โปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า 1.5 ส่งเสริมให้ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่มีความสะดวกรวดเร็ว ทันสมัยในการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมกระบวนการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพเพื่อดำรงคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากลอย่าง ยั่งยืน วัตถุประสงค์เชิงจุดมุ่งหมาย 2.1 กระบวนการจัดการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานและบูรณาการหลักสูตรสวนกุหลาบศึกษาใน การจัดการเรียนการสอน 2.2 หลักสูตรสถานศึกษามีความเหมาะสมสอดคล้องกับท้องถิ่นและบริบทของสถานศึกษา 2.3 หลักสูตรสถานศึกษามีความหลากหลาย ตรงตามความถนัด ความสามารถ ความต้องการและ ความสนใจของผู้เรียน 2.4 หลักสูตรสถานศึกษามีคุณภาพ สามารถเทียบเคียงมาตรฐานสากลและดำรงคุณภาพอย่างยั่งยืน


2.5 มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินและควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอย่าง สม่ำเสมอ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เป็นผู้นำที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงามบนพื้นฐานแห่งความเป็นไทย วัตถุประสงค์เชิงจุดมุ่งหมาย 3.1 ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ มีความเป็นสุภาพบุรุษและสุภาพสตรี รักศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิแห่งสวนกุหลาบวิทยาลัย 3.2 ผู้เรียนมีความรู้ คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.3 ผู้เรียนมีสุขภาวะด้านการออกกำลังกายและสุขภาพที่ดี รวมทั้งมีสุนทรียภาพทั้งด้านศิลปะ ดนตรี กีฬาที่ดี 3.4 ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เข้าใจและยอมรับวัฒนธรรมที่แตกต่าง มีทักษะในการทำงาน สามารถ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี 3.5 ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการเรียนรู้ตามทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนา ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ วัตถุประสงค์เชิงจุดมุ่งหมาย 4.1 ส่งเสริมครูและบุคลกรทางการศึกษาด้านความคิด ทัศนคติ พลังและสร้างแรงบันดาลใจใน การทำงาน สำหรับครูในศตวรรษที่ 21 4.2 ส่งเสริมครูและบุคลกรทางการศึกษาด้านความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ 4.3 ส่งเสริมครูด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 4.4 ส่งเสริมครูและบุคลกรทางการศึกษาตามมาตรฐานกุหลาบหลวงและตามมาตรฐานวิชาชีพ 4.5 ส่งเสริมครูให้มีความรู้ความสามารถในด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ การวิจัย การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีในการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 สร้างเครือข่ายเชื่อมโยง ความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และองค์กรภายนอกเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ


วัตถุประสงค์เชิงจุดมุ่งหมาย 5.1 มีการระดมทรัพยากรและให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดและพัฒนาการศึกษา 5.2 พัฒนาความสามารถระหว่างโรงเรียน กับ เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน บ้าน วัด และหน่วยงานอื่นๆ ให้มีความเข้มแข็ง 5.3 ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาสถานศึกษาด้วยการทำ MOU กับหน่วยงานต่างๆ 5.4 พัฒนาเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ และโรงเรียนเครือข่ายสวนกุหลาบฯ ให้มี ความเข้มแข็ง 5.5 ส่งเสริมให้ครู/นักเรียนมีเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น ทั้งระดับประเทศและระหว่าง ประเทศ


3.16 LOMBOL Model LOMBOL MODEL Learning : การเรียนรู้ตลอดชีวิต Organization : เครือข่ายองค์กร Management : การบริหารจัดการ Believe : คุณภาพชีวิต Out put : ผลิตผลองค์กร L O M B O Lasting : บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ L


