สารคดีศลิ ปะและวฒั นธรรมภาคใต้
โดยวิทยาลยั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
ตอนท1่ี มาฆบูชาแหผ่ า้ ข้นึ ธาตุ
จังหวัดนครศรีธรรมราชขึ้นชื่อวา่ เปน็ “นครสองธรรม” อนั เน่อื งมาจากความโดดเด่นท้งั ในเรอื่ งของ
“ธรรมะ”และ“ธรรมชาติ” โดยเฉพาะเร่อื งของธรรมะนัน้ จะเหน็ ได้จากการทเ่ี มืองนครเป็นอาณาจักรโบราณที่
มปี ระวัติศาสตร์ความรงุ่ เรอื งมาอย่างยาวนาน ในฐานะเมืองศนู ยก์ ลางและเมืองท่าสาคญั แห่งแหลมมลายู อีก
ทง้ั เปน็ ศูนย์กลางของพระพทุ ธศาสนาในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้
รอ่ งรอยที่ยงั สามารถเห็นได้ชัดเจนกค็ ือพระธาตอุ งค์ใหญ่หรอื พระบรมธาตเุ มืองนคร อันเป็นท่ีเคารพ
สกั การะของชาวพุทธจากท่ัวทุกสารทศิ พระบรมธาตเุ มืองนคร “พระบรมธาตุเจดยี ์” หรอื “พระมหาธาตเุ มอื ง
นคร” ประดิษฐานอยู่ที่ “วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร” ถ.ราชดาเนนิ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง เปน็ ศนู ย์รวมจิตใจ
ของชาวนครศรีธรรมราช และเป็นสิ่งศกั ด์ิสทิ ธิส์ าคัญของพุทธศาสนกิ ชน แตไ่ มป่ รากฏหลักฐานการก่อสร้างท่ี
แนช่ ัด แต่มีตานานกลา่ ววา่ พระบรมสารรี ิกธาตเุ สด็จมาสูห่ าดทรายแกว้ เม่ือประมาณ พ.ศ. 834 นางเหมชาลา
และพระธนกุมารจึงได้สรา้ งพระมหาธาตเุ พ่ือบรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ
พระมหาธาตุมีสถาปัตยกรรมด้งั เดิมเป็นแบบใดไม่ปรากฏ แต่ไดร้ บั การก่อสร้างตกแตง่ เพม่ิ เติมอยู่
เสมอ ในราวพุทธศตวรรษท่ี 13 ตรงกบั สมัยอาณาจักรตามพรลงิ ค์ เมืองนครฯ ไดร้ บั อทิ ธิพลจากพทุ ธศาสนา
นกิ ายมหายาน จึงสันนิษฐานวา่ พระมหาธาตุอาจมลี ักษณะสถาปตั ยกรรมแบบศรีวชิ ัย ตอ่ มา ราวพุทธศตวรรษ
ท่ี 17 ในสมยั พระเจา้ ศรีธรรมโศกราช ปฐมวงศ์ศรีธรรมโศกราช ไดน้ มิ นต์คณะสงฆจ์ ากลังกามายงั เมอื งนคร
ฯ และได้สถาปนาพุทธศาสนานกิ ายลังกาวงศ์ขึน้ จากน้นั จึงได้ช่วยกนั บรู ณะปฏสิ งั ขรพระมหาธาตุ โดยสร้าง
สถปู ลงั กาครอบพระมหาธาตุองค์เดิม เปน็ สถาปัตยกรรมแบบลงั กาทรงโอควา่ ปากของระฆงั ติดกบั พื้นกาแพง
แก้ว ทม่ี มุ กาแพงแกว้ มีพระมหาธาตุจาลองประดิษฐานทั้งส่ีมุม
ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นส่ิงน่าหวงแหน ร่วมกันอนุรักษ์สืบทอดไว้เป็นสมบัติของชาติ ความเช่ือ ข้อ
ปฏิบัติของคนโบราณยังมีมาตรฐานน่าจดจาสาหรับการลอกเลียนแบบเพราะน่ีคือประสบการณ์ จากรุ่นสู่รุ่น
เปน็ แนวปฏิบัติท่ีดีมาแตร่ นุ่ ปู่เล่าสู่กนั มา
ขอขอบคุณข้อมลู สารคดจี ากวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาภาคใต้
สารคดศี ลิ ปะและวัฒนธรรมภาคใต้
โดยวิทยาลัยศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ตอนที่2 มาฆบชู าแหผ่ า้ ข้นึ ธาตุ
ในนอดตี การแห่ผา้ ข้ึนธาตนุ น้ั ไมป่ รากฏวา่ มีกาหนดวันตายตัววา่ แตล่ ะปีจะต้องทาวันใด อาจจะ
กาหนดตามฤกษ์สะดวก แต่การแหผ่ ้าขึ้นธาตุมักจัดในงานสมโพสพระมหาธาตุ กาหนดการแหผ่ ้าขึน้ ธาตุจึง
ข้ึนอยูก่ ับงานสมโพสและจัดไม่แนน่ อนในแต่ละปี กระทั่งในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้
นภาลัย รชั กาลท่ี 2 ปรากฏว่าไดท้ าการแหผ่ ้าขึน้ ธาตใุ นวนั ข้ึน 15 คา่ เดอื น 6 หรือวันวิสาขบูชา ครนั้ ถงึ สมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลที่ 4 มพี ระราชประสงคใ์ ห้พุทธศาสนกิ ชนจดั พิธีทางพทุ ธศาสนา
เพิม่ อกี วันหน่ึง ดงั น้นั ในวนั ขึ้น 15 คา่ เดือน 3 หรือวันมาฆบูชา จึงได้มีการแห่ผ้าขน้ึ ธาตุเพ่ิมอกี วนั หนึง่ ดว้ ย
มเี ร่อื งเล่าตานานที่มาของการแห่ผ้าขึ้นธาตวุ า่ ไม่กี่วนั กอ่ นจะเริ่มพธิ สี มโภชพระมหาธาตุ ผา้ ขาวผืน
หนึง่ ท่ีมลี ายเขียนพุทธประวตั ิ เรยี กกนั วา่ “พระบต” หรือ “พระบฏ” ถูกคล่นื ซดั ขึน้ ที่หาดปากพนัง ชาวบ้าน
จงึ นาผา้ ผนื นัน้ ถวายพระเจ้าศรีธรรมโศกราช เม่อื เจ้าพนักงานทาความสะอาดแล้วเสรจ็ ปรากฏว่าลายเขยี นนั้น
ก็ไม่เลือนหายไป ซกั เสรจ็ จงึ ผ่ึงไว้ในพระราชวงั และประกาศหาเจ้าของจนได้ความว่า พระบฏเปน็ ของ
พทุ ธศาสนิกชนคณะหนึง่ ที่แล่นเรอื มาจากเมืองหงสาวดี มี “ผขาวอริพงษ์” เปน็ หัวหนา้ คณะจะนาพระบฏไป
บูชาพระพทุ ธบาททีล่ งั กา แต่ถูกมรสุมพัดจนเรือแตกเสยี ก่อน
พุทธศาสนกิ ชนกลมุ่ น้ันมรี าว 100 คน รอดเพียง 10 คน ผขาวอรพิ งษ์ทรี่ อดชีวิตมาด้วยก็ยนิ ดีถวายผ้า
พระบฏให้เจา้ เมืองนครศรธี รรมราช พระเจา้ ศรีธรรมโศกราชจึงโปรดใหช้ าวเมืองจัดเครื่องประโคมแห่แหนข้ึน
หม่ พระมหาธาตุ ในคราวเดยี วกับการสมโภชพระมหาธาตุนนั้ เอง
อยา่ งไรกต็ าม จากหนงั สอื “สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้” อธบิ ายตานานเรื่องน้ีต่างออกไป
เลก็ นอ้ ย กล่าวคือ คณะพทุ ธศาสนิกชนล่องเรือมาจากเมืองอินทรปัต ซ่ึงอย่บู รเิ วณลมุ่ แมน่ า้ โขงฝ่งั เขมร จะนา
พระบฏไปถวายเปน็ พุทธบูชาพระทันตธาตุหรือพระเข้ยี วแก้วทล่ี ังกา และเข้ามาเมืองนครศรธี รรมราชในรชั
สมัยพระเจ้าจันทรภาณุ ผู้เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช สว่ นหวั หนา้ คณะพุทธศาสนิกชนน้ันไม่
ปรากฏชอื่ แตเ่ สียชวี ิตไปเนื่องจากจมน้า แมต้ านานจากทั้งสองแหลง่ ท่ีมาจะเล่ารายละเอียดแตกต่างต่างกัน แต่
เลา่ เรื่องราวไปในทิศทางเดยี วกนั คอื เรือของพุทธศาสนิกชนคณะหน่ึงท่ีกาลังจะไปลังกาเกิดเหตุเรือแตกกลาง
ทะเล แล้วคลื่นไดซ้ ัดผ้าพระบฏมาขึน้ ทช่ี ายหาด ก่อนจะนาผา้ พระบฏไปห่มพระมหาธาตุในการสมโภชพระ
