The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anneyz2002, 2021-06-02 23:24:19

Thailand_ok

Thailand_ok

• การเรยี นผ่านระบบออนไลน์ 100%
• สาหรับโรงเรยี นทมี่ นี กั เรยี นจานวนไมม่ าก และพื้นท่ีมากพอใหส้ ามารถปฏิบตั ิตามนโยบาย

Social Distancing จดั การเรยี นในห้องเรยี น
• สาหรบั โรงเรยี นขนาดใหญ่ที่มจี านวนนกั เรียนมาก และไมม่ ีประสบการณ์จดั การเรยี นการสอน

แบบออนไลนม์ ากอ่ นจัดการเรยี นแบบผสมผสานออนไลนแ์ ละออฟไลน์ ดังนน้ั จงึ ควรแบง่ กลมุ่

นกั เรียนออกเป็น 2 กลมุ่ เพอ่ื สลับวันให้นกั เรยี นมาเรยี นทโี่ รงเรยี น กลุ่มละ 2 วนั ต่อสปั ดาห์
ในขณะที่ 3 วนั ท่เี หลอื ให้นกั เรยี นเขา้ เรียนผา่ นระบบออนไลนจ์ ากทีบ่ า้ น
• การเรียน Home School



ตัวอย่างการปฏิบตั จิ ริง

▫ บนั ทึกวดิ ีโอการสอนของตนแล้วแจกจ่ายใหผ้ ู้เรยี นผ่านระบบจดั เกบ็ ข้อมูลแบบคลาวด์ (Cloud
Storage) ด้วย Google Drive หรือ Microsoft One Drive หรือ Microsoft Stream แลว้ จากดั
สทิ ธกิ ารเข้าถงึ ของผเู้ รยี น

▫ ถ่ายทอดสดการสอนผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video Conference) ด้วย Microsoft
Teams หรือ Google Meet

▫ สรา้ งและใชง้ านห้องเรียนออนไลน์ (E-Classroom) ดว้ ย Microsoft Teams หรือ Google
Classroom

ตวั อย่างการปฏิบัติจริง

สร้างและทาเอกสารการสอน เอกสารตา่ ง ๆ รวมไปถงึ การจดั เก็บขอ้ มูลและแลกเปล่ยี นไฟลข์ ้อมูลกนั
ดว้ ย Microsoft Office 365 หรือ Google Drive

ใช้ Microsoft Teams ซง่ึ เครื่องมือที่มคี ณุ ลักษณะสาหรบั สื่อสารระดับองค์กร เช่น การสรา้ งกลุ่มงาน
การสนทนากล่มุ วางแผนงาน ติดตามความคบื หนา้ และการนัดหมาย เป็นต้น

ผสู้ อนสามารถสอนสดออนไลนผ์ า่ นระบบวิดโี อคอนเฟอเรนซ์ (Video Conference)
ด้วย Microsoft Teams หรือ Google Meet เปน็ ตน้

การเรียนการสอนการประชุมต่าง เชน่ 1) โปรแกรม Cisco WebEx Meeting 2) โปรแกรม
Google Hangout 3) Facebook Live 4) โปรแกรม Zoom เปน็ ตน้

รูปแบบการเรียนการสอนหลงั โควิด-19
กระบวนการบรหิ ารจดั การเปลี่ยนแปลง
ดา้ นการประเมินผลในการศกึ ษาแบบวิถใี หม่น้ี
ดา้ นการพัฒนาครู
ด้านการบรหิ ารหลกั สตู ร
ดา้ นการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรใหมต่ ามลาดบั ความสาคัญใหม่

☆ ปรบั รปู แบบด้งั เดมิ จากครทู ี่ผู้สอน (Teacher) ไปเปน็ ครูผสู้ นับสนนุ การเรยี นรู้ หรือ Learning Facilitator
โดยเชอ่ื ว่าคานงัดของการศึกษาไทย คอื การมีครคู ุณภาพจานวนมากท่มี ีความสามารถในการเปน็ Facilitator
มคี วามสามารถในการเชอื่ มโยงหลักสตู ร วธิ กี ารสอนและการประเมินผลการเรยี นรู้เพื่อการพัฒนา

☆ ปรบั เปล่ยี นการจดั การเรียนรูผ้ า่ นการฝึกอบรมครูใหค้ รูเปลย่ี นจากผสู้ อน (Teacher) ไปเป็นผู้สนบั สนุน
การเรียนรู้ ชักชวนให้เดก็ ไดเ้ รียนรู้

☆ เปล่ยี นจากครแู บบเดมิ เป็นครูที่สอนครอบคลุมเก่ยี วกับการใชช้ ีวติ จริงได้ (Transform Teachers to New
Normal in Education) เชน่ โครงการศนู ย์กลางการพัฒนา STEM Facilitator เมืองสะเตม็ ศึกษา ฐาน
ปฏบิ ตั กิ ารสาหรับฝึกแนวทางสะเตม็ ศึกษา ทีจ่ ัดตง้ั ข้ึนโดยเครือข่ายความรว่ มมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคม (Public-Private-People Partnership)

☆ แพลตฟอร์มสนับสนนุ เพ่ือการพัฒนาครูอยา่ งยัง่ ยืน (Supporting Platform for New Normal Teachers)
- ทางการและไมเ่ ป็นทางการที่เปน็
- National Online Platform อาทิ ระบบพเ่ี ลี้ยงและการกากบั Mentoring & Supervising
- แพลตฟอรม์ การให้คาปรึกษา Online STEM Education สาหรบั บคุ ลากรทางการศึกษาและผู้ปกครอง
- การพฒั นาครูใหม้ ีความพรอ้ มสกู่ ารเป็นครยู ุคใหมใ่ นศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการพฒั นาความสามารถในการ

จดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาการคานวณ การขยายวธิ ีการเรียนแบบ STEM Education

☆ ปรับทักษะของครูเพือ่ เอาเทคโนโลยมี าใช้ในปจั จบุ ันและในอนาคต
- คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน (กพฐ.) ได้ให้แนวคิดไว้ว่า ครูจะต้องมสี ่วนสาคัญในการพัฒนาและ

ปรบั ตวั ไปกบั การเปลีย่ นแปลงหลักสตู รใหม่ ซ่ึงครจู ะต้องมคี วามร้คู วามสามารถดา้ นเทคโนโลยีและภาษาอังกฤษ

➢ หลักสตู รการเรียนการสอนมคี วามหลากหลาย และรูปแบบการสอนเองต้องปรบั ใหม้ ีทง้ั 2 แบบ คอื ออฟไลน์
และออนไลน์ อกี ทงั้ คงไมม่ ีสตู รสาเร็จว่าหลักสูตรไหนจะเป็นออนไลน์ 100% การออกแบบหลักสตู รจึงควร
คานงึ ถงึ ความแตกตา่ งของนกั เรียนแต่ละคน มแี บบทดสอบทห่ี ลากหลายเพอ่ื วตั ถุประสงค์ท่แี ตกตา่ งกนั
รวมถงึ นักเรยี นและครูร่วมกนั ออกแบบสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรียน

➢ คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (กพฐ.) ไดใ้ ห้แนวคิดไวว้ า่ การศึกษายุคนีต้ ้องหาจดุ ทจ่ี ะพฒั นา
เด็กไทยใหไ้ ปสโู่ ลกดจิ ิทลั หรือ การศึกษาศตวรรษท่ี 21โดยการการพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอนให้
เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะเพราะหลักสตู รฐานสมรรถนะจะเป็นส่วนหนงึ่ ท่ีจะทาให้คน้ พบศกั ยภาพของ
เด็กไทยมากข้ึน

การเรียนการสอนท่ตี อ้ งปรบั เปลยี่ นไปเปน็ การลงทนุ ในสถานศึกษา

-การลงทนุ ในเรือ่ งของการพฒั นาการปรับระบบการทางาน หากพิจารณาหลักสาคัญของ
การปรับการทางานในระบบการศึกษาไปส่แู บบแผนในการสรา้ งการเรียนรูแ้ ละการอยูร่ อดใหม่
ในปจั จุบนั มีปฏสิ มั พันธ์ พึ่งพาสรรหาแหล่งความรู้ ประสบการณ์ และการมงี านทาในบริบท
ใหม่
- ปรบั วธิ กี ารทางานดว้ ยการออกไปเช่ือมกบั โลกที่เป็นจริงในภาคการผลติ บรกิ าร นวตั กรรม
และเช่อื มกบั การสือ่ สารยคุ ใหม่ เพอ่ื ช่วยให้วธิ คี ิด ประสบการณ์ และกระบวนการทางาน
สอดรบั ปรบั เปลีย่ น
-สร้างมติ ิการศกึ ษาใหมใ่ นรูปแบบของธุรกจิ ใหม่ (New Business Model) ทท่ี าให้การศึกษา
มีความหมายและศักยภาพท่ีจะเช่อื มโยงกบั แหล่งงาน การพัฒนาทกั ษะ ประสบการณ์ และ
ความรู้ของบุคคล

การประเมนิ ผลการเรยี น Change การประเมินผลเพอื่ การเรยี นรู้

รายการอ้างองิ
พชั ราภรณ์ ดวงช่นื (2563). การบริหารจดั การศกึ ษารับความปกติใหมห่ ลงั วกิ ฤตโควิด – 19. วารสารศิลปะการจัดการ, 4 (3), 783-795.
สุวมิ ล มธรุ ส (2564). การจดั การศึกษาในระบบออนไลนใ์ นยคุ NEW NORMAL COVID-19. Management Education Online in the NEW NORMAL COVID-19.

วารสารรชั ตภิ์ าคย์, 15(40), 33-42.





คอื กระบวนการเรยี นรู้
แจใทนาตักกกกษาเตะดร่าใิมฝหงไกึไมดปฝ่เ้ จพนาคอ่ื กนทเเดี่จพะมิ ่ือใไหใดห้เ้ รหท้ าราทอืงาากงนราะทนบ่ตี ทวา่ ี่ นงไกปาร
ทคปพวกัจัฒั าษจนมบุะารคันทูอ้ วักยบษ่าคงะไู่ตใปห่อกเ้คนบัคนื่อเอื ทสงน้าเกพงทรา่อืะานบชงเกว่วปายนน็ รพใกทนัฒาากรนงาใาารหน้



- การพฒั นาและอพั เกรด
ทักษะมนุษยต์ อ้ งทาอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง
- AI จะเขา้ มาทางานแทน
- Creative Worker/
Smart Worker

คนท่พี ร้อมที่จะเรียนรแู้ ละปรบั ตวั ในทกุ สถานการณแ์ ละคดิ อยเู่ สมอวา่
ความสามารถของตัวเองสามารถพัฒนาได้แม้ไมเ่ ก่งก็ฝึกผา่ นการทางานหนกั
การเรียนรู้ การลองทาสง่ิ ใหม่ ๆ ซ่งึ คนทม่ี ี Growth Mindset มกั จะมแี นวโนม้
ประสบความสาเร็จในยุคน้ไี ด้ดีกว่าคนทม่ี ี Fixed Mindset

ถา้ คนรอบข้างเกง่ เราก็ยง่ิ อยากเก่งตามคนกล่มุ นัน้
เพราะพวกเขาจะเป็นเหมอื นแรงบนั ดาลใจทท่ี าใหเ้ กิด Passion
ในการเรยี นร้สู งิ่ ใหม่ ๆ ข้ึนมา หรอื จุดประกายแรงบันดาลใจดี ๆ
ที่ส่งต่อความคดิ ดี ๆ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจให้เรา

3. Active Learning เรียนรจู้ ากการลงมือทา

Active Learning หรอื การเรียนรูด้ ว้ ยการลงมือทา
ซึง่ เป็นรปู แบบการเรยี นรู้ท่ไี ดใ้ ชท้ ง้ั กระบวนการคิด
และลงมือทาเพ่ือให้พัฒนาศักยภาพทแ่ี ท้จรงิ ของเรา
สามารถเชอ่ื มโยงความรทู้ ีเ่ คยเรยี นมาในอดตี
เพอ่ื มาประยุกตต์ อ่ ยอดในการทางาน

การเรียนร้ใู นแบบตัวเองจะทาให้ตอบโจทย์ชีวติ ของเรามากทีส่ ดุ
เพราะเราสามารถกาหนดลาดบั วธิ ีการเวลา และเป้าหมายการเรยี นรู้
ของตัวเองได้ นอกจากน้ันจะทาให้เรามีอสิ ระ สามารถเลือกทางเลอื ก
ของตวั เอง มีศักยภาพและพฒั นาศักยภาพได้อย่างไมม่ ีขีดจากัด

“อย่าใหว้ นั ทค่ี ณุ จบการศึกษาเปน็ วนั สดุ ท้ายของการเรยี นร้แู ตข่ อให้มันเปน็ จดุ เริม่ ต้นของการ
เรยี นรูท้ ่ไี มม่ ีวันส้นิ สุดของคณุ ”

ตวั เราจะตอ้ งกระตุ้นและผลกั ดันใหต้ ัวเองใหไ้ ปอย่ใู นที่ ๆ ทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ใหม่ ๆ
โลกของเราเปิดกว้างมาก ทาให้โอกาสในหาการความร้เู พ่มิ ขึ้นอกี ดว้ ย
การทอ่ งเทีย่ วในตา่ งจงั หวดั หรือตา่ งประเทศ ชว่ ยให้เราได้เปดิ โลกให้กว้างขึ้นเราจะได้เหน็ อะไร
ใหม่ ๆ จนเกิดเป็นแรงบนั ดาลในการเรยี นรแู้ ละสรา้ งนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้
โซเชียลมเี ดยี เช่น Facebook อยูเ่ ป็นประจา กจะชว่ ยกระตนุ้ ให้เราอยากเรียนรใู้ นเร่ืองนน้ั ๆ
มากย่ิงขึน้



ท่มี าภาพhttp://www.tpso.moc.go.th/th/node/10835

การศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศยั
พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551

การศึกษา การศกึ ษา การศึกษา
นอกระบบ ตลอดชีวิต ตาม

อัธยาศัย

ภาคเี ครอื ขา่ ย คือ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร
ชมุ ชน องคก์ ารปกครองสว่ นท้องถ่ิน องคก์ รเอกชน
องคก์ รวิชาชพี สถานบนั ศาสนา สถานประกอบการ
และองคก์ รอน่ื ๆ

คณุ ลกั ษณะของนกั เรยี น
หรอื ใครก็ตามท่ีมคี วาม
"รักในการเรยี นร"ู้
สาหรบั พวกเขาการเรยี นรู้
จะเกิดขนึ้ ตลอดเวลา
ไมว่ ่าพวกเขาจะสวมชดุ
นกั เรยี นอยหู่ รอื ไมเ่ ปน็
ความรกั ทีจ่ ะเปน็ รากฐาน
ของการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ที่มาภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ที่มาภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttps://inskru.com/idea/-MURyidFs86EDb8pZapQ

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttp://www.tpso.moc.go.th/th/node/10835

แหลง่ ทม่ี าภาพ ttp://www.tpso.moc.go.th/th/node/10835

การศกึ ษาตลอด
ชีวิต

สงั คมมี พัฒนาสาระและ
สว่ นร่วม กระบวน

อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

การศึกษาตลอดชีวิตเปน็ กระบวนทางการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา
บุคคลทุกรูปแบบ ทุกช่วงวัย ให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็น
การเติมเต็มเพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ ที่มิได้สิ้นสุดหลัง มี
การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยอาศัยความ
ร่วมมือระหว่างการศึกษาประเภทต่าง ๆ ในสังคมมีความ
หลากหลายทั้งรูปแบบและวิธีการ เป็นเคร่ืองมือในการที่จะ
พัฒนาบุคคลให้รู้เท่าทัน ข้อมูล เทคโนโลยี สารสนเทศ และ
สภาพสังคม เศรษฐกิจ ท่มี กี ารเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ อัน
จะเป็นการพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพส่งผลให้บุคคลสามารถ
ดาเนนิ ชีวิตในสงั คมโลกอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพรอบด้านตอ่ ไป

เอกสารอา้ งอิง
ศักรินทร์ ชนประชา (2562). การศกึ ษาตลอดชีวติ .วารสาร AL-NUR บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ,

14 (26), 159-175.



พระมหา ไชยถนอม หาระสาย รหสั 63560361

MISS LIU JIAN รหัส

MISS XIANG XIAOYAN รหัส 63560378


Click to View FlipBook Version