3.17 ส ภ า พ ข อ ง โ ร ง เ ร ี ย น ผ ล ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ส ภ า พ แ ว ด ล ้ อ ม ( S W O T ) การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (STEP) ปัจจัยภายนอก โอกาส อุปสรรค ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม (Social – cultural factors) - โรงเรียนมีวัฒนธรรมองค์กรสวนกุหลาบที่เข้มแข็ง - ผู้ปกครองชุมชนมีความศรัทธาในสถาบันสวนกุหลาบ จึงนิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียน - ผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นความสำคัญด้านการศึกษา และให้การส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนด้านการศึกษา - วัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมให้ รักสถาบัน -โรงเรียนมีกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในเครือโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยและกลุ่มโรงเรียนเฉลิม พระเกียรติฯ - โรงเรียนตั้งอยู่ในย่านชานเมือง การจราจร ไม่ติดขัด - สภาพแวดล้อมที่ตั้งของโรงเรียนมีความเหมาะสม มีบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติใกล้ทะเลและป่าชายเลน เอื้อต่อการเรียนรู้ - อัตราการเกิดลดลงส่งผลให้ประชากร ในวัยเรียนลดลง -โรงเรียนอยู่ในแหล่งชุมชนที่มีสภาวะเสี่ยงต่อ พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ - มีสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นในจังหวัด สมุทรปราการ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technological factors ) - ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต) ส่งผลให้นักเรียนมีแหล่งสืบค้นข้อมูลที่หลากหลาย - ความเจริญของเทคโนโลยีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ด้วยตนเอง - ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีช่องทางการติดต่อ สื่อสารที่หลากหลาย - ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สื่อ นวัตกรรม เอื้อต่อการนำมาพัฒนา ระบบการบริหารของโรงเรียน - มีการใช้สื่อเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตมากเกินไป ทำให้เกิดผลเสียด้านการเรียน - มีการนำสื่อเทคโนโลยีไปใช้ในการให้ข้อมูลทางลบ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic factors ) - โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายนอก - ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความพร้อมในด้านเศรษฐกิจ - ได้รับการสนับสนุน งบประมาณ (เงินอุดหนุน) จาก สพฐ. - ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทำให้โรงเรียนมีข้อจำกัด ในการระดมทรัพยากร - ภาวะเศรษฐกิจถดถอยกระทบต่อรายได้ของ ผู้ปกครองส่งผลให้นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงด้าน พฤติกรรม - การคมนาคมไม่สะดวก รถประจำทางมีน้อย กระทบต่อรายจ่ายของผู้ปกครอง (นักเรียนนั่งรถประจำค่าใช้จ่ายสูง)


ปัจจัยภายนอก โอกาส อุปสรรค ปัจจัยด้านการเมือง กฎหมายและนโยบาย (Political and legal factors) - นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมสนับสนุนด้านการศึกษา ให้โอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกัน - รัฐบาลจัดสรรงบประมาณเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้ปกครอง - รัฐบาลให้การส่งเสริม และสนับสนุนนักเรียนที่ขาดโอกาสทางการศึกษาและมีนโย บายที่ช่วยเหลือ - พระราชบัญญัติการศึกษาให้ทุกคนมีโอกาสศึกษา ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล - นโยบายรัฐบาล เรื่อง การศึกษาภาคบังคับ - นโยบายรัฐบาลให้โรงเรียนจัดการเรียนการสอน ตามความต้องการของทัองถิ่น - มีระเบียบ กฏหมาย วินัย จรรยาบรรณ ให้ยึดถือปฏิบัติที่ชัดเจน - นโยบายของรัฐบาลและคณะรัฐบาล ที่เปลี่ยนแปลงบ่อยทำให้แนวทางการจัดการศึกษา ไม่แน่นอน - นโยบายการจัดสรรงบประมาณรายหัวของรัฐบาล ยังไม่เพียงพอกับการบริหารจัดการภายในโรงเรียน - ไม่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น รายการปัจจัย สภาพแวดล้อมภายนอก น้ำหนัก คะแนนเฉลี่ย น้ำหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการวิเคราะห์ โอกาส อุปสรรค โอกาส อุปสรรค S 0.3 4.25 -3.96 1.28 -1.19 0.09 T 0.22 4.29 -4.15 0.94 -0.91 0.03 E 0.13 4.06 -4.11 0.53 -0.53 -0.01 P 0.35 4.37 -4.43 1.53 -1.55 -0.02 รวม 1 4.28 -4.19 0.09


การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ( 2S4M ) ปัจจัยภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน ด้านโครงสร้างและนโยบาย องค์กร (Structure : S1) - โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารที่ชัดเจนครบ 4ฝ่ายตามโครงสร้างการบริหารโรงเรียนนิติบุคคล - โรงเรียนกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจยุทธศาสตร์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเป้าประสงค์ที่ชัดเจน สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ - โรงเรียนยืดหลักการบริหารโดยใช้หลัก ธรรมาภิบาล - โรงเรียนมีแผนการปฏิบัติการแผนการพัฒนา โรงเรียนในการกำหนดทิศทางในการพัฒนา การจัดการศึกษาของโรงเรียน - โรงเรียนได้ดำเนินการตามธรรมนูญของสถาบัน สวนกุหลาบ - การพรรณนางานตามโครงสร้างการบริหารไม่ ครอบคลุมและซ้ำซ้อนส่งผลให้การดำเนินงานไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร - แนวทางด้านการจัดซื้อ - จัดจ้างและซ่อมบำรุงหลายขั้นตอนทำให้เกิด ความล่าช้า ด้านการบริการ การจัดการเรียนการสอนและคุณภ าพผู้เรียน (Service/Products:S2) - หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียนผู้ปกครอง และชุมชน - มีการจัดคุณภาพการเรียนการสอนตาม มาตรฐานคุณภาพกุหลาบหลวง - โรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ให้การสนับสนุนช่วยเหลือด้านครูผู้สอน (O-NET) - กิจกรรมเสริมหลักสูตรมีมากส่งผลให้เวลาเรียนน้อยลง - ในบางครั้ง ขาดการบริการที่ดี ต่อผู้มาติดต่อ ด้านการบริการ การจัดการเรียนการสอนและ คุณภาพผู้เรียน (Service/Products:S2) - มีการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ผู้เรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้น ค่าคะแนนเฉลี่ย (O-NET) สูงกว่าระดับประเทศ - โรงเรียนมีหลักสูตรที่หลากหลายได้แก่ 1. หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตร MEP 2. หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ (gifted) 3. หลักสูตรสวนกุหลาบศึกษา 4. หลักสูตรท้องถิ่น 5. หลักสูตรนวมินทราชินีศึกษา - โรงเรียนเป็นโรงเรียนอัตราการแข่งขันสูง - ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการศึกษาต่อโรงเรียน เดิม


ปัจจัยภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน ด้านบุคลากร (Man:M1) - ครูมีศักยภาพในการสอนตรงตามสาขาวิชา - ครูมีความเชี่ยวชาญในสาขา เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภายนอก - ครูมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ครูอุทิศตน รับผิดชอบต่อหน้าที่ - ครูมีความกระตือรือร้น ในการพัฒนาตนเอง - อัตราการย้ายของบุคลากรสูง - โรงเรียนมีอัตรากำลังครูบางสาขาไม่เพียงพอ ปัจจัยภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน ด้านการเงิน (Money:M2) - โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง ด้านการระดมทรัพยากร(เงินบำรุงการศึกษา) ในการบริหารจัดการตามกรอบนโยบายของรัฐ - มีแผนการใช้จ่ายเงินตามแผนปฏิบัติการอย่าง เป็นระบบชัดเจน - มีรายงานการใช้จ่ายเงินตามระเบียบราชการ - โรงเรียนมีงบประมาณน้อยจึงจัดสรรให้กับการดำเนิน งานบริหารการศึกษาไม่เพียงพอ - ขั้นตอนการเบิกจ่ายมาก ด้านวัสดุอุปกรณ์ (Matrials:M3) - มีสื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัย - มีวัสดุ-อุปกรณ์ทั่วไปในการจัดการเรียน การสอนอย่างพอเพียง - ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้มีวัสดุ-อุปกรณ์ ไว้บริการอย่างหลากหลาย - ห้องเรียนไม่เพียงพอในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน - อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีมีจำนวนไม่พอเพียงต่อ จำนวนนักเรียน - ขาดการบำรุง ดูแลและตรวจสอบวัสดุคุรุภัณฑ์ ที่เป็นปัจจุบัน ด้านการบริหารจัดการ (Management:M4) - ใช้หลักการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วม มีการวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ดำเนินงานตามแผน - โรงเรียนจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มี เครือข่ายผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม - ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา - สนับสนุนส่งเสริมบุคลากรให้พัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องโรงเรียนมีการประสานงานกับหน่วยงานอื่นใน การพัฒนาโรงเรียนและได้รับความร่วมมือ เป็นอย่างดี - โรงเรียนได้รับรางวัลคุณภาพ OBECQA ระดับสพฐ. - การดำเนินงานต่างๆขาดการนิเทศกำกับติดตาม อย่างต่อเนื่อง - ขาดการนำระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการ บริหารจัดการ