มหาธาตเุ พ่ือถวายเป็นพุทธบูชา
ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นสิ่งน่าหวงแหน ร่วมกันอนุรักษ์สืบทอดไว้เป็นสมบัติของชาติ ความเช่ือ ข้อ
ปฏิบัติของคนโบราณยังมีมาตรฐานน่าจดจาสาหรับการลอกเลียนแบบเพราะน่ีคือประสบการณ์ จากรุ่นสู่รุ่น
เป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดมี าแต่รุ่นป่เู ล่าสูก่ นั มา
ขอขอบคุณข้อมลู สารคดีจากสารานกุ รมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เลม่ ที่ 18
สารคดีศลิ ปะและวัฒนธรรมภาคใต้
โดยวิทยาลัยศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
ตอนที3่ ขา้ วมธุปายาส
ขา้ วยาคูหรือขา้ วยาโค เป็นช่ือทค่ี นภาคใต้เรียกกนั ทวั่ ไป ในพุทธประวัติเรยี กวา่ “ขา้ วมธปุ ายาส
ยาคู” ซ่ึงเปน็ ขา้ วทน่ี างสุชาดานาไปถวายพระพทุ ธเจ้า พุทธศาสนกิ ชนเช่ือว่าข้าวยาคูเป็นอาหารทิพยใ์ ห้
สมองดเี กิดปญั ญาแกผ่ ้บู ริโภค ทาใหผ้ ิวพรรณผ่องใส อายุยืนยาว และเปน็ โอสถขนานเอก ขจัดโรคร้ายทุกชนิด
และบนั ดาลความสาเร็จในการประกอบอาชีพเปน็ สิรมิ งคลแก่ผูบ้ รโิ ภคดว้ ย
เดือนสามเปน็ ระยะเวลาทีข่ ้าวในนากาลงั ออกรวง เมล็ดข้าวยังไมแ่ ก่กาลงั เป็นน้านมข้าวสาหรบั นามา
กวนข้าวยาคู ชาวบา้ นจงึ นิยมกวนขา้ วยาคใู นวันข้ึน ๑๓ ค่า และ ๑๔ ค่า เดอื น๓ โดยใช้วัดเป็นสถานที่กวนข้าว
ยาคู เพราะว่าวดั เป็นศูนย์รวมของประชาชน โดยเฉพาะจงั หวดั นครศรีธรรมราชมีการจดั กวนข้าวยาคูขึน้ ตาม
วัดต่าง ๆ และได้มีการจัดพธิ ีกวนข้าวยาคูเป็นพเิ ศษ จานวน ๙ กระทะ ณ วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ในวนั
ขน้ึ ๑๓ ค่า เปน็ ประจาทุกปี
การกวนข้าวยาคูตอ้ งใช้ความร้อนสูง ลักษณะของเตานยิ มขุดลงไปในพ้ืนดินเปน็ รูปตัวที ใหค้ วามร้อน
ระอุอยู่ภายในตลอดเวลา เตาดนิ สามารถเก็บความร้อนไว้ได้มากลมไม่โกรก มชี ่องสาหรับใสฟ่ ืนเชือ้ เพลิงและมี
รชู อ่ งระบายอากาศ ชาวบ้านเรยี กวา่ รูพงั เหย เตาไฟของวดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหารใชเ้ ป็นเตาเหลก็ ตงั้ บน
พ้ืนดนิ แต่เก็บความร้อนได้ดี
การกวนขา้ วยาคู ของวดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร เริ่มด้วยพิธบี วงสรวงพระบรมธาตุเจดีย์ ซึง่ เปน็
พธิ พี ราหมณ์ เสร็จแล้วจึงบชู าพระรตั นตรยั อาราธนาศีล สาวพรหมจารีรบั สมาทานศีล ประธานในพธิ ีทัดดอก
มะตมู ใหส้ าวพรหมจารี
ขอขอบคุณการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) สานกั งานนครศรธี รรมราช
ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นสิ่งน่าหวงแหน ร่วมกันอนุรักษ์สืบทอดไว้เป็นสมบัติของชาติ ความเช่ือ ข้อ
