ก
รายงาน
การเพ่ิมประสิทธภิ าพการบำรุงรักษาเครอื่ งจักรในอตุ สาหกรรม
กรณศี ึกษา ณ บริษทั คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอร์เชยี ล วีฮิเคลิ ซิสเตม็ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด
เสนอ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กุณฑล ทองศรี
จัดทำโดย
นายวรนิ ทร แก้วศิลธรรม รหัสนักศึกษา 640407302895
นายบรรดิษฐ์ สมทอ้ งท่ี รหัสนักศกึ ษา 640407302902
นายชนายุทธ สมัญญา รหัสนักศึกษา 640407302920
นายอธพิ ชั ร์ บุษบงค์ รหัสนักศึกษา 640407302938
นายธนาณตั ิ สังโสมา รหสั นกั ศึกษา 640407302946
นายเกียรตพิ งษ์ รณยุทธางกูร รหสั นกั ศกึ ษา 640407302947
นายอิทธพิ ล เจรญิ ลา รหัสนกั ศกึ ษา 640407303003
นายพทิ ักษ์พงษ์ อนิ สอน รหัสนักศกึ ษา 640407303096
นายสรุ วฒุ ิ แซ่แล๋ว รหสั นักศึกษา 640407303115
นางสาวภทั รา จนั ทรสมี าวรรณ รหสั นกั ศึกษา 640407303474
นายสรุ ชัย ปทมุ นนั ท์ รหสั นกั ศกึ ษา 640407303475
รายงานฉบบั น้เี ป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ า ทอ. 375 เทคโนโลยีวิศวกรรมการซ่อมบำรุง
โครงการภาคพิเศษ รุน่ ท่ี 20/1 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ก
ก
คำนำ
รายงานฉบบั นีจ้ ัดทำขึ้นเพ่ือเป็นสว่ นหน่งึ ของรายวชิ าเทคโนโลยกี ารบำรุงรักษา (02211418) เพื่อให้ได้
ศึกษาหาความรู้ในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่องจักรในอุตสาหกรรม กรณีศึกษา บริษัท
คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอร์เชียล วีฮิเคิล ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด และได้ศึกษาเกี่ยวกับเคร่ืองจักร CNC
รนุ่ Mycenter-HX500L อยา่ งเข้าใจเพอ่ื ประโยชนก์ ับการเรียน
คณะผู้จดั ทำหวังว่า รายงานฉบบั น้จี ะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนกั เรียน นักศึกษา ท่ีกำลังหาข้อมูล
เรื่อง น้อี ยู่ หากมีขอ้ แนะนำหรอื ข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีนดี้ ้วย
คณะผู้จดั ทำ
( นักศึกษา กล่มุ 1 IET 20/1 )
ข
สารบญั
เร่อื ง หน้า
บทท่ี 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็นมาของการบำรุงรักษา 3
1.2 ความหมายการบำรงุ รักษา 6
1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการบำรุงรกั ษา
7
บทท่ี 2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง 8
2.1 ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ 9
2.2 เครอ่ื งจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L 10
2.3 กลไกลการทำงานของ Mycenter-HX500i 10
2.4 ประโยชนน์ ้ำมันหลอ่ เยน็ 10
2.5 ประเภทน้ำมันหล่อเยน็ 11
2.6 องค์ประกอบท่ัวไปน้ำมันหลอ่ เย็น 17
2.7 วธิ กี ารบำรงุ รักษา
22
บทที่ 3 ข้อมลู สถานประกอบการ 22
บทท่ี 4 วิธีการดำเนนิ งานของโครงงานวจิ ัย 22
23
4.1 ศึกษาและเก็บข้อมูลท่วั ไปของกระบวนการผลิต 23
4.2 คำนวณและวิเคราะหค์ ่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรก่อนการปรบั ปรุง
4.3 กำหนดแนวทางแก้ไขและจัดทำระบบบำรงุ รักษาเครือ่ งจักร 28
4.4 ประเมนิ ผลการดำเนินงาน 28
4.5 สรุปผลการดำเนินงานและจดั ทำรูปเลม่ รายงานฉบับสมบูรณ์ 28
บทที่ 5 ผลการดำเนินงาน
5.1 ศกึ ษาและเกบ็ ข้อมูลทว่ั ไปของเครื่องจักรและกระบวนการผลิต 40
5.2 คำนวณคา่ ประสทิ ธิผลโดยรวมของเครอ่ื งจักรก่อนการดำเนนิ การปรับปรุง 41
5.3 ดัชนีชีว้ ัดประสิทธิภาพการบำรงรักษาประกอบด้วย
บทท่ี 6 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 42
6.1 สรุปผลการดำเนนิ งาน 43
6.2 ปญั หาที่พบจากการดำเนินงาน
6.3 ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ค
1
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเปน็ มาของการบำรงุ รักษา
มนุษย์เราเริ่มรู้จักการบำรุงรักษา เมื่อเจริญเติบโตขึ้น จนกระทั่งเริ่มช่วยเหลือ ตนเองได้ใช้อุปกรณ์
เครื่องมือ ทำความสะอาดร่างกายประจำวันเป็นเช่น แปรงสีฟัน หวี ขันน้ำ แก้วน้ำ กล่องสบู่ ฯลฯ ซึ่งอุปกรณ์
ต่าง ๆ เหล่านี้จำเป็นต้องใช้เป็นประจำทุกวันจึงต้องมีการจัดเก็บ ทำความสะอาด ให้มีความพร้อมใช้งานอยู่
เสมอไมเ่ ชน่ นน้ั ต้องค้นหาและจดั เตรียมกันใหม่อยู่เร่ือยหรือการท่เี ราไปหาหมอตรวจสุขภาพประจำปีก็เพ่ือให้รู้
ว่าสภาพร่างกายของเราปัจจุบันนี้ยังคงปกติอยู่หรือไม่ มีสมรรถนะความพร้อมของร่างกายดีอยู่ หรือเปล่าซึ่ง
เราเรียกกันว่า การตรวจเช็คเพอ่ื การรักษาสขุ ภาพทีด่ ีใหค้ งอยู่กับตวั เราไวน้ ่ันเอง การประกอบธุรกิจใด ๆ ล้วน
มีเป้าหมายเดียวกัน นั่นก็คือ “การสร้างผลกาไรสูงสุด” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการอุตสาหกรรม ซึ่งต่างฝ่าย
ต่างก็เพียรพยายามสรรหาวิธกี ารต่าง ๆ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มพูนผลกาไรกันอย่างเป็นล่าเป็นสนั ไม่ว่าจะเป็น
การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต, Just in Time หรือ Zero Defect, 5ส และอื่น ๆ อีกมากมาย รวมไปถึง
“การบารุงรักษา" หรือ Maintenance ด้วย ทั้งนี้เนื่องจากเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ (Machines &
Equipments) ถือเป็นหัวใจสาคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการผลิต ซึ่งหากเกิดเหตุชารุด เสียหายอย่าง
กะทันหนั ย่อมส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ ประสิทธภิ าพในการผลิต ทาให้กระบวนการผลติ หยดุ ชะงัก ไมไ่ ด้ผลผลิต
ตามเปา้ หมายท่ีตัง้ ไว้
นอกจากนี้การใช้เครื่องจักรที่ชำรุด ยังอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุอันน่าเศร้ากับผู้ปฏิบัติงานได้อีกด้วย
ดงั นน้ั การบารุงรักษาเครื่องจักร จึงเป็นส่วนสำคัญและจาเป็นอยา่ งย่ิงต่อกระบวนการผลติ สินค้า เพ่ือให้เป็นไป
ได้อย่างราบรื่นต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปัจจุบัน ซึ่งได้มีการน ำเอา
เทคโนโลยที ี่ทันสมัยต่าง ๆ เข้ามาใชง้ านกบั เครือ่ งจกั รมากขึ้น สง่ ผลให้สามารถผลติ สนิ คา้ ไดร้ วดเรว็ ยิง่ ขน้ึ แตใ่ น
ขณะเดียวกันเครื่องจักรก็มีความซับซ้อน และมีราคาสูงขึ้นเช่นกัน ดังนั้นค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาก็ยิ่งต้อง
เพ่ิมสงู ขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
แต่เนื่องจากการบำรุงรักษาเครื่องจักรเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่จะช่วยยืดอายุการใช้งานเครื่องจักร ทาให้
เครื่องจักรสามารถทางานได้เต็มสมรรถนะ สามารถรักษาระดับคุณภาพของสินค้า และส่งผลให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางาน ซึ่งผลที่ได้ก็คือ การลดต้นทุนและการสูญเสียในการผลิตนั่นเอง ด้วยเหตุนี้ จึงสมควร
อยา่ งยงิ่ ท่ีทุกโรงงานจะใหค้ วามสำคญั กบั การบำรงุ รักษาเคร่อื งจกั รของตนเอง
ในการปฏิบัติงาน การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร เป็นปัจจัยสำคัญ 1 ใน 4 อย่าง( 4M ซ่ึง
ประกอบด้วย คน เครื่องจักร วัตถุดิบ และวิธีการ) ของการทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาดี ตามความ
2
ต้องการ สมรรถนะความพร้อมในการใช้งานของ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร จึงมีความจำเป็นต้องมีการ
บำรุงรักษาอยู่ตลอดเวลา เพราะถ้าเครื่องมือบกพร่องหรือใช้ไม่ได้นั่นก็คือองค์ ประกอบในการทำงานไม่
สมบรู ณ์หรือไม่ครบ ผลผลิตก็จะไมส่ ามารถผลิตออกมาได้หรอื ได้ก็ไม่ดี
การบำรุงรกั ษาท่ีดี เมอ่ื มีการใช้งานอุปกรณ์ แล้วก็จะต้องทำความสะอาด ตรวจสอบสภาพหลังการใช้
งานคืนสภาพให้มีความพร้อมในการใช้งานตลอดเวลา และจัดเก็บให้เป็นระเบียบด้วย แต่ในทางปฏิบัติจริง
ผู้คนส่วนใหญ่มักไม่ปฏิบัติตามน้ี ทั้งงานส่วนตัว เช่น บ้านพักอาศัย รถยนต์ หรืออุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
สว่ นตัว และงานสว่ นรวมเช่น สถานท่ีราชการ อาคาร บรษิ ทั โรงงาน เครอื่ งจักรจึงทำให้เกดิ สภาพไม่พร้อมใช้
งานเกิดข้นึ กันบอ่ ยๆ
การแก้ไขปัญหาสภาพไม่พร้อมใช้งานของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ซึ่งเป็นเครื่องใช้ส่วนตัวเมื่อ
เกิดเหตุขัดข้อง หรือผิดปกติจากสภาพการใช้งานเดิมที่เคยใช้อยู่ซึ่งมีหลายลักษณะเช่น ใช้งานไม่ได้เลยซึ่งเรา
เรียกว่าเสีย ใช้ได้บ้างไม่ได้บ้างซึ่งเราเรียกว่า เดิน ๆ หยุด ๆ หรือการหยุด ชะงัก ใช้ได้เพียงบางหน้าที่เท่านนั้
ทำงานไม่เต็มความสามรถที่กำหนดไว้ ใช้งานได้แต่คุณภาพของงาน ไม่สม่ำเสมอดีบ้าง เสียบ้าง ใช้ได้แต่ช้า
กวา่ เดมิ มาก
การซ่อมอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้หรือ เครื่องจักร ซึ่งเป็นของใช้ส่วนตัว ของใช้ประจำบ้านเมื่อเกิด
เหตุขัดข้อง หรือผิดปกติเกิดขึ้นแล้ว เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเครื่องมืออุปกรณ์อำนวยความสะดวก
ต่างๆ แม้แต่จักรยาน จักรยายนต์ รถยนต์ก็เชน่ เดียวกัน เครื่องใช้ประจำบ้านส่วนใหญ่ จะใช้วิธีการซ่อม แบบ
เสียแล้วจึงซ่อม (Break down) เช่นหลอดไฟฟ้า วิทยุ โทรทัศน์ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า นาฬิกา ไมโครเวฟ พัดลม
แอร์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเขียน โทรศัพท์ ฯลฯ ไม่มีใครใช้วิธีซ่อมก่อนเสีย (Preventive) เหมือนกับรถยนต์
เพราะรถยนตถ์ ้าปล่อย ให้รถถึงกับเสีย วงิ่ ไม่ไดก้ จ็ ะต้องเดินกนั ไปทำงานเลยทีเดยี ว
แต่ของใช้ส่วนรวม อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักร ในบริษัทหรือโรงงานเราจะใช้วิธีการซ่อม
แบบเครือ่ งใช้ประจำบ้านไม้ได้เพราะในระหว่างการปฏิบัติงานอยู่ ถา้ หากเครือ่ งมือเครื่องใช้ เกิดเหตุขัดข้องใช้
งานไม่ได้หรือสภาพไม่พร้อมใช้งาน นั่นก็คือปฏิบัติงานไม่ได้นั่นเอง จะไม่มีผลผลิตหรือบริการออกมา ซึ่งไม่ได้
หมายความว่าจะเป็นเฉพาะบุคคลหรือหน่วยงานเดียวเท่านั้น แต่มันเชื่อมโยงกันทั้งองค์การ เพราะงานมัน
ต่อเนื่องกัน ตัวอย่าง เช่น ถ้าเครื่องจักรเสียช่วงใด ช่วงหนึ่งของกระบวนการ ก็ไม่มีผลผลิตหรอื บริการออกมา
เลย มันสร้างความเสียหายเป็นอย่างมากต่อองค์กรหรือโรงงาน ดังนั้น จึงมีแนวคิดซ่อมก่อนเสียเกิดขึ้น ใน
สถานที่ทำงาน อาคาร โรงงาน ซึ่งต่อมาเราเรียกกันว่า การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ( Preventive
maintenance ) น่นั เอง
ทำไมเมื่อมีการบำรุงรักษา เชิงป้องกันแล้วรถยนต์ ยังเสียหายระหว่างการใช้งานอยู่เลย ผู้ที่ขับรถไป
ทำงาน ใชร้ ถมานาน ๆ กจ็ ะเขา้ ใจไดด้ ี ว่าเราดแู ลบำรุงรกั ษารถ ตามกำหนดระยะเวลาที่บรษิ ัทผู้ผลิตกำหนดมา
3
ให้เป็นประจำ นำรถไปเข้าศูนย์บริการตรวจเช็กตามระยะทางและซ่อมเชิงป้องกันด้วยการเปลี่ยนอะไหล่ก่อน
การชำรดุ เสยี หายจะเกิดข้นึ ทกุ ครั้งยอมเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยมากมาย แตร่ ถยนต์ก็ยงั มีปัญหา ในระหวา่ งการใชง้ าน เสีย
ระหว่างการเดินทาง เช่น เครื่องยนต์ขัดข้อง แบตเตอรี่ไฟหมด ระบบส่งกำลัง เกียร์ เพลา คลัช ขัดข้อง ยาง
รั่ว ซึม แตก ระบบเบรก ศูนย์ล้อ น้ำหล่อเย็น หม้อน้ำตัน แอร์เสีย ฯลฯ ทำไมเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ขึ้น
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ที่ทำไปช่วยอะไรไม่ได้เลยหรือเครื่องจักรในโรงงานก็ เช่นเดียวกันทำไมจึงยังมีการ
เสียหายระหว่างทำการผลิต (Beak down) ทั้ง ๆ นี้มีการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน กันอย่างดี บางโรงงาน
เครื่องจักรยังใหม่อยู่เลย บางโรงงานเพิ่งจะซ่อมไปเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานี่เอง บางโรงงานโชคดีหน่อย 6 เดือน
แล้วเครื่องจักรยังไม่เสียเลย ทำไมจึงไม่มีความแน่นอนเลย ทุกวันนี้ทำงานอยู่บนความเสี่ยงตลอดเวลา ถ้าวัน
ไหนเครื่องจักรเสีย คนงานก็จะไม่มีอะไรทำ นั่งรอนอนรอกันว่าเมื่อไร ช่างจะซ่อมเสร็จ สินค้าก็ส่งลูกค้าไม่ได้
รายได้ก็ไม่มีแต่ก็ต้องจ่ายค่าแรง ให้คนงานเต็มวัน ความเสียหายที่เกิดขึ้นมองเห็นได้ทันที ด้วยเหตุนี้ก ระมัง
ผู้บริหารโรงงานจึงอยู่เฉยไม่ได้ พยายามหาวิธีดูแลเครื่องจักร ไม่ยอมให้เครื่องจักรเสียหาย ระหว่างการผลิต
เพราะรู้ฤทธิ์ เดชของ Break down ดี มีวิธีการหนึง่ ที่โรงงานหลายแหง่ ค้นพบ และนำไปทดลองใช้ จนประสบ
ผลสำเร็จมาแล้ว หลายโรงงานแตเ่ ปน็ กิจกรรมสไตล์ญ่ปี นุ่
ประเทศญีป่ นุ่ นำระบบการบำรงุ รกั ษาเชิงปอ้ งกนั ( Preventive Maintenance : PM ) มาจากประเทศ
สหรัฐอเมริกาพรอ้ มๆกับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมกระบวนการซึง่ จะใชง้ านเครือ่ งจักรเป็นหลัก PM จึง
มีบทบาทสำคญั ยิง่ ต่อการเพม่ิ ขน้ึ ของคุณภาพและผลผลติ ของผลติ ภณั ฑ์
ต่อมาเมื่อมีความต้องการลดแรงงานในอุตสาหกรรมประกอบและแปรรูปจึงได้มีการใช้เครื่องจักรทดแทน
คนงานมากขึ้นนั่นคือทำให้มีการพัฒนาเครื่องจักรเป็นระบบอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพสูงมากขึ้นจนเป็น
หุ่นยนต์ (ROBOT) ทำให้มีความสนใจพัฒนา PM เพิ่มขึ้นโดยให้มีลักษณะเฉพาะในสไตล์ญี่ปุ่นซึ่งเรียกกัน
ว่า การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม ( TOTAL PRODUCTIVE MAINTENANCE ) หรือเรียกกันง่าย ๆ
วา่ TPM
1.2 ความหมายการบำรงุ รักษา
การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง :“การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ
ใหม้ สี ภาพที่พร้อมจะใชง้ านอยู่ตลอดเวลา”
การบำรุงรักษานั้นครอบคลุมไปถึงการซ่อมแซมแซม (Repair) เครื่องด้วย ในงานบริหารการผลิตหรือ
การบริการ มกั จะหลกี เล่ยี งงานเพมิ่ เติมท่สี ำคัญงานหนงึ่ คือ การซอ่ มและบำรุงรักษา ไปไม่ได้ ถึงแม้ว่างานซ่อม
และบำรุงรกั ษาไมใ่ ชง่ านผลติ โดยตรง แต่งานซอ่ มและบำรุงรกั ษากม็ ีบทบาทช่วยให้การผลิตและการบริการของ
องคก์ รน้นั เปน็ ไปอย่างราบรน่ื โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโลกปัจจุบันที่การผลิตและการบริการจำเป็นท่ีจะต้องอาศัย
4
อุปกรณ์และเครื่องจักรมากขึ้น การที่เครื่องจักรเกิดขัดข้องขึ้นมากะทันหันหรือไม่สามารถใชง้ านได้ จะทำให้มี
ผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการผลิตและการบริการนั้นๆ การที่จะได้มาซึ่งเครื่องจักรที่มีคุณภาพนั้น
ต้องประกอบดว้ ย
(1) มีการออกแบบที่ดีและตรงตามความประสงค์ต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรงแม่นยำ รวมท้ัง
สามารถทำงานได้เต็มกำลังความสามารถที่ออกแบบไว้
(2) มีการผลติ (หรือสรา้ ง) ท่ีใหค้ วามแข็งแรงทนทาน สามารถทำงานไดน้ านทสี่ ดุ และ ตลอดเวลา
(3) มีการตดิ ตง้ั ในสถานท่ีที่เหมาะสมและสะดวกตอ่ การใช้งาน
(4) มีการใช้เป็นไปตามคุณสมบตั แิ ละสมรรถนะของเคร่ือง
(5) มีระบบการบำรุงรักษาที่ดีเนื่องจากเครื่องมือเครื่องใช้เมื่อถูกใช้งานไปนาน ๆ ก็ต้องมีการ
เสื่อมสภาพ ชำรุด สึกหรอ เสียหายขัดข้อง ดังนั้น เพื่อให้อายุการใช้งานเครื่องมือเครื่องใช้ยืนยาว สามารถใช้
งานได้ตามความต้องการของผใู้ ช้ ไมช่ ำรดุ หรือเสยี บอ่ ยๆ ตอ้ งมี “การบำรุงรกั ษา เครอ่ื งจักรเครอื่ งมอื เครื่องใช้”
ในระบบการดำเนนิ งานดว้ ย จงึ จะสามารถควบคมุ การทำงานของเครื่องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2.1 จุดมุ่งหมายของการบำรงุ รักษา
1.2.1.1. เพื่อให้เครื่องมือใช้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล (Effectiveness) คือ สามารใช้
เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ไดเ้ ต็มความสามารถและตรงกบั วตั ถุประสงค์ท่ีจดั หามามากท่ีสุด
1.2.1.2. เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีสมรรถนะการทำงานสูง (Performance) และช่วยให้
เครื่องมอื เครื่องใชม้ ีอายุการใช้งานยาวนาน เพราะเม่ือเครื่องมือได้ใช้งานไประยะเวลาหนึ่งจะเกิดการ
สึกหรอ ถ้าหากไม่มีการปรับแต่งหรือซ่อมแซมแล้ว เครื่องมืออาจเกิดการขัดข้อง ชำรุดเสียหาย
หรือ ทำงานผดิ พลาด
1.2.1.3. เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ (Reliability) คือ การทำให
เครื่องมือเคร่ืองใช้มีมาตรฐาน ไม่มีความคลาดเคลือ่ นใด ๆ เกดิ ข้นึ
1.2.1.4. เพ่ือความปลอดภัย (Safety) ซึง่ เป็นจดุ ม่งุ หมายท่สี ำคัญ เครื่องมอื เคร่อื งใชจ้ ะต้องมี
ความปลอดภยั เพยี งพอตอ่ ผู้ใชง้ าน ถ้าเครื่องมือเครื่องใช้ทำงานผดิ พลาด ชำรุดเสียหาย ไม่สามารถ
ทำงานได้ตามปกติ อาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และการบาดเจ็บต่อผู้ใช้งานได้ การบำรุงรักษาที่ดีจะ
ชว่ ยควบคุมการผิดพลาด
1.2.1.5. เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ที่ชำรุด
เสียหาย เก่าแก่ ขาดการบำรุงรักษา จะทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เช่น มีฝุ่นละอองหรือไอ
ของสารเคมีออกมา มเี สยี งดัง เปน็ ต้น ซง่ึ จะเปน็ อันตรายตอ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานและผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง
5
1.2.1.6. เพื่อประหยัดพลังงาน เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนมากจะทำงานได้ต้องอาศัย
พลังงาน เช่น ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ถ้าหากเครื่องมือเครือ่ งใช้ได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี เดิน
ราบเรียบไม่มีการรั่วไหลของน้ำมัน การเผาไหม้สมบูรณ์ ก็จะสิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง ทำให้
ประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายลงได้
1.2.2 การบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือ
เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในโรงฝึกงานสว่ นใหญ่จะมีราคาแพง ถ้าหากมีการชำรดุ เสียหาย
เกิดข้นึ แลว้ ยอ่ มจะเป็นการเปลอื งงบประมาณของสถานศึกษาเป็นอย่างมาก
การบำรงุ รักษาเครื่องจักร อปุ กรณแ์ ละเครื่องมือนับเป็นส่ิงทีส่ ำคัญมาก ไมค่ วรทำการซ่อมแซมต่อเมื่อ
ได้เกิดข้อบกพร่องบางอย่างแก่เครื่องจักรแล้วเท่านั้น ควรป้องกันโดยการบำรุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์และ
เครื่องมอื เหล่านนั้ ให้สามารถใชง้ านได้อยา่ งประสิทธภิ าพ
1.2.3 วัตถุประสงค์ในการบำรุงรักษาเคร่อื งจักรอุปกรณ์
การบำรงุ รกั ษาเครื่องจักรอปุ กรณ์และเครื่องมือมวี ัตถปุ ระสงคห์ ลายๆประการ ไดแ้ ก่
1.2.3.1. เพ่อื ชะลอความเส่ือมสภาพของเครอ่ื งจักร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์
1.2.3.2. เพอ่ื ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย ในการซอ่ มแซมในสว่ นทช่ี ำรุด และสว่ นที่เกีย่ วข้อง
1.2.3.3. เพ่ือปอ้ งกันอันตรายทเี่ กิดข้ึนกบั ผู้ปฏบิ ตั ิงานเนื่องจากอบุ ตั เิ หตุ
1.2.3.4. เพื่อลดเวลาสูญเปลา่ เนือ่ งจากต้องหยดุ ทำงาน เนื่องจากการซ่อมแซม
1.2.3.5. เพอ่ื ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ยในการปฏบิ ตั งิ าน
1.2.4 ลักษณะของการบำรุงรักษา
การบำรุงรักษาเครือ่ งจักร อุปกรณ์และเคร่ืองมือแบ่งออกเป็น 2ลกั ษณะคือ
1.2.4.1. การบำรงุ รกั ษาเพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้เกดิ การเสยี หาย
1.2.4.2. การซอ่ มบำรุงเมอ่ื เครื่องจกั รอปุ กรณ์ชำรดุ
1.2.5 ขน้ั ตอนการบำรงุ รกั ษาเพ่อื ป้องกัน
1.2.5.1. กำหนดนโยบายในการบำรงุ รักษา
1.2.5.2. ทำการเลือกและกำหนดอปุ กรณเ์ ครื่องจกั รอุปกรณท์ ส่ี ำคญั
1.2.5.3. ทำการกำหนดมาตรฐาน
1.2.5.4. การวางแผนบำรุงรักษา
1.2.5.5. การวางแผนตรวจสอบ
1.2.5.6. การดำเนนิ การ
6
1.2.5.7. การบนั ทกึ
1.2.5.8. การประเมนิ ผล
1.2.6 ผลเนอื่ งมาจากการจดั มาตรการบำรงุ รักษาที่ถูกต้อง
1.2.6.1. ทำให้สามารถซ่อมเครื่องจักร อุปกรณ์และเครื่องมือที่ชำรุดได้อย่างถูกต้องแล
รวดเร็ว ผู้ซอ่ มไมต่ ้องเสยี เวลาวินจิ ฉยั สาเหตุและวิธีแก้ไขอาการที่ปรากฏออกมาและยังช่วยให้ซ่อมได้
ถูกจุดอกี ด้วย
1.2.6.2. สามารถใช้เป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานซ่อมและบำรุงรักษาโดยยก
สาเหตแุ ละวิธีแก้ไขในแตล่ ะเรอ่ื งไปเปน็ หัวขอ้ เร่ืองสำหรับพิจารณาการเขียนคมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน
1.2.6.3. ใช้วางแผนหรือกำหนดแผนงานบำรุงรักษา โดยการนำเอาผลการวิเคราะห์แนวโน้ม
ซึ่งคาดว่าเคร่ืองจักรจะถึงกำหนดการชำรดุ เม่ือใด
1.2.6.4. ใช้เป็นแนวทางของการจัดเตรียมอะไหล่สำหรับการซ่อมและบำรุงตลอดจน การ
จัดเตรยี มงาน เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและถกู ตอ้ งอีกด้วย