รายการปัจจัย สภาพแวดล้อมภายใน น้ำหนัก คะแนนเฉลี่ย น้ำหนักคะแนนเฉลี่ย สรุปผลการวิเคราะห์ แข็ง อ่อน แข็ง อ่อน S1 0.28 4.38 -4.34 1.23 -1.22 0.01 S2 0.16 4.07 -4.12 0.65 -0.66 -0.01 M1 0.18 4.53 -4.28 0.82 -0.77 0.05 M2 0.12 4.37 -4.22 0.52 -0.51 0.02 M3 0.12 3.8 -4.3 0.46 -0.52 -0.06 M4 0.14 4.16 -4 0.58 -0.56 0.02 รวม 1 4.26 -4.23 0.03 3.18 รายชื่อวิชาที่เปิดสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.1 ท21101 ภาษาไทย ม.1 ท21201 เสริมทักษะภาษาไทย ม.2 ท22101 ภาษาไทย ม.2 ท22201 วรรณกรรมท้องถิ่น ม.3 ท23101 ภาษาไทย ม.3 ท23201 พัฒนาทักษะการเขียน


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.4 ท31101 ภาษาไทย ม.4 ท30201 พัฒนาทักษะการอ่าน ม.4 ท30207 การอ่านตีความ ม.5 ท32101 ภาษาไทย ม.5 ท30203 การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ม.5 ท30209 ภาษาและวัฒนธรรม ม.6 ท33101 ภาษาไทย ม.6 ท30205 หลักภาษาไทย ม.6 ท30211 ภาษาและการแสดง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.1/1 - 14 ว21101 วิทยาศาสตร์ ม.1 / 1 - 2, 4 ว20201 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มเติม ม.1 ว20203 ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ม.2/1 - 14 ว22101 วิทยาศาสตร์ ม.2/1 – 2, 4 ว20204 ชีววิทยา เพิ่มเติม ม.2 ว20205 สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ม.3/1 - 14 ว23101 วิทยาศาสตร์ ม.3/1 – 2 ว20208 ฟิสิกส์ ม.3/4, 6 ว20209 พลังงาน


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.4/1 - 11 ว31101 ฟิสิกส์พื้นฐาน ม.4/1 – 4, 10 ว31102 เคมีพื้นฐาน ม.4/1 – 4, 10 ว31103 ชีววิทยา ม.4/10 ว30206 เทคนิคปฏิบัติการฟิสิกส์ ม.5/5 – 9 ว32101 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.5/1 – 4, 10 ว30202 ฟิสิกส์เพิ่มเติม ม.5/1 – 4, 10 ว30222 เคมีเพิ่มเติม ม.5/10 ว30226 เทคนิคปฏิบัติการเคมี ม.5/1 – 4, 10 ว30242 ชีววิทยาเพิ่มเติม ม.6/1 - 11 ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม ม.6/1 – 4, 10 ว30224 เคมีเพิ่มเติม ม.6/1 – 4, 10 ว30244 ชีววิทยา ม.6/5 - 9 ว30261 วิทยาศาสตร์


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.1 ว21103 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.1 ว20229 โปรแกรมสร้างงาน ม.1 ว20213 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ม.1 ว20214 คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ม.1 ว20220 กราฟฟิกพื้นฐาน ม.1 ว20235 คอมพิวเตอร์เพื่อการฝึกพิมพ์ ม.2 ว22103 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.2 ว20231 โปรแกรมออกแบบและตัดต่อภาพ ม.2 ว20218 พื้นฐานการเขียนเว็บเพจ ม.2 ว20227 กูเกิ้ลแอปเพื่อการประยุกต์ ม.2 ว20237 อินโฟกราฟฟิกพื้นฐาน ม.2 ว20238 โปรแกรมสแครชเพื่อการศึกษา ม.3 ว23103 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.3 ว20233 การสร้างสื่อ E - Leaning ม.3 ว20221 เทคโนโลยีสื่อผสม ม.3 ว20222 เทคโนโลยีการนำเสนอ ม.3 ว20225 เทคโนโลยีการคำนวณ ม.3 ว20241 การตัดต่อวีดีโอ