ปฏิบัติของคนโบราณยังมีมาตรฐานน่าจดจาสาหรับการลอกเลียนแบบเพราะน่ีคือประสบการณ์ จากรุ่นสู่รุ่น
เป็นแนวปฏิบตั ทิ ี่ดมี าแต่ร่นุ ปเู่ ล่าสกู่ ันมา
ขอขอบคุณข้อมลู สารคดีจากสารานกุ รมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เล่มท่ี 18
สารคดศี ิลปะและวัฒนธรรมภาคใต้
โดยวทิ ยาลยั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ตอนท4ี่ เวยี นเทยี น
การเวียนเทยี น คือการเดนิ เวยี นรอบปูชนยี สถานสาคญั เช่น อโุ บสถ วิหาร หรือพระพุทธรปู เพ่อื
ระลกึ ถึงคุณของพระรัตนตรยั ในวันสาคญั ต่างๆ โดยใชเ้ ทยี นธปู และดอกไม้เป็นเครื่องสกั การะบูชา ถือไวใ้ นมอื
แล้วเดินเวยี น 3 รอบ ขณะท่เี ดินรอบนนั้ พึงตัง้ จิตให้สงบ พร้อมสวดระลึกถึงพระพุทธคุณ ด้วยการสวดบท"อิ
ติปิโส" ระลกึ ถงึ พระธรรมคุณ ดว้ ยการสวดสวากขาโต และระลึกถงึ พระสงั ฆคุณ ดว้ ยการสวดสุปะฏปิ นั โน
จนกว่าจะเวยี นจบ 3 รอบ
พธิ ีการเวียนรอบปูชนียวัตถหุ รือปชู นยี สถานเพื่อเปน็ การแสดงความเคารพน้นั ไทยไดร้ บั คตนิ ี้มาจาก
อินเดยี พร้อมกับพระพทุ ธศาสนา โดยปรากฏหลักฐานการแสดงความเคารพโดยการเวียนเทยี นในพระไตรปิฎก
ซึ่งใชค้ าวา่ เวยี นประทักษิณาวตั ร คอื เวยี นขวา 3 รอบ เป็นเครื่องหมายถงึ การแสดงออกซ่ึงการเคารพบูชาต่อสง่ิ
นน้ั ๆ อย่างสูงสุด
ไทยได้รับคตินยิ มน้ีมาและปรับประยกุ ต์ใหเ้ ขา้ กบั พืน้ ฐานทางวฒั นธรรมของไทยโดยนามาใช้เปน็ การ
แสดงความบูชาต่อพระรัตนตรยั มาต้ังแตโ่ บราณ มหี ลักฐานปรากฏเป็น "ฐานประทักษิณ" สาหรบั การกระทา
พธิ ีเวยี นเทียน ในโบราณสถานทางศาสนา มาตั้งแต่สมัยทวารวดี รวมทัง้ ปรากฏข้อความในพงศาวดารวา่ มกี าร
กระทาพธิ เี วียนเทยี นในวันสาคัญทางศาสนาสบื มาจนถึงปจั จบุ ัน
"การเวียนเทยี น" ในปัจจบุ นั จะกระทากันในวนั สาคัญทางพระพุทธศาสนา เชน่ วนั วสิ าขบูชา วัน
มาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอัฏฐมีบูชา
การเวียนเทยี นเปน็ การบูชาพระรัตนตรัยดว้ ยอามสิ บชู า และปฏิบัตบิ ชู า ซึ่งพุทธศาสนิกชนและปฏิบัตใิ นวัน
สาคัญทางพทุ ธศาสนา ได้แก่วันมาฆบูชา วนั วสิ าขบชู า อฏั ฐมีบูชาและวนั อาสาฬหบชู า
ข้อมลู จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/การเวยี นเทียน / guru.sanook.com
ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นสิ่งน่าหวงแหน ร่วมกันอนุรักษ์สืบทอดไว้เป็นสมบัติของชาติ ความเช่ือ ข้อ
ปฏิบัติของคนโบราณยังมีมาตรฐานน่าจดจาสาหรับการลอกเลียนแบบเพราะนี่คือประสบการณ์ จากรุ่นสู่รุ่น
เปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดมี าแตร่ นุ่ ปเู่ ล่าสู่กันมา
ขอขอบคุณข้อมูลสารคดีจากสารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคใต้ เล่มท่ี 18