The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

43BFE97F9026337878C359DC442380D5DDA9A4B5_บทที่-1-5-ล่าสุด-แก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

43BFE97F9026337878C359DC442380D5DDA9A4B5_บทที่-1-5-ล่าสุด-แก้ไข

43BFE97F9026337878C359DC442380D5DDA9A4B5_บทที่-1-5-ล่าสุด-แก้ไข

1 บทที่ 1 บทนำ ในบทนี้ คณะผู้จัดทำมีเป้าหมายเพื่อศึกษาความเป�นมาของ Inequality ในประเทศไทย ที่มี ความเชื่อมโยงกับสถาพความไม่เท่าเทียมของบุคคลในแต่ละชนชั้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงป�ญหาความ เหลื่อมล้ำของคนในสังคมและตระหนักถึงป�ญหาดังกล่าว เพื่อนำมาสร้างสรรค์และพัฒนาในรูปแบบ ของหนังสือภาพถ่าย ให้แก่ผู้ที่สนใจ “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการจัดทำโครงงาน “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้ โปรแกรม Adobe Photoshop ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำได้จำแนกเนื้อหาของบท ดังนี้ 1. ที่มาและความสำคัญ 2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 3. วัตถุประสงค์ต่อตนเอง 4. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 5. เหตุผลในการนำเสนอโครงงาน 6. ขอบเขตของโครงงาน 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 8. วิธีดำเนินการโครงงาน 9. ประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงงาน 1. ที่มาและความสำคัญ ป�จจุบันความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและการเมืองในประเทศไทยเป�นเงื่อนไขที่เสริมกำลัง ให้กันและกัน ทั้งนี้เป�นผลมาจากการที่ผลประโยชน์ของความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตกอยู่ ในเงื้อมมือของชนชั้นนำการหวงแหนรักษาอภิสิทธิ์เหล่านี้ไว้ก่อให้เกิดโครงสร้างทางการเมืองที่มี ลักษณะกีดกันและถูกครอบงำ จากชนชั้นนำอำนาจนิยมเกือบตลอดช่วงเวลาที่มีความเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ทศวรรษ 1950 เป�นต้นมา ระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยม ครอบงำประเทศ ส่งเสริมระบบทุนนิยมและฟูมฟ�กชนชั้นนายทุนกับชนชั้นกลาง ในขณะเดียวกันก็ จำกัดสิทธิทางการเมือง ความเติบโตทางเศรษฐกิจช่วยลดป�ญหาความยากจนจริง แต่ความไม่เท่า เทียมยังคงมีสูง ดังนั้น ถึงแม้ความเติบโตให้ประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ แต่ชนชั้นนายทุนกับพันธมิตรคือ กลุ่มคนที่กอบโกยผลกำไร ความยากจนไม่ได้ลดความไม่เท่าเทียมลง เพราะรายได้ที่เพิ่มขึ้นกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนฐานะ ดีอยู่แล้ว ค่าสัมประสิทธิ์จีนีอยู่ในระดับสูงที่ 0.45-0.53 มาตั้งแต่ทศวรรษ 1980 และมาตรวัดความมั่ง


2 คั่งอื่นๆ ก็สะท้อนออกมาในแบบเดียวกัน ข้อมูลจากป�2007 แสดงให้เห็นว่าตระกูลที่ร่ำรวยที่สุด 10% ครอบครองความมั่งคั่งมากกว่า 51% ในขณะที่ครอบครัวชนชั้นล่าง 50% ครอบครองความมั่ง คั่งเพียง 8.5% ในส่วนของที่ดิน บ้านและสินทรัพย์อื่นๆ คนจำนวนแค่10%ของประชากรเป�นเจ้าของ ที่ดินเอกชนประมาณ 90% ข้อมูลอื่นๆ แสดงให้เห็นถึงการปรับการกระจายรายได้จากแรงงานไหล ไปสู่ทุน เนื่องจากผลิตภาพที่สูงขึ้นของแรงงานยิ่งสั่งสมความมั่งคั่งให้ทุนด้วยกำไรที่เพิ่มขึ้น จนกระทั่ง ปลายป�พ.ศ. 2554 ค่าจ้างที่แท้จริงที่อยู่ในภาวะชะงักงันก็เป�นส่วนหนึ่งของแบบแผนนี้ แบบแผนของการขูดรีดและความไม่เท่าเทียมนี้ดำรงอยู่มาเป�นเวลานาน อ้างอิงได้จากนักวิจัย หลายคนที่ได้บรรยายถึงข้อมูลคล้ายๆ กับข้อมูลข้างต้นมาหลายทศวรรษแล้ว ในช่วงทศวรรษ 1960 ชี้ให้เห็นมูลค่าส่วนเกินก้อนใหญ่ที่โอนถ่ายจากภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ยากจน ซึ่งเป�นภูมิภาค “ด้อยพัฒนา” โดยที่ผู้ผลิตถูกขูดรีดจากค่าจ้างต่ำและผลตอบแทนด้าน เกษตรกรรมที่น้อยนิด แต่ ความยากจนที่ลดลงไม่ได้ช่วยลดช่องว่างของรายได้และชี้ให้เห็นว่าความไม่เท่าเทียมในประเทศไทยจัด ว่าสูงเมื่อเปรียบเทียบกับระบบเศรษฐกิจของประเทศอื่นๆ ในเอเชีย การศึกษานโยบายรัฐบ่งชี้ถึงการแบ่งแยกชนบท-เมืองที่มีมายาวนาน การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ รัฐส่งเสริมส่งผลให้เกิดชนชั้นแรงงานจำนวนมากขึ้น แต่เมื่อภาคอุตสาหกรรมหันไปใช้การผลิตด้วย เครื่องจักรมากขึ้น ภาคอุตสาหกรรมจึงไม่สามารถดูดซับแรงงานอพยพจากชนบทที่ย้ายมาหางานทำ ในพื้นที่เมือง ผลลัพธ์ที่ตาม มาคือการเกิดภาคเศรษฐกิจนอกระบบขนาดใหญ่ที่แรงงานอยู่นอกระบบ สวัสดิการที่จำกัดของรัฐ ป�จจัยนี้เป�นส่วนหนึ่งที่ซ้ำเติมความไม่เท่าเทียม เนื่องจากความช่วยเหลือของ รัฐมุ่งไปที่ภาคเศรษฐกิจในระบบที่มีขนาดเล็ก ในขณะเดียวกัน การลงทุนของรัฐในภาคการศึกษาการกระจุก ตัวอยู่ในพื้นที่เดียว เมื่อระบบ เศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว การใช้จ่ายด้านการศึกษาของรัฐยังอยู่ในระดับต่ำเป�นเวลานาน ในช่วง ทศวรรษ 1960 เมื่อเกษตรกรและแรงงานมีสัดส่วนถึง 85% ของประชากร นักศึกษามหาวิทยาลัย เพียงแค่ร้อยละ 15.5 เท่านั้นที่มาจากประชากรสองกลุ่มนี้ ล่วงมาถึงช่วงกลางทศวรรษ 1980 สัดส่วนนี้ยังลดลงอีกจนเหลือแค่ร้อยละ 8.8 ดังนั้น ชนชั้นล่างจึงถูกกีดกันจากช่องทางสำคัญที่จะช่วย ให้หลุดพ้นจากงานค่าจ้างต่ำและใช้ฝ�มือต่ำ นโยบายการเก็บภาษีก็ทำให้คนจนเสียเปรียบอีกเช่นกัน การคุ้มครองภาคอุตสาหกรรมใน อัตราส่วนสูงทำให้ภาคเกษตรกรรมเสียเปรียบ อีกทั้งเป�นเวลาหลายทศวรรษที่ภาษีข้าวแบบอัตรา ถดถอยเป�นการถ่ายโอนความมั่งคั่งจากชนบทสู่เมือง ในช่วงทศวรรษ 1990 การใช้ภาษีแบบอัตรา ถดถอยหลายรายการหมายความว่าคนรวยได้ผลประโยชน์จากระบบภาษีใน พ.ศ. 2555 นโยบายการ คลังและการใช้จ่ายของภาครัฐยังคงส่งเสริมคนรวย ผลกระทบจากนโยบายเหล่านี้เป�นการปรับการ กระจายรายได้ที่ถ่ายโอนความมั่งคั่งจากคนจนสู่คนรวย นโยบายเหล่านี้ยังได้รับการหนุนเสริมจาก นโยบายค่าจ้างต่ำ/กำไรสูงที่รัฐบาลและภาคธุรกิจรักษาไว้ซึ่งถ่ายโอนความมั่งคั่งให้แก่ทุน (Bell, P.


3 “Thailand’s Northeast: Regional Underdevelopment, ‘Insurgency’, and Official Response”, Pacific Affairs 42, no. 1 (1969): 47-54.) อำนาจทางการเมืองที่จำเป�นต่อการรักษายุทธศาสตร์ค่าจ้างต่ำ/กำไรสูงเป�นชุดยุทธศาสตร์ ของภาครัฐและภาคธุรกิจ ซึ่งอาศัยทั้งกฎหมาย นโยบาย อุดมการณ์และการข่มขู่บังคับ เกือบตลอด ช่วงเวลาที่เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การเมืองของชนชั้นล่างถูกควบคุมจำกัด หลายครั้งถูก กดขี่ปราบปรามอย่างหนักหน่วง ยุทธศาสตร์ที่วางพื้นฐานบนการแบ่งชนชั้นเช่นนี้พยายามรักษา ระบอบการปกครองแบบอำนาจนิยมไว้ด้วยการจำกัดการเมืองที่มีการเลือกตั้ง กลุ่มอำนาจที่ปกครองประเทศและแบบแผนความประพฤติแก่ผู้อยู่ใต้การปกครอง อิทธิพล ของความไม่เท่าเทียมแผ่ออกไปพ้นการเมืองและกฎหมาย สร้างความคิดเห็น ก่อให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึก ชี้แนะกิจวัตรประจำวันของชีวิตและปรับเปลี่ยนอะไรก็ตามที่ไม่ได้สร้างขึ้นเอง ความไม่เท่า เทียมของเงื่อนไขในประเทศไทยคือความจริงพื้นฐานที่เป�นต้นตอของทุกสิ่ง ประเด็นที่มีความไม่เท่าเทียมกันมากที่สุดในสังคม คือ รายได้และทรัพย์สิน ในขณะที่ ประเด็นที่ประชาชนเห็นว่าถูกเลือกปฏิบัติมากที่สุด คือ ความทุพพลภาพ รองลงมาคือ ถูก เลือก ปฏิบัติเพราะระดับการศึกษา ส่วนป�จจัยที่มีผลต่อความเหลื่อมล้าทางการศึกษาคือ การที่สังคมมีการ เลือกปฏิบัติ มีความไม่เท่าเทียมกันในรายได้และทรัพย์สิน ความไม่พึง พอใจในการศึกษา เพศ กลุ่ม อายุ และถิ่นที่อาศัย ดังนั้น การเสริมสร้างความ เท่าเทียมทาง การศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทไทยคือ ควรมีการเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมและ เศรษฐกิจให้เข้มแข็ง ยกระดับคุณภาพของการศึกษาให้ สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงานและรัฐบาลควรเป�ดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียม ค้าส้าคัญ ความเหลื่อมล้าในสังคม, คุณภาพสังคม, การศึกษา (Teerana Bhongmakapat. “Income Distribution in a Rapidly Growing Economy: A Case of Thailand”. Paper presented to the 15th Conference of the ASEAN Economic Associations, Singapore, November 15-17, 1991.) ประเทศไทยอยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านในหลายๆ ด้าน เช่น กระแสของ การเมืองการ ปกครอง ความพยายามที่จะปฏิรูปประเทศตามโรดแมป (Roadmap) ของ คณะรักษาความสงบ แห่งชาติ(คสช.) และที่สำคัญคือ การก้าวเข้าสู่ยุคของประเทศไทย 4.0 แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะประสบความส้าเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น คนไทย ต้องมีความพร้อมที่จะรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงนี้ได้แต่ป�ญหาที่พบคือ คนไทยส่วนใหญ่ยัง ไม่มีความพร้อมที่เพียงพอ ท้าให้น้ามาซึ่ง ป�ญหาในสังคม เกิดความเหลื่อมล้าระหว่างกลุ่ม คนที่พร้อม และกลุ่มที่ไม่พร้อม และสุดท้ายป�ญหา เหล่านี้จึงกลายเป�นป�ญหาความขัดแย้ง กันเองภายในสังคมไทย ซึ่งถือว่าเป�นรากเหง้าแห่งป�ญหาที่ ยิ่งใหญ่ที่ควรได้รับการแก้ไข โดยเร็วที่สุด “ความพร้อม” ที่ผู้เขียนกล่าวถึงนั้น คือ ความพร้อมทาง เศรษฐกิจและสังคม ของแต่ละคน บางคนอาจมองว่าความพร้อมนี้เป�นเรื่องที่สร้างสมกันมา ดั่งค้า


4 สุภาษิตที่ว่า แข่งเรือแข่งพายแข่งกันได้แต่แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้แต่ในทางกลับกัน ประเวศ วะ สี(2544 อ้างถึงใน สฤณีอาชวานันทกุล, 2554) ได้กล่าวว่า “คนไทยควรจะท้าความเข้าใจว่า ความ ยากจนไม่ได้เกิดจากเวรกรรมแต่ชาติปางก่อน แต่เกิดจากโครงสร้างที่อยุติธรรมใน สังคม ต้องท้าความ เข้าใจโครงสร้างและช่วยกันปฏิรูปโครงสร้างที่ท้าให้คนจน” ซึ่งจาก การศึกษาของสถาบัน พระปกเกล้า (2559) เกี่ยวกับความคิดเห็นของคนไทยจ้านวน 1,200 คน ต่อการลดความแตกต่าง ระหว่างคนมีรายได้มาก กับคนมีรายได้น้อยนั้นเป�นหน้าที่ที่ รัฐบาลต้องรับผิดชอบหรือไม่ผล การส้ารวจพบว่า ประชาชนร้อยละ 84 เห็นด้วยว่าเป�น หน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องลดความแตกต่าง ระหว่างรายได้ลง ซึ่งจะเห็นได้ว่าประชาชน ต้องการให้รัฐสร้างความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจใน สังคมให้มากขึ้น เพื่อลดความเหลื่อม ล้าในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ ส้าหรับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย หากพิจารณาในภาพรวม ในป�2558 เศรษฐกิจไทย ค่อยๆ ขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้นถึงร้อยละ 2.8 โดยเป�นเรื่องการใช้จ่าย ของภาครัฐ และการลงทุนของ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับโครงการภาครัฐ ส่วนภาคการ ท่องเที่ยวมีการปรับตัวได้ดีและมีแนวโน้มที่ดี ขึ้น (ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), 2558) ในขณะที่ข้อมูลของส้านักงานสถิติแห่งชาติ(สสช.) (2558) เกี่ยวกับรายได้เฉลี่ยของ ครัวเรือน พบว่า มีอัตรารายได้ต่อเดือนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย จากป�2556 มีรายได้25,194 บาท เพิ่มเป�น 27,545 บาท ขณะเดียวกัน รายจ่ายประจ้าเดือนยังมี การเพิ่มใน อัตราที่ต่้ากว่าเล็กน้อย โดยจาก 19,061 บาท ในป�2556 เพิ่มเป�น 21,818 บาทในป� 2558 แต่อย่างไรก็ตาม แม้รายได้สุทธิจะเพิ่มมากขึ้น แต่กลับพบว่า จ้านวนหนี้สินเฉลี่ยของ ครัวเรือน ก็ยังมีมากกว่ามาก และมีแนวโน้มที่แต่ละครัวเรือนจะมีหนี้สินเพิ่มขึ้นด้วยอีก เช่นกัน ทั้งนี้จากค่า สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้(Gini Coefficient) ซึ่งถึงแม้จะมีแนวโน้มที่ลดลงจาก 0.514 ในป�2549 เหลือ 0.445 ในป�2558 แต่เมื่อพิจารณาถึง การกระจายรายได้ระหว่างกลุ่ม ประชากร พบว่า กลุ่มคนที่รวยที่สุดมีรายได้ร้อยละ 35.0 ของรายได้รวม ในขณะที่กลุ่มที่จนที่สุด มี สัดส่วนรายได้เพียงร้อยละ 1.58 (ส้านักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.), 2559) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าขั้วทาง เศรษฐกิจในสังคมไทยต่างกันอย่างเห็นได้ชัด นอกเหนือจากป�ญหาความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจแล้ว ป�ญหาการเข้าถึงการ บริการ สาธารณะของภาครัฐได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม หรืออาจจะเรียกได้ว่าป�ญหาความ เหลื่อมล้าทาง สังคม ก็ถือว่าเป�นอีกป�ญหาใหญ่ของประเทศที่น้ามาซึ่งความขัดแย้งในสังคม และเป�นตัวการส้าคัญที่ ท้าให้คุณภาพของคนไทยต่้ากว่าเป้าหมายในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเข้าถึงการศึกษาที่มี คุณภาพได้อย่างเท่าเทียม ส้าหรับคุณภาพ การศึกษาของประเทศไทย ในช่วงที่ผ่านมา ประเด็นที่ สังคมมีการกล่าวถึง คือ ผลการ ด้าเนินโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติหรือ Programme for International Student Assessment (PISA) เพื่อประเมินคุณภาพระบบ การศึกษาและ เตรียมความพร้อมของนักเรียนให้มีศักยภาพและพร้อมที่จะก้าวสู่การเปลี่ยนแปลงใน


5 อนาคต ผลการประเมินพบว่า นักเรียนไทยมีแนวโน้มได้คะแนนที่ลดลง ซึ่งโดยภาพรวม ประเทศไทย อยู่ในอันดับที่ 55 จากประเทศที่เข้าร่วมทั้งหมดกว่า 70 ประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.), 2559) แม้ว่าจากผลการประเมินนี้อาจมาจากกลุ่มนักเรียน เพียงกลุ่มเดียว แต่มีผู้วิเคราะห์บทเรียนของการ สอบครั้งนี้ว่า นอกเหนือจากครอบครัว ครูและโรงเรียนที่ต้องบทบาทส้าคัญในการพัฒนาการเรียนรู้ ของเด็กแล้ว ระบบการศึกษาก็ถือว่าเป�นป�จจัยส้าคัญที่ท้าให้คุณภาพการศึกษาดีขึ้น (ไกรยส ภัทรวาท , 2559) ส้านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) (2558) ได้วิเคราะห์ สัดส่วนผลการสอบเยาวชนไทยกับความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ โดยอ้างจาก ข้อมูลของมูลนิธิสถาบัน อนาคตไทยศึกษา ป�2554 พบว่า ครัวเรือนไทยร้อยละ 50 มีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาทต่อเดือน ในขณะที่ร้อยละ 10 ของครัวเรือนไทย มีรายได้เฉลี่ย 90,000 บาทต่อเดือน เมื่อเทียบกับผลการสอบ พบว่า ร้อยละ 49.7 อยู่ในกลุ่มที่มีคะแนนต่้าสุด ในขณะที่นักเรียนร้อยละ 8.3 อยู่ในกลุ่มที่มีคะแนนดี ซึ่งถือว่ามีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ทั้งนี้สุภกร บัวสาย (2558) กล่าวว่า “คู่แฝดความเหลื่อมล ้า คือ คุณภาพการศึกษาและเศรษฐกิจ ดังนั้น การแก้ป�ญหาคุณภาพเด็กไทยจึงต้องแก้ให้ลึกถึงรากของป�ญหาทั้งความเหลื่อมล้ำของ คุณภาพการศึกษาโดยมีมาตรการที่ไม่ให้ความยากจนเป�นอุปสรรคของโอกาสทาง การศึกษา” ทั้งนี้ บทความมุ่งเน้นไปที่ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา เนื่องจากการศึกษาเป�นสิ่ง ส้าคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนให้ดีขึ้น และที่ส้าคัญควรค้านึงถึงก่อนที่จะท้าการ พัฒนาด้านอื่น แต่อย่างไรก็ตาม การเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมนั้นเป�นป�ญหาที่ส้าคัญ ซึ่งผู้เขียนมีความเห็นว่า การที่คนเราไม่ สามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างทั่วถึงเกิด จากความไม่พร้อมทางเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละคน นอกเหนือจากความไม่พร้อมของ ระบบการศึกษาไทย ด้วยเหตุนี้เอง ผู้เขียนจึงต้องการศึกษาป�ญหา ความเหลื่อมล้าทางการ ศึกษานั้นว่ามีความเกี่ยวข้องกับสถานะทางเศรษฐกิจหรือไม่และในมุมมอง ของประชาชน เอง พวกเขาคิดหรือไม่ว่า สิ่งที่พวกเขาเผชิญอยู่นั้น เป�นป�ญหาความเหลื่อมล้าในสังคม ส้าหรับการศึกษาในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อทราบถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อความเหลื่อมล้าใน สังคมในด้านต่างๆ และ เพื่อทราบถึงป�จจัยที่ส่งผลกระทบต่อความ เหลื่อมล้าทางการศึกษาของ ประชาชน (วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ป�ที่8 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน 2560): 33-66) จากความเป�นมาและความสำคัญของ ป�ญหาข้างต้น จะเห็นได้ถึงป�ญหาความเหลื่อมล้ำและ ไม่เท่าเทียมของคนในสังคมไทยในป�จจุบัน ซึ่งเป�นป�ญหาเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ที่ส่งผลกระทบ ต่อชีวิตคนไทยในทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป�นมิติเชิงพื้นที่หรือมิติอาชีพ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงสนใจที่จะทำ การจัดทำ “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่เปรียบเทียบและสะท้อนให้เห็นถึงป�ญหาดังกล่าว


6 2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2.1 เพื่อสร้างสรรค์ภาพถ่ายให้สะท้อนออกมาเป�นเรื่องราว โดยการนำภาพถ่ายหลายภาพมา ตัดต่อและตัดแต่งโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop 2.2 เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทการตัดต่อและตัดแต่งในรูปเล่มหนังสือภาพถ่ายให้ออกมา สมบูรณ์ที่สุด 3. วัตถุประสงค์ต่อตนเอง 3.1 เพื่อพัฒนาตนเองในด้านการตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่ายโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop 3.2 เพื่อพัฒนาตนเองให้เป�นคนมีความคิดสร้างสรรค์ มีการวางแผนการทำงาน รับฟ�ง แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสามารถทำงานออกมาได้อย่างเป�นระบบ 3.3 เพื่อพัฒนาตนเองให้เป�นคนกล้าตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติ และแก้ป�ญหาให้บรรลุ วัตถุประสงค์ 4. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 4.1 เพื่อสร้างสรรค์และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย เพื่อเปรียบเทียบ และสะท้อนให้เห็นถึง Inequality ผ่านหนังสือภาพ ให้แก่ผู้ที่สนใจได้ศึกษาและนำไปพัฒนาต่อได้ 4.2 เพื่อให้คณะผู้จัดทำเกิดความคิดสร้างสรรค์ และสามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้ออกมา สมบูรณ์ที่สุด 4.3 เพื่อให้คณะผู้จัดทำเกิดการเรียนรู้ในด้านการสร้างสรรค์และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัด ต่อและตัดแต่งภาพถ่าย โดยครูมีหน้าที่ให้คำปรึกษา 5. เหตุผลในการนำเสนอโครงงาน 5.1 นำเสนอเพื่อให้ทราบถึงเรื่องราว โดยการเปรียบเทียบและสะท้อนให้เห็นถึง Inequality ผ่านหนังสือภาพ 5.2 นำเสนอเพื่อให้ทราบถึงป�ญหาเกี่ยวกับ Inequality ผ่านมุมมองของคณะผู้จัดทำ เพื่อให้ ผู้ที่สนใจเกิดความเข้าใจและตระหนักถึงป�ญหาดังกล่าว


7 6. ขอบเขตของโครงงาน 6.1 ขอบเขตพื้นที่ของโครงงาน การเลือกพื้นที่มีความสำคัญต่อการได้มาซึ่งภายถ่ายเพื่อใช้ในการสร้างสรรค์และ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เป�นหลักและตรงตามวัตถุประสงค์ของ โครงงานที่ตั้งไว้โดยพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลและปฏิบัติงาน ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ถนน เทศบาล 1 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์แผนกวิชาคอมพิวเตอร์กราฟ�ก ณ อาคาร 3 ชั้น 2 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟ�ก 322 ซึ่งเป�นแหล่งสร้างสรรค์และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยนักเรียน นักศึกษาในแผนกวิชาเอง 6.2 ขอบเขตช่วงเวลาในการศึกษาโครงงาน โครงงานเรื่อง “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดย ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในครั้งนี้มีระยะเวลาในการดำเนินงานตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 จนถึงเดือนมีนาคม 2564 6.3 ขอบเขตด้านเนื้อหา: 6.3.1 ด้านการสร้างสรรค์คณะผู้จัดทำได้ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อตัด ต่อและตัดแต่งภาพถ่าย เพื่องานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 6.3.2 ด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทการตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย ให้ได้มาซึ่ง รูปเล่มหนังสือภาพ 7. นิยามศัพท์เฉพาะ สร้างสรรค์ภาพถ่าย ในโครงงานเรื่องนี้หมายถึงการนำภาพถ่ายมาตัดต่อและตัดแต่งให้เป�น เรื่องราว โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop Inequality ในโครงงานเรื่องนี้หมายถึง เรื่องราวในหนังสือภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงความ เหลื่อมล้ำ โดยใช้บุคคล 2 บุคคลมาเปรียบเทียบสภาพการเป�นอยู่ซึ่งแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงในรายวิชา โครงงาน 8. วิธีดำเนินการโครงงาน 8.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 8.1.1 ประชากร คือ นักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์แผนกวิชา คอมพิวเตอร์และดิจิตอลกราฟ�ก 8.1.2 กลุ่มอาจารย์ ครูแผนกวิชาสามัญแผนกวิชาคอมพิวเตอร์และดิจิทัลกราฟ�ก และบุคลากรในวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์


8 8.1.3 กลุ่มประชากรผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างสรรค์และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภท การตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop คือกลุ่มประชากร กลุ่มอาจารย์ คณะครู แผนกวิชาดิจิทัลกราฟ�กและคณะครูแผนกวิชาสามัญ 8.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 8.2.1 แบบสอบถาม 8.3 แผนการดำเนินงาน 8.3.1 การวางแผนโครงงาน 1) กำหนดและเลือกหัวข้อในการทำโครงงาน 2) เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อปรึกษาและแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในโครงงาน 3) ศึกษาผลงานโครงงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กำลังดำเนินการโครงงานอยู่ 4) ค้นคว้าข้อมูล เอกสาร และวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5) จดบันทึกรายละเอียดข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า 8.3.2 การจัดเก็บข้อมูล: มี 2 ส่วน คือ 1) ส่วนรูปเล่มโครงงาน วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาทำเป�น รูปเล่มโครงงาน 2) ส่วนถ่ายภาพที่จะใช้ในการสร้างสรรค์สื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการตัดต่อและตัดแต่ง 8.3.3 นำเสนอแก่อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน เพื่อนำคำแนะนำมาแก้ไขก่อนจะลงมือ ปฏิบัติงานจริง 8.3.4 ดำเนินการปฏิบัติงาน 1) สร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้ โปรแกรม Adobe Photoshop


9 9. ประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงงาน 9.1 ประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะ 9.1.1 ทักษะในด้านการสร้างสรรค์: มีประโยชน์ต่อคณะผู้จัดทำ ในด้านการใช้งาน โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อนำความรู้และประสบการณ์มาใช้ตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่ายให้ ถ่ายทอดออกมาเป�นเรื่องราว โดยเปรียบเทียบและสะท้อนให้เห็นถึง Inequality 9.1.2 ทักษะในด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์: คณะผู้จัดทำสามารถสร้างสรรค์ภาพถ่าย โดยใช้เทคนิคตัดแต่งและตัดต่อรูปภาพด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อผลิตออกมาเป�น รูปเล่มหนังสือภาพจำนวน 1 เล่ม 9.2 ประโยชน์ต่อแผนก 9.2.1 มีสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือภาพไว้ให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา โดยใช้เป�นแนวทาง เพื่อพัฒนาและต่อยอดในครั้งต่อไปได้ 9.3 ประโยชน์ต่อคณะผู้จัดทำ 9.3.1 รู้จักการวางแผน และทำงานออกมาได้อย่างเป�นระบบ 9.3.2 เกิดการพัฒนาในเรื่องทักษะในการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ให้ดี ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถนำไปปรับใช้กับกระบวนการทำงานในครั้งต่อไปได้อีกด้วย 9.3.3 เพื่อให้คณะผู้จัดทำได้แสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนแนวความคิดกับ ผู้อื่น เพื่อนำมาปรับใช้และแก้ไขให้โปรเจ็คออกมาสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของโครงงาน


10 บทที่ 2 เอกสารข้อมูล โปรแกรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop คณะผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด และ รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป�นแนวทางในการประกอบโครงงานโดยมีขอบข่ายการศึกษา ตามลำดับ ดังนี้ 1. เอกสารและงานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1.1 Inequality (ความเหลื่อมล้ำ) 1.2 การสร้างสรรค์ภาพถ่าย 1.3 การตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย 1.4 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 2. โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 โปรแกรม Adobe Photoshop 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. เอกสารและงานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1.1 Inequality (ความเหลื่อมล้ำ) ความเหลื่อมล้ำทางสังคมเกิดขึ้นเมื่อทรัพยากรในสังคมมีการกระจายอย่างไม่เสมอภาค ซึ่ง ก่อให้เกิดแบบรูปจำเพาะตามแนวจำพวกของบุคคลที่นิยามทางสังคม การเข้าถึงสินค้าสังคมในสังคม นั้นมีความแตกต่างกันเป�นลำดับมีสาเหตุจากอำนาจ ศาสนา เครือญาติ เกียรติภูมิ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ เพศ อายุ รสนิยมทางเพศและชนชั้น ความเหลื่อมล้ำปกติส่อความหมายถึงความไม่เสมอภาคของ ผลลัพธ์ แต่อาจสรุปอีกอย่างหนึ่งได้ว่าเป�นความไม่เสมอภาคในการเข้าถึงโอกาส (Caves, R. W. :2004) สิทธิทางสังคม ประกอบด้วยตลาดแรงงาน บ่อเกิดของรายได้ บริการสาธารณสุข เสรีภาพใน การพูด การศึกษา การมีผู้แทนทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Wade, Robert H, 2014:7) ความเหลื่อมล้ำทางสังคมนี้มีความเชื่อมโยงกับความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ปกติอธิบายบน พื้นฐานของการกระจายรายได้หรือความมั่งคั่งอย่างไม่เสมอภาค และเป�นความเหลื่อมล้ำทางสังคม ชนิดที่มีการศึกษาอยู่บ่อยครั้ง ถึงแม้สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และสังคมวิทยาโดยทั่วไปใช้แนวทางเข้าสู่ ทางทฤษฎีต่างกันเพื่อพิจารณาและอธิบายความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ แต่ทั้งสองวิชาก็วิจัยความ เหลื่อมล้ำนี้เหมือนกัน อย่างไรก็ดีทรัพยากรสังคมและธรรมชาติก็มีการกระจายอย่างไม่เท่าเทียมใน สังคมส่วนใหญ่นอกเหนือไปจากทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และอาจช่วยส่งเสริมสถานภาพทางสังคม ของบุคคล บรรทัดฐานของการจัดสรรยังมีผลต่อการกระจายสิทธิและเอกสิทธิ์ อำนาจทางสังคม การ


11 เข้าถึงสินค้าสาธารณะ เช่น การศึกษาหรือระบบตุลาการ การเคหะที่เพียงพอ การขนส่ง เครดิตและ บริการทางการเงิน เช่น การธนาคาร ตลอดจนสินค้าและบริการทางสังคมอื่น (Rugaber, Christopher S.; Boak, Josh:2014) จักรพงศ์ คงกล่ำ (2020) ความเหลื่อมล้ำ คือ ความไม่เท่ากันในการเข้าถึงหรือการใช้ ทรัพยากรของผู้คนในสังคม ซึ่งความไม่เท่ากันนั้นอาจมีสาเหตุจาก “ต้นทุน” ที่แตกต่างกัน เช่น รายได้ การศึกษา วัฒนธรรม หรือแม้แต่ ที่อยู่อาศัย สถานที่ทำงาน ก็มีความเหลื่อมล้ำแฝงอยู่ได้ เช่นกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำจึงเกิดขึ้นได้ทุกที่ อย่างไรก็ดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจและนโยบายของ ภาครัฐควรมีบทบาทในการลดช่องว่างด้านความเหลื่อมล้ำ เพื่อให้ผู้คนในสังคมมีความเท่าเทียมกัน มากขึ้น ทั้งในเรื่องของรายได้ การศึกษา และความเป�นอยู่ที่ดี 1.2 การสร้างสรรค์ภาพถ่าย Sony Corporation (2560) การสร้างสรรค์ภาพถ่าย คือฟ�งก์ชันที่ช่วยให้ใส่สไตล์ให้กับ ภาพถ่ายโดยสไตล์ได้ถูกตั้งพรีเซ็ตไว้ในกล้อง เพื่อภาพที่สวยงามและมีค่าทางศิลปะ มีสไตล์ 6 ถึง 13 สไตล์ เช่น ทิวทัศน์และอาทิตย์ตก ที่สามารถใช้ได้ นอกจากนี้ยังใช้ในโหมด P/A/S/M ได้ด้วย ขึ้นอยู่ กับกล้องแต่ละรุ่นการถ่ายภาพดิจิตอล สามารถใส่ความรู้สึกหลายๆ แบบให้กับวัตถุเพียงอย่างเดียวได้ โดยการปรับพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น โทนสีและความลึกของสี ความสว่าง ความเปรียบต่าง และความ คมชัดสร้างสรรค์ภาพถ่าย จะช่วยให้สามารถตกแต่งภาพถ่ายได้ง่ายขึ้นอย่างที่คุณต้องการ โดยการ รักษาสมดุลของพารามิเตอร์เหล่านี้เพียงเลือกสไตล์ที่เหมา ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล (2556:86) ได้อธิบายการสร้างสรรค์ภาพถ่าย หรือ Digital Photo Manipulation ไว้ว่า คือการสร้างสรรค์งานภาพถ่ายดิจิทัลด้วยวิธีการ ตัดต่อ รีทัชในลักษณะที่มีความ ซับซ้อนทางเทคนิค เน้นความสมจริง ถึงแม้จะเป�นภาพที่ ไม่มีอยู่ในความเป�นจริง ส่วนใหญ่งาน ภาพถ่ายประเภทนี้ อยู่ในลักษณะงานโฆษณา งาน ภาพยนตร์ และงานตัดต่อกับธีมหรือฉากที่ต้องการ นำเสนอ แล้วการถ่ายทอดความรู้สึกผ่านภาพถ่ายจะขยายขอบเขตออกไปได้กว้างขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น ด้วยฟ�งก์ชันพิเศษนี้คุณสามารถสร้างสรรค์ศิลปะได้ตามสไตล์ต่างๆ 1.3 การตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย อิศเรศ ภาชนะกาญจน์ (2556:155) การตัดต่อภาพ เป�นการนําภาพมากกว่าหนึ่งภาพมาใช้ งานร่วมกัน ด้วยการตัดภาพบางส่วนไปใช้งาน ร่วมกับอีกภาพ ด้วยเครื่องมือหลักๆ ที่จําเป�นเพียงไม่กี่ ตัว แล้วตกแต่งภาพให้สมจริง สวยงาม หรืออาจจะแต่ง ให้ดูเกินจริงไปเลยก็ได้


12 1.3 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ความหมายของคำว่า “สื่อ” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความ หมายของคำนี้ไว้ดังนี้ “สื่อ (กริยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย ชักนำให้รู้จักกัน สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้หรือ สิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนำให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป�นสื่อติดต่อกัน เรียกผู้ที่ทำหน้าที่ชักนำ ให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่นำมาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซึ่งศิลป�นประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม” และ นักเทคโนโลยี การศึกษาได้มีการนิยามความหมายของคำว่า “สื่อ” ไว้ดังต่อไปนี้ Heinich และคณะ (1996) Heinich เป�นศาสตราจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีระบบ การเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) ให้คำจำกัดความคำว่า “media” ไว้ดังนี้ “Media is a channel of communication.” ซึ่งสรุปความเป�นภาษาไทยได้ ดังนี้“สื่อ คือช่องทางในการ ติดต่อสื่อสาร” Heinich และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า “media มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่ง ทำการบรรทุกหรือนำพาข้อมูลหรือ สารสนเทศ สื่อเป�นสิ่งที่อยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดสารกับผู้รับสาร” J. Romiszowski (1992) ศาสตราจารย์ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการ ประเมินผลสื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยซีราคิวส์(Syracuse University) ให้คำจำกัดความ คำว่า “media” ไว้ดังนี้“the carriers of messages, from some transmitting source (which may be a human being or an inanimate object) to the receiver of the message (which in our case is the learner)” ซึ่งสรุปความเป�น ภาษาไทยได้ดังนี้“ตัวนำสารจากแหล่งกำเนิดของ การสื่อสาร (ซึ่งอาจจะเป�นมนุษย์หรือวัตถุที่ไม่มีชีวิต ) ไปยังผู้รับสาร (ซึ่งในกรณีของการเรียนการ สอนก็คือ ผู้เรียน)” ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สื่อ หมายถึง สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป�นตัวกลางระหว่างแหล่งกำเนิด ของสารกับ ผู้รับสาร เป�นสิ่งที่นำพาสารจากแหล่งกำเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตาม วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ความหมายของคำว่า “สิ่งพิมพ์” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 1,191) ได้กล่าวให้ ความหมายไว้เช่นเดียวกันกับในพระราชบัญญัติการพิมพ์พ.ศ. 2484 (พระราชบัญญัติการพิมพ์พ.ศ. 2484, 2546) กล่าวว่า “สิ่งพิมพ์หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้ง บทเพลง แผนที่แผนผัง แผนภาพ ภาพระบายสีใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะ เช่นเดียวกัน”


13 ความหมายของคำว่า “สื่อสิ่งพิมพ์” มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายไว้ เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ดังนี้ ธีระศักดิ์ ละม่อม (2542 : 49) กล่าวว่า “สื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง สื่อที่เกิดขึ้นจากการ พิมพ์นั่นเอง ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใดก็ตาม เช่น หนังสือ หนังสือพิมพ์วารสาร แผ่นพับ แผ่นปลิว หรือ โปสเตอร์จุดประสงค์ในการจัดทำนั้นก็เพื่อความรู้หรือบันเทิง” นลินี เสาวภาคย์(2542 : 141) กล่าวว่า “สื่อสิ่งพิมพ์หมายถึง สื่อที่ใช้ ติดต่อสื่อสารทำความเข้าใจกันโดยภาษาเขียน โดยใช้วัสดุกระดาษพิมพ์ออกมาพร้อมกัน เพื่อแจกจ่าย ให้กับผู้อ่านได้คราวละมากๆ สื่อสิ่งพิมพ์นั้นอาจออกมาในรูปต่างๆ กัน ไม่ว่าจะเป�นหนังสือ นิตยสาร วารสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ใบปลิว แผ่นพับ หนังสือคู่มือ และโปสเตอร์เป�นต้น” สุรัตน์ นุ่มนนท์(2539 : 6) กล่าวว่า “สื่อสิ่งพิมพ์” หมายถึงสิ่งที่ใช้ในการพิมพ์เป�น หลัก จึงไม่ได้หมายถึงหนังสือพิมพ์และนิตยสารเท่านั้น แต่มีความหมายรวมไปถึงสิ่งพิมพ์ทุกประเภท ชาญวิทย์ หาญรินทร์(2547) จึงให้ความหมายของ “สื่อสิ่งพิมพ์” ว่าคือ “สิ่งที่พิมพ์ ขึ้นไม่ว่าจะเป�นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใดๆ ด้วยวิธีการต่างๆ อันเกิดเป�นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือน ต้นฉบับขึ้นหลายสำเนา ในปริมาณมากเพื่อเป�นสิ่งทำการติดต่อหรือชักนำให้บุคคลอื่นได้เห็นทราบ ข้อความต่างๆ” สิ่งพิมพ์มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรียน หนังสื่อพิมพ์นิตยสาร วารสาร บันทึก รายงาน ฯลฯ ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า “สื่อสิ่งพิมพ์” ประกอบด้วย หนังสือพิมพ์นิตยสาร วารสาร หนังสือ โปสเตอร์แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว หนังสือเล่มเล็ก และคู่มือ เป�นต้น ทำให้มองเห็นถึง วัสดุหลักที่ใช้ในการจัดทำคือกระดาษใช้ในการตีพิมพ์นั่นเอง และเราคงปฏิบัติเสธไม่ได้ว่าแนวโน้มใน อนาคตที่เป�นมาจากการพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด จะทำให้เราได้เห็นสื่อสิ่งพิมพ์ถูก แปลงให้อยู่ในรูปแบบของดิจิตอลเพื่อลดภาระป�ญหามลภาวะต่างๆ รวมทั้งความสะดวกในการจัดเก็บ นำเสนอ พกพา และการค้นคว้าอย่างรวดเร็ว ความหมายของคำว่า “การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้ความหมายของ การผลิต (Production) ไว้ว่า หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือรูปแบบป�จจัยการผลิตให้เป�นการ ผลิต ได้แก่ สินค้าและบริการต่างๆ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การผลิตเป�นสิ่งที่สำคัญที่ก่อให้เกิดการใช้ป�จจัย การผลิตและก่อให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ ขึ้นในระบบเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตก็คือ ผู้ผลิตหรือหน่วยธุรกิจ ซึ่งมีอยู่หลานประเภท ได้แก่ ผู้ผลิตที่เป�นเจ้าของคนเดียว เช่น เกษตรกร พ่อค้า แม่ค้า ฯลฯ ห้างหุ้นส่วนจำกัด และบริษัท ผู้ผลิตเหล่านี้พยายามหาวิธีการผลิตให้


14 เกิดผลผลิตมากที่สุดเท่า ที่จะทำได้ หรือพยายามทำการผลิตให้เสียต้นทุนต่ำที่สุด เพื่อได้กำไรมาก ที่สุด ศุภรัตน์ มงคลแก้ว, เสาวลักษณ์ มงคลแก้ว, ธนพรรณ แก้วคง (2555) ได้ให้ ความหมายการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ไว้ว่า หมายถึง การแบ่งแยกประเด็นปลีกย่อยอาจมีความแตกต่างกัน บ้าง เช่น แบบหนึ่งอาจพิจารณาว่าสื่อสิ่งพิมพ์ประกอบด้วย หรืออีกแบบหนึ่งอาจพิจารณาว่า สื่อ สิ่งพิมพ์ประกอบด้วยหนังสือพิมพ์นิตยสาร วารสาร หนังสือเล่มและสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจซึ่งประกอบด้วย โปสเตอร์แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว เป�นต้น จากการที่แบ่งประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์เช่นนี้แสดงให้ เห็นว่า สื่อสิ่งพิมพ์นั้นจะต้องใช้กระดาษเป�นวัสดุในการตีพิมพ์นั้นเองแต่อย่างไรก็ตาม สื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ หรือไม่ใช้กระดาษเพียงอย่างเดียวล้วนมีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตประจำวันและสังคมมนุษย์ ทั้งสิ้น ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือป�จจัย ที่ทำให้เกิดสื่อโดยใช้กระดาษเป�นวัสดุหลักในการพิมพ์ 2. โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 โปรแกรม Adobe Photoshop อรวินท์ เมฆพิรุณ (2551: 292-293) Adobe Photoshop เป�นโปรแกรมสําหรับสร้างและ ตกแต่งภาพที่มีชื่อ เสียง และได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากคุณสมบัติเด่นที่มีอยู่ มากมาย ไม่ว่า จะเป�นความสามารถจัดการกับไฟล์สารพัดชนิดที่ใช้ใน งานประเภทต่างๆ ทั้งภาพที่ถ่ายจากกล้อง ดิจิตอล และภาพที่จะนําไป ผ่านกระบวนการการพิมพ์ โปรแกรมมีความสามารถเป�นเยี่ยมในการ แก้ไขตกแต่งภาพ และการสร้างเอฟเฟ�คต์พิเศษต่างๆ มีเครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพและความยืดหยุ่น สูง ตลอดจนมีผู้ผลิตปลักอิน (Plug-in) หรือโปรแกรมเสริมให้เป�นจํานวนมาก จึงทําให้โปรแกรม สามารถ ทํางานต่างๆ ได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น ศิวัช กาญจนชุม (2557: 31) Adobe Photoshop เป�นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างและแก้ไข รูปภาพอย่างมืออาชีพ โดยเฉพาะนักออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพราะโปรแกรม Adobe Photoshop เป�นโปรแกรมที่มีเครื่องมือ ต่าง ๆ มากมาย เพื่อสนับสนุนการสร้างงานประเภทสิ่งพิมพ์ งานวีดิทัศน์ งานนําเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอด จนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ และที่มีผู้นิยมใช้ มากที่สุดคือ การตกแต่งรูปภาพ เนรมิตร แผ่นทอง (2556:14) Adobe Photoshop คือโปรแกรมแต่งภาพและจัดการ ภาพถ่ายดิจิตอลที่ดีที่สุดในโลก พัฒนาขึ้นโดยนักศึกษามหาวิทยาลัยมิชิแกน โดยเวอร์ชั่นแรกเริ่มต้น ขึ้นในป� 1987 โดยใช้ชื่อว่า Photoshop 1.0 ต่อมาได้พัฒนาขีดความสามารถเพื่อตอบสนองการใช้ งานที่มีความหลากหลายยิ่งขึ้น


15 วโรดม วณิชศิลป์ (2556 : 2) Photoshop หรือชื่อเต็มว่า Adobe Photoshop เป�น โปรแกรมของบริษัท Adobe ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ด้านกราฟ�กหลายๆ ตัว เช่น ภาษา PostScript หรือ ไฟล์แนบ PDF. (Portable Document Format) จุดประสงค์หลักของโปรแกรม Photoshop นี้คือ เป�นโปรแกรมสําหรับการ ตกแต่งภาพ ไม่ว่าจะเป�นการตัดต่อ การปรับแต่ง การแก้ไข การย่อขยาย รวมไปถง การ Retouch และอื่นๆ อีกมากมาย กล่าวอย่างง่ายๆ Photoshop ก็คือสุดยอด โปรแกรม ที่ทําให้เราสามารถตกแต่งภาพให้ออกมา ได้ตามแต่ใจเราต้องการ จะเอาสวยแค่ไหน หรือ หล่อ เพียงใด ขอเพียงคุณมีความชํานาญในการใช้ โปรแกรมนี้เท่านั้น ทุกอย่างเป�นไปได้ สิทธิชัย ประสานวงศ์ (2556:14) โปรแกรม Adobe Photoshop เป�นสุดยอดโปรแกรม ๆ หนึ่งทางด้านกราฟ�ก เป�นหนึ่งในโปรแกรมตระกูล Adobe ซึ่งถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน Photoshop ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานทางด้านกราฟ�ก การตกแต่งภาพ, สร้างภาพ 3 มิติ, ภาพพา โนรามา, สร้างสรรค์งานโปสเตอร์, โฆษณา, สื่อสิ่งพิมพ์, ปกนิตยสาร, ออกแบบสินค้า, รูปภาพต่างๆ ที่นําไปวางบนเอกสารเว็บเพจ เหมาะสําหรับนักออกแบบ ครีเอทีฟ, สถาปนิก, และบุคคลทั่วไปที่ สนใจงานทางด้านกราฟ�ก อนัน วาโซะ (2559: 2) Photoshop เป�นโปรแกรมกราฟ�กที่มีความสามารถครบถ้วน รองรับงานกราฟ�กทุกรูปแบบ ที่สําคัญคําสั่ง ต่างๆ ก็ใช้งานง่าย ในขณะที่ได้ผลลัพธ์ประสิทธิภาพสูง ทําให้ Photoshop เป�นโปรแกมที่ครองใจนักกราฟ�ก ดีไซน์ทั่วทุกมุมโลกตลอดมา 3. วิจัยที่เกี่ยวข้อง ดร.จรรยา พุคยาภรณ์, สรพล บูรณกูล, สุพัฒน์กุล ภัคโชค (2014) ได้วิจัยเรื่อง การพัฒนา และแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางสังคมในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาชุมชนโรงช้อน 45 แขวง ลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ หากพิจารณาความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยพบว่า ป�ญหาความ เหลื่อมล้ำด้านรายได้เป�นป�ญหาที่ถูกพิจารณาถึงเป�นอันดับแรก โดยอ้างถึง กิตติศักดิ์ สินธุวนิช (2548) พบว่า การกระจายรายได้ของประเทศไทยนั้น แม้ในช่วงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะทำให้ ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ จะตกอยู่กับกลุ่มคนที่มีรายได้สูงสุดเพียงร้อยละ 20 แรกเท่านั้น ซึ่งเป�นลักษณะความห่างของชั้นรายได้ของประเทศไทยในช่วงสิบป�ที่ผ่านมา ซึ่งความ เหลื่อมล้ำของรายได้นี้เองนำมาสู่ความแตกต่างของคุณภาพชีวิตของประชากรไทยในด้านต่างๆ ป�ญหาหลักที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคมนั้นมาจากป�ญหาความยากจนเนื่องจากผู้ที่มี ความยากจนจะเป�นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าระดับมาตรฐานซึ่งยากต่อการหาที่อยู่อาศัยในสภาพแวด ล้อมที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกยากที่จะมีการศึกษาที่ดีเนื่องจากมีความจำเป�นที่จะต้องมุ่งทำงานเพื่อ หารายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวรวมถึงป�ญหาของการเข้าถึงทรัพยากรของรัฐที่ยังต้องแก้ไขเช่น ระบบการศึกษาบริการสาธารณสุขน้ำดื่มที่สะอาดปลอดภัยซึ่งยังไม่ทั่วถึงและไม่เป�นธรรมส่วนหนึ่งมี


16 ผลมาจากการที่บุคคลเหล่านี้มีระดับการศึกษาที่ไม่สูงและเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เพียงพอที่จะรู้เท่าทันกลุ่ม คนที่มีอำนาจเหนือกว่าที่ต้องการแสวงหาผลประโยชน์นำมาสู่ป�ญหาต่างๆทางสังคมและประเด็น สุดท้ายคือสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของประชาชนที่ยังต้องสร้างความตระหนักให้รับรู้ถึง สิทธิที่สามารถกระทำได้รวมถึงช่องทางซึ่งป�ญหาต่างๆเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เกิดจากป�ญหาความยากจน เป�นหลักนำมาสู่ป�ญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมหรือความไม่เท่าเทียมกันในสังคม สมมิตร โตรักตระกูล (ม.ป.ป.) ได้ศึกษาป�ญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่เป�นธรรมด้านสิทธิ และโอกาสในสังคมไทย โดยป�ญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่เป�นธรรมในสังคมไทย เป�นป�ญหาเชิง โครงสร้างที่มาจากป�จจัยหรือเงื่อนไขสำคัญหลากหลายรูปแบบและมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ความเหลื่อมล้ำด้านสิทธิและโอกาสของชนชาวไทย เป�นมิติหนึ่งของป�ญหาความเหลื่อมล้ำและความ ไม่เป�นธรรมในสังคมไทย เป�นเรื่องเกี่ยวข้องกับสิทธิเสรีภาพของประชาชนและหรือสิทธิมนุษยชน ซึ่ง เป�นกลไกหนึ่งในสังคมที่จะกำหนดว่า สังคมนั้นๆ มีความสุขสงบและสันติหรือไม่ สังคมที่มีความ เหลื่อมล้ำสูงเป�นสังคมที่ไม่น่าอยู่ ส่งผลกระทบต่อกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง ทำให้กลุ่มคนเหล่านั้นได้รับ ความเดือดร้อน เนื่องจากความไม่เท่าเทียมทางสังคม ขาดสิทธิและโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรที่มี อยู่อย่างจำกัด และบริการพื้นฐานที่สมควรได้รับ เป�นป�ญหาสำคัญของประเทศที่ต้องเร่งแก้ไข


17 บทที่ 3 วิธีการดำเนินโครงงาน ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ภาพถ่ายให้ออกมาเป�นเรื่องราว ซึ่งสะท้อนความหมายแฝงผ่านรูปภาพและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทตัดต่อและตัดแต่งในรูปเล่มหนังสือ ภาพถ่าย มีวิธีการดำเนินการสร้างสรรค์และผลิต ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. แผนการดำเนินงาน 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในโครงงานครั้งนี้ คือ นักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์แผนกวิชา คอมพิวเตอร์และดิจิตอลกราฟ�ก กลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในโครงงานครั้งนี้ คือ กลุ่มอาจารย์ ครูแผนกวิชาสามัญและแผนกวิชาดิจิทัล กราฟ�ก และบุคลากรในวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์และกลุ่มประชากรผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ สร้างสรรค์และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทการตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop คือกลุ่มประชากร กลุ่มคณะครูแผนกวิชาดิจิทัลกราฟ�กและคณะครูแผนกวิชาสามัญ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป�นแบบสอบถามที่ผู้จัดทำสร้างขึ้น เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีต่อโครงงาน “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่าย เพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ซึ่งแบ่งออกเป�น 3 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้สอบถามตรวจสอบรายการ (Checklist) ซึ่งลักษณะ ของคำถามจะเป�นแบบหลายคำตอบให้เลือก ประกอบด้วย เพศ อายุ และสถานภาพ ตอนที่ที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิต สื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ซึ่งแบ่งความคิดเห็นออกเป�น 5 ระดับ ดังนี้


18 ระดับที่ 1 มีความพึงพอใจน้อยที่สุด ระดับที่ 2 มีความพึงพอใจน้อย ระดับที่ 3 มีความพึงพอใจปานกลาง ระดับที่ 4 มีความพึงพอใจมาก ระดับที่ 5 มีความพึงพอใจมากที่สุด สำหรับการให้ความหมายของค่าที่วัดได้ ผู้ศึกษาได้กำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมาย โดยได้จากแนวคิด (Best 1982) การให้ความหมายโดยการให้ค่าเฉลี่ยเป�นรายข้อ ดังนี้ 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 0.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด นำร่างแบบสอบถามความพึงพอใจให้ครูที่ปรึกษาโครงงานตรวจสอบเพื่อปรับปรุง นำแบบสอบถามความคิดเห็นที่ปรับปรุงแล้ว ไปสอบถามมาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลที่ได้จาก แบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามแบบ (Close – Ended Questionneires) 3. การวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจ ของกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนนักศึกษา กลุ่มอาจารย์ ครูแผนกวิชาสามัญแผนกวิชาดิจิทัลกราฟ�ก และบุคลากรในวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ แล้วเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่โครงงาน โครงงาน “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิต สื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop จากค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้ว เปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการแปลความหมาย ดังนี้ 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 0.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด


19 4. แผนการดำเนินงาน 4.1 วางแผนโครงงาน 1.1 กำหนดและเลือกหัวข้อในการทำโครงงาน คณะผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงป�ญหาเชิงโครงสร้างของสังคมในป�จจุบัน นั่นคือ ป�ญหาความเหลื่อมล้ำของคนในสังคม (Inequality) จึงได้ยกหัวข้อดังกล่าวมาจัดทำโครงงาน “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อสร้างสรรค์ภาพถ่ายให้ออกมาเป�นเรื่องราว โดยสะท้อนความหมายแฝงผ่านรูปภาพ และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทตัดต่อและตัดแต่งในรูปเล่มหนังสือภาพถ่าย 1.2 เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา 1) เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงงาน ตามหัวข้อที่กำหนด 2) แลกเปลี่ยนความคิดเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในโครงงาน 1.3 ศึกษาผลงานโครงงานที่เกี่ยวข้อง 1) เพื่อหาแนวทางในการจัดทำโครงงาน 2) เพื่อหาแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน อีกทั้งนำมาปรับใช้กับ เรื่องที่กำลังดำเนินการโครงงานอยู่ 1.4 ค้นคว้าข้อมูล เอกสาร และวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.2 การจัดเก็บข้อมูล มี 2 ส่วน คือ 1) ส่วนรูปเล่มโครงงาน คณะผู้จัดทำได้วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากที่ได้ค้นคว้าข้อมูล เอกสาร และวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาทำเป�นรูปเล่มโครงงาน โดยได้แบ่งเนื้อหาออกเป�น 5 บท ตาม ตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 ตารางเนื้อหาในรูปเล่มโครงงาน บทที่1 บทนำ 1. ที่มาและความสำคัญ 2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 3. วัตถุประสงค์ต่อตนเอง 4. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 5. เหตุผลในการทำโครงงาน 6. ขอบเขตของโครงงาน 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 8. ประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงงาน


20 ตารางที่ 1 ตารางเนื้อหาในรูปเล่มโครงงาน (ต่อ) บทที่ 2 เอกสารข้อมูล โปรแกรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. เอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. แผนการดำเนินงาน บทที่ 4 ผลการสร้างสรรค์ และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 1. ผลการสร้างสรรค์ภาพถ่ายด้วยโปรแกรม Adobe photoshop 2. ผลการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความพึงพอใจผลงานที่สร้างสรรค์ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุปผล 2. อภิปรายผล 3. ข้อเสนอแนะ 2) ส่วนถ่ายภาพที่จะใช้ในการสร้างสรรค์สื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการตัดต่อและตัดแต่ง 2.1) หาภาพ Reference (1) รูปแบบและการจัดองค์ประกอบในภาพ ต้องการนำเสนอภาพ เป�น 2 ฝ��ง เพื่อให้เห็นความแตกต่างของแต่ละฝ��ง


21 ภาพที่ 1 ปกภาพยนตร์เรื่อง BOYHOOD ที่มาของภาพ: https://www.onderhond.com/movies/boyhood. (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2564) (2) ภาพแต่ละฝ��งเปรียบเทียบ Inequality (ความเหลื่อมล้ำ) ของ บุคคลในภาพ ทั้งในสภาพความเป�นอยู่ การกิน การศึกษา รวมไปถึงการได้รับโอกาสด้วย ภาพที่ 2 ROB DOBI ILLUSTRATION: INEQUALITY ที่มาของภาพ: https://www.theispot.com/whatsnew/2016/2/rob-dobi-illustrationinequality.htmboyhood. (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2564)


22 ภาพที่ 3 Brilliant and Wonderful Illustrations Design by Andrey Gordeev ที่มาของภาพ: https://www.downgraf.com/inspiration/illustration/wonderfulillustrations-design/. (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2564) ภาพที่ 4 Illustration created for a collective book to raising funds for Japan, after the great tsunami 2011 ที่มาของภาพ: https://www.deviantart.com/noramoretti/art/for-Japan-326710190. (สืบค้น เมื่อ 3 มีนาคม 2564)


23 2.2) วาง Storyboard ภาพที่ 5 ภาพ Storyboard เปรียบเทียบ Inequality ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้วาดภาพ ภาพที่ 6 ภาพ Storyboard เปรียบเทียบ Inequality ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้วาดภาพ


24 ภาพที่ 7 ภาพ Storyboard เปรียบเทียบ Inequality ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้วาดภาพ ภาพที่ 8 ภาพ Storyboard เปรียบเทียบ Inequality ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้วาดภาพ


25 ภาพที่ 9 ภาพ Storyboard เปรียบเทียบ Inequality ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้วาดภาพ 2.3) เก็บภาพเพื่อใช้ในการตัดต่อและตัดแต่งตามสตอรี่บอร์ดที่วางไว้ ภาพที่ 10-11 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ


26 ภาพที่ 12-13 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ ภาพที่ 14-15 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ


27 ภาพที่ 16-17 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ ภาพที่ 18-19 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ


28 ภาพที่ 20-21 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ ภาพที่ 22-23 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ


29 ภาพที่ 24-25 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ ภาพที่ 26-27 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ


30 ภาพที่ 28-29 การวางสตอรี่เปรียบเทียบกับภาพถ่ายที่จะใช้ตัดต่อ ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว,วิรากานต์ ปานทอง, 2564: ผู้วาดภาพและถ่ายภาพ 4.3 นำเสนอแก่อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน เพื่อนำคำแนะนำมาแก้ไขก่อนจะลงมือปฏิบัติงานจริง โดยมีระยะเวลาการนำเสนอแก่ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานตามเนื้อหาตามตารางที่ 2 ดังนี้ ตารางที่ 2 การนำเสนอเนื้อหาโครงงานแก่อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน เนื้อหา วันที่นำเสนอ ผู้รับผิดชอบ บทที่ 1 บทที่ 2-3 บทที่ 4-5 28 ธันวาคม 2563 17 มกราคม 2564 15 กุมภาพันธ์ 2564 นางสาววิรากานต์ ปานทอง คณะผู้จัดทำ นางสาวศศิวิมล แสนส้าว 4.4 ดำเนินการปฏิบัติงาน 1) สร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้ โปรแกรม Adobe Photoshop 1.1) ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop


31 (1) ไดคัตภาพถ่ายและปรับสีภาพ ภาพที่ 30 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง (2) ลงสีพื้นหลัง ภาพที่ 31 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


32 (3) ใส่ตัวอักษร ภาพที่ 32 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่ายโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง 1.1) ขั้นตอนสร้างสรรค์ปกแผ่นซีดี โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop (1) สร้างแบบแผ่นซีดี และลงสีในแบบ ภาพที่ 33 สร้างสรรค์ปกแผ่นซีดี โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


33 (2) ไดคัตและปรับสีภาพ แล้วนำไปวางในแบบแผ่นซีดีที่สร้างไว้ ภาพที่ 34 สร้างสรรค์ปกแผ่นซีดี โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง (3) วางตัวอักษรในแบบให้สวยงาม ภาพที่ 35 สร้างสรรค์ปกแผ่นซีดีโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


34 1.3) ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อ และตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop (1) ไดคัตรูปถ่ายที่จะใช้ในการตัดต่อ ภาพที่ 36 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง (2) นำภาพที่ไดคัตแล้วมาวางในภาพถ่ายต้นแบบ ภาพที่ 37 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


35 (3) ปรับรูปถ่ายให้เป�นสีดำเพื่อเน้นส่วนที่ต้องการจะสื่อ ภาพที่ 38 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง (4) เก็บรายละเอียดของภาพ และไดคัตเพิ่มเติมใน ภาพที่ 39 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


36 (5) เพิ่งแสงและเงาให้กลมกลืนกับภาพ ภาพที่ 40 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง (6) นำภาพที่ตัดต่อแล้วมาวางเปรียบเทียบกัน ภาพที่ 41 ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภาพถ่าย Inequality เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่ง โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


37 บทที่ 4 ผลการสร้างสรรค์ และผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ในการจัดทำโครงงาน เรื่อง “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างสรรค์ภาพถ่ายให้ออกมาเป�นเรื่องราว ซึ่งสะท้อนความหมายแฝงผ่านรูปภาพและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ประเภทตัดต่อและตัดแต่งในรูปเล่มหนังสือ ภาพถ่าย มีผลการสร้างสรรค์และผลิต ดังนี้ 1. ผลการสร้างสรรค์ภาพถ่ายและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความพึงพอใจผลงานที่สร้างสรรค์ 1. ผลการสร้างสรรค์ภาพถ่ายและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop ภาพที่ 42-43 Inequality (1) ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


38 ภาพที่ 44-45 Inequality (2) ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง


39 ภาพที่ 46-47 Inequality (3) ที่มาของภาพ: ศศิวิมล แสนส้าว, 2564: ผู้ตัดต่อและตัดแต่ง 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความพึงพอใจผลงานที่สร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูลโครงงาน เรื่อง“Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop คณะผู้จัดทำได้นำข้อมูลจากแบบสอบถามความพึง พอใจของของกลุ่มตัวอย่างจากคนในพื้นที่คือ นักเรียนนักศึกษา กลุ่มอาจารย์ และในแผนก คอมพิวเตอร์และดิจิทัลกราฟ�ก จำนวน 30 คน ที่ผ่านการทำแบบประเมินความพึงพอใจ มาทำการ วิเคราะห์ด้วยวิธีการหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้


40 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ลักษณะข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป�นแบบสอบถามที่ผู้จัดทำสร้างขึ้น เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีต่อโครงงาน “Inequality” : การสร้างสรรค์ภาพถ่าย เพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ซึ่งแบ่งออกเป�น 3 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามเป�นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ซึ่งลักษณะของคำถามจะเป�นแบบหลายคำตอบ ให้เลือก ประกอบด้วย เพศ อายุ และ สถานภาพ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิต สื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ประกอบด้วย 6 ข้อ คือ 1.ภาพสื่อความหมายได้ชัดเจน 2. สามารถเข้าใจความหมายในภาพได้ 3. ภาพมีความน่าสนใจ 4. เทคนิคการตัดต่อและตัดแต่งภาพ 5. องค์ประกอบมีการจัดวางภาพได้เหมาะสม 6. สีสันและความสวยงาม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามแบบ (Close – Ended Questionneires) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่3 แสดงจำนวนและร้อยละ สถานะของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศของผู้ตอบ แบบสอบถาม ดังนี้ เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย หญิง 19 11 63.33 36.67 รวม 30 100


41 จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้เป�นเพศชาย จำนวน 19 คน คิดเป�นร้อยละ 63.33 และเป�นเพศหญิงจำนวน 11 คน คิดเป�นร้อยละ 36.67 ตารางที่4 แสดงจำนวนและร้อยละ สถานะของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามอายุของผู้ตอบ แบบสอบถาม ดังนี้ ช่วงอายุ จำนวน ร้อยละ 15-18 ป� 19-24 ป� 25 ป�ขึ้น 17 10 3 56.67 33.33 10 รวม 30 100 จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้อยู่ในช่วงอายุ 15- 18 ป�จำนวน 17 คน คิดเป�นร้อยละ 56.67 อยู่ในช่วงอายุ 19-24 ป�จำนวน 10 คน คิดเป�นร้อยละ 33.33 และอยู่ในช่วงอายุ 25 ป�ขึ้นไปจำนวน 3 คน คิดเป�นร้อยละ 10 ตารางที่5 แสดงจำนวนและร้อยละ สถานะของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบ แบบสอบถาม ดังนี้ สถานภาพ จำนวน ร้อยละ นักเรียน/นักศึกษา อาจารย์/บุคลากร 27 3 90 10 รวม 50 100 จากตารางที่ 5 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามในครั้งนี้เป�นนักเรียน/ นักศึกษาจำนวน 27 คน คิดเป�นร้อยละ 90 และเป�นอาจารย์/บุคลากรจำนวน 3 คน คิดเป�นร้อยละ 10


42 ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการ ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจต่อผลงานการ สร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop รายการความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ระดับ ความพึงพอใจ 1. ภาพสื่อความหมายได้ชัดเจน 2. สามารถเข้าใจความหมายในภาพได้ 3. ภาพมีความน่าสนใจ 4. เทคนิคการตัดต่อและตัดแต่งภาพ 5. องค์ประกอบมีการจัดวางภาพได้เหมาะสม 6. สีสันและความสวยงาม 4.70 4.67 4.57 4.57 4.67 4.70 .47 .48 .50 .50 .48 .47 มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด รวม 4.64 .48 มากที่สุด จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่าง มีระดับความพึงพอใจในแต่ละรายการ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามแบบ (Close – Ended Questionneires) ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ สรุปได้ออกมาเป�น 3 ด้าน ได้ดังนี้ 1. ด้านการนำเสนอ และการสื่อความหมายของภาพ 1.1 ไม่ค่อยเข้าใจความหมายที่จะสื่อในบางภาพ 1.2 อยากให้นำเสนอให้ดูเข้าใจได้ง่ายกว่านี้ 2. ด้านการจัดองค์ประกอบของภาพ 2.1 บางภาพการจัดวางแน่นเกินไป ดูแล้วอึดอัด 3. ด้านเทคนิคการตัดต่อและตัดแต่งภาพ 3.1 อยากให้ปรับแสงในภาพให้สว่างขึ้


43 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจัดทำโครงงานเรื่อง “Inequality” การสร้างสรรค์ภาพถ่าย เพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรมAdobePhotoshop มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ภาพถ่ายให้ออกมาเป�นเรื่องราว ซึ่ง สะท้อนความหมายแฝงผ่านรูปภาพและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทตัดต่อและตัดแต่งในรูปเล่มหนังสือ ภาพถ่าย สามารถสรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะมีรายละเอียดดังนี้ 1. สรุปผล 2. อภิปรายผล 3. ข้อเสนอแนะ 1. สรุปผล 1.1 ผลการสร้างสรรค์ภาพถ่ายด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop ได้สร้างสรรค์ออกมา 4 ภาพ โดยความหมายในแต่ละภาพ สรุปได้ดังนี้ ภาพ Inequality (1) ภาพเปรียบเทียบการรับประทานอาหาร เด็กคนหนึ่งได้ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ได้รับสารอาหารครบถ้วนกว่าเด็กอีกคนที่รับประทานแค่พออิ่มท้อง เท่านั้น อีกทั้งสารอาหารที่ได้รับยังไม่มีประโยชน์อีกด้วย ภาพ Inequality (2) ภาพเปรียบเทียบการศึกษา เด็กอีกคนการมีโอกาสได้เข้าถึง เทคโนโลยีเพื่อการศึกษามากกว่าเด็กอีกคนที่ไม่ได้รับโอกาสนั้น เพราะสถานะความเป�นอยู่ที่ยากจน ภาพ Inequality (3) ภาพเปรียบเทียบชุดนักเรียน อีกคนมีชุดนักเรียนหลายชุด เพียงพอสำหรับการใส่ แต่อีกคนต้องซักทุกวัน เพราะมีเพียงแค่ชุดเดียว 1.2 ผลการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ได้รูปเล่มหนังสือภาพถ่ายขนาด A5 1.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินความพึงพอใจผลงานที่สร้างสรรค์ ด้านที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง เพศ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป�นเพศชายมากกว่าเพศหญิง กล่าวคือ เป�นเพศ ชาย ร้อยละ 63.33 และเพศหญิงร้อยละ 36.67


44 อายุกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 15-18 ป� คิดเป�น ร้อยละ 56.67 รองลงมาคือช่วงอายุระหว่าง 19-24 ป� คิดเป�นร้อยละ 33.33 และอายุ 25 ป�ขึ้นไป ร้อยละ 10 ตามลำดับ สถานภาพ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป�นนักเรียน/นักศึกษามากกว่าอาจารย์/ บุคลากร กล่าวคือ เป�นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 90 และเป�นอาจารย์/บุคลากร ร้อยละ 10 ตอนที่2 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นต่อผลงานการ สร้างสรรค์ภาพถ่ายเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop โดยการหา ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจ เพื่อแปรความหมายระดับความพึงพอใจ ซึ่งใน ภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.64 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 เมื่อ พิจารณา เป�นรายข้อพบว่า แต่ละข้อมีระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้ดังนี้ 1. ภาพสื่อความหมายได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.70 และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.47 2. สามารถเข้าใจความหมายในภาพได้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.67 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 3. ภาพมีความน่าสนใจ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.57 และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 4. เทคนิคการตัดต่อและตัดแต่งภาพ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.57 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 5. องค์ประกอบมีการจัดวางภาพได้เหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.67และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 6. สีสันและความสวยงาม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.70 และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.47


45 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้แบบสอบถามแบบ (Close – Ended Questionneires) สรุปได้ดังนี้ ด้านการนำเสนอ และการสื่อความหมายของภาพ 1. ไม่ค่อยเข้าใจความหมายที่จะสื่อในบางภาพ 2. อยากให้นำเสนอให้ดูเข้าใจได้ง่ายกว่านี้ ด้านการจัดองค์ประกอบของภาพ 1. บางภาพการจัดวางแน่นเกินไป ดูแล้วอึดอัด ด้านเทคนิคการตัดต่อและตัดแต่งภาพ 1. อยากให้ปรับแสงในภาพให้สว่างขึ้น 2. อภิปรายผล จากการจัดทำโครงงาน เรื่อง “Inequality” การสร้างสรรค์ภาพถ่าย เพื่อการผลิตสื่อ สิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เกี่ยวกับความเลื่อมล้ำและความไม่เท่าเทียม โดยการดำเนินงานโครงงานในครั้งนี้ได้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามที่ได้กำหนดไว้ คือ เพื่อเป�นนำเสนอผลงานการสร้างสรรค์ภาพถ่าย เกี่ยวกับ Inequality ให้แก่ผู้ที่ สนใจ โดยนำเสนอผ่านเรื่องราวในหนังสือภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำ โดยใช้บุคคล 2 บุคคลมาเปรียบเทียบสภาพความเป�นอยู่ เพื่อสร้างความเข้าใจ ตะหนักถึงป�ญหา และเห็นความสำคัญ ของความเลื่อมล้ำและความไม่เท่าเทียม จากวัตถุประสงค์ของโครงงาน ความเหลื่อมล้ำเป�นป�ญหาเชิงโครงสร้างของสังคมไทยมาช้า นาน ซึ่งการใช้ภาพถ่ายเพื่อมาสร้างสรรค์และนำเสนอป�ญหาดังกล่าวจะสามารถสะท้อนให้เห็นถึง ป�ญหาได้ง่ายขึ้น กว่าการศึกษาป�ญหาในเชิงวิชาการ การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการนำเสนอป�ญหา ดังกล่าวจึงเป�นทางเลือกที่คณะผู้จัดทำเลือกใช้นำเสนอ เพราะมีข้อดีกว่าการนำเสนอโดยไม่ใช้หลัก วิชาการจนมากเกินไป ซึ่งง่ายต่อการเข้าใจ ดังนั้น คณะผู้จัดทำจึงเล็งเห็นว่า Inequality เป�นสื่อที่มี ประโยชน์ ผู้ที่สนใจสามารถเข้าใจความเลื่อมล้ำได้เพียงดูจากภาพ ซึ่งเป�นจุดเด่นของการจัดทำ โครงงานในครั้งนี้


46 3. ข้อเสนอแนะ จากการทำโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทำมีข้อเสนอแนะในการใช้โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อการตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย ซึ่งอาจเป�นประโยชน์ต่อการนำไปปรับปรุง และ พัฒนาหรือการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ในครั้งต่อไปได้ ดังนี้ 3.1 สามารถนำตัวอย่างผลงานไปใช้เป�นแนวทางในการพัฒนาและต่อยอดสื่อสิ่งพิมพ์ประเภท การตัดต่อและตัดแต่งภาพถ่าย 3.2 สามารถนำไปผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทการตัดต่อและตัดแต่งไว้ให้รุ่นน้องในแผนก หรือผู้ที่ สนใจศึกษา


47 บรรณานุกรม Bell, P. “Thailand’s Northeast: Regional Underdevelopment, ‘Insurgency’, and Official Response”, Pacific Affairs 42, no. 1 (1969): 47-54. Caves, R. W. (2004). Encyclopedia of the City. Routledge. Economy: A Case of Thailand”. Paper presented to the 15th Conference of the ASEAN Economic Associations, Singapore, November 15-17, 1991. Sony Corporation. (2560). การสรางสรรคภาพถาย. สืบคน 10 มกราคม 2564, จาก https://support.dimaging.sony.co.jp/support/ilc/learn/th/knowledge/ 07.html Teerana Bhongmakapat. “Income Distribution in a Rapidly Growing Rugaber, Christopher S.; Boak, Josh (2014). Wealth gap: A guide to what it is, why it matters. AP News. Retrieved from https://www.excite.com/article/20140127/ DABJ40P00.html Wade, Robert H. (2014). The Piketty phenomenon and the future of inequality. Real World Economics Review (69–7): 2–17. Retrieved from http://www.paecon.net/PAEReview/issue69/Wade69.pdf จรรยา พุคยาภรณ, สรพล บูรณกูล, สุพัฒนกุล ภัคโชค. (2014). การพัฒนาและแกไขความเหลื่อมล้ำ ทางสังคมในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาชุมชนโรงชอน 45 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ. วารสารสมาคมนักวิจัย, 19(1), 138. จักรพงศ คงกล่ำ. (2020). ยิ่งพัฒนายิ่งเหลื่อมล้ำ การพัฒนาที่นำไปสูความเหลื่อมล้ำจากผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอม. สืบคน 10 มกราคม 2564, จาก http://www.salforest.com/blog /inequality-of-environment-impact ชาญวิทย หาญรินทร. (2547). การผลิตสื่อสิ่งพิมพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล. (2556). การใชโปรแกรม Adobe Photoshop CS6. กรุงเทพฯ: มีเดีย นนทบุรี: ไอซีดีฯ


48 เนรมิตร แผนทอง. (2556). คูมือใชงาน & แตงภาพใหสวย PHOTOSHOP CS6. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชั่น. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมไทย. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่น. วโรดม วณิชศิลป. (2556). Photoshop Retouch ฉบับวัยโจหัดรีทัช. กรุงเทพฯ: เอส.พี.ซี.บุคส. ศิวัช กาญจนชุม. (2557). องคประกอบศิลปสำหรับงานคอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ: ศูนยสงเสริม วิชาการ. ศุภรัตน มงคลแกว, เสาวลักษณ มงคลแกว, ธนพรรณ แกวคง. (2555). การผลิตสื่อสิ่งพิมพ. สืบคน 10 มกราคม 2564, จาก https://sites.google.com/site/karphlitsuxsingphi/ khwam-hmay- kar-phlit-sux-sing. สมมิตร โตรักตระกูล. (ม.ป.ป.). ปญหาความเหลื่อมล้ำและความไมเปนธรรมดานสิทธิและโอกาสใน สังคมไทย. สำนักงบประมาณ. สิทธิชัย ประสานวงศ. (2556). โปรแกรมกราฟก Adobe Photoshop CS6. กรุงเทพฯ: ซอฟท เพรส. สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. (2542). การผลิตสื่อสิ่งพิมพ. กรุงเทพฯ: โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร คณะ วิทยาการจัดการสถาบันราชภัฎสวนสุนันทา. สุรัตน นุมนนท. (2539). ความหมายและความสำคัญของสิ่งพิมพ (พิมพครั้งที่ 5). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อนัน วาโซะ. (2559). Photoshop CC basic Retouch ฉบับมือใหมหัดแตงภาพ (พิมพครั้งที่ 1). อรวินท เมฆพิรุณ. (2551). กลองดิจิตอลและการแตงภาพ (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น. อินเทลลิเจนซ เทคโนโลยี อิศเรศ ภาชนะกาญจน. (2556). PHOTOSHOP CS6 ESSENTIAL (พิมพครั้งที่ 1). นนทบุรี: ไอดีซีฯ.


49 ภาคผนวก ก. ประชุมปรึกษาหารือ


50 ภาพที่ 48 ประชุมปรึกษาหารือระหว่างคณะผู้จัดทำโครงงาน ที่มาของภาพ: วราวุฒิ ศรีจันทร์, 2564: ผู้ถ่ายภาพ ภาพที่ 49 ประชุมปรึกษาหารือระหว่างคณะผู้จัดทำโครงงานและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ที่มาของภาพ: ภัทรียา พิมพา, 2564: ผู้ถ่ายภาพ


Click to View FlipBook Version