The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thippawan_kai, 2021-06-18 03:38:01

คู่มือการดำเนินงานการจัดการความรู้ ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการวิจัย ประจำปีการศึกษา 2563

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Keywords: km2563,คณะวิทยาการจัดการ

2

คมู่ อื การดาเนินงานการจัดการความรู้
ดา้ นการผลติ บณั ฑติ และด้านการวจิ ัย

ประจาปกี ารศึกษา 2563

กระบวนการนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

องคค์ วามรูท้ ่ีไดม้ า คณะเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ คณาจารยน์ าแนวทาง คณาจารยส์ รุปผลการใช้ ใหข้ อ้ มลู
องคค์ วามรู้ ไปใช้ ประโยชน์ ผลลพั ธท์ ่ี ยอ้ นกลบั มายงั
ประโยชน์ เกิดขนึ้
คณะ

ด้านการผลติ บณั ฑิต : เทคนคิ การเรียนการสอนสาหรับนกั ศึกษา Generation Z
ความเป็นมาของกลมุ่ ความรู้

การเปล่ียนแปลงของโลกยุคปัจจุบันและโลกของการทางาน รวมทั้งปัญหาในการทางานในปัจจุบัน
ผลักดันให้องค์กรต้องมีการค้นหา สร้าง รวบรวม กลั่นกรอง จัดเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพ่ือให้บุคลากรที่
ตอ้ งการใชเ้ ข้าถึงความรนู้ ้ันไดต้ ลอดเวลา บุคลากรทัง้ ผู้ปฏบิ ตั งิ านและผบู้ รหิ ารกจ็ ะต้องมีการเรียนรู้ มกี ารสร้าง
และใช้ความรู้ในการทางานอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง ซ่ึงไม่เพียงจะช่วยให้องค์กรอยู่รอดปลอดภัยในโลกที่
เปล่ยี นแปลงเรว็ และมกี ารแขง่ ขันสูง ยังมคี วามเติบโตกา้ วหนา้ อยา่ งย่งั ยืนอกี ด้วย

ซึ่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้เห็นถึงความสาคัญของการจัด
กจิ กรรมการจดั การความรู้ (Knowledge Management) หรือที่เรียกยอ่ ๆ ว่า KM คือ เคร่อื งมือเพอ่ื ใช้ในการ
บรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการ
พัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยการจัดการให้มีการ
ค้นหา สร้าง รวบรวม กล่ันกรอง จัดเก็บความรู้ต่างๆ ให้เป็นระบบ โดยในปีการศึกษา 2563 (ปีงบประมาณ
พ.ศ.2564) คณะวิทยาการจัดการได้แตง่ ต้ังคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านการผลิตบัณฑิต มหี นา้ ที่จดั ทา
แผนการจัดการความรู้ระดับคณะ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ ซง่ึ ประกอบดว้ ยตัวแทนคณาจารย์
จากหลายๆ สาขาวิชาในคณะวิทยาการจัดการ จานวน 11 ท่าน และบุคลากรสายสนับสนุนในคณะวิทยา
การจัดการ เป็นคณะกรรมการในตาแหน่งผู้ช่วยเลขานุการอีก 4 ท่าน ได้ประชุมร่วมกันเพื่อร่วมแลกเปล่ียน
เรยี นรตู้ ามประเด็น และปฏทิ ินทไ่ี ดก้ าหนดรว่ มกนั

และในปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการการจัดการความรู้ ได้มีมติร่วมกันในการเลือกประเด็น
การจัดการความรู้ด้านการผลิตบัณฑิต คือ “เทคนิคการเรียนการสอนสาหรับนักศึกษา Generation Z”

คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา

3

โดยมีประเด็นย่อย คือ 1) เทคนิคการสอนให้ประสบความสาเร็จ 2) กลยุทธ์การถ่ายทอดความรู้ให้
นกั ศกึ ษาคดิ เป็น ทาเปน็ และ 3) เทคนิคการประเมินผลการศึกษา เพ่อื นาองค์ความรู้ท่ีได้มาพัฒนาคุณภาพ
การจัดการเรียนการสอนในคณะวิทยาการจัดการ โดยมีเป้าหมายในการจัดการความรู้ คือ คณาจารย์
คณะวิทยาการจัดการ และบุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ ซ่ึงสาเหตุที่ทางคณะกรรมการฯ ได้กาหนดประเด็นน้ี
เน่ืองมาจากนักศึกษา Generation Z คือ เด็กท่ีเกิดหลังปี 2000 ซ่ึงเป็นยุคแห่งเทคโนโลยี เกิดมาท่ามกลาง
ความสะดวกสบาย เด็ก Gen Z จึงติดสบาย รอคอยไม่ค่อยเป็น เพราะทุกอย่างรอบตัวรวดเร็วไปหมด อยากรู้
หรืออยากได้อะไร ก็ได้ทันใจ เด็กยุคน้ีจะกล้าแสดงออก ชอบต้ังคาถาม และเป็นตัวของตัวเองมาก ลักษณะที่
โดดเด่นเกิดมาพร้อมกับสังคม internet โดยแท้จริง ความต้องการของคนยุคใหม่โดยทั่วไป Gen Z ยุคนี้เป็น
โลกแห่งเทคโนโลยี ข้อมูลหาได้ไม่ยาก และเด็กจะเคยชินกับการหาคาตอบของทุกอย่างได้ เด็กโตมาพร้อมกับ
การอ่านคอมเม้นท์มากมายในเฟสบุ๊ค เขาจะยอมรับได้กับความเห็นจากคนอื่น และก็ต้องการให้คนอ่ืนเข้ามา
สนใจและให้ความเหน็ เกย่ี วกับเขาดว้ ย

ในยุคศตวรรษท่ี 21 อาจารย์ผู้สอนอาจมีบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป คือ ต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบ
การเรียนรู้ และอานวยความสะดวก (facilitate) การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการเรียนแบบลงมือทา
หรือปฏิบัติแล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรแู้ บบนเี้ รยี กว่า PBL (Project-
Based Learning) และต้องพัฒนาตัวเองมีแนวคิดและทักษะท่ีจาเป็นในการสอนเด็กในยุคใหม่หรือ
เด็ก Gen Z ซง่ึ เดก็ Gen Z มีทกั ษะท่ีได้เรียนรู้ตง้ั แต่ชน้ั อนบุ าลไปจนถงึ มหาวิทยาลยั และตลอดชวี ติ ทักษะ
ท่ีสาคัญท่ีผู้สอนควรเข้าใจอย่างลึกซ้ึง คือ 3R7C 3R ได้แก่ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้)
และ(A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical thinking & problem solving (ทักษะด้านการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity & innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์
และนวัตกรรม) Cross-cultural understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวน
ทัศน์) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะด้านความร่วมมือการทางานเป็นทีม และภาวะ
ผู้นา) รวมท้ังการเลือกส่ือการสอนหรือสื่อออนไลน์สนับสนุนการมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน การสร้างและ
ออกแบบบทเรียน โดยความคิดและความต้องการของเด็ก Gen Z เพ่ือปรับการใช้งานให้เข้ากับชั้นเรียน
และผู้เรียน

คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา

4

ผลการดาเนนิ การถอดบทเรยี น

ผลการดาเนินงานถอดบทเรยี น ผดู้ าเนินการสามารถสรปุ องคค์ วามร้ไู ด้ ดงั น้ี

“เทคนคิ การเรียนการสอนสาหรับนกั ศึกษา Generation Z”

เทคนิคการสอนให้ กลยทุ ธก์ ารถ่ายทอดความรู้ เทคนิคการประเมินผล

ประสบความสาเร็จ ใหน้ ักศึกษาคดิ เป็น ทาเปน็ การศึกษา

1. ผู้สอนจะต้องเรียนรู้ธรรมชาติของ 1. การพูดคุยให้นักศึกษารู้สึกผ่อน 1. ใช้การซักถามเพ่ือประเมิน

นักศึกษา สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ คลายก่อนนาเข้าสู่บทเรียน ชักชวน ความเข้าใจและการรับรู้โดย

นักศึกษา เพราะนักศึกษาจะมีเหตุผล นักศึกษาพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นใน การฟัง การสังเกตพฤติกรรมก่อน

ของตนเอง ไม่เชื่ออะไรง่าย เข้าใจ สังคมหรือประสบการณ์ เรื่องราวท่ี เรียน ระหว่างเรียน และภายหลัง
เทคโนโลยีมากกว่ารุ่นก่อน ๆ (ชีวิตติด ทุกคนสนใจก่อนเร่ิมเรียนในบทเรียน จากเรียน การเข้าร่วมกิจกรรม
ห ล า ย ห น้ า จ อ ) แ ล้ ว น า ม า ป รั บ นน้ั ๆ การตอบคาถาม

รายละเอียดเนื้อหาการสอน 2. ผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นโค้ท มีการจัด 2. ประเมินตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
2. ช้ีแจงรายละเอียดเกี่ยวกับการเรยี น ห้องเรียนในรูปแบบให้ทุกคนมีส่วน เป็นกิจกรรมกลุ่ม การมีส่วนร่วม
ร่วม เช่น นั่งเป็นกลุ่ม หรือเป็นแบบ ใ ช้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล จ า ก ก า ร
การสอนในรายวิชา ผู้สอนต้องมีความ โต๊ะเสวนา การแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อให้ อ ภิ ป ร า ย ก ลุ่ ม ก า ร แ ก้ ไ ข
ชัดเจนในกระบวนการเรียนการสอน ทกุ คนได้มีสว่ นร่วมในการแสดงความ สถานการณ์
ก่อนเร่ิมเรียนจะต้องมีการตกลงแนว คิดเห็น รวมถึงการแบ่งหน้าท่ีงานกัน 3. ใช้เทคนิคการประเมินตาม

ทางการจัดการเรียนการสอนระหว่าง ทาอย่างชัดเจน และนาเสนอเป็น สภาพความเป็นจริง แบ่งการ

ผู้สอนกับนักศึกษาเพื่อเป็นแนวทาง รูปแบบการเล่าเรื่องสรปุ ความ ประเมินในส่วนของทฤษฎีและ

ปฏบิ ตั ใิ นการเรียน หาความเป็นกลาง 3. เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ไ ด้ ภาคปฏิบัติ มีการวัด 3 ระยะคือ

3. การสร้างบรรยากาศให้เหมาะสม แสดงออกอย่างเป็นอิสระ แต่ผู้สอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลัง

กับผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีความประทับใจ ต้องเป็นผู้คอยช่วยให้นักศึกษาได้ เรียน โดยดูจากพัฒนาการของ
ในตัวผู้สอน คานึงถึงความแตกต่าง แสดงออกอย่างถกู ตอ้ ง มีเหตุผล ผู้ เ รี ย น ด้ า น ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ
4. ผู้สอนนาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน กระบวนการ และคุณลักษณะท่ี
ของนักศึกษา
ปัจจุบันมาอธิบายเช่ือมโยงกับทฤษฎี พึงประสงค์ จากการเรียนรู้และ
4. ให้นักศึกษามีส่วนร่วมและแสดง และหลักการในเนื้อหาของรายวิชา การรว่ มกจิ กรรมของผเู้ รยี น
ความคิดเห็น ใช้เวลาในการบรรยายให้ เพ่ือที่จะให้นักศึกษาเห็นว่าส่ิงที่เรียน 4. ใช้การประเมินในส่วนของ
น้อยลง สอนแบบบูรณาการสอดแทรก ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ หลักการทฤษฎีและประเมินผล

กิจกรรมให้นักศึกษาปฏิบัติควบคู่ แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ โดยให้ ในภ าคปฏิบัติ โ ดยมีการน า
ทฤษฎี ใช้กิจกรรมท่ีได้ลงมือปฏิบัติ นักศึกษาได้ร่วมกันอภิปรายให้ทุกคน เทคโนโลยเี ข้ามามีสว่ นช่วยในการ
เนน้ วิธีการเรยี นรู้และทาความเขา้ ใจ ไดแ้ สดงความคิดเหน็
ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ บ บ ท ด ส อ บ ใ ห้

คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา

5

“เทคนคิ การเรยี นการสอนสาหรบั นักศกึ ษา Generation Z”

เทคนิคการสอนให้ กลยทุ ธ์การถา่ ยทอดความรู้ เทคนิคการประเมินผล

ประสบความสาเร็จ ใหน้ กั ศกึ ษาคิดเป็น ทาเปน็ การศึกษา

5. การนานวัตกรรมการสอนโดยใช้ 5. การมอบหมายงานให้นักศึกษา ทันสมัย สนุกสนาน เหมือนการ

เทคโนโลยีรูปแบบต่าง ๆ เช่น Web ค้นคว้าข้อมูล คิด วางแผน สรุปผล เล่นเกม และมีการแบ่งทดสอบ

Searches, Web Games, Web สุดท้ายนักศึกษาจะได้เรียนรู้วิธีการ ออกเปน็ ส่วนยอ่ ยๆ

Games KAHOOT ซ่ึ ง นั ก ศึ ก ษ า ทางานจรงิ 5. ควรมีการประเมินผลตลอด

สามารถตอบโต้กับผู้สอบผ่านสมาร์ท 6. ใช้เทคนคิ การต้ังคาถาม สอดแทรก เวลา เช่น การสังเกต การถาม
โฟนช่วยให้นักศึกษาไม่เบ่ือ ผ่อนคลาย ความรู้และให้นักศึกษาฝึกการต้ัง และการสอบ ทั้งนี้เพ่ือให้เกิด
ค า ถ า ม จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ความสนใจ ต้ังใจเรียน และเป็น
จากการเรียนทฤษฎี เกิดการอยาก เพื่อให้นักศึกษาได้คิดและให้ลงมือ ผ ล ก า ร วั ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง
เรียนรู้ ปฏบิ ัติ นักศกึ ษาด้วย

6. ใช้จิตวิทยาการสอน การจัดการ 7. ใช้การโน้มน้าวให้อยากเรียนรู้ โดย 6. ประมินผลโดยมีทั้งงานเด่ียว
เรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้กิจกรรมที่ได้ลงมือปฏิบัติเนื่องจาก และงานกลุ่ม ซ่ึงงานเด่ียวจะช่วย
มีความคิดอิสระที่เลือก จะเรียนเพ่ือ นักศึกษาจะมีความสนใจ ควรเน้น ประเมินผลด้านความรับผิดชอบ

รับความรู้ต่างๆ นาเร่ืองใกล้ตัวมา เฉพาะที่จาเป็นเพื่อให้นกั ศึกษาเขา้ ใจ ของตนเอง ส่วนงานกลุ่มจะช่วย

ประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียน สามารถจดจาและนาไปประยตุ ใ์ ช้ได้ ให้นักศึกษาพยายามเข้ากับเพื่อน

7. ผู้สอนให้นักศึกษาทางานร่วมกัน ในห้องและจะเป็นแนวทางการ
ระหว่างรุ่นพ่ีกับรุ่นน้อง เพราะใน เข้าสงั คมในอนาคต
ก า ร เ ป็ น บั ณ ฑิ ต ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก 7. การใช้แบบทดสอบ การสังเกต
ผูร้ ่วมงานได้ พฤติกรรม ทัศนคติ ก่อนเรียน
8. ใช้เทคนิคการเสริมกาลังใจเพื่อช่วย ระหว่างเรียน และหลงั เรียน

เพิ่มความม่ันใจและกล้าแสดงออก

ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม

โดยอาจให้เป็นรางวัลหรือคาชมเชย

หลังจากท่ีนักศึกษาแสดงพฤติกรรม

ใ น ทิ ศ ท า ง ที่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ต้ อ ง ก า ร

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความภาคภูมิใจ

และสนใจเรยี นมากข้ึน

คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

6

“เทคนิคการเรยี นการสอนสาหรบั นกั ศึกษา Generation Z”

เทคนิคการสอนให้ กลยุทธ์การถา่ ยทอดความรู้ เทคนิคการประเมินผล

ประสบความสาเร็จ ใหน้ ักศึกษาคิดเป็น ทาเป็น การศึกษา

9. อธิบายใหช้ า้ ลง และสงั เกตนักศกึ ษา

เป็นรายบุคคล พยายามป้อนคาถามที่

แฝงสิ่งที่ผู้สอนอยากทราบไวใ้ นคาถาม

ไม่เน้นว่านักศึกษาจะตอบผิดหรือถูก

แต่ในคาตอบน้ันๆ ต้องมีเหตุผลทุก

คาตอบ

10. ต้ อ ง มี ก า ร ส รุ ป บ ท เ รี ย น เ พื่ อ

เชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์เดิม

เพื่อให้นักศึกษามีความคิดรวบยอด

แ ล ะ ก า ร ใ ห้ แ บ บ ฝึ ก หั ด ไ ม่ ค ว ร

เหมือนกัน เพ่ือให้เห็นความคิดต่างซ่ึง

จะสามารถทราบระบบความคิดของ

นกั ศึกษาแต่ละคน

คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

7

ดา้ นการวจิ ัย : เทคนคิ การพฒั นาการเขียนงานวิจัยเพ่อื นาไปใช้ประโยชน์

ความเปน็ มาของกล่มุ ความรู้
การเปล่ียนแปลงของโลกยุคปัจจุบันและโลกของการทางาน รวมท้ังปัญหาในการทางานในปัจจุบัน

ผลักดันให้องค์กรต้องมีการค้นหา สร้าง รวบรวม กล่ันกรอง จัดเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อให้บุคลากรที่
ตอ้ งการใชเ้ ขา้ ถึงความรู้นั้นไดต้ ลอดเวลา บุคลากรท้ังผปู้ ฏบิ ตั งิ านและผู้บริหารก็จะต้องมีการเรยี นรู้ มกี ารสร้าง
และใช้ความรู้ในการทางานอย่างสม่าเสมอและต่อเน่ือง ซึ่งไม่เพียงจะช่วยให้องค์กรอยู่รอดปลอดภัยในโลกที่
เปลี่ยนแปลงเรว็ และมกี ารแขง่ ขันสูง ยังมคี วามเติบโตกา้ วหน้าอย่างยง่ั ยืนอีกด้วย

ซึ่งคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้เห็นถึงความสาคัญของการจัด
กิจกรรมการจัดการความรู้ (Knowledge Management) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า KM คือ เครื่องมือเพ่ือใช้ใน
การบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมาย
การพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยการจัดการให้มี
การค้นหา สร้าง รวบรวม กลัน่ กรอง จดั เกบ็ ความรตู้ ่างๆ ใหเ้ ป็นระบบ โดยในปกี ารศกึ ษา 2563 (ปงี บประมาณ
พ.ศ.2564) คณะวิทยาการจัดการได้แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านการวิจัย มีหน้าท่ีจัดทา
แผนการจัดการความรู้ระดับคณะ ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการจัดการความรู้ ซ่งึ ประกอบดว้ ยตัวแทนคณาจารย์
จากหลายๆ สาขาวิชาในคณะวิทยาการจัดการ จานวน 11 ท่าน และบุคลากรสายสนับสนุนในคณะวิทยา
การจัดการ เป็นคณะกรรมการในตาแหน่งผู้ช่วยเลขานุการอีก 4 ท่าน ได้ประชุมร่วมกันเพ่ือร่วมแลกเปล่ียน
เรียนรตู้ ามประเด็น และปฏิทนิ ท่ีไดก้ าหนดรว่ มกนั

และในปีการศึกษา 2563 คณะกรรมการการจัดการความรู้ ได้มีมติร่วมกันในการเลือกประเด็น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัย คือ “เทคนิคการพัฒนาการเขียนงานวิจัยเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์” โดยมี
ประเด็นย่อย คือ 1) การค้นหาหัวข้อวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เชิงบูรณาการเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์
2) เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารฐาน TCI และตีพิมพ์ในระดับชาติ/นานาชาติ
ปฏิบัติได้จริงและ 3) กลวิธีสู่ความสาเร็จเพื่อให้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกสาหรับ
อาจารย์นักวิจัยรุ่นใหม่ เพอื่ นาองค์ความรทู้ ี่ได้มาถา่ ยทอดให้คณาจารย์คณะวทิ ยาการจดั การ และบุคคลทั่วไป
ที่สนใจ

คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

8

ผลการดาเนินการถอดบทเรียน

ผลการดาเนนิ งานถอดบทเรยี น ผดู้ าเนินการสามารถสรุปองคค์ วามรู้ได้ ดังน้ี

“เทคนิคการพฒั นาการเขยี นงานวจิ ยั เพื่อนาไปใช้ประโยชน์”

การค้นหาหัวข้อวิจัยหรืองาน เทคนิคการเขียนบทความวิจัย กลวิธีสู่ความสาเร็จเพื่อให้ได้รับทุน

สร้างสรรค์เชิงบูรณาการ เพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร สนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุน

เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์ ฐาน TCI และตีพิมพ์ ภายนอกสาหรับอาจารย์นักวิจัย

ในระดับชาต/ิ นานาชาติ รุ่นใหม่

ปฏิบัติได้จริง

1. การค้นหาหัวข้อวิจัยเพื่อนาไปใช้ 1. ศึกษาวารสารฐานที่ต้องการ 1. ศึกษานโยบายของแหล่งทุน

ประโยชน์ได้จริงควรต้องพิจารณาถึง ตีพิมพ์ว่าสอดคล้องกับผลงานการ และนโยบายระดับประเทศท่ีกาลัง

ปัญหาของสังคมท่ีกาลังเป็นประเด็น วิจัย ทบทวนวรรณกรรมจาก เป็นประเด็นสาคัญ ศึกษาแผน

สาคัญ เป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงและ วารสารท่ีสนใจจะตีพิมพ์เพ่ือศึกษา ยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อให้ตรงประเด็น

สามารถนางานวิจัยไปใช้ในการ รูปแบบการอา้ งอิง ของแหล่งทุนนั้น ๆ

แก้ปัญหาในสังคมและประเทศ 2. ศกึ ษาเทคนคิ การเขียนบทความ 2 . เ ลื อ ก หั ว ข้ อ วิ จั ย ใ ห้ ต ร ง กั บ

ชาติได้ซึ่งอยู่ภายในกรอบแผน ที่มีความจาเพาะของแต่ละวารสาร ยุทธศาสตร์ชาติ ตรงตามความ

ยทุ ธศาสตร์ ทาความเข้าใจในหลักการเขียน ต้องการของผู้ให้ทุน ตอบโจทย์ของ

2. การค้นหาประเด็นใหม่ๆ ที่ช่วย แ ล ะ เ ขี ย น ง า น ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม การนาไปพฒั นาประเทศได้

แก้ปัญหาทางสังคม การลงพ้ืนที่ คุณภาพของวารสาร 3. การเขียนโครงร่างการวิจัยให้

สารวจปัญหาพื้นที่จริง จัดเวที 3. ทบทวนงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องใน ความสาคัญกับกรอบแนวคิดการวิจยั

ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อระดมความ วารสารที่น่าเช่ือถือทั้งในและ เ พ ร า ะ เ ป็ น หั ว ใ จ ข อ ง ง า น วิ จั ย

คิดเห็นในการสะท้อนปัญหาเพ่ือ ต่างประเทศเพ่ือดาเนินงานวิจัย การเขียนท่ีมาและความสาคัญของ

คน้ หาหวั ขอ้ วิจัย และเพ่ิมโ อกาสในการตีพิมพ์ ปัญหาควรเขียนจากปัญหาที่เกิดขึ้น

3. ค้นหาหัวข้อวิจัยจากการเข้าร่วม งานวจิ ยั ในระดบั สงู จริงแล้วจึงเกิดงานวิจัยข้ึนมาเพ่ือ

สัมมนา อบรมในโครงการของ 4. ศึกษารายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกบั แกป้ ญั หานน้ั

ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ จั ย การรับรองคุณภาพของบทความ 4. การเขียนขอทุนวิจัยจากภายนอก

แห่งชาติ หรือหน่วยงานภายนอก วิจัยก่อนเผยแพร่ เพ่ือให้เกิด ควรทาเป็นทีม โดยเลือกทีมงานท่ี

เพอื่ สรา้ งการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ประโยชน์กว้างขวาง ตามเป้าหมาย สามารถรับผิดชอบงานได้

4. การค้นหางา นวิจั ยหรื อ ง า น ของการเขียนบทความวิจัยเพ่ือ 5. นักวิจัยรุ่นใหม่ควรจะเร่ิมทาวิจัย

สร้างสรรค์ควรค้นหางานวิจัยท่ีมี เผยแพร่ผลงาน เพื่อจะได้รับการ กับนักวิจัยรุ่นเก่าท่ีมีความเชี่ยวชาญ

ความเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กับ ตีพิมพ์ในการเขียน วิธีการดาเนิน โดยอาจทาวิจัยท่ีเป็นชุดโครงการ

ศาสตร์หรือสาขา เพ่ือจะได้ทาการ การวจิ ยั ตอ้ งถูกต้องและชัดเจน ย่อยจากโครงการวิจัยใหญ่เพ่ือให้

คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา

9

“เทคนคิ การพัฒนาการเขียนงานวิจัยเพือ่ นาไปใช้ประโยชน์”

การคน้ หาหัวข้อวิจัยหรืองาน เทคนิคการเขียนบทความวิจัย กลวิธีสู่ความสาเร็จเพ่ือให้ได้รับทุน

สร้างสรรคเ์ ชิงบูรณาการ เพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร สนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุน

เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์ ฐาน TCI และตีพิมพ์ ภายนอกสาหรับอาจารย์นักวิจัย

ในระดับชาต/ิ นานาชาติ รุ่นใหม่

ปฏิบัติได้จริง

วิจัยและนาผลการวิจัยที่ได้ใช้ 5. ศึกษาการเขียนตามรูปแบบท่ี นักวิจัยรุ่นพี่แนะนาหลักการในการ

ประโยชนต์ ่อยอดในอนาคตได้ วารสารนั้นๆ กาหนด เขียนให้เห็น ทาวจิ ยั ซึง่ มีโอกาสไดท้ นุ วิจัยมากขึ้น

5. การศึกษาในมิติท่ียังไม่มีใครทามา กระบวน การวิจัยและผลกระทบที่ 6. เชิญผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบ

ก่อนหรือมีบ้างแต่ยังมีน้อยหรือเป็น เกดิ ขน้ึ และนาไปใช้ไดจ้ ริง การณ์จากการทาวิจัย ผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อใหม่ๆ และทาการบูรณณการ 6. การอบรมเทคนิคการเขียน ให้คาปรึกษาและมีการนาเทคนิค

ศาสตร์องค์ความรู้ที่เก่ียวกับความ บทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ เ ข้ า ม า ป รั บ ใ ช้ใ น ก าร เขี ย นเค้า

ชานาญที่ประยุกต์ใช้เทรนด์ความ เพื่อนาความรู้เหล่านั้นมาปรับปรุง โครงการวจิ ยั ให้กับนักวิจัยรุ่นใหม่

เปล่ียนแปลงเข้ามาเพื่อตอบโจทย์ ในการเขยี นบทความวิจัย

งานวิจัยเชิงสรา้ งสรรค์ 7. การเขียนบทความต้องกระชับ

6. หัวข้อวิจัยมักเกิดจากการค้นคว้า รดั กุม ตรงประเดน็ อ่านง่ายและทา

ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ให้ผู้อ่านเข้าใจภาพรวมในการอ่าน

เชิงทฤษฎีและเชิงยุทธศาสตร์ ซ่ึง คานึงถึงการอ้างอิงที่ถูกต้องตาม

สามารถนาไปสแู่ หล่งทุนวิจัย แบบฟอรม์ มกี าร citation งานวิจัย

7. การติดตามความต้องการและ ในวารสารที่ต้องการตีพิมพ์ 2-3

แ น ว ท า ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง เรื่อง เพื่อให้แน่ใจว่างานวิจัยนั้น

หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตรงกับธีมของวารสารน้ัน ๆ

เพ่ือนามาเป็นแนวทางในการคิด 8. การเขียนบทนาได้ชัดเจนมี

หัวข้อการวิจัยให้สอดคล้องกับ ความสาคัญอย่างย่ิง ผลงานวิจัยท่ี

ผ้นู าไปใชป้ ระโยชน์มากทสี่ ุด ได้สามารถนาไปเสนอนโยบายและ

8. ศึกษาหาแนวทางจากกิจกรรม แนวทางในการแก้ไขปัญหา ซึ่งจะ

การออกบริการวิชาการเพื่อแสวงหา ส่งผลกระทบในวงกว้าง และเป็น

ปัญหาท่ีเกิดขึ้นแล้วนามาเป็นหัวข้อ ประโยชน์กับประชาชนในวงกว้าง

ในการดาเนนิ งานวจิ ยั ร ว ม ถึ ง ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ เ ส น อ

9. การอาศัยกระบวนการต่อยอด นโยบายต่อหน่วยงาน องค์กร

งานวิจัยท่ีประสบความสาเร็จ และ

คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา

10

“เทคนิคการพัฒนาการเขียนงานวิจยั เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์”

การคน้ หาหัวข้อวิจัยหรืองาน เทคนิคการเขียนบทความวิจัย กลวิธีสู่ความสาเร็จเพ่ือให้ได้รับทุน

สร้างสรรคเ์ ชิงบูรณาการ เพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร สนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุน

เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์ ฐาน TCI และตีพิมพ์ ภายนอกสาหรับอาจารย์นักวิจัย

ในระดับชาติ/นานาชาติ รุ่นใหม่

ปฏิบัติได้จริง

สืบค้นแนวทางเพื่อหาความต้องการ ภาครัฐ ภาคเอกชน จะมีโอกาส

เชิงใช้ประโยชน์เพ่ือนาไปสู่หัวข้อ ได้รบั การตพี ิมพ์สูง

งานวิจัย รวมท้ังเชื่อมโยงความ

ต้องการจากกลุ่มเป้าหมายเชิงพ้ืนที่

เพอื่ สร้างหวั ขอ้ วิจยั

10. การติดตามความก้าวหน้าใน

ศาสตร์วิชาการเพื่อเป็นแนวทางใน

การพัฒนางานวิจัยท่ีทันสมัยและ

สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้

คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา

11
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

12
คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา


Click to View FlipBook Version