The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Auddiv5 Cad, 2019-12-18 02:48:49

app_030462

app_030462

เอกสารผลงานทางวิชาการ
เรือ่ ง แนวทางการวางระบบการควบคมุ ภายในและระบบบัญชี
กรณศี ึกษา ชมุ นุมสหกรณเครือขา ยโคเนอื้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จาํ กัด

จงั หวดั อดุ รธานี
ของ นางปนัดดา ทองเหลือง
รกั ษาการผเู ชยี่ วชาญดานการบญั ชีและการสอบบญั ชี
สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณท่ี 5

กรมตรวจบญั ชสี หกรณ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ

คาํ นาํ
ชุมนมุ สหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จาํ กัด จังหวัดอุดรธานี จดทะเบียนจดั ตั้ง
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 ปจจุบันมีสมาชิก จํานวน 11 สหกรณ อยูในพื้นที่ 6 จังหวัด
มีสํานักงานใหญต้ังอยูที่อําเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี และกําหนดใหมีสํานักงานสาขาต้ังอยูท่ีอําเภอ
หนองสูง จังหวัดมุกดาหาร พ้ืนที่ดําเนินการครอบคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงคในการ
ใหค วามชว ยเหลือสหกรณส มาชิกโดยเปนศูนยก ลางในการดาํ เนินธุรกิจเกย่ี วกบั การจัดหาสนิ คามาจําหนา ย
ใหกับสหกรณสมาชิกในราคาท่ีต่ํากวาตลาด และรวบรวมผลิตผลจากสมาชิกเพ่ือกําหนดกลไกการตอรอง
ราคาในตลาด หรือจัดจําหนายใหกับสมาชิกในราคาท่ียุติธรรม และมีแนวโนมจะขยายใหครอบคลุมภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือ การดาํ เนินงานในปจจุบันมีทุนดําเนินงานจํานวนไมมาก และการดําเนินธุรกิจมีปริมาณ
ธุรกิจจํานวนไมมาก ระบบการควบคุมภายในของชุมนุมสหกรณฯ ยังไมเหมาะสม และการบันทึกบัญชี
ยังมีเอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชไี มชดั เจนเปนไปตามรปู แบบท่ีนายทะเบยี นสหกรณกําหนด
ดังน้ัน จึงตองมีการวางระบบการควบคุมภายในที่ดี ดานการบริหารทั่วไปและการดําเนินธุรกิจ
ของชุมนมุ สหกรณฯ รปู แบบเอกสารหลักฐานที่ใชป ระกอบรายการบญั ชี และผังทางเดินระบบบัญชีในการ
ดําเนินธรุ กิจของชุมนมุ สหกรณฯ ไดแ ก ธุรกิจจดั หารสินคามาจําหนาย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ธุรกิจแปรรูป
ผลิตผลทางการเกษตรและผลิตสินคาใหเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจในปจจุบันและท่ีชุมนุมสหกรณฯ
มีการกําหนดไวในขอบังคับของสหกรณ เพื่อเปนการจัดวางระบบการควบคุมภายในที่ดีและระบบบัญชี
ที่เหมาะสมตัง้ แตเ ร่มิ จัดตั้งและเริม่ ดาํ เนินธรุ กิจและรองรบั การขยายปริมาณธรุ กิจในอนาคต
ผูทําการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวา จะเปนประโยชนใหฝายจัดการของชุมนุมสหกรณฯ มีแนวทาง
การปฏิบัติงานในแตล ะธุรกิจอยา งชัดเจน คณะกรรมการดาํ เนินการของชุมนุมสหกรณฯ มคี วามรู ความเขาใจ
ในการบริหารจัดการ การควบคุมภายใน และการติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติงานของฝายจดั การ รวมท้ัง
เจาหนา ท่ีของหนวยงานราชการทีเ่ กย่ี วขอ งสามารถใชเ ปนแนวทางในการใหคําแนะนาํ ปรึกษาการวางระบบ
การควบคุมภายในและระบบบัญชีใหกับสหกรณจัดต้ังใหมท่ีมีลักษณะการดําเนินธุรกิจท่ีคลายคลึงกัน
และขอขอบคุณเจาหนาที่ของชุมนุมสหกรณฯ และขาราชการของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณอุดรธานี
ท่ใี หค วามอนเุ คราะหขอ มลู ทีเ่ ปน ประโยชนในการจัดทําเอกสารทางวิชาการเลมน้ี

ปนดั ดา ทองเหลือง
มนี าคม 2562

สารบญั หนา

คาํ นาํ
สารบญั ภาพ
สว นที่ 1 บทนาํ
หลักการและเหตผุ ล 1
วตั ถปุ ระสงค 1
ขัน้ ตอนในการดาํ เนินการ 1
ประโยชนท จี่ ะไดร บั 2
สว นท่ี 2 ข้ันตอนในการดําเนินการ
ขนั้ ตอนที่ 1 ศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธรุ กิจ และโครงสรา ง
การบรหิ ารงานของชุมนุมสหกรณฯ 3-9
ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาขอบังคบั ระเบยี บของสหกรณ มติท่ีประชมุ คณะกรรมการฯ
และมติที่ประชมุ ใหญของชุมนุมสหกรณฯ 10-11
ข้นั ตอนท่ี 3 การวเิ คราะหความเสีย่ งในการดําเนนิ งานและการดําเนนิ ธุรกจิ
ของชุมนุมสหกรณฯ 12
ข้ันตอนท่ี 4 การกาํ หนดแนวทางการวางระบบการควบคุมภายในและ
ระบบบญั ชีทเี่ หมาะสมกบั การดําเนินธรุ กจิ แตละธรุ กจิ
การวางระบบการควบคมุ ภายในทด่ี ี ดานบริหารงานท่ัวไปและ
ดา นบุคลากร 13-14
การวางระบบการควบคมุ ภายในทดี่ ีและระบบบัญชีทีใ่ ชใ นการดาํ เนนิ
ธรุ กจิ ตาง ๆ
ธรุ กจิ จัดหาสนิ คามาจาํ หนาย (จดั หาวตั ถุดบิ ผลติ อาหารสตั ว) 14-33
ธรุ กิจรวบรวมผลิตผล (รวบรวมลกู โค/โคกลางนาํ้ เพื่อจาํ หนาย) 33-50
ธุรกิจแปรรูปผลติ ผลทางการเกษตรและผลติ สินคา (อาหารสตั ว) 51-68
รายละเอยี ดสว นผสมของสตู รอาหารหมักสําเร็จรูปและอาหารขน 69
การคํานวณตน ทุนการผลติ อาหารสตั ว 70-72
สวนท่ี 3 บทสรุป
1. สรปุ ผลการศึกษา 73
2. ขอเสนอแนะ 74

สารบญั ภาพ หนา

ภาพ 2-1 โครงสรางของชุมนุมสหกรณ 9
ภาพ 2-2 แผนผังระบบบญั ชีการซอ้ื วัตถุดิบและวสั ดสุ ิน้ เปลืองเปน เงินสด 28
ภาพ 2-3 แผนผงั ระบบบญั ชีการซือ้ วัตถดุ ิบและวสั ดสุ ้ินเปลืองเปนเงินสด 29
ภาพ 2-4 แผนผังระบบบัญชกี ารจายชาํ ระหนีค้ า วตั ถดุ ิบและวสั ดสุ ิ้นเปลือง 30
ภาพ 2-5 แผนผงั ระบบบญั ชีการขายสนิ คา (วตั ถดุ บิ /วสั ดุส้ินเปลอื ง) เปนเงนิ สด 31
ภาพ 2-6 แผนผังระบบบัญชกี ารขายสนิ คา (วตั ถดุ ิบ/วสั ดุสน้ิ เปลือง) เปน เงนิ เชอ่ื 32
ภาพ 2-7 แผนผังระบบบญั ชีการรบั ชําระหนีจ้ ากลูกหนคี้ าสินคา (วตั ถุดิบและวัสดุส้นิ เปลอื ง) 33
ภาพ 2-8 แผนผงั ระบบบัญชกี ารซอื้ ลูกโค/โคกลางนา้ํ เปน เงนิ สด 45
ภาพ 2-9 แผนผงั ระบบบัญชกี ารซ้ือลูกโค/โคกลางนา้ํ เปน เงินเชอ่ื 46
ภาพ 2-10 แผนผังระบบบญั ชกี ารจายชําระหนค้ี า ลกู โค/โคกลางน้ํา ใหส หกรณผขู าย 47
ภาพ 2-11 แผนผังระบบบญั ชีการขายลูกโค/โคกลางนา้ํ เปน เงนิ สด 48
ภาพ 2-12 แผนผงั ระบบบัญชีการขายลูกโค/โคกลางน้าํ เปน เงนิ เช่ือ 49
ภาพ 2-13 แผนผังระบบบญั ชกี ารรบั ชําระหนจี้ ากลกู หน้ีคาลูกโค/โคกลางน้าํ 50
ภาพ 2-14 แผนผงั ระบบบญั ชกี ระบวนการแปรรปู อาหารสตั ว 65
ภาพ 2-15 แผนผงั ระบบบญั ชกี ารขายอาหารสัตวเ ปน เงนิ สด 66
ภาพ 2-16 แผนผงั ระบบบญั ชกี ารขายอาหารสตั วเ ปน เงนิ เชอ่ื 67
ภาพ 2-17 แผนผังระบบบัญชีการรับชําระหนจ้ี ากลกู หน้ีคาอาหารสตั ว 68

-1-

สว นท่ี 1
บทนาํ
1. หลักการและเหตุผล
ปจ จุบนั เกษตรกรมีการเลีย้ งโคขุนเพ่ิมขน้ึ เปนจํานวนมาก ทั้งท่ีไดรับเงินสนบั สนนุ จากโครงการตาง ๆ
ของรัฐบาล การเลี้ยงจากการปรับเปล่ียนพ้ืนที่ไมเหมาะสมในการปลูกขาวไปเปนการเลี้ยงปศุสัตวแทน
หรือการเล้ียงเพื่อสรางรายไดใหกับครอบครัวอยูแลว ทําใหเกิดการรวมกลุมกันเลี้ยงในรูปของกลุมผูเลี้ยง
ปศสุ ัตว หรอื กลมุ เกษตรกรที่จดทะเบยี นเปนนติ บิ ุคคล หรือถามีความเขมแขง็ และมีความพรอมกจ็ ะรวมตัว
กนั เพ่ือจดทะเบียนจัดต้ังเปนสหกรณ หรือมีการรวมสหกรณที่มีวัตถุประสงคเดยี วกัน ดําเนินธุรกิจเหมือนกัน
รวมกันจัดตั้งเปน ชุมนมุ สหกรณ เพอื่ สรางอํานาจการตอ รองทางการคา เพิ่มขึน้ และชุมนุมสหกรณจะดําเนนิ งาน
เกย่ี วกับการจดั หาสินคาในปรมิ าณมาก ๆ เพอ่ื ตอรองราคาตนทุนใหลดตํ่าลง หรอื การรวบรวมผลิตผลจากสมาชิก
และการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรของสมาชิกเพ่ือจําหนายในราคาท่ียุติธรรมโดยใชช ุมนุมสหกรณเปน
กลไกในการทําการตลาดและการตอรองราคาสินคา แตในสถานการณที่ผานมาพบวาชุมนุมสหกรณแตละ
ประเภททีม่ ีการรวมตัวของสหกรณประเภทตาง ๆ เพ่อื จดั ต้ังเปนชุมนุมสหกรณไ มส ามารถดําเนินการใหบรรลุ
ตามวัตถุประสงคท่ีต้ังไวไดเทาท่ีควร ซึ่งอาจเกิดจากปญหาความไมชัดเจนในการดําเนินงาน คณะกรรมการ
ดําเนินการที่มาจากสหกรณตาง ๆที่เปนสมาชิก และเจาหนาที่ของชุมนุมสหกรณที่ไมมีการจัดจางเจาหนาที่
ในการปฏบิ ัติงานท่ีชัดเจน ไมมกี ารจดั วางระบบการควบคุมภายในท่ีเหมาะสม ขาดการตดิ ตามประเมนิ ผล
การปฏิบัติงาน ไมมีการประชุมคณะกรรมการดําเนินการอยางสม่ําเสมอ จากสภาพปญหาท่ีกลาวขางตน
จึงควรทําการศึกษาเก่ียวกับระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในดานการเงินการบัญชีของชุมนุม
สหกรณเครอื ขา ยโคเนอื้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จาํ กดั
2. วตั ถปุ ระสงค
เพ่ือศึกษาลักษณะการดําเนินธุรกิจ ระบบการควบคุมภายในและระบบบัญชีของชุมนุมสหกรณ
ต้ังแตการจัดทําเอกสารประกอบรายการบัญชี การบันทึกบัญชี และการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
ของชุมนุมสหกรณเพ่ือศึกษาปญหาในการปฏิบัติงาน และเสนอแนะแนวทางในการจัดวางระบบการ
ควบคมุ ภายในและระบบบญั ชีของธรุ กิจใหเหมาะสมกับลักษณะการดําเนินธรุ กิจของสหกรณ
3. ขนั้ ตอนในการดําเนินการ
1. ศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธุรกิจ และโครงสรางการบริหารงานของชุมนุม
สหกรณฯ
2. ศึกษาขอบังคับ ระเบียบของสหกรณ มติที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ และมติท่ี
ประชมุ ใหญของชมุ นุมสหกรณฯ
3. การวเิ คราะหค วามเส่ยี งในการดําเนนิ งานในปจ จุบันของชมุ นุมสหกรณ
4. การกําหนดแนวทางการวางระบบการควบคุมภายในและระบบบัญชีที่เหมาะสมกับการ
ดําเนินธรุ กิจแตล ะธุรกิจ

-2-
4. ประโยชนท ่จี ะไดรับ

1. ชุมนุมสหกรณมีระบบการควบคุมภายในที่ดี การจัดทําเอกสารประกอบรายการบัญชี
และการบันทึกบัญชเี หมาะสมกับลกั ษณะการดาํ เนินงาน รวมทง้ั เปนไปตามระเบียบท่นี ายทะเบียนสหกรณ
กําหนด

2. ฝายจัดการของชุมนุมสหกรณมีความรู ความเขาใจ ในการปฏิบัติงานชัดเจน รวมทั้งมีคูมือ
ที่ใชเปน แนวทางในการปฏิบัติงาน

3. คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณมีความรู ความเขาใจในการบริหารจัดการ
ธุรกิจ และมีแนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของฝายจัดการใหเปนไปตามวัตถุประสงค
ของการจัดต้งั

4. ผูสอบบัญชีสามารถใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานในการใหคําแนะนําการวางระบบ
การควบคุมภายในและระบบบัญชีใหกับสหกรณทมี่ ีการดาํ เนินธุรกิจเชนเดียวกับชุมนุมสหกรณ หรือปรับใช
กับลักษณะธุรกจิ ท่ีคลายคลึงกนั

-3-

สวนที่ 2
ขนั้ ตอนในการดาํ เนินการ
ดังนั้น เพื่อใหการจัดทําแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและระบบบัญชี กรณีศึกษา
ชุมนุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ซ่ึงเปนชุมนุมสหกรณที่จดทะเบียนจัดตั้ง
ไมเกิน 3 ป จึงควรมีการศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณใหทราบถึง
ระบบการควบคุมภายในและระบบบัญชีที่ชุมนุมสหกรณถือใชอยูเปนไปโดยเหมาะสมกับลักษณะ
การดําเนินงานหรือไม และในการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณเปนไปตามระบบการควบคุมภายในที่กําหนด
หรือไม วิธีปฏิบัติทางบัญชีมีความเหมาะสมเปนไปตามรูปแบบระบบบัญชีของสหกรณประเภทการเกษตร
หรือไม ซ่ึงมีข้นั ตอนในการศึกษาและดาํ เนินการ ดังนี้
1. ศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธุรกิจ และโครงสรางการบริหารงานของชุมนุม
สหกรณฯ
2. ศึกษาขอบังคับ ระเบียบของสหกรณ มติที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ และมติที่
ประชุมใหญข องชุมนมุ สหกรณฯ
3. การวเิ คราะหค วามเส่ียงในการดําเนินงานในปจ จุบันของชมุ นุมสหกรณ
4. การกําหนดแนวทางการวางระบบการควบคุมภายในและระบบบัญชีที่เหมาะสมกับการ
ดําเนนิ ธุรกจิ แตละธรุ กจิ
ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธุรกิจ และโครงสรางการ
บริหารงานของชุมนุมสหกรณฯ เพื่อใหทราบขอมูลทั่วไปของชุมนุมสหกรณ การรับสมาชิก ลักษณะการ
ดาํ เนินงาน ธุรกิจที่สหกรณดาํ เนินการ จํานวนคณะกรรมการดําเนินการ โครงสรางการบริหารงาน สภาพ
ปญ หาของชุมนมุ สหกรณ ดังน้ี
ขอมลู ท่ัวไปของสหกรณ
ชมุ นุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด จดทะเบยี นจัดตั้งเปนสหกรณ
ประเภทการเกษตร เม่ือวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เลขทะเบียนสหกรณท่ี 4100000925593 ที่ต้ัง
สํานักงาน (ใหญ) อยูเลขที่ 156/4 หมูท่ี 2 ถนนวังสามหมอ - สมเด็จ ตําบลวังสามหมอ อําเภอวังสามหมอ
จังหวัดอุดรธานี รหัสไปรษณีย 41280 (ภายในสํานักงานสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด) และที่ตั้ง
สํานักงาน (สาขา) อยูเลขท่ี 67 หมู 1 ถนนหนองสูง - นิคมคําสรอย ตําบลหนองสูงเหนือ อําเภอหนองสูง
จังหวัดมุกดาหาร รหัสไปรษณีย 49160 มีทองที่ดําเนินการ จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสมาชิก
แรกตั้ง 11 สหกรณ ถือหุนเม่ือแรกเขาเปนสมาชิก 5,000หุน เปนเงิน 500,000.00 บาท วันสิ้นปทาง
บัญชีของสหกรณใหสิ้นสุด ณ วันท่ี 30 กันยายน ของทุกป โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหสหกรณสมาชิก
ดําเนินธุรกิจรวมกัน ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และชวยเหลือสวนรวม โดยใชหลักคุณธรรมพื้นฐานของมนุษย
และจริยธรรมอันดีงาม อันมีการประหยดั เปนตน เพื่อใหเกิดประโยชนแกสหกรณสมาชิกและสวนรวมทั้งทาง
เศรษฐกจิ และสงั คมจนสามารถอยดู ีกินดีมสี ันตสิ ุข

-4-
คุณสมบัติของสมาชิก การเปนสมาชิกของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออก
เฉยี งเหนือ จํากัด สหกรณท่ีจะเขาเปนสมาชิกตองเปนสหกรณประเภทการเกษตร เปนสหกรณท่ีมฐี านะมนั่ คง
พอท่ีจะดําเนินงานตอไปได มีความสมัครใจท่ีจะเขาเปนสมาชิกเพื่อรวมกันดําเนินกิจการใหเกิดประโยชน
ตามวัตถุประสงคของชุมนุมสหกรณ และมีธุรกิจเล้ียงโคเน้ืออยางนอย 5 ป และตองไดรับการรองจาก
สหกรณสมาชกิ ไมต ํ่ากวา 5 สหกรณ
ลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินงานตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวในขอบังคับของชุมนุม
สหกรณ ประกอบดว ย
(1) การกําหนดวงเงนิ กยู มื และคาํ้ ประกนั เพื่อกําหนดวงเงินกยู ืมและคาํ้ ประกันที่เหมาะสมกับการ
ดาํ เนินงานของชุมนุมสหกรณแ ละเปน ไปตามท่ีนายทะเบยี นสหกรณกําหนด
(2) การรับฝากเงิน ชุมนุมสหกรณฯ อาจรับฝากเงินประเภทออมทรัพย หรือประเภทประจํา
จากสหกรณสมาชิก
(3) การใหเ งนิ กู ชมุ นมุ สหกรณฯ อาจใหเ งนิ กูแกสหกรณส มาชิกของชุมนมุ สหกรณหรือสหกรณอนื่
(4) การรวบรวมผลิตผลหรือผลิตภัณฑจากบรรดาสหกรณสมาชิก เพื่อขายหรือแปรรูปออกขาย
ใหกับสหกรณส มาชกิ หรือบุคคลภายนอก
(5) การเปนตัวแทนของสหกรณสมาชิกในการขายหรือการซื้อ ชุมนุมสหกรณฯ อาจทําหนาที่
เปนตัวแทนของบรรดาสหกรณสมาชิก ในการจัดหาสินคาหรือบริการ ตามความตองการของสหกรณสมาชิก
มาจาํ หนายหรือใหบริการแกส หกรณสมาชิก
(6) การใหบริการกิจการทางเกษตรกรรม (การสงเสริมเกษตรกรรมแผนใหม/การปรับปรุงบํารุง
ท่ีดิน) ชุมนุมสหกรณอาจใหบริการแกสหกรณสมาชิกในการจัดหาพันธุพืช พันธุสัตวชนิดดี มีความเหมาะสม
และอยูในความตอ งการมาจาํ หนายแกสหกรณส มาชกิ รวมท้ังการใหคาํ แนะนําแกสหกรณสมาชกิ เก่ียวกับการ
วางแผนการสงเสริมการผลิตของสหกรณสมาชิก
(7) การประกอบอุตสาหกรรม ชุมนุมสหกรณฯ อาจดําเนินการจัดตั้งโรงงานเพื่อประกอบการ
อุตสาหกรรมตา ง ๆ เพื่อประโยชนของสหกรณสมาชกิ
(8) การสรางยุงฉางและการรับฝากผลิตผล เพื่อใหการรวบรวม การซ้ือ การขายผลิตผลและ
สินคาอ่ืน ๆ มสี ถานทจ่ี ดั เก็บที่เหมาะสม
คณะกรรมการดําเนนิ การและเจาหนาท่ี
ชุมนุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด มีคณะกรรมการดําเนินการ
จาํ นวน 7 คน ประกอบดวย
1. นายแวน ชัยประโคม ตําแหนงประธานกรรมการ จากสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด
จังหวดั อุดรธานี
2. นายธงชัย วังวงษ ตําแหนงรองประธานกรรมการ จากสหกรณการเกษตรหนองสูง จํากัด
จงั หวดั มุกดาหาร
3. นายสมบูรณ บัวเข็ม ตําแหนงเลขานุการ จากสหกรณการเกษตรโนนะอาด จํากัด จังหวัด
อดุ รธานี

-5-
4. นายบุญเลิศ จันทรใส ตําแหนงเหรัญญิก จากสหกรณการเกษตรไชยวาน จํากัด จังหวัด
อดุ รธานี
5. นายสุกีย พลชา ตําแหนงกรรมการ จากสหกรณการเกษตรเรณูนคร จํากัด จังหวัด
นครพนม
6. นายอํานวย ไหชัย ตําแหนงกรรมการ จากสหกรณการเกษตรบานเขวา จํากัด จังหวัด
ชัยภมู ิ
7. นายสมจิตร รัตนะวงษา ตําแหนงกรรมการ จากสหกรณการเกษตรศรีธาตุ จํากัด จังหวัด
อดุ รธานี
เจาหนาท่ีในการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเน้ือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด
ประกอบดวย นายชาญณรงค บูรณะ ผูจัดการสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด ปฏิบัติหนาที่ผูจัดการของ
ชุมนุมสหกรณฯ และนางอําพร ทองคํา เจาหนาที่ของสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด ทําหนาท่ีผูจัดทํา
บญั ชี
ดานการบันทึกบัญชี ชุมนุมสหกรณฯ มีการจัดจางผูจัดทําบัญชี (เจาหนาท่ีของสหกรณ
การเกษตรวังสามหมอ จํากัด) และจายคาตอบแทนเปนรายเดือน เดือนละ 2,000 บาท และมอบหมายให
ผูจัดการของสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด ปฏิบัติหนาท่ีผูจัดการของชุมนุมสหกรณฯ โดยไมมี
คาตอบแทนไปกอน ซ่ึงผูรับผิดชอบสามารถจัดทําเอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชีและบันทึกรายการ
บัญชีในสมุดบันทึกรายการขั้นตนและขั้นปลาย และสามารถสงงบการเงินใหผูสอบบัญชีตรวจสอบไดตาม
ระยะเวลาท่กี ฎหมายกําหนด
ดานการดําเนินธุรกจิ ชุมนมุ สหกรณมีเปาหมายในการดําเนินธุรกิจในดานตา ง ๆ ไดแก การให
เงินกู การรับฝากเงิน การจัดหาสินคามาจําหนาย การรวบรวมผลิตผล หรือผลิตภัณฑ การใหบริการทาง
การเกษตร การตั้งโรงงานอตุ สาหกรรม ผลิตอาหารสัตว หรือแปรรูปผลิตผล ในปปจ จุบันสหกรณม ีการดาํ เนิน
ธุรกจิ เพียง 2 ธรุ กิจ ดังนี้
(1) ธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย โดยจัดหาอาหารสัตว และวัตถุดิบใชในการผลิตอาหารสัตว
จากสหกรณสมาชิก เพื่อจําหนายใหกับสหกรณสมาชิกที่มีการผลิตอาหารสัตวขายใหกับสมาชิก ซึ่งลักษณะ
การดําเนินงานชุมนุมสหกรณฯ จะใหสหกรณสมาชิกแจงความตองการใหชุมนุมสหกรณฯ ทราบวาตองการ
อาหารสตั ว หรอื วัตถุดบิ ในการผลิตอาหารสัตว ไดแ ก มันเสน กากปาลม กากถั่วเหลอื ง รําออน แรธาตุมารนิ มกิ ซ
เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ทราบปริมาณความตองการใชอาหารสัตว หรือวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตวจาก
สหกรณสมาชิก จะดําเนินการจัดหาอาหารสัตว หรือวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตวจากสหกรณสมาชิกท่ีมี
วัตถดุ ิบแตละชนดิ หรอื จากรานคา บคุ คลภายนอก ซ่ึงการสั่งซอ้ื ในปริมาณมาก ๆ โดยชุมนุมสหกรณฯ จะชวย
ใหไดอาหารสัตว หรือวัตถุดิบท่ีมีราคาตนทุนที่ต่ํากวาที่แตละสหกรณจะไปดําเนินการจัดซื้อดวยตนเอง
โดยมีขั้นตอนลักษณะการปฏิบัติงานของธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย เกี่ยวกับการจัดหาวัตถุดิบผลิต
อาหารสัตวจากรานคาเอกชนและจากสหกรณสมาชิกที่เปนแหลงผลิตวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ ซึ่งมีขั้นตอน
ในการปฏิบตั ิงาน ดังนี้

-6-

ลกั ษณะการดําเนนิ ธรุ กจิ จดั หาสนิ คา มาจําหนาย (จดั หาวตั ถดุ ิบผลติ อาหารสัตว)
ขั้นตอนการสงั่ ซ้ือและจําหนายสินคา /วัตถดุ ิบ ที่ชุมนุมสหกรณป ฏบิ ัติ

4. สหกรณสมาชกิ โอนเงินชาํ ระ 5. ชมุ นมุ สหกรณฯ โอนเงินชําระคา วัตถุดิบ
คาวัตถุดิบใหชุมนมุ ฯ ใหร า นคา/สหกรณสมาชกิ
(ชมุ นุมออกใบเสร็จรับเงิน) ชุมนุมสหกรณ์ (ชุมนุมเรยี กใบเสรจ็ รับเงินจากผูขาย)
สหกรณ์ เครือข่ายโคเนื้อ
สมาชิกของ 1. แจงความตองการ ภาคตะวนั ออก 2. ดาํ เนนิ การสงั่ ซ้ือ ร้านค้า
วตั ถดุ ิบ (ทางโทรศพั ท) วัตถดุ ิบ (ทางโทรศัพท) เอกชนหรือ
ชุมนุม เฉียงเหนือ สหกรณ์
สหกรณ์ จาํ กดั สมาชิก

3. รานคา เอกชน/สหกรณสมาชิกสง วตั ถุดบิ ใหส หกรณผูซ ื้อ

(รานคา /สหกรณผ ขู ายแจงการสงสนิ คา ใหช ุมนมุ สหกรณ/ สหกรณผ ูซอื้ ทางโทรศัพท /ทางไลน)

การบันทึกบัญชี ชุมนุมสหกรณจะบันทึกรายการบัญชีซื้อวัตถุดิบ และขายวัตถุดิบเปนเงินสด
ในวนั เดยี วกนั เมอ่ื ชุมนมุ สหกรณไดรับเงินคา วตั ถดุ บิ จากสหกรณผ ูซอ้ื โดย
เดบติ ซอ้ื สนิ คา -วัตถุดบิ xx
เครดติ เงินสด/เงนิ ฝากธนาคาร xx
เมือ่ ซ้อื สนิ คาโดยแนบใบสง ของของผขู าย c]t
เดบติ เงนิ สด/เงนิ ฝากธนาคาร xx
เครดติ ขายสินคา -วัตถดุ บิ xx
เมอ่ื ขายสนิ คาโดยแนบใบเสร็จรับเงนิ ขายสินคา

ในการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณฯ พบวายังไมเปนไปตามระบบการควบคุมภายในที่ดี
และตามรูปแบบบัญชีท่ีเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ เนื่องจากผูทําหนาท่ีผูจัดการของชุมนุมสหกรณฯ
ดําเนินการในกระบวนการสาํ รวจความตอ งการจากสมาชิกในการสั่งซ้อื สินคาทางโทรศัพท และสั่งซ้ือสินคา
จากรา นคาและสหกรณสมาชิกที่มีสนิ คาท่ีชุมนุมฯ ตองการทางโทรศพั ท การตกลงราคา หรือการสํารวจราคา
สินคาดําเนินงานทางกลุมไลนสมาชิกของสหกรณที่มีการดําเนินงานเกี่ยวกับการเล้ียงโคขุนไมมีการจัดทํา
เอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชีในข้ันตอนของการสาํ รวจความตองการสินคาจากสหกรณที่เปนสมาชิก
และการสั่งซื้อสินคาจากรานคาหรือสหกรณสมาชิกผูขาย ไมมีการนําเสนอคณะกรรมการดําเนินการ
เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือพิจารณาในเรื่องดังกลาว และการบันทึกบัญชีไมตรงตามขอเท็จจริงของวันที่
เกิดรายการบัญชี

-7-

(2) ธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยการรวบรวมลูกโค (โคตนนํ้า) จากสหกรณการเกษตรวังสามหมอ
จํากดั เพ่ือจําหนายใหแ กสหกรณสมาชิกทตี่ องการลูกโค (โคตนน้ํา) ไปเล้ียงเปน โคกลางนาํ้ เพือ่ ขายเปนโคขุน
(โคปลายนํ้า) เพ่ือสงชําแหละเนื้อขาย ซึ่งลักษณะการดําเนินงานสหกรณสมาชิกที่มีความตองการจัดซ้ือลูกโค
(โคตนน้ํา) และโคเพ่ือเล้ียงขุน (โคกลางน้ํา) จะแจงความตองการใหชุมนุมสหกรณฯ ทราบ เมื่อชุมนุม
สหกรณฯทราบปริมาณความตองการโคแตละระยะ ก็จะดําเนินการจัดหามาจําหนายใหกับสหกรณสมาชิก
ตามความตองการ โดยการจัดหาลกู โค (โคตนนํ้า) จากสหกรณกากรเกษตรวังสามหมอ จาํ กดั จังหวดั อุดรธานี
สหกรณนิคมพิชัยอุตรดิตถ จํากัด จังหวัดอุตรดิตถ และใหสหกรณผูขายลูกโค (โคตนนํ้า) จัดสงสินคาใหกับ
สหกรณสมาชิกที่เปนผูซื้อ แตการจายคาสินคาสหกรณผูซื้อตองจายคาสินคาและคาขนสงใหชุมนุม
สหกรณฯ และชุมนุมสหกรณฯ จะเปนผูจายคาสินคาและคาขนสงใหกับสหกรณผูขาย โดยมีข้ันตอน
ลักษณะการปฏิบัติงานของธุรกิจรวบรวมผลิตผลเพื่อจําหนาย เกี่ยวกับการจัดหาลูกโคแรกเกิด เพ่ือ
จําหนา ยใหส มาชกิ นําไปเล้ยี งเปนโคกลางนํ้า และการจดั หาลูกโคกลางน้าํ จาํ หนายใหสมาชิกนาํ ไปเลี้ยงเปน
โคปลายนํ้า (โคขุนสงชําแหละ) และจากสหกรณสมาชิกหรือสหกรณเครือขายท่ีเปนแหลงผลิตลูกโคที่มี
คุณภาพ ซงึ่ มขี ้นั ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน ดงั น้ี

ลักษณะการดาํ เนินธุรกิจรวบรวมผลิตผล (รวบรวมลูกโค/โคกลางนํ้าเพอ่ื จําหนา ย)
ขั้นตอนการรวบรวมลกู โค/โคกลางนํ้าและการจาํ หนา ยลูกโค/โคกลางน้าํ ทีช่ มุ นมุ สหกรณปฏิบัติ

4. สหกรณผซู ้อื จายชําระหนค้ี าลกู โค/ 5. ชุมนุมสหกรณฯ จา ยชาํ ระหนคี้ าลูกโค/
โคกลางนา้ํ ใหชมุ นุมฯ และชมุ นมุ ฯ โคกลางนํา้ ใหส หกรณผขู าย และเรยี ก
lsdIIสหสหกร จะออกใบเสร็จรบั เงนิ ใหล ูกหนี้ ใบเสรจ็ รับเงนิ จากเจาหน้ี
ชุมนุมสหกรณ
1. แจง ความตอ งการ เครอื ขา ยโค 2. ดาํ เนินการ
สหกรณส มาชิก ลูกโค/โคกลางนา้ํ เนอ้ื ภาค สงั่ ซื้อลูกโค/ สหกรณสมาชิก
ของชมุ นุม ตะวันออก ของชมุ นุม
(โทรศัพทแจงความประสงค) เฉียงเหนือ โคกลางน้ํา สหกรณฯ
สหดคกกรณลาฯงนผํ้าูซอ้ื ผูข าย
(โทศพั ทแ จง การสั่งซ้ือ)

3. สหกรณส มาชิกผขู ายจดั สงลูกโค/โคกลางนาํ้ ใหส หกรณสมาชิกผซู ื้อ

(สหกรณผ ขู ายแจง การสง สินคา ใหชมุ นุมสหกรณ/ สหกรณผ ูซอ้ื ทางโทรศัพท /ทางไลน)

การบันทึกบัญชี ชุมนุมสหกรณจะบันทึกรายการบัญชีซ้ือลูกโค/โคกลางน้ํา และขายลูกโค/
โคกลางนาํ้ เปน เงินสด ในวันเดยี วกันเมอ่ื ชุมนุมสหกรณไ ดรับเงินคา ลูกโค/โคกลางนาํ้ จากสหกรณผซู ้ือ โดย
เดบติ ซื้อสนิ คา-โค xx
เครดิต เงินสด/เงนิ ฝากธนาคาร xx
เมอ่ื ซื้อสินคา โดยแนบใบสงของของผขู าย และ
เดบิต เงนิ สด/เงนิ ฝากธนาคาร xx
เครดติ ขายสินคา -โค xx
เม่อื ขายสนิ คา โดยแนบใบเสรจ็ รบั เงินขายสินคา

-8-
ในการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณฯ พบวายังไมเปนไปตามระบบการควบคุมภายในที่ดี
และตามรูปแบบบัญชีท่ีเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ เน่ืองจากผูทําหนาท่ีผูจัดการของชุมนุมสหกรณฯ
ดาํ เนินการในกระบวนการสํารวจความตองการจากสมาชิกในการส่ังซอ้ื ลกู โค/โคกลางนา้ํ ทางโทรศัพทและ
กลุมไลน และแจงส่ังซื้อลูกโค/โคกลางน้ําจากสหกรณที่มีลูกโคและโคกลางนํ้าตามท่ีชุมนุมสหกรณฯ
ตองการทางโทรศัพท การตกลงราคา การกําหนดราคาสินคาดําเนินงานทางกลุมไลนสมาชิกของสหกรณ
ท่ีมีการดําเนินงานเกี่ยวกับการเล้ียงโคขุน ไมมีการจัดทําเอกสารหลักฐานประกอบในข้ันตอนของการ
สํารวจความตองการจากสหกรณท่ีเปนสมาชิก และการสั่งซ้ือสินคาจากสหกรณสมาชิกผูขาย และการ
บันทึกบญั ชไี มตรงตามขอ เทจ็ ของวนั ที่เกิดรายการบัญชี
โดยสรุปจากการศึกษาลักษณะการดําเนินงานและการดําเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณ
เครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาํ กัด กลาวไดวาชุมนุมสหกรณฯ จัดต้ังโดยมีวัตถุประสงค
เพ่ือจัดหาแหลงเงินทุนจากโครงการสนับสนุนของรัฐบาลเพื่อนํามาจัดหาแหลงวัตถุดิบใหก ับสมาชิกเพ่ือให
ไดร าคาวัตถุดิบท่ีมตี นทุนตา่ํ กวาปกติ และกระจายสนิ คา ของสหกรณสมาชกิ ไมวาจะเปน โคตนนาํ้ โคกลางน้ํา
และโคปลายน้ํา ไปยังตลาดตาง ๆ ท้ังในและนอกประเทศ ภายใตตราสินคาของชุมนุมสหกรณฯ แตสินคา
ของชุมนุมสหกรณฯ จะมาจากแหลงผลิตของสหกรณท่ีเปนสมาชิกของชุมนุมสหกรณฯ ซ่ึงลักษณะการ
ดําเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณฯ จะมีความยุงยากซับซอนในแตละธุรกิจหากชุมนุมสหกรณมีการดําเนินงาน
ตามวตั ถุประสงคท่ีกาํ หนดไว
ปจจุบันชุมนุมสหกรณไมมเี งินทนุ ในการดําเนินงานและจาํ นวนสหกรณที่เปนสมาชิกก็ยงั ไมม าก
มีเพียง 11 แหง ยังไมมีการจายเงินกูใหกับสหกรณสมาชิก การดําเนินธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนายเปน
ลักษณะซ้ือมา ขายไปตามความตองการของสหกรณสมาชิก การรวบรวมผลิตผลจากสมาชิก (ลูกโค/โคกลางนํ้า)
เปนลักษณะการแจงความตองการผา นใหช ุมนุมสหกรณดาํ เนินการส่งั ซื้อโคให แตการสงมอบโคจะจัดสงไปยัง
สหกรณผูซ้ือโดยตรง สหกรณบันทึกรายการบัญชีเปนไปตามรูปแบบบัญชีของสหกรณประเภทการเกษตร
แตพบวาระบบการควบคุมภายในของแตละขั้นตอนยังไมเหมาะสมและการจัดทําเอกสารประกอบรายการ
บัญชีในขั้นตอนการปฏิบัติงานยังไมครบถวนเทาท่ีควร จึงมีความจาํ เปนในการการศึกษาเพื่อจัดวางระบบ
การควบคุมภายในที่ดี และระบบบัญชีใหเหมาะสมกับลักษณะการดาํ เนินธุรกิจตาง ๆ ของชุมนุมสหกรณ
รวมท้ังการใหคําแนะนําเก่ียวกับการดาํ เนินงานของชุมนุมสหกรณแ กคณะกรรมการดาํ เนินการ และเจาหนาที่
ผูปฏิบัติหนาท่ีผูจัดการ และผูจัดทําบัญชี เกี่ยวกับการจัดวางระบบการควบคุมภายในท่ีดีของชุมนุม
สหกรณฯ ใหเหมาะสมกับลักษณะการดําเนินธุรกิจของแตละธุรกิจและติดตาม ตรวจสอบใหผูรับผิดชอบ
ปฏิบตั งิ านใหเปนไปตามระบบการควบคุมภายในที่กําหนดไว รวมท้ังดําเนนิ การจัดจางเจาหนาท่ีของชมุ นุม
สหกรณฯ โดยตองพิจารณาบุคลากรที่มีความรู ความสามารถและประสบการณในการดําเนินธุรกิจดาน
โคเน้ือ เก่ียวกับการสงเสริมการเล้ียงโคเนื้อที่มีคุณภาพ การวางแผนการผลิตเก่ียวกับ วัตถุดิบในการผลิต
อาหารสัตว หัวอาหาร สินคาสําเร็จรูป และการศึกษาดานการตลาดท้ังในประเทศและตางประเทศ
ตลอดจนคูแขงทางการคาท่ีจะสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณฯ และสหกรณสมาชิก
ของชุมนมุ สหกรณฯ ในอนาคต

-9-

โครงสรา งการบรหิ ารงานของชุมนุมสหกรณ
สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ สหกรณ

ท่ีประชุมใหญฯ ผูต รวจสอบกจิ การ
คณะกรรมการฯ 7 คน
ฝา ยบรหิ าร
ฝา ยจัดการ ปฏบิ ตั หิ นาท่ีผจู ัดการ 1 คน

ผจู ัดทาํ บญั ชี 1
ภาพ 2-1 โครงสรา งของชุมนุมสหกรณฯ
จากโครงการของชุมนุมสหกรณ ตัวแทนสมาชิกของชุมนุมสหกรณจะประกอบดวยประธาน
กรรมการของสหกรณสมาชิก จํานวน 11 แหง มีการประชุมใหญเลือกตั้งคณะกรรมการฯ ของชุมนุม
สหกรณฯ จํานวน 7 คน เพื่อบริหารงานชุมนุมสหกรณแทนสหกรณสมาชิก แตในทางปฏิบัติงานเปนการ
ดําเนินงานโดยผูปฏิบัติหนาที่ผูจัดการ ซึ่งจะเปนผูดําเนินการในการจัดซ้ือวัตถุดิบ การจัดหาโค เพื่อจําหนาย
ใหกับสมาชิก และการติดตอทาํ ธุรกรรมตา ง ๆ ในนามของชุมนุมสหกรณ ฯ ภายใตความเห็นชอบและรับรู
การดําเนินงานโดยประธานกรรมการซึ่งเปนประธานกรรมการจากสหกรณการเกษตรวังสามหมอ จํากัด
โดยคณะกรรมการที่ไดรับเลือกตั้งจากสหกรณสมาชิกไมไดมาประชุมเพื่อรวมกันพิจารณากําหนด
หลักเกณฑ มีเพียงการรับรูการดําเนินงานตาง ๆ ทางโทรศัพท และทางกลุมไลน ไมไดมีสวนรวมในการ
ดําเนินงานของชุมนุมสหกรณฯ เทาที่ควร และชุมนุมสหกรณฯ มีการจัดจางเจาหนาที่เพ่ือรับผิดชอบใน
การจัดทําบัญชีของชุมนุมสหกรณฯ เปนรายเดือน แตในทางปฏิบัติเจาหนาท่ีดังกลาว ทําหนาที่เก่ียวกับ
ดา นการเงนิ ของสหกรณดวย

- 10 -
ขนั้ ตอนท่ี 2 ศึกษาขอบังคับ ระเบียบของสหกรณ มติท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ
และมติท่ีประชุมใหญของชุมนุมสหกรณฯ นายทะเบียนสหกรณไดรับจดทะเบียนขอบังคับของชุมนุม
สหกรณเ ครือขา ยโคเน้ือภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จํากัด เมอ่ื วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2559
ขอบังคับของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเน้ือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ประกอบดวย
หมวดตาง ๆ ดังน้ี
หมวดที่ 1 ชื่อ ประเภทและที่ต้ัง ระบุเกย่ี วกับ ชื่อ ประเภทละท่ีตั้งสํานักงาน ทองที่ดําเนินงาน
ของชุมนมุ สหกรณ และตราของสหกรณ
หมวดที่ 2 วัตถุประสงคและอํานาจกระทําการ ระบุเกี่ยวกับ วัตถุประสงคของการจัดต้ัง
ชมุ นุมสหกรณ อํานาจกระทําการตา ง ๆ เพื่อใหบรรลุวตั ถปุ ระสงคในขอ บังคบั
หมวดที่ 3 ทุน ชุมนุมสหกรณอาจหาทุนเพ่ือดําเนินงานตามวัตถุประสงค โดยการออกหุน
การรับฝากเงิน การกูยืม และรับฝากเงินจากการออกตั๋วสัญญาใชเงินและตราสารการเงิน การสะสมทุน
สาํ รองและทนุ อืน่ การรับเงินอุดหนุนหรือทรัพยสนิ ที่มีผูย กให
หมวดที่ 4 การดําเนินงาน ระบุเกี่ยวกับการดําเนินงานตาง ๆ ของชุมนุมสหกรณเพื่อให
เปนไปตามขอบังคับ และกฎหมายสหกรณ ไดแก การลงลายมือช่ือแทนชุมนุมสหกรณ วงเงินกูยืมและ
วงเงินค้ําประกัน การรับฝากเงิน การใหเ งินกู การรวบรวมผลิตผลหรอื ผลิตภัณฑจากบรรดาสหกรณสมาชิก
เพ่ือขายหรือแปรรูปออกขาย การเปนตัวแทนของสหกรณสมาชิกในการขายหรอื การซื้อ การใหบริการกิจการ
ทางเกษตรกรรม การประกอบอุตสาหกรรม การสรางยุงฉางและการรบั ฝากผลิตผล การเงินและการบัญชี
ของชมุ นมุ สหกรณ และการตรวจสอบบัญชแี ละการกาํ กับดแู ลสหกรณ เปนตน
หมวดที่ 5 สมาชิก ระบุเกี่ยวกับคุณสมบัติของสมาชิก การเขาเปนสมาชิก สิทธิหนาท่ี
ในฐานะสมาชิก การขาดจากสมาชกิ ภาพ และความรบั ผิดเพื่อหนสี้ ินของชมุ นุมสหกรณ
หมวดที่ 6 การประชุมใหญ ระบุเก่ียวกับการประชุมใหญสามัญ การประชุมใหญวิสามัญ
องคป ระชมุ ในการประชุมใหญ อํานาจหนา ทีข่ องทีป่ ระชุมใหญ
หมวดท่ี 7 คณะกรรมการดําเนินการ ระบุเก่ียวกับการเลือกต้ังคณะกรรมการ จาํ นวนคณะกรรมการ
อํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการดําเนินการ กาํ หนดเวลาอยใู นตําแหนง การประชมุ และ
องคป ระชุม และรายงานการประชมุ
หมวดที่ 8 ผูจัดการและเจา หนาที่อืน่ ระบุเก่ียวกบั การจางและแตงต้ังผูจดั การและเจา หนาที่อ่ืน
การดาํ รงตาํ แหนง อาํ นาจหนาทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของผจู ัดการ การพน จากตาํ แหนงของผูจดั การ เปน ตน
หมวดที่ 9 ขอเบ็ดเสร็จ ระเบียบของชุมนุมสหกรณ ระบุเกี่ยวกับการกําหนดระเบียบตาง ๆ
ของชุมนุมสหกรณ ใหเหมาะสมกับการดําเนินงาน การดําเนินธุรกิจ การตีความขอบังคับ การดําเนินคดี
เก่ียวกับกฎหมาย การจําหนายทรัพยสนิ เมอื่ ชมุ นมุ สหกรณตอ งเลกิ
ระเบียบของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเน้ือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ชุมนุมสหกรณฯ
มีการกําหนดระเบยี บตาง ๆ เพอื่ ใชในการดําเนินงานของชุมนุมสหกรณฯ ประกอบดวย
ระเบียบวาดว ยการรับ จา ยและเก็บรกั ษาเงิน พ.ศ. 2560
ระเบยี บวาดว ยการรบั ฝากเงนิ จากสหกรณอ น่ื พ.ศ.2560
ระเบยี บวา ดวยคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2560
ระเบยี บวา ดว ยที่ปรึกษาของสหกรณ พ.ศ. 2560

- 11 -

ระเบยี บวาดว ยการใชทุนเพอ่ื สาธารณประโยชน พ.ศ. 2560
ระเบียบวาดวยการจัดซื้อจัดจางของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จาํ กัด พ.ศ. 2560
ระเบียบวาดวยกองทุนจัดการความเสี่ยงผลผลิตทางการเกษตรและรักษาสิงแวดลอม
พ.ศ. 2560
ในการศึกษาพบวาการกําหนดระเบียบตาง ๆ ของชุมนุมสหกรณฯ ยังไมครอบคลุมการดําเนิน
ธุรกิจของชุมนุมสหกรณฯ คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณควรเรงดําเนินการกําหนดระเบียบ
ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจข้ึนถือใชเพ่ิมเติมใหครอบคลุมการดําเนินธุรกิจในปจจุบันและธุรกิจที่มี
แนวโนมจะดําเนินการในปถ ัดไปของชุมนุมสหกรณ เชน
ระเบียบวาดวยการจัดหาสินคา มาจําหนา ย (จาํ หนา ยเปนเงินสด และจาํ หนายเปนเงนิ เช่ือ)
ระเบยี บวา ดวยการรวบรวมผลิตผลเพ่ือจําหนา ย (จากสมาชิกหรอื บุคคลภายนอก)
ระเบียบวาดวยการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรและการผลิตสนิ คา
มติท่ีประชุมใหญและมติที่ประชุมคณะกรรมการดําเนินการ ของชุมนุมสหกรณเครือขาย
โคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ชุมนุมสหกรณฯ จัดใหมีการประชุมใหญประจําปทุกรอบปบัญชี
และประชมุ คณะกรรมการดําเนินการเปน คร้งั คราวเฉพาะทม่ี ีความจาํ เปน
ในการศึกษาพบวาการประชุมคณะกรรมการดําเนินการไมเปนไปตามขอบังคับกําหนดไว
ซึ่งขอบังคับของชุมนุมสหกรณฯ หมวดท่ี 7 ขอ 69 การประชุมและองคประชุม ใหคณะกรรมการ
ดําเนินการประชมุ กนั ตามคราวท่ีมกี จิ ธุระ แตตอ งใหมกี ารประชุมเดอื นละหนึ่งครง้ั เปน อยา งนอ ย

- 12 -
ขนั้ ตอนที่ 3 การวิเคราะหความเสี่ยงในการดําเนินงานและการดําเนนิ ธุรกิจของชมุ นมุ สหกรณฯ
จากการศึกษาลักษณะการดําเนินงาน การดําเนินธุรกจิ ตามวัตถุประสงคข องชุมนุมสหกรณเครือขายโคเน้ือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ที่กําหนดไวในขอบังคับและรูปแบบการดําเนินงานในปปจจุบัน พบวา
ชุมนุมสหกรณฯ มีความเสย่ี งในดา นตาง ๆ ดงั น้ี

3.1 การปฏิบัติหนาท่ีของคณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณเครือขายโคเน้ือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด ยังไมเหมาะสมตามระบบการควบคุมภายในท่ีดี คณะกรรมการฯ ของชุมนุม
สหกรณฯ ไมไดมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงานของชุมนุมสหกรณฯ เทาที่ควร เนื่องจาก
การดําเนินงานของชุมนุมสหกรณฯ มอบใหประธานกรรมการ (ซ่ึงเปนประธานกรรมการของสหกรณ
การเกษตรวังสามหมอ จํากัด) และผูที่ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ผูจัดการ (ซึ่งเปนผูจัดการของสหกรณ
การเกษตรวงั สามหมอ จํากัด) เปนผดู าํ เนินการตา ง ๆ แทนคณะกรรมการดาํ เนินการ

3.2 การจัดเอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชีและการบันทึกบัญชีเก่ียวกับการดําเนิน
ธรุ กิจของสหกรณย ังไมเ หมาะสมตามหลักการบัญชีและระเบียบนายทะเบียนสหกรณเทาที่ควร ซึ่งรายการ
บัญชีที่เกิดขึ้นอาจบันทึกบัญชีไมครบถวน และงบการเงินของสหกรณอาจแสดงรายการที่ไมครบถวน
ถูกตองตามขอเท็จจริงท่ีเกิดรายการตาง ๆ ในการดําเนินงานในรอบปบัญชีนั้น ๆ หรือเกิดปญหาสินคา
คา งสต็อก เสื่อมสภาพ หมดอายุ เชน เอกสารเกี่ยวกับการจัดซ้ือสินคา การอนุมัติการจัดซ้ือ การจําหนาย
สินคา การสาํ รวจความตอ งการของลูกคา การจาํ หนา ยสินคา เปนเงินเชื่อ ผมู อี าํ นาจในการอนุมตั ิใหขายเชอื่

3.3 ไมมีการประชุมคณะกรรมการดําเนินการตามที่กําหนดไวในขอบังคับ เพื่อพิจารณา
เก่ยี วกบั การดาํ เนินงานและการดาํ เนินธรุ กจิ ของสหกรณอยา งสม่ําเสมอ

3.4 การแบงแยกหนาที่ในการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีท่ีมอบหมายและจัดจางเปนคร้ังคราว
ยังไมเหมาะสม เนื่องจากการปฏิบัติงานบุคคลคนเดียวทําหนาที่ตั้งแตตนจนจบไมเปนตามระเบียบที่
ชุมนุมสหกรณฯ กําหนดไว คณะกรรมการที่ไดรับมอบหมายไมมาปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมาย
อยางสมํ่าเสมอ

3.5 การใชชื่อของชุมนุมสหกรณหรือตราสัญลักษณของชุมนุมสหกรณฯ ในการดําเนิน
ธรุ กิจ หรือทําธุรกรรมทางการเงิน คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณฯ ยังมีความรู ความเขาใจ
ในการใชช่ือของชุมนุมสหกรณฯ ไมเพียงพอ มุงหวงั เพ่ือใชในการติดตอ ทําธรุ กรรมทางการเงนิ และทําการคา
ทเี่ อื้อประโยชนใ หกับสหกรณสมาชิกโดยไมไ ดพจิ ารณาผลกระทบท่ีอาจเกิดกับชุมนุมสหกรณฯ ทั้งทางตรง
และทางออ ม ในระยะสั้นหรอื ระยะยาวเทาท่ีควร

- 13 -
ขนั้ ตอนท่ี 4 การกําหนดแนวทางการวางระบบการควบคมุ ภายในและระบบบญั ชีทเี่ หมาะสมกับ
การดาํ เนินธุรกิจแตละธรุ กิจ
ในการศึกษาพบวาชุมนุมสหกรณเครือขายโคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํากัด มีการ
กําหนดขอบังคับ ระเบียบ มติท่ีประชุมคณะกรรมการ และมติที่ประชุมใหญไวเปนแนวทางในการ
ปฏิบัติงานในการดําเนินงานและการดําเนินธุรกิจพอสมควรแตยังไมครอบคลุมการดําเนินงานเทาท่ีควร
ซ่ึงชุมนุมสหกรณฯ จะตองมีการจัดวางระบบการควบคุมภายในเก่ียวกับการปฏิบัติงานและการบันทึก
บัญชเี พ่ิมเติมเพอ่ื สรา งความเขมแข็งใหกับชุมนุมสหกรณฯ ตอ ไป ซ่ึงสามารถแยกพจิ ารณาได ดงั น้ี
1. การวางระบบการควบคุมภายในท่ีดี ดา นบรหิ ารงานทั่วไปและดา นบคุ ลากร
ประกอบดว ย

1.1 การกําหนดระเบียบตาง ๆ ใหครอบคลุมการดําเนินงานและการดําเนินธุรกิจของ
ชุมนุมสหกรณฯ และควรมีการจัดทํารูปเลมของระเบียบไวใชเปนคูมือในการปฏิบัติงาน หรือเปนเอกสาร
ใหห นว ยงานท่ีเก่ียวขอ งตรวจสอบได ไดแก

 ระเบียบวาดวยการจัดหาสินคามาจําหนาย (จําหนายเปนเงินสด และจําหนายเปน
เงินเช่อื )

 ระเบยี บวา ดวยการรวบรวมผลติ ผลเพ่ือจําหนาย (จากสมาชิกหรอื บุคคลภายนอก)
 ระเบียบวาดวยการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรและการผลิตสินคา (การผลิต
อาหารสตั ว)
1.2 การจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการดําเนินการเปนประจาํ ทุกเดือน ตามขอบังคับ
กําหนดไว เพ่ือพิจารณาและรับทราบผลการดําเนินงานของชุมนุมสหกรณฯ และการพิจารณาจัดทํา
แผนการดําเนินธุรกิจของชุมนุมสหกรณฯ รวมท้ังการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีให
เปน ไปตาม ขอบังคับ ระเบียบ มติท่ีประชมุ ฯ และกฎหมายกาํ หนด
1.3 การแบงแยกหนาท่ีและการมอบหมายงานใหเจาหนาที่ของชุมนุมสหกรณในการ
ปฏิบัติงาน ควรมีการแบงแยกหนาท่ีใหชัดเจนและเปนไปตามหลักการควบคุมภายในท่ีดี โดยเฉพาะ
เจาหนาท่ีผูมีหนาที่จัดทําบัญชี และเจาหนาท่ีผูมีหนาท่ีดานการเงินตองเปนคนละคนกัน ในกรณีที่ชุมนุม
สหกรณฯ ยังมีเจาหนา ทไ่ี มเพียงพอในการปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณฯ ควรมี
การมอบหมายหนาท่ีกันมาปฏิบัติงาน เชน ชุมนุมสหกรณฯ มีการจัดจางเจาหนาที่จัดทาํ บัญชี ดังนั้น
คณะกรรมการดําเนินการควรมีการมอบหมายหนาท่ีใหกรรมการคนใดคนหนึ่งมาปฏิบัติหนาที่เจาหนาที่
การเงิน ไมค วรมอบหมายใหเ จา หนาทีบ่ ญั ชีทาํ หนา ท่ที กุ อยา งในสหกรณแ ตเ พยี งคนเดยี ว
1.4 การมอบหมายหนาท่ีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการดําเนินการของชุมนุม
สหกรณฯ ควรมีการมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบใหคณะกรรมการดําเนินการแตละตําแหนง
เก่ียวกับการปฏิบัติหนาท่ี เชน ผูมีอํานาจอนุมัติตาง ๆ วงเงินท่ีสามารถอนุมัติได มีอํานาจลงลายมือชื่อ
ในการทําธุรกรรมตาง ๆ การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ และการปฏิบัติงาน
ของเจาหนาท่ีของชุมนุมสหกรณฯ วามีการปฏิบัติงานเปนไปตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย หรือที่มีการ
แบงแยกหนา ทไี่ วหรอื ไมอ ยางไร

- 14 -

1.5 การพิจารณาจัดจางเจาหนาที่ตําแหนงตาง เพ่ือปฏิบัติงานในแตละหนาท่ีและธุรกิจ
ตาง ๆ ของชุมนุมสหกรณฯ เพราะคณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณฯ มาจากตัวแทนของ
คณะกรรมการฯ จากสหกรณสมาชิกซึ่งไมสามารถมาปฏิบัติงาน ณ ที่ทําการของชุมนุมสหกรณฯ ได และใน
การจัดจางเจาหนาที่ของชุมนุมสหกรณฯ คณะกรรมการฯ ควรจัดใหมีหลักประกันในการปฏิบัติงานให
เหมาะสมกบั ความเสียหายท่อี าจเกิดขึน้ ดวย

2. การวางระบบการควบคุมภายในที่ดี และระบบบัญชีที่ใชในการดําเนินธรุ กิจตา ง ๆ
คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณฯ จึงตองมีการจัดวางระบบการควบคุม

ภายในที่ดีเกี่ยวกับการดําเนินการในขั้นตอนการจัดซื้อสินคา/วัตถุดิบมาจําหนายแกสมาชิกใหรัดกุม
และการกําหนดรูปแบบเอกสารประกอบรายการบัญชี และบันทึกบัญชีใหเหมาะสมตามลักษณะ
การดาํ เนินธุรกจิ ของสหกรณป ระเภทการเกษตร ดังนี้

1. การดําเนินธรุ กจิ จดั หาสนิ คา มาจําหนาย (จดั หาวตั ถดุ บิ ผลิตอาหารสตั ว)
ขั้นตอนการสั่งซือ้ และจาํ หนายสนิ คา/วัตถุดิบทช่ี ุมนมุ สหกรณฯ ที่ควรปฏบิ ัติ

4. สหกรณสมาชกิ โอนเงนิ ชําระ 5. ชมุ นมุ สหกรณฯ โอนเงินชําระคา วตั ถดุ บิ
คา วตั ถดุ บิ ใหช มุ นุมฯ ใหร านคา /สหกรณสมาชกิ
(ชุมนุมฯออกใบเสร็จรบั เงนิ ) ชุมนุมสหกรณ์ (ชุมนมุ ฯเรยี กใบเสร็จรบั เงนิ จากผูขาย)
สหกรณ์ เครือข่ายโคเนื้อ
สมาชิกของ 1.แจง ความตอ งการ ภาคตะวนั ออก 2. ดําเนินการสง่ั ซอ้ื ร้านค้า
ชุมนุมสหกรณ์ วัตถดุ บิ (จดั สง เอกสาร วตั ถดุ บิ (จดั ทาํ ใบสง่ั ซือ้ สนิ คา ) เอกชน
เฉียงเหนือ หรือ
แจงความตองการสินคา) จาํ กดั สหกรณ์

3.รานคา เอกชน/สหกรณสมาชิกสง วัตถดุ บิ ใหสหกรณผ ูซื้อ

(รา นคา /สหกรณผขู ายตองจัดทําใบกํากบั สนิ คา/ใบสงของ สง ใหชมุ นุมฯ 1 ฉบับ สหกรณผ ซู อื้ 1 ฉบบั )

สิง่ ทเ่ี พ่ิมเติมจากการปฏบิ ัตงิ านเดมิ ของชุมนุมสหกรณฯ ไดแก
การแจงความตองการของสมาชิกหรือการสํารวจความตองการของสมาชิกตองมีการ
จัดทําเอกสารแจงความตองการสินคาไวใหชัดเจนแทนการแจงความตองการทางโทรศัพท หรือทางกลุมไลน
สมาชกิ
 การสั่งซื้อสินคา (วัตถุดิบ) ตามความตองการของสมาชิก ชุมนุมสหกรณตองมีการจัดทํา
ใบสั่งซ้ือสินคาเปนหลักฐานในการสงั่ ซื้อและเพื่อใชตรวจสอบกับสินคาท่ีผูขายจัดสงวาตรงตามที่สั่งซื้อหรือไม
แทนการสั่งซ้อื ทางโทรศัพทหรอื กลุมไลนส มาชิก
 ในการจัดสงสินคา (วตั ถดุ ิบ) รานคา/สหกรณผูขายตอ งจัดทําใบสงของ/ใบกาํ กับสินคา
สง ใหช ุมนมุ สหกรณ และสหกรณผซู ้อื พรอมสินคา ที่จดั สง แทนการแจง ทางโทรศัพทหรอื กลุม ไลนส มาชิก

- 15 -
1.1 แนวทางระบบการควบคุมภายในของการจัดหาวัตถุดิบที่ใชในการผลิต
อาหารสัตวมาจาํ หนา ยใหส หกรณส มาชกิ มีขัน้ ตอนการดําเนินการ ดงั น้ี

(1) การจัดสงเอกสารประกอบการสํารวจความตองการของสมาชกิ ทุกครั้งกอนการจัดซื้อ
(2) การสํารวจแหลงผลิตของวัตถุดิบแตละชนดิ และคุณภาพของวัตถุดิบแตละแหลง
ผลิตกอนการจัดซือ้
(3) สํารวจราคาจําหนายของแตละแหลงผลิต ปริมาณท่ีตองสั่งซ้ือข้ันตํ่า รวมทั้ง
คาใชจา ยทเ่ี กี่ยวกับการขนสง วัตถดุ บิ กอ นการจดั ซื้อ
(4) วิเคราะหตนทุนรวมของวัตถุดิบแตละชนิด แตละแหลงผลิต มีความแตกตางกัน
อยา งไรกอนการจดั ซือ้
(5) นําเสนอท่ีประชุมคณะกรรมการฯ เพ่ือพิจาณาแหลงจัดซ้ือวัตถุดิบที่มีคุณภาพ
และมตี น ทนุ ทปี่ ระหยัดท่สี ุด สะดวกในการขนสง วตั ถดุ ิบ และสามารถตรวจสอบยอ นกลับได
(6) เม่ือคณะกรรมการฯ มีมตทิ ป่ี ระชมุ ฯ พิจารณาแหลงจดั ซ้อื วัตถุดบิ แลว จะตองจัดทํา
ใบสั่งซื้อสินคา/วัตถุดิบ โดยระบุประเภท ปริมาณ ราคาตอ หนวย คาขนสง วัตถุดิบ (ถามี) ใหชัดเจน ไปยังแหลง
ผลติ วัตถุดิบผูจ าํ หนา ย
(7) เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ไดรับใบกํากับสินคา/ใบสงของ จากสหกรณผูขาย และการ
แจงการตรวจรับวัตถุดิบจากสหกรณผูซื้อ ชุมนุมสหกรณฯ จะบันทึกบัญชีซ้ือสินคา-วัตถุดิบ และบันทึก
บญั ชเี จาหน้ีการคา -วตั ถดุ บิ บันทึกบัญชยี อยเจาหน้กี ารคา และทะเบยี นคุมสินคา-วัตถดุ ิบ
(8) ชุมนุมสหกรณฯ จัดทําใบกํากับสินคา/ใบสงของ-วัตถุดิบแตละชนิดสงใหสหกรณ
ผูซื้อตามปริมาณการสั่งซื้อวัตถุดิบแตละชนิดของแตละสหกรณทราบการเปนหน้ีกับชมุ นุมสหกรณฯ และ
สงเอกสารใหเจาหนาท่ีบัญชีบันทึกรายการขายสินคา-วัตถุดิบ (เงินสด/ลูกหนี้) บันทึกบัญชียอยลูกหนี้
การคา และบันทกึ ทะเบยี นคมุ สนิ คา
(9) คณะกรรมการฯ ตองติดตามการปฏิบัติงานของเจาหนาที่หรือกรรมการท่ีไดรับ
มอบหมายใหป ฏิบตั งิ านในแตละแผนกใหเ ปน ไปตามระเบียบนายทะเบยี นสหกรณ การบันทกึ รายการบญั ชี
ตอ งมเี อกสารหลกั ฐานประกอบรายการครบถวน สมบูรณ
(10) เมื่อสหกรณสมาชิกจายชําระหนี้คาสินคา-วัตถุดิบ เจาหนาที่ชุมนุมสหกรณฯ
ตองออกใบเสร็จรับชําระหนี้คาสินคา (วัตถุดิบ) ใหกับสมาชิก และบันทึกบัญชีลดยอดลูกหนี้การคา
บันทกึ ลดยอดหน้ีในบัญชยี อ ยลกู หนีก้ ารคา
(11) เมื่อชุมนุมสหกรณฯ จายชําระหนี้เจาหนี้คาสินคา-วัตถุดิบ ดวยเงินสดหรือ
เงินฝากธนาคาร เจาหนาท่ีของชุมนุมสหกรณฯ จะตองจัดทําเอกสารประกอบการจายเงิน และเรียก
ใบเสร็จรับเงินชําระหนี้จากเจาหนี้การคามาใชประกอบการบันทึกลดยอดบัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร
และบันทกึ ลดยอดหนส้ี ินในบญั ชียอ ยเจา หนกี้ ารคา
(12) คณะกรรมการฯ ของชุมนุมสหกรณตองมีการติดตามการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี
เกี่ยวกับการเรียกเก็บหนี้จากลูกหนี้การคาเปนประจําทุกเดือน และการนําเงินไปจายชําระหนี้เจาหนี้การคา
มีการบันทึกบัญชีครบถวนถูกตองตรงตามรายการบัญชีและจํานวนเงินท่ีไดรับ หรือจายออกไปหรือไม
เอกสารประกอบการบันทกึ บญั ชีผา นการอนมุ ัติครบถวนหรอื ไม การบนั ทึกเพ่มิ /ลดยอดหนสี้ นิ ในบัญชยี อย
ถูกตอ ง ครบถว นเปนปจ จุบันหรอื ไม

- 16 -
(13) ทุกวันสิ้นเดือน วันส้ินปบัญชีหรือทุกไตรมาส ชุมนุมสหกรณฯ ตองมีการแตงตั้ง
คณะกรรมการฯ ตรวจนับสินคา-วัตถดุ ิบคงเหลอื ทกุ ส้ินเดอื น ส้นิ ไตรมาส และส้ินปบ ญั ชี
1.2 ระบบบัญชีที่ใชในการดําเนินธุรกจิ ของชมุ นุมสหกรณฯ
(1) เอกสารประกอบรายการบัญชที ่ีชุมนุมสหกรณฯ ตอ งจดั ใหม ีประกอบรายการบญั ชี ไดแ ก

ใบแจงสํารวจความตองการสินคา/วัตถุดิบ (เอกสารหมายเลข 1) เพื่อเสนอ
ที่ประชุมคณะกรรมการฯ ประกอบการพิจารณาดําเนินการส่ังซ้ือสินคา/วัตถุดิบมาจําหนายแกสมาชิก
หรือตามความตองการของสมาชิก

ใบส่ังซื้อสินคา/วัตถุดิบ (เอกสารหมายเลข 2) เพื่อเปนหลักฐานประกอบการ
สั่งซื้อสินคา/วัตถุดิบแตละประเภท และสถานท่ีในการจัดสงสินคา/วัตถุดิบไปยังผูขายใหจัดสงสินคา/
วัตถดุ ิบตามรายการทีร่ ะบใุ นใบสง่ั ซ้ือใหช ุมนมุ สหกรณฯ หรือสหกรณสมาชกิ ของชุมนมุ ฯ ตามความตอ งการ

ใบกํากับสินคา/ใบสงของ (เอกสารภายนอก) จากรานคาหรือสหกรณผูขาย
สนิ คา/วัตถุดิบใหชุมนุมสหกรณฯ เพ่ือเปนเอกสารประกอบในการตรวจรับสินคา /วัตถุดิบท่ีจัดสงใหชุมนุม
สหกรณฯ หรือสหกรณผูซ้ือวาสินคาไดมีการจัดสงมาตามใบกํากับสินคา/ใบสงของครบถวนและมีผูตรวจรับ
สนิ คา/วตั ถุดิบดังกลาวแลว ใชเปนเอกสารประกอบรายการซ้ือสินคา/วัตถุดิบเปนเงนิ เชื่อ และบันทึกบัญชียอย
เจา หน้กี ารคา

ใบกํากับสินคา/ใบสงของ (เอกสารภายใน) (เอกสารหมายเลข 3) ชุมนุมตองจัดทํา
ใบกํากับสินคา/ใบสงของของชุมนุมสหกรณฯ ขึ้นเพ่ือเปนหลักฐานประกอบการขายสินคา/วัตถุดิบ ใหกับ
สหกรณสมาชิก และจัดสงใหสหกรณสมาชิกท่ีซ้ือสินคา/วัตถุดิบ พรอมสําเนาใบกํากับสินคา/ใบสงของ
จากรานคา ใชเ ปนเอกสารประกอบรายการขายสนิ คา เปนเงินเชื่อ และบนั ทกึ บญั ชยี อยลกู หนก้ี ารคา

ใบเสร็จรับเงินขายสินคา (เอกสารหมายเลข 4) เพ่ือใชเปนหลักฐานประกอบการ
รบั เงินจากการขายสนิ คาเปนเงนิ สด

ใบเสร็จรับเงิน (เอกสารหมายเลข 5) เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการรับเงิน
จากบุคคลภายนอก หรือสหกรณส มาชิก และใชเ ปน ใบเสร็จรับเงนิ ชาํ ระหนจ้ี ากลูกหน้กี ารคา

ใบเบิกเงิน (เอกสารหมายเลข 6) เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการเบิกเงินเพ่ือจาย
คาใชจ ายตาง ๆ ของสหกรณท่ไี มส ามารถเรยี กใบเสร็จรบั เงนิ จากเจา หน้ี หรอื ผรู ับเงินได

ใบสําคัญรับ (เอกสารหมายเลข 7) ใชสําหรับบันทึกสรุปรายการเงินที่ไดรับ
ประจําวัน ทั้งท่ีเปนเงินสด และเอกสารการเงินท่ีนําเขาฝากในบัญชีธนาคาร เชน เช็ค เปนตน โดยจําแนก
รายการรับเงินตาง ๆ ตามประเภทบัญชีและใหแนบเอกสารหลักฐานเก่ียวกับการรับเงนิ ประเภทนั้นติดไว
กบั ใบสาํ คัญรบั ดว ย

ใบโอนบัญชี (เอกสารหมายเลข 8) ใชสําหรับบันทึกรายการเก่ียวกับการโอนบัญชี
เจาหน้ี ลูกหนี้ การโอนแกไขรายการผิดพลาดในบัญชี การโอนปรับปรุงบัญชี การโอนปดบัญชีเม่ือส้ินงวดบัญชี
การโอนปดบัญชแี ละรายการที่ไมอ าจนาํ ไปบนั ทึกในสมุดบญั ชีขนั้ ตน อน่ื ๆ นอกจากสมุดรายวันท่ัวไป

ใบสําคัญจาย (เอกสารหมายเลข 9) ใชบันทึกสรุปรายการจายเงินประจําวนั ท้ังท่ีเปน
เงินสดหรือเอกสารการเงินท่ีสั่งใหธนาคารจายเงินจากบัญชีเงินฝากของสหกรณ โดยจําแนกรายการ
จายเงิน ตามประเภทบัญชีและใหแนบเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการจายเงินประเภทน้ัน ๆ ติดไวกับ
ใบสาํ คญั จา ยดว ย

- 17 -

ตวั อยาง รูปแบบเอกสารประกอบของธุรกจิ จัดหาสินคา มาจําหนาย

1. ใบแจง สาํ รวจความตอ งการสนิ คา /วัตถุดิบ เอกสารหมายเลข 1
2. ใบสั่งซอ้ื สนิ คา/วัตถดุ ิบ เอกสารหมายเลข 2
3. ใบกํากบั สนิ คา /ใบสง ของ เอกสารหมายเลข 3
4. ใบเสรจ็ รับเงนิ ขายสินคา เอกสารหมายเลข 4
5. ใบเสร็จรบั เงนิ เอกสารหมายเลข 5
6. ใบเบิกเงิน เอกสารหมายเลข 6
7. ใบสําคญั รับ เอกสารหมายเลข 7
8. ใบโอนบัญชี เอกสารหมายเลข 8
9. ใบสาํ คญั จา ย เอกสารหมายเลข 9

- 18 -

เอกสารหมายเลข 1

ชมุ นมุ สหกรณ. .................................................................จาํ กดั
เลขท.ี่ ..........หมทู .่ี .............ตาํ บล..................................อําเภอ...........................จงั หวัด....................................

ใบแจงสํารวจความตองการสินคา/วัตถุดิบ
วันท่.ี .............เดอื น.........................พ.ศ. .............................

ชอ่ื ผซู อ้ื ............................................................................... วนั ท่ีตองการสินคา.....................................
สถานทจี่ ัดสง สินคา............................................................ กําหนดสง สนิ คา /วตั ถดุ ิบ.............................

ช่ือรานคา /ผูขาย................................................................ เง่ือนไขการชําระเงิน....................................

ราคาตอ จาํ นวนเงนิ

ที่ รายการ จํานวน หนวยวัด หนวย (บาท)

(ก.ก.)

จํานวนเงนิ (ตวั อักษร) รวมท้งั สนิ้
(...............................................................................................)

ลงชอื่ .................................ผแู จงความประสงค ลงชอ่ื .......................................ผรู ับใบแจงความประสงค
(....................................)
(.....................................)
ตาํ แหนง ...................................... ตาํ แหนง ......................................
........../......../.......
........./.........../........

ลงชือ่ .......................................ผูรวบรวมขอมูล

- 19 -

เอกสารหมายเลข 2

ชมุ นมุ สหกรณ. ..........................................................................จํากัด
เลขท.ี่ ..........หมทู ่.ี .............ตาํ บล..................................อาํ เภอ...........................จงั หวัด....................................

ใบสัง่ ซื้อสินคา /วัตถุดิบ
วนั ท่ี..............เดอื น.........................พ.ศ. ............................. เลขทใ่ี บสง่ั ซ้ือ..................................

ผูขาย................................................................................... วันที่ตองการสินคา.....................................
ผูร ับ..................................................................................... กําหนดสง สนิ คา /วตั ถดุ ิบ.............................

......................................................................................เงื่อนไขการชาํ ระเงิน....................................

ราคาตอ จํานวนเงิน

ที่ รายการ จํานวน หนว ยวดั หนว ย (บาท)

(ก.ก.)

จาํ นวนเงิน (ตวั อักษร) รวมท้งั สนิ้
(...............................................................................................)

ลงชอ่ื .................................ผูขอซอื้ ลงช่ือ.......................................ผูจ ัดซ้อื ลงชื่อ...........................

อนกุ รรมการ

(.................................) (....................................) (.........................)

......./......../.......... ........../.........../........ ......./......../.......

- 20 -

เอกสารหมายเลข 3

ชุมนุมสหกรณ.......................................................................จํากดั
เลขท.่ี ..........หมูท.่ี .............ตาํ บล..................................อําเภอ...........................จงั หวดั ....................................

ใบกาํ กบั สินคา/ใบสง ของ
วันท่ี..............เดือน................................พ.ศ. .............................

ผซู ื้อ................................................................................................... สญั ญาเลขท.่ี ................................

ทอ่ี ยู. .................................................................................................. กําหนดชาํ ระเงิน.........................
......................................................................................................

ราคาตอ จํานวนเงนิ

ที่ รายการ หนว ยวดั หนว ย (บาท)

(ก.ก.)

จํานวนเงิน (ตวั อักษร) รวมทง้ั สิน้
(...............................................................................................)

...................................................... …………………………………………..
(....................................................) (...............................................)

เจา หนา ทก่ี ารตลาด ผูรับสนิ คา

...................................................

- 21 -

เอกสารหมายเลข 4

เลม ที่...............
เลขท.่ี ..............
ชมุ นุมสหกรณ. ............................................................จํากัด
เลขท.่ี .............หมูที่................ตาํ บล...........................อาํ เภอ................................จงั หวดั .............................
ใบรบั เงนิ ขายสินคา
วนั ท่ี..........เดือน................................พ.ศ. .............
ไดร ับจาก....................................................................สมาชกิ /ผูมใิ ชสมาชกิ เลขทะเบียน.....................
กลมุ ท่.ี .............อยบู า นเลขท.่ี ....................หมูท .่ี ...............ตําบล.............................อาํ เภอ..........................
จังหวัด........................................ ตามรายการดงั ตอ ไปน้ี

ลาํ ดับท่ี รายการ จํานวน ราคาตอหนวย จํานวนเงิน

(ตัวอักษร).................................. …………………………………………………
(.....................................................)
...........................................................
(........................................................)

- 22 -

เอกสารหมายเลข 5

เลม ท่ี...............
เลขท.่ี ..............
ชมุ นุมสหกรณ. ..................................................................จํากัด
เลขท.่ี .............หมูที่................ตําบล...........................อาํ เภอ................................จังหวดั .............................
ใบเสร็จรบั เงนิ
วนั ท.ี่ .........เดอื น................................พ.ศ. .............
ไดรบั จาก....................................................................สมาชิก/ผูมใิ ชส มาชกิ เลขทะเบยี น......................
กลมุ ท่ี..............อยบู า นเลขท.ี่ ....................หมทู .่ี ...............ตําบล.............................อาํ เภอ..........................
จังหวัด........................................ ตามรายการดงั ตอไปนี้

ลําดับท่ี รายการ จาํ นวนเงิน

(ตวั อักษร).................................................................... รวม

..................................................... …….………………………………

(....................................................) (...........................................)
ผรู ับเงิน ผอู นุมัติ

- 23 -

เอกสารหมายเลข 6

เลม ที่...............
เลขท.่ี ..............
สหกรณ. ....................................................................จาํ กัด
เลขท.่ี .............หมูท.่ี ...............ตาํ บล...........................อาํ เภอ................................จังหวัด.............................

ใบเบกิ เงิน
เงนิ สด
เชค็ เลขท.่ี ...........................

วนั ท.ี่ ..................เดือน..............................พ.ศ. ...........................

ไดรับจาก.................................................................สมาชกิ /ผมู ิใชส มาชกิ เลขทะเบยี น..........................
กลมุ ท่ี..............อยบู า นเลขท.ี่ ....................หมทู .่ี ...............ตําบล.............................อําเภอ..........................

จงั หวัด........................................ ตามรายการดงั ตอไปน้ี

ลําดับที่ รายการ จาํ นวนเงนิ

(ตวั อักษร)....................................................................
รวม

รบั เงนิ แลว

............................................... ……………….…………………
() ()

- 24 -
เอกสารหมายเลข 7

เลขท.่ี ..............
ชมุ นุมสหกรณ. ....................................................................จาํ กดั
เลขที.่ .............หมูท่ี................ตําบล...........................อําเภอ................................จงั หวดั .............................

ใบสําคัญรบั

เงินสด
เช็คเลขที่............................

วันท.ี่ .........เดอื น................................พ.ศ. .............
รับจาก..................................................................
.............................................................................

จาํ นวนเงิน

ประเภทบญั ชี.................................................................... รวมทงั้ สิน้

ลงบญั ชีตรวจสอบ ผูอนุมัติ

......................................... ………………………………..................

- 25 -

เอกสารหมายเลข 8

เลขที่...............
ชมุ นมุ สหกรณ.....................................................................จาํ กัด
เลขท่.ี .............หมทู ี่................ตําบล...........................อาํ เภอ................................จังหวดั .............................

ใบโอนบัญชี
วนั ท.่ี .........เดือน................................พ.ศ. .............

ประเภทบัญชี หนา บญั ชี เดบติ เครดิต

คําอธิบาย
..............................................................................................................................................

..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

ลงบัญชีตรวจสอบ ผูอนุมตั ิ
......................................... ....................................

- 26 -

เอกสารหมายเลข 9

เลขท.ี่ ..............
ชุมนมุ สหกรณ. ....................................................................จาํ กัด
เลขท.ี่ .............หมทู .ี่ ...............ตําบล...........................อําเภอ................................จังหวัด.............................

ใบสําคญั จาย
เงินสด
เช็คเลขท่ี............................

จา ยให. .................................................................
.............................................................................

วันที่..........เดือน................................พ.ศ. .............

จํานวนเงิน

ประเภทบญั ช.ี ................................................................... รวมทั้งสน้ิ

ลงบญั ชีตรวจสอบ ผูอนุมัติ

- 27 -

(2) การบันทึกรายการบัญชเี ม่ือเกดิ รายการซอ้ื และจาํ หนายสนิ คา/วัตถดุ ิบของชุมนุมฯ
 เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ไดรับสินคา/วัตถุดิบพรอมใบกํากับสินคา/ใบเสร็จรับเงิน
คา สนิ คา /วัตถดุ บิ และชมุ นมุ สหกรณฯ จายคาสินคาเปนเงินสด/เงนิ ฝากธนาคาร บนั ทึกบญั ชโี ดย
เดบิต ซ้ือสนิ คา (สินคา/วัตถุดิบ) xx
ภาษซี ้อื xx
เครดติ เงนิ สด/เงินฝากธนาคาร xx
เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี : ใบกํากบั สินคา /ใบสงของท่ไี ดร บั จากรา นคา /สหกรณสมาชิก
 เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ไดรับสินคา/วัตถุดิบพรอมใบกํากับสินคา/ใบสงของ-สินคา/
วตั ถุดิบ บันทกึ บญั ชโี ดย
เดบติ ซือ้ สนิ คา (สนิ คา /วตั ถุดิบ) xx
ภาษซี ือ้ xx
เครดิต เจาหนค้ี า สินคา (สนิ คา /วัตถดุ บิ ) xx
เอกสารประกอบการบันทกึ บัญชี : ใบกํากับสินคา /ใบสงของที่ไดร บั จากรา นคา /สหกรณส มาชิก
เมื่อชุมนุมสหกรณฯ จายเงินสดหรือโอนเงินชําระหน้ีคาสินคา/วัตถุดิบ ใหกับ
รา นคา และสหกรณผูขาย
เดบติ เจา หนีค้ า สินคา -วตั ถุดบิ .... xx
เครดิต เงนิ สด/เงินฝากธนาคาร xx
เอกสารประกอบการบนั ทึกบัญชี : ใบเสรจ็ รบั เงินชําระคา สินคา/วตั ถดุ ิบรบั จากรานคา /สหกรณสมาชิก
เม่ือชุมนุมสหกรณฯ สงสินคา/วัตถุดิบใหสหกรณสมาชิกพรอมใบสงของ/วัตถุดิบ
หรือเม่ือรานคา/สหกรณผูขายจัดสงใบกํากับสินคา/ใบสงของ แจงการสงสินคาไปยังสถานท่ีท่ีระบุไวใน
ใบสัง่ ซอื้ สนิ คา ของชุมนมุ สหกรณฯ บันทกึ บญั ชโี ดย
 กรณีสหกรณผซู ้อื จา ยเงนิ /โอนเงนิ ใหชมุ นมุ สหกรณฯ ทนั ทเ่ี มอื่ ไดรับสินคา
เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
เครดติ ขายสนิ คา (สินคา /วตั ถดุ บิ ) xx
ภาษีขาย xx
เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี : ชุมนมุ สหกรณฯ จัดทําใบเสรจ็ รบั เงินขายสินคา กรณีขายเปนเงินสด
 กรณีที่สหกรณผ ซู อื้ แจงการรบั สินคา จากสหกรณผูขายโดยยังไมโ อนจายคาสนิ คา
เดบติ ลูกหน้ีคา สินคา (สินคา/วัตถดุ ิบ) xx
เครดิต ขายสนิ คา (สนิ คา/วตั ถดุ ิบ) xx
ภาษขี าย xx
เอกสารประกอบการบันทึกบญั ชี : ชุมนมุ สหกรณฯ จดั ทําใบกาํ กับสนิ คา/ใบสงของ กรณขี ายสนิ คา เปนเงินเชื่อ
เมื่อสหกรณสมาชิกผูซ้ือสินคาจายเงินสดหรือโอนเงินจายชําระหน้ีคาสินคา/
วตั ถดุ ิบใหช มุ นมุ สหกรณฯ
เดบติ เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
เครดติ ลกู หนีค้ าสนิ คา (สินคา/วัตถดุ บิ ) xx
เอกสารประกอบการบนั ทกึ บัญชี : ชุมนุมสหกรณฯ ออกใบเสร็จรบั เงินชาํ ระหนค้ี า สินคา-วัตถุดบิ

ภาพ 2-2 แผนผังระบบบัญชีก

ผจู ัดการ/ผูจ ดั การโรงงาน เจาหนาท่ฝี ายผลิตโรงงาน

2 1 เมื่อตองการซอ้ื วัตถ

ใหผูขาย ใบสง่ั ซือ้ 11 3
s 2

ลงชอ่ื อนุมัติ ใบสั่งซือ้ วตั ถดุ ิบ 1

เมื่อไดร

2

ทะเบียนคุม
วัตถุดิบ

เดบติ ซ้อื วตั ถุดิบ
ซ้ือวสั ดุสน้ิ เปลือง
ภาษซี ้อื
เครดติ

- 28 -

การซ้อื วตั ถดุ บิ และวสั ดุสนิ้ เปลอื งเปน เงินสด

เจาหนาคลงั วตั ถดุ ิบ เจาหนาท่ีบัญชี

ถุดิบ

N

ใบสัง่ ซอื้ วัตถุดิบ 2 D D ใหผ ขู าย - 28 -
รับวตั ถดุ ิบ
2
3 ใบเสร็จรับเงินของผขู้ า1ย 1
2

ใบเสร็จรับเงินของผขู้ าย 1

ทะเบยี นคุม ใบสาํ คญั จ่าย
วสั ดุ
D

xx สมดุ เงินสด สมดุ ซ้ือสนิ คา
ง xx
xx บญั ชีแยกประเภท
xx
เงินสด/เงนิ ฝากธนาคาร

-

ภาพ 2-3 แผนผังระบบบัญชีกา
ผูจัดการ/ผจู ัดการโรงงาน เจา หนาท่ีฝา ยผลิตโรงงาน

2 1

ใหผูข าย ใบสั่งซื้อ 11 เม่ือตองการซ้อื วตั ถ

1 s 3
2
ลงช่อื อนุมตั ิ
ใบสั่งซอ้ื วตั ถุดิบ 1

เมอ่ื ไดร

2

ทะเบยี นคุม
วตั ถดุ บิ

เดบติ ซื้อวตั ถุดบิ xx
ซอ้ื วสั ดสุ น้ิ เปลอื ง xx
ภาษซี อ้ื xx
เครดติ เจาหนก้ี า

29 -

ารซ้อื วัตถุดบิ และวสั ดสุ ้ินเปลืองเปนเงินเชื่อ

เจา หนา คลังวัตถดุ บิ เจาหนา ทบ่ี ญั ชี

ถุดิบ

N

ใบสัง่ ซ้ือวตั ถดุ ิบ 2 D ใหผ ขู าย - 29 -

รับวัตถดุ ิบ/วสั ดุ D 2
ใบกาํ กบั สินคา้ / 1
3 ใบกาํ กบั ผขู้ าย
2

ใบกาํ กบั สินคา้ /ใบกาํ กบั 1
ภาษีผขู้ าย

ทะเบียนคุม ใบโอนบญั ชี
วสั ดุ
D

สมุดรายวันท่ัวไป สมุดซื้อสินคา

ารคา xx บญั ชีแยกประเภท บญั ชียอ่ ย
เจา้ หน้ีการคา้

-3

ภาพ 2-4 แผนผงั ระบบบัญชกี า
เจาหนาท่บี ญั ชี

3 ใบเ
1 ข

ใบกาํ กับสินคา / 1
ใบกาํ กบั ภาษีผูขาย

D

ใบสาํ คัญจาย

สมุดเงนิ สดจาย

บัญชแี ยกประเภท บญั ชียอ ย
เจาหนี้การคา

30 -

ารจา ยชาํ ระหนี้คา วัตถุดิบและวสั ดสุ ิ้นเปลือง
เจาหนา ท่ีการเงิน

3 2 ใหผูขาย - 30 -
2 ใบเสรจ็ รับเงิน11

เสรจ็ รับเงนิ 1 ของผูขาย s
ของผูขาย

เดบติ เจา หน้ีการคา xx xx
เครดิต เงินสด/ เงินฝากธนาคาร

ภาพ 2-5 แผนผงั ระบบบัญชีการข

สหกรณสมาชกิ เจาหนาท่กี ารตลาด

เมอ่ื ชุมนุมฯ แจงใหสหกรณผซู ือ้ ตรวจร
ตามใบกํากับสนิ คา/ใบสง ของ ของสหก

3

D 2

ใหสหกรณผูซอ้ื ใบเสร็จรบั เงนิ ขา1ย 1
สินคา s

สาํ เนาใบกาํ กับสนิ คา /ใบ
สงของจาก สก. ผูข าย

เดบิต เงนิ สด/เงินฝากธนาคาร
เครดิต ขายสินคา–คาวตั ถดุ บิ /วัสดุสิ้น
ภาษขี าย

- 31 -

ขายสินคา (วตั ถุดบิ /วัสดุสน้ิ เปลอื ง) เปนเงินสด

รับวตั ถดุ บิ /วสั ดุส้นิ เปลอื ง เจาหนาทีบ่ ัญชี
กรณผ ูขาย
ใบเสรจ็ รับเงนิ
ขายสินคา

D

ใบสาํ คญั รับ - 31 -

สมุดเงนิ สด สมุดขายสินคา

xx บญั ชแี ยกประเภท
นเปลือง
xx
xx

ภาพ 2-6 แผนผังระบบบัญชีการขาย

สหกรณสมาชิก เจา หนา ทก่ี ารตลาด

เมอื่ ชุมนมุ สหกรณฯแจงใหส หกรณผ ซู ้ือ
ตามใบกาํ กับสินคา/ใบสง ของ ของสหก

3

D 2

ใหส หกรณผซู ือ้ ใบกํากับสินคา/1 1
ใบสงของ
s

สาํ เนาใบกํากบั สนิ คา/ใบ
สง ของจากสก. ผขู าย

เดบติ ลูกหนกี้ ารคา-คาวตั ถุดบิ /วัสดุสนิ้ เปลือง
เครดิต ขายสินคา–วตั ถดุ บิ /วัสดสุ ิ้นเป
ภาษีขาย

- 32 -

ยสนิ คา (วตั ถดุ บิ และวสั ดุสนิ้ เปลือง) เปน เงนิ เช่อื

เจาหนา ทบี่ ัญชี

อตรวจรบั วตั ถดุ บิ /วัสดสุ นิ้ เปลอื ง ใบกาํ กับสินคา/
กรณผขู าย ใบสงของ

D

ใบโอนบญั ชี - 32 -

สมุดรายวันทัว่ ไป สมุดขายสนิ คา

xx บัญชีแยกประเภท บัญชียอยลกู หนี้การคา
ปลือง xx

xx

-3

ภาพ 2-7 แผนผังระบบบัญชีการรบั ชําระ

เจาหนาทก่ี ารเงนิ

2 เม่ือถึงกําหนดแจง ใหลกู หน้ีมาชําระหนี้
1

2

ใบแจงใหช าํ ระหน้ี 1

D 3
2
ใหลกู หน้ี
ใบเสรจ็ รบั เงนิ 1 s

เดบิต เงนิ สด/เงินฝากธนาคาร xx
เครดติ ลกู หนกี้ ารคา –คาวตั ถุดบิ /วสั ดสุ ้นิ เปลอื ง x

33 -

ะหนจี้ ากลกู หนคี้ า สนิ คา (วัตถดุ บิ และวัสดสุ ้ินเปลอื ง)
เจาหนาที่บญั ชี

ใบแจง ใหช ําระหน้ี 2 - 33 -
ใบเสรจ็ รบั เงนิ 2
ใบสาํ คญั รับ D

สมดุ เงินสด

xx
บญั ชแี ยกประเภท บัญชยี อ ยลกู หนี้การคา

- 34 -

2. การดําเนินธรุ กิจรวบรวมผลิตผล (รวบรวมลูกโค/โคกลางนํา้ เพ่ือจําหนาย)
คณะกรรมการดําเนินการของชุมนุมสหกรณฯจึงตองมีการจัดวางระบบการควบคุม

ภายในเกี่ยวกบั การดําเนินการในขั้นตอนการจดั ซอ้ื ลกู โค/โคกลางนํา้ มาจําหนายแกส หกรณส มาชกิ ใหรดั กุม
ตลอดจนเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพของลูกโค/โคกลางน้ํา อัตราคาใชจายในการขนสงและเอกสาร
ใบอนญุ าตในการเคลือ่ นยายลูกโค/โคกลางนํ้า และการกําหนดรปู แบบเอกสารประกอบรายการบญั ชี และ
บนั ทกึ บญั ชีใหเ หมาะสมตามลกั ษณะการดําเนนิ ธุรกจิ ของสหกรณประเภทการเกษตร ดังน้ี

ขั้นตอนการรวบรวมลกู โค/โคกลางน้าํ และการจาํ หนายลกู โค/โคกลางน้าํ ทช่ี มุ นุมสหกรณฯ ควรปฏิบตั ิ
4. สหกรณผ ซู อ้ื จายชาํ ระหน้คี าลูกโค/ 5. ชุมนุมสหกรณฯจา ยชาํ ระหนีค้ า/
โคกลางนํ้าใหชุมนมุ ฯ และชุมนุมฯ โคกลางน้าํ ใหส หกรณผูขาย และ
จะออกใบเสรจ็ รบั เงนิ ใหล ูกหนี้ เรียกใบเสร็จรบั เงินจากเจา หนี้
สหกรณ ชมุ นุม สหกรณ
กสรมาชิก 1. แจงความตอ งการ สหกรณ 2. ดําเนนิ การ สมาชิก
ของชมุ นุม ลกู โค/โคกลางน้ํา เครือขาย ส่งั ซ้อื ลูกโค/ ของ
สหกรณฯ โคเนอ้ื ภาค โคกลางนํ้า ชุมนุม
(จดั สง เอกสารแจง ตะวนั ออก สหกรณฯ
ผซู ้ือ เฉียงเหนือ (จดั ทาํ ใบส่ังซื้อ) ผขู าย
ความประสงคการสั่งซอ้ื ) จาํ กดั

3. สหกรณสมาชิกผขู ายจดั สงลูกโค/โคกลางนํา้ ใหสหกรณสมาชิกผูซ้อื

(สหกรณผขู ายตอ งจดั ทําใบกาํ กบั สนิ คา/ใบสง ของ ใหสหกรณผ ูซ้ือ 1 ฉบบั และใหชุมนมุ สหกรณฯ 1 ฉบบั )

สิง่ ท่เี พ่ิมเติมจากการปฏิบัติงานเดิมของชุมนมุ สหกรณ ไดแ ก
การแจงความตองการของสมาชิกหรือการสํารวจความตองการของสมาชิกตองมีการ
จัดทําเอกสารแจงความตองการลูกโค/โคกลางนํ้า ไวใหชัดเจน แทนการแจงความตองการทางโทรศัพท
หรอื ทางกลมุ ไลนสมาชกิ
การส่ังซ้ือลูกโค/โคกลางน้ํา ตามความตองการของสมาชิก ชุมนุมสหกรณฯ ตองมีการ
จดั ทําใบสง่ั ซือ้ สินคาเปนหลักฐานในการส่ังซ้อื และเพ่ือใชตรวจสอบกับโคที่ผูขายจดั สง วาตรงตามการสั่งซ้ือ
หรอื ไมแ ทนการส่ังซ้อื ทางโทรศัพทห รือกลุมไลนส มาชกิ
การจัดสงลูกโค/โคกลางนํ้า สหกรณผูขายตองจัดทําใบสงของ/ใบกาํ กับสินคา สง ให
ชุมนุมสหกรณฯ และสหกรณผซู ื้อพรอมสินคา ที่จัดสง แทนการแจงทางโทรศัพทห รือกลมุ ไลนสมาชกิ
2.1 แนวทางระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับการจัดซื้อลูกโคและโคกลางน้ําเพ่ือ
จาํ หนายใหสหกรณสมาชกิ มีข้ันตอนในการปฏิบัติ ดงั นี้

(1) สหกรณสมาชิกท่ีตองการลูกโค/โคกลางนํ้า จัดสงเอกสารแจงความตองการซ้ือลูกโค
และโคกลางน้ําใหช ุมนุมสหกรณฯ ทราบ

- 35 -
(2) ชุมนุมสหกรณฯ รวบรวมเอกสารแจงจํานวนความตองการลูกโค และโคกลางนํ้า
เพ่อื พจิ ารณาดําเนินการสาํ รวจแหลง ผลิตของสนิ คา (โค) ทตี่ องการ
(3) ติดตอประสานไปยังสหกรณที่ผลิตลูกโค และสหกรณที่มีโคกลางน้ําพรอม
จําหนาย ใหทราบจํานวน ขนาดอายุของโคตามที่ตองการ และราคาในการซื้อ ขายปจจุบันหรือราคาตาม
ท่ีไดร ว มกันกําหนดไว
(4) คณะกรรมการฯ ของชุมนุมสหกรณฯ ลงตรวจสอบคุณภาพของลูกโค และ
โคกลางนํ้าท่ีพรอมจําหนายยังแหลงผลิต เพ่ือใหมั่นใจในคุณภาพและปริมาณท่ีพรอมจัดสงใหตามความ
ตอ งการของสหกรณผซู ้อื เพือ่ ใหม่ันใจในคณุ ภาพของลกู โค/โคกลางน้าํ ทีจ่ ําหนายโดยชุมนุมสหกรณฯ
(5) วิเคราะหต น ทนุ รวมของลกู โค/โคกลางนํ้า แตละแหลงผลิตเก่ยี วกับราคาของลกู โค
คาใชจายในการดําเนินการ คาใชจายในการขนสงและระยะทางในการขนสง มีความแตกตางกันอยางไร
กอ นดําเนินการจดั ซ้อื ลูกโค/โคกลางน้ํา จากแหลง ผลติ ลกู โค/โคกลางนํ้า
(6) นําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อพิจาณาแหลงผลิตลูกโค/โคกลางน้ําท่ีมี
คุณภาพ และมีตนทุนที่ประหยัดที่สุด ความสะดวกในการขนสง และการตรวจสอบยอนกลับไปยัง
แหลง เพาะพนั ธุ
(7) เม่ือที่ประชุมคณะกรรมการฯ พิจารณาอนุมัติใหดําเนินการสั่งซ้ือลูกโคและ
โคกลางนํ้าจากสหกรณผูขาย โดยแจงปริมาณความตองการโคแตละประเภท พรอมสถานท่ีใหจัดสงลูกโค
และโคกลางน้ํา การรับผิดชอบคาขนสง การดําเนินการในการขออนุญาตการเคล่ือนยายลูกโค/โคกลางน้ําไป
ยังสหกรณผูซ้ือ และแจงใหสหกรณผูขาย สงมอบลูกโค/โคกลางน้ํา พรอมใบกํากับสินคา/ใบสงของ ให
สหกรณ ผซู อ้ื โค 1 ฉบับ และจดั สง ใหช ุมนุมสหกรณฯ 1 ฉบับ
(8) ดําเนินการแจงใหสหกรณผูซ้ือแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับและตรวจสอบ
คุณภาพของลูกโคหรือโคกลางน้ําที่ไดรับตรงตามความตองการ และตรงตามใบกํากับสินคาหรือไม มีรหัส
ใบหูและใบประวัติการขุนประจําตัวโคถูกตองหรือไม สภาพท่ัวไปของโค ความสมบูรณ และแจงผลการ
ตรวจรบั โคใหชมุ นุมสหกรณฯ ทราบทนั ทที่ ี่ไดร ับโคตามจํานวนทสี่ ั่งซือ้
(9) เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ไดรับใบกํากับสินคา/ใบสงของ จากสหกรณผูขาย และการ
แจงการตรวจรับลูกโค/โคกลางนํ้าจากสหกรณผซู ้ือ ชมุ นุมสหกรณฯ จะบันทึกบัญชีซื้อสินคา-ลูกโค/โคกลางน้ํา
และบันทึกบัญชีเจาหนี้การคา-ลูกโค/โคกลางน้ํา บันทึกบัญชียอยเจาหนี้การคา และทะเบียนคมุ สนิ คา -
ลกู โค/โคกลางนํ้า
(10) ชุมนุมสหกรณฯ จัดทําใบกํากับสินคา/ใบสงของ พรอมแนบสําเนาใบกํากับ
สินคา/ใบสงของของสหกรณผูขายโค และจัดสงใหสหกรณผูซื้อโคเพ่ือรับรูการเปนหน้ีคาสินคา ระหวาง
สหกรณผ ูซอ้ื กับชุมนุมสหกรณฯ และชุมนุมสหกรณฯ จะบนั ทึกบัญชีขายสินคา -ลกู โค/โคกลางนาํ้ และบนั ทึก
บญั ชีลกู หน้ีการคา-ลกู โค/โคกลางนํ้า บันทึกบญั ชียอ ยลกู หน้ีการคา-ลกู โค/โคกลางน้ํา และบันทึกทะเบียน
คุมสนิ คา -ลกู โค/โคกลางนํา้
(11) เมื่อครบกําหนดการชําระเงิน ชุมนุมสหกรณฯจะจัดสงใบแจงหนี้ แจงใหลูกหน้ี
การคาจายชาํ ระหน้ีคาสินคา เม่อื ชมุ นุมสหกรณฯ ไดรับชําระหน้ีจากลูกหนกี้ ารคา ชุมนุมสหกรณฯ จะออก
ใบเสร็จรับเงนิ -รับชําระหน้คี าสนิ คาใหลกู หน้ีการคา โดยนําสําเนาใบเสร็จรบั เงินดังกลา วมาบันทึกบัญชเี งินสด/
เงินฝากธนาคาร และบันทกึ ลดยอดลูกหนกี้ ารคา และบันทกึ ลดยอดในบัญชียอ ยลกู หน้ีการคา

- 36 -
(12) เมื่อชุมนุมสหกรณฯ ไดรับชําระหน้ีจากลูกหนี้การคา ก็จะดําเนินการจัดทํา
เอกสารการเบิกเงินเพื่อนําเงินที่ไดรับไปชําระหนี้ใหกับเจาหน้ีการคา-ลูกโค/โคกลางน้ํา ซ่ึงชุมนุมจะตอง
เรียกใบเสร็จรับชําระหน้ีจากเจาหน้ีการคา เพ่ือนํามาประกอบการบันทึกบัญชีจายชําระหนี้เจาหน้ีการคา
และบนั ทึกลดยอดในบัญชยี อ ยเจาหน้กี ารคา
(13) คณะกรรมการฯ ของชุมนุมสหกรณตองมีการติดตามการปฏิบัติงานของเจาหนาที่
เกี่ยวกับการเรียกเก็บหน้ีจากลูกหน้ีการคาเปนประจําทุกเดือน และการนําเงินไปจายชําระหนี้เจาหนี้
การคา มีการบันทึกบัญชีครบถวนถูกตองตรงตามรายการบัญชีและจํานวนเงินท่ีไดรับ หรือจายออกไป
หรือไม เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีผานการอนุมัติครบถวนหรือไม การบันทึกเพิ่ม/ลดยอดหนี้สิน
ในบัญชยี อ ยถูกตอง ครบถว นเปน ปจ จุบันหรอื ไม
(14) ทุกวันส้ินเดือน วันสิ้นปบัญชีหรือทุกไตรมาส ชุมนุมสหกรณฯ ตองมีการแตงตั้ง
คณะกรรมการฯ ตรวจนับลูกโค/โคกลางนํ้าคงเหลือ รวมท้ังการตรวจสอบสภาพทั่วไปของโคทุกวันส้ินเดือน
ทุกวนั สิน้ ไตรมาส และทกุ วนั สนิ้ ปบญั ชี
2.2 ระบบบญั ชีที่ใชใ นการดาํ เนินธรุ กจิ ของชุมนมุ สหกรณฯ
(1) เอกสารประกอบรายการบัญชีที่ชุมนุมสหกรณตองจัดใหมีประกอบรายการ
บัญชี ไดแ ก

ใบแจง สํารวจความตอ งการลกู โค/โคกลางน้าํ (เอกสารหมายเลข 1) เพื่อเสนอ
ท่ีประชุมคณะกรรมการฯ ประกอบการพิจารณาดําเนินการส่ังซ้ือลูกโค/โคกลางน้ํา จําหนายแกสมาชิก
หรือตามความตองการของสมาชิก

ใบสั่งซื้อลูกโค/โคกลางน้ํา (เอกสารหมายเลข 2) เพื่อเปนหลักฐานประกอบการ
ส่ังซ้ือลูกโค/โคกลางน้ํา และสถานที่ในการจัดสง คาขนสงลูกโค/โคกลางน้ํา ตลอดจนหมายเลขทะเบียน
รถยนตและพนักงานขับรถยนต ในกรณีชุมนุมสหกรณฯเปนผูดําเนินการขนสงเองไปยังสหกรณผูขาย
หรือใหสหกรณผูขายจัดสงลูกโค/โคกลางนํ้าตามรายการท่ีระบุในใบส่ังซอื้ ใหชุมนุมสหกรณฯ หรือสหกรณ
สมาชกิ ของชมุ นมุ สหกรณฯ ตามท่ีระบไุ วในใบสง่ั ซือ้

ใบกํากับสินคา/ใบสงของ (เอกสารภายนอก) จากสหกรณผูขายลูกโค/โคกลางน้ํา
ใหชุมนุมสหกรณฯ เพ่ือเปนเอกสารประกอบในการตรวจรับลูกโค/โคกลางน้ํา ที่จัดสงใหชุมนุมสหกรณ
หรอื สหกรณผซู ื้อวามีการจดั สง มาตามใบกํากบั สินคา/ใบสงของครบถวน และมีผูตรวจรบั ลูกโค/โคกลางนํ้า
ดังกลาวแลว ใชเปนเอกสารประกอบรายการซ้ือลูกโค/โคกลางน้ําเปนเงินเชื่อ และบันทึกบัญชียอยเจาหน้ี
การคา

เอกสารใบอนุญาตการเคล่ือนยายสัตว (ลูกโค/โคกลางนํ้า) (เอกสารหมายเลข
3) จากสหกรณผูขายเพื่อใชประกอบการเคลื่อนยายลูกโค/โคกลางนํ้า จากสหกรณผูขายไปยงั สหกรณผูซ ื้อ
หรือชมุ นุมสหกรณฯ

ใบกํากบั สินคา/ใบสง ของ (เอกสารภายใน) (เอกสารหมายเลข 4) ชมุ นุมสหกรณฯ
ตองจัดทําใบกํากับสินคา/ใบสงของของชุมนุมสหกรณฯ ขึ้นเพื่อเปนหลักฐานประกอบการขายลูกโค/
โคกลางนํ้า ใหกับสหกรณสมาชิก และจัดสงใหส หกรณสมาชิกที่ซ้ือลูกโค/โคกลางนํ้า พรอ มสําเนาใบกํากับ
สินคา/ใบสงของจากสหกรณผูขาย ใชเปนเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีขายสินคาเปนเงินเชื่อ และ
บันทกึ บัญชยี อ ยลกู หนี้การคา

- 37 -

ใบเสรจ็ รับเงินขายสินคา (เอกสารหมายเลข 5) เพ่ือใชเปนหลักฐานประกอบการ
รับเงนิ จากการขายลูกโค/โคกลางน้ําเปน เงินสด

ใบเสรจ็ รบั เงิน (เอกสารหมายเลข 6) เพื่อใชเปน เอกสารประกอบการรับเงนิ จาก
บคุ คลภายนอก หรอื สหกรณสมาชกิ และใชเ ปนใบเสรจ็ รับเงินชาํ ระหน้จี ากลูกหนี้การคา

ใบเบิกเงิน เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการเบิกเงินเพื่อจายคาใชจายตาง ๆ
ไดแก คาขนสงคาใชจายในการดําเนินงานตาง ๆ ซ่ึงอาจมีเอกสารจากภายนอกประกอบ(ใบเสร็จรับเงิน)
หรอื ไมม ีประกอบกรณีสหกรณไมส ามารถเรียกใบเสรจ็ รับเงินจากเจาหนี้ หรอื ผูรบั เงินได

ตัวอยา ง รูปแบบเอกสารประกอบของธุรกจิ รวบรวมผลติ ผล(ลกู โค/โคกลางนา้ํ )

1. ใบแจงสํารวจความตอ งการลูกโค/โคกลางน้าํ เอกสารหมายเลข 1
2. ใบส่งั ซอ้ื ลูกโค/โคกลางนํา้ เอกสารหมายเลข 2
3. ใบอนุญาตการเคลื่อนยายสตั วฯ (ลูกโค/โคกลางน้ํา) เอกสารหมายเลข 3
4. ใบกาํ กบั สินคา/ใบสงของ เอกสารหมายเลข 4
5. ใบเสรจ็ รบั เงนิ ขายสนิ คา เอกสารหมายเลข 5
6. ใบเสรจ็ รับเงนิ เอกสารหมายเลข 6

- 38 -

เอกสารหมายเลข 1

ชุมนมุ สหกรณ..................................................................จาํ กดั
เลขท.ี่ ..........หมทู .่ี .............ตําบล.....................อําเภอ...........................จังหวดั ...........................

ใบแจง สาํ รวจความตองการลูกโค/โคกลางนา้ํ
วันท่.ี .............เดอื น.........................พ.ศ. ............................. เลขทใ่ี บแจงความประสงค.........................

ชือ่ สหกรณผซู อ้ื .................................................................. วันทต่ี องการลูกโค/โคกลางนา้ํ .....................

สถานทจ่ี ดั สง ลูกโค/โคกลางน้ํา.......................................... กําหนดสง ลูกโค/โคกลางนาํ้ .........................
ช่อื สหกรณผ ขู าย................................................................ เง่ือนไขการชําระเงิน....................................

อายขุ อง ราคาตอ จาํ นวนเงิน

ที่ รายการ ลกู โค/โค จาํ นวน หนว ยวัด หนวย (บาท)

กลางน้ํา (ตัว) (ตัว)

จํานวนเงิน (ตัวอักษร) รวมทงั้ สิน้
(...............................................................................................)

ลงชอื่ .................................ผูแจง ความประสงค ลงชื่อ.......................................ผรู ับใบแจงความประสงค
(.....................................) (....................................)

ตาํ แหนง ...................................... ตาํ แหนง ......................................
........../......../.......
........./.........../........

ลงชอ่ื .......................................ผูรวบรวมขอ มลู

- 39 -

เอกสารหมายเลข 2

ชุมนมุ สหกรณ...........................................................................จาํ กดั
เลขที่...........หมูที่..............ตําบล................อาํ เภอ...........................จงั หวัด.....................

ใบส่งั ซื้อลูกโค/โคกลางน้ํา
วันท.ี่ .............เดอื น....................พ.ศ. .......................... เลขทใ่ี บสง่ั ซือ้ ..................................

สหกรณผขู าย.............................................................. วันที่ตองการลกู โค/โคกลางนํ้า.....................
สหกรณผรู บั ................................................................ กําหนดสง ลูกโค/โคกลางน้ํา.........................

สถานท่จี ัดสง ลกู โค/โคกลางนํ้า........................................เง่ือนไขการชาํ ระเงนิ ....................................

ที่ รายการ อายขุ อง จํานวน หนว ยวดั ราคาตอ จาํ นวน
(ตัว)
ลูกโค/โค หนวย เงิน
กลางนํา้ (ตัว) (บาท)

จาํ นวนเงิน (ตวั อักษร) รวมท้งั ส้ิน
(...............................................................................................)

ลงชอื่ .................................ผูขอซ้ือ ลงชื่อ.......................................ผจู ัดซอื้ ลงชอื่ ...........................

อนกุ รรมการ

(.................................) (....................................) (.........................)

......./......../.......... ........../.........../........ ......./......../.......

ลงชื่อ.......................................ผเู ห็นชอบ ลงช่ือ....................................ผูอนมุ ตั ิ
() ()

- 40 -
เอกสารหมายเลข 3

รปู แบบเอกสารใบอนุญาตเคล่ือนยา ยสตั วฯ (โค)


Click to View FlipBook Version