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.1 ค21101 คณิตศาสตร์ ม.1 ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ค21209 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ค22101 คณิตศาสตร์ ม.2 ค22201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ค22207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ค22209 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 ค23101 คณิตศาสตร์ ม.3 ค23201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 ค23203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 ค23205 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.3 ค23207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.4 ว31105 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.4 ว30281 กราฟฟิกและแอนิเมชั่น ม.4 ว30282 สร้างตัวละคร 3 D ม.5 ว32103 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.5 ว30285 หลักการพัฒนาเว็บไซต์ ม.5 ว30287 อัลกอริทึมและการเขียนผังงาน ม.5 ว30207 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ม.6 ว33101 เทคโนโลยีพื้นฐาน ม.6 ว30292 เทคโนโลยีคำนวณขั้นสูง ม.6 ว30293 การวิเคราะห์ระบบงาน ม.6 ว30295 โครงงานคอมพิวเตอร์ ม.6 ว30298 ฐานข้อมูลและมัลติมีเดีย


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.4 ค31101 คณิตศาสตร์ ม.4 ค31203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 ค32101 คณิตศาสตร์ ม.5 ค32203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.6 ค33101 คณิตศาสตร์ ม.6 ค33203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม.1 / 1 - 14 อ21101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน เพิ่มเติม ม.1 อ20214 วัฒนธรรมนานาชาติ ม. 1/ 3 อ20224 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ม. 1/ 3 อ20230 พื้นฐานการเขียน ม. 1/ 3 อ20231 พื้นฐานการอ่าน เพิ่มเติม ม.1 จ20201 วัฒนธรรมจีน ม.1 ยกเว้น MEP จ20207 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน เพิ่มเติม ม.1 ญ20201 ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน ม. 2 / 1 - 14 อ22102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ม.2/3 อ20227 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง ม.2/1,2, 4 - 14 จ20210 เสริมทักษะภาษาจีน เพิ่มเติม ม.2 จ20204 ประเพณีจีนและความเชื่อ เพิ่มเติม ม.2 ญ20204 สนุกกับคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ม. 3 / 1 - 14 อ23102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ม.3/1,2, 4 - 14 จ20212 รอบรู้ภาษาจีน ม. 3 / 3 อ20229 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ม. 3 / 5, 6 อ20219 พื้นฐานการอ่าน - เขียน เพิ่มเติม ม.3 ญ20206 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการศึกษาต่อ


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับชั้น รหัสวิชา รายวิชา ม. 4 / 1 - 11 อ31101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ม. 4 / 1 - 10 อ31201 ภาษาอังกฤษวิเคราะห์ ม. 4 / 1 - 10 อ30211 ภาษาอังกฤษรอบรู้ ม. 4 /5 อ31202 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม. 4 /5 อ31205 ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ม. 4 /11 อ31207 สนทนาภาษาอังกฤษ ม. 4 /11 อ31208 การพัฒนาทักษะการอ่าน ม. 4 /11 อ31209 การเขียนย่อหน้า ม. 4 /11 อ31210 ภาษาอังกฤษสำหรับสื่อสังคม ม. 4 / 6 ญ31201 ภาษาญี่ปุ่น ม. 4 / 6 ญ31203 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร ม. 4 / 6 ญ31205 ญี่ปุ่นที่คุณควรรู้ ม. 4 / 7 จ31201 ภาษาจีน ม. 4 / 7 จ31203 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ม. 4 / 7 จ31205 การสนทนาภาษาจีนธุรกิจ ม. 5 / 1 -10 อ32101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ม. 5 / 1 -10 อ32201 ภาษาอังกฤษวิเคราะห์ ม. 5 / 5 อ32202 ภาษาอังกฤษฟัง - พูด ม. 5 / 6 ญ32201 ภาษาญี่ปุ่น ม. 5 / 6 ญ32203 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร ม. 5 / 6 ญ32205 สนทนาภาษาญี่ปุ่นธุรกิจ ม. 5 / 7 จ32201 ภาษาจีน ม. 5 / 7 จ32203 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ม. 5 / 7 จ32205 การสนทนาภาษาจีนธุรกิจ ม. 6 / 1 - 10 อ33101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ม. 6 / 1 - 10 อ33201 ภาษาอังกฤษวิเคราะห์ ม. 6 / 5 อ33202 ภาษาอังกฤษเพื่อการแปล ม. 6 / 6 ญ33201 ภาษาญี่ปุ่น ม. 6 / 6 ญ33202 ทักษะฟัง - พูด ภาษาญี่ปุ่น


Click to View FlipBook Version