The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anneyz2002, 2021-06-02 23:24:19

Thailand_ok

Thailand_ok

ผศ.ดร.วราภรณ์ ไทยมา

พระมหา ไชยถนอม หาระสาย รหสั 63560361

MISS LIU JIAN รหสั

MISS XIANG XIAOYAN รหัส 63560378

System in Education (Structure)
Budget in education
Education plan

Educational Management Innovation for
Transition to the New Normal
Lifelong Learning

การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 12 ปี (ป.1-ม.6)
การศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี (ป.1-ม.3)

ป.1-ป.6

ม.3-ม.6

ปวช.1-3 (เทียบเท่าม.4-ม.6)
ปวส. ป.ตรี ป.โท ป.เอก











อนปุ รญิ ญา/ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สูง (ปวส.2 ปี)

- ปรญิ ญาตรี 4 ปี และ 2 หรือ 3 ปี ในหลักสตู รต่อเนอ่ื งจากระดบั
อนุปรญิ ญา
-ปริญญาโท ผ้เู รยี นใช้เวลาอยา่ งนอ้ ย 1 ปี โดยทวั่ ไปแล้ว
จะใชเ้ วลา 2 ปี
- ระดับปริญญาเอก ใช้เวลาโดยทั่วไป 3 ปี

ระบบศึกษาโครงสรา้ งการศึกษาของไทย

การศกึ ษาข้ัน ไม่น้อยกว่า 12 ปี
พื้นฐาน ระดับและประเภทเปน็
ตามกฎหมายกาหนด

การศกึ ษา -ระดับตา่ กว่าปรญิ ญาอนุปรญิ ญาหรือปวส.
ระดบั อดุ มศกึ ษา -ระดบั ปริญญา

การต้งั งบประมาณการศึกษาสูงเป็นอนั ดับ 1 คือร้อยละ 20
ของงบประมาณแผน่ ดนิ นับตัง้ แตม่ ีแผนปฏริ ูปการศึกษาเมอ่ื ปี 2542



แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

งบประมาณการศกึ ษาไทย ถกู นาไปใช้ระดบั ประถมศึกษามากทส่ี ดุ

ส่วนใหญ่จะเป็นการทุ่มให้กับการศึกษาขั้น
พื้นฐานกว่า 303,759 ล้านบาท คือระดับ
อนุบาลจนถึงมัธยมปลาย โดยกิจกรรมการใช้
จ่ายท่ีมากท่ีสุดคือ การผลิตนักเรียนและ
บัณฑิตคิดเป็นรายจ่ายสูงสุดถึง 75 เปอร์เซ็นต์
ของรายจ่ายทั้งหมด ในจานวนนี้คือค่าจ้างครู
และบุคลากรทางการศึกษาที่คิดเป็นสัดส่วน
รายจ่ายทค่ี อ่ นขา้ งสงู

แหล่งท่มี าภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

บุคลากรครูประมาณ 3 ใน 4 ได้รับเงิน
ค่าตอบแทนและค่าวิทยฐานะระดับชานาญการ
และชานาญการพิเศษ คิดเป็นเงินกว่า 4 หมื่น
ล้านบาท อีกท้ังยังได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ
ตามระบบข้าราชการจะเห็นว่าอาชีพครูไม่ได้
น้อยหน้าอาชีพอ่ืน ในแง่ของค่าตอบแทน
เงินเดือน ค่าวิทยฐานะ เงินบานาญ รวมถึง
ความมั่นคงในอาชีพ ฉะนั้นทุกๆ ปี จึงมีคน
สอบแข่งขันบรรจุข้าราชการครูเป็นจานวนมาก
มากขนึ้

แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

ประเทศไทยลงทุนด้านการศึกษา
สูงกว่าด้านสุขภาพถึง 7.6 เท่า
แตค่ ณุ ภาพยังถดถอย

แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/

แหลง่ ที่มาภาพ https://thaipublica.org/2018/10/thai-education-reform-7/



อา้ งองิ
ชัยยทุ ธ ปญั ญสวสั ดิ์สุทธ์ิ. (2563). ไทยไมไ่ ดข้ าดแคลนงบการศึกษา แต่ปัญหาคอื การใช้จา่ ย. [ออนไลน]์ .

สบื ค้นเม่ือ 22 มกราคม 2564, จาก: https://www.eef.or.th/interview-chaiyuth/

ความจาเปน็ ในการจดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ

ความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21
✥ การเปลีย่ นแปลงของบรบิ ทเศรษฐกิจและสังคมโลก
✥ การเปลย่ี นแปลงสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0
✥ การดาเนินงานเพ่ือบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาท่ียง่ั ยืนขององคก์ ารสหประชาชาติ 2573
✥ความต้องการกาลังคนท่ีมที ักษะในศตวรรษท่ี 21
✥ประเทศเขา้ สสู่ ังคมสูงวยั อย่างสมบรู ณใ์ นอนาคตอันใกล้
✥การติดกบั ดักประเทศทมี่ ีรายไดป้ านกลาง
✥ระบบการศกึ ษาทยี่ ังมปี ัญหาหลายประการ
✥ ผลการพัฒนาการศกึ ษาในชว่ งปี 2552-2559
✥ ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา
✥ ด้านคุณภาพการศกึ ษา
✥ดา้ นประสิทธภิ าพของการจดั การเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใชจ้ ่ายงบประมาณทางการศกึ ษา



แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ยึดหลกั สาคญั ในการจัดการศกึ ษา

✥ หลักการจดั การศึกษาเพอ่ื ปวงชน (Education for All)
✥ หลกั การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความเท่าเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education)
✥ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy)
✥ หลกั การมีส่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นของสงั คม (All for Education)
✥ยดึ ตามเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030)

วสิ ยั ทัศน์ จุดมุง่ หมาย เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด และยุทธศาสตรข์ องแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ

“คนไทยทกุ คนได้รับการศกึ ษาและเรยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมคี ณุ ภาพ ดารงชีวติ อย่างเป็นสุข สอดคล้องกบั
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่21” วัตถุประสงค์ในการจัด
การศึกษา 4 ประการ

1) เพอ่ื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
2) เพือ่ พัฒนาคนไทยให้เปน็ พลเมอื งดี
3) เพอ่ื พฒั นาสังคมไทยให้เปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ และคณุ ธรรม
4) เพ่อื นาประเทศไทยกา้ วขา้ มกบั ดกั ประเทศ

1.เปา้ หมายดา้ นผู้เรยี น
(Learner Aspirations)
2.เป้าหมายของการจดั การศึกษา

(Aspirations)

มงุ่ พฒั นาผ้เู รยี นให้มคี ุณลักษณะและทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 3Rs8Cs

✥ 3Rs การอ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetic)
✥ 8Cs ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกป้ ญั หา

ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม
ทกั ษะด้านความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์
ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผนู้ า
ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศ และการรูเ้ ท่าทนั สือ่
ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้
ความมเี มตตา กรุณา มีวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม



1) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพและมีมาตรฐานอยา่ งทัว่ ถงึ (Access)
2) ผู้เรียนทกุ คน ทกุ กลมุ่ เป้าหมายได้รบั บริการการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานอย่างเท่าเทยี ม (Equity)
3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพฒั นาผ้เู รยี นใหบ้ รรลขุ ดี ความสามารถเต็มตามศกั ยภาพ (Quality)
4) ระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ การลงทนุ ทางการศกึ ษาทค่ี ้มุ คา่ และบรรลเุ ปา้ หมาย
(Efficiency)
5) ระบบการศกึ ษาที่สนองตอบ และก้าวทันการเปลยี่ นแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทท่เี ปลยี่ นแปลง
(Relevancy)



1.1 คนทกุ ชว่ งวัยมคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

1.2 คนทกุ ชว่ งวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้และพน้ื ทีพ่ เิ ศษ
ได้รับการศกึ ษาและเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ

1.3 คนทุกชว่ งวยั ได้รับการศึกษา การดูแลและป้องกนั จากภยั คกุ คามในชวี ติ รูปแบบใหม่

2.1 กาลงั คนมที กั ษะทส่ี าคญั จาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน
และการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ

2.2 สถาบนั การศึกษาและหนว่ ยงานทจ่ี ดั การศึกษาผลิตบัณฑิตที่มคี วาม เชี่ยวชาญและ
เป็นเลิศเฉพาะดา้ น

2.3 การวิจัยและพัฒนาเพอื่ สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมทส่ี ร้างผลผลติ และ มลู ค่าเพ่ิม
ทางเศรษฐกิจ

3.1 ผูเ้ รยี นมีทักษะและคุณลักษณะพ้นื ฐานของพลเมอื งไทย และทกั ษะและคณุ ลกั ษณะทจ่ี าเป็นในศตวรรษที่ 21
3.2 คนทุกช่วงวยั มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษาและมาตรฐานวิชาชพี
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตได้ตามศกั ยภาพ
3.3 สถานศกึ ษาทกุ ระดับการศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รอย่างมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
3.4 แหล่งเรยี นรู้ สอื่ ตารางเรยี น นวตั กรรม และสอื่ การเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถ
เข้าถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี
3.5 ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมนิ ผลมปี ระสิทธิภาพ
3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดบั สากล
3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รบั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน

4.1 ผู้เรียนทกุ คนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ
4.2 การเพิ่มโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพือ่ การศึกษาสาหรับคนทุกชว่ งวัย
4.3 ระบบขอ้ มูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาที่ครอบคลมุ ถกู ต้องเป็นปัจจบุ ัน เพอื่ การวาง
แผนการบรหิ ารจดั การศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล



5.1 คนทุกชว่ งวยั มจี ิตสานึกรกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ

5.2 หลกั สตู ร แหล่งเรียนรู้ และสือ่ การเรยี นรทู้ ่สี ่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ

5.3 การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาองค์ความร้แู ละนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม

6.1 โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบรหิ ารจัดการการศึกษามคี วามคล่องตวั ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้
6.2 ระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสง่ ผลต่อคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
6.3 ทกุ ภาคส่วนของสงั คมมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาทต่ี อบสนองความต้องการของประชาชนและพนื้ ที่
6.4 กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจดั การทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกต่างกันของผเู้ รยี น

สถานศกึ ษาและความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ
6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามเปน็ ธรรม สร้างขวญั กาลังใจ

และส่งเสริมให้ปฏบิ ัติงานได้อย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ



ความสาเรจ็ ของการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560–2579 สู่การปฏิบัติ ขนึ้ อยู่กับปัจจัยสาคัญ

✥สาระของแผนการศึกษาแห่งชาตทิ ่มี คี วามชัดเจน ครบถ้วน และครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมายและทกุ ระดับ
การศกึ ษา

✥การมีส่วนรว่ มในกระบวนการพัฒนาแผนการศึกษาแห่งชาติ ของผเู้ กี่ยวข้องทกุ ภาคส่วน
ตงั้ แต่ระดบั นโยบาย ระดับปฏิบตั ิ ผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี และสาธารณชน การเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธแ์ ก่ผู้เก่ียวข้อง
และสาธารณชนเพือ่ สรา้ งความตระหนกั ในความสาคัญของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ

✥ การสร้างความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
✥ การนาแผนการศึกษาแห่งชาติ สูก่ ารปฏิบัตทิ ช่ี ัดเจนแก่ผปู้ ฏิบัตทิ ุกระดับ เพื่อให้ทกุ ภาคส่วนได้เข้ามา

มีส่วนร่วมในการพฒั นาการจดั การศึกษาของชาติ

๑) การสร้างความรูค้ วามเข้าใจให้ทุกภาคสว่ น ได้ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและพร้อมเขา้ ร่วมในการผลักดนั แผนการศึกษา
แหง่ ชาติสูก่ ารปฏิบตั ิ การสร้างความเข้าใจกบั หนว่ ยงานองคก์ ร และภาคีทกุ ภาคส่วน ถงึ วิสัยทศั น์และเปา้ หมายของแผนการ
ศกึ ษาแห่งชาติ
๒) การสรา้ งความเช่ือมโยงระหวา่ งแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 –2579 ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปนี โยบายรัฐบาล
แผนพฒั นาการศึกษาระยะ 5 ปี แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 4 ปี และแผนปฏิบตั กิ ารประจาปขี องหน่วยงาน โดยสานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งร่วมจดั ทาและตดิ ตามประเมินผลแผนดงั กล่าว
๓) การปรบั ปรุงกฎ ระเบยี บ และกฎหมายตา่ ง ๆ ให้เอือ้ ต่อการขับเคลอื่ นการพัฒนาการศึกษาในระดบั ต่าง ๆ และ
๔) การสร้างช่องทางให้ประชาสงั คมมีโอกาสแสดงความคิดเหน็ และมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาอยา่ งกวา้ งขวาง ทัง้ ระดบั
นโยบายและระดบั พนื้ ท่ี




















Click to View FlipBook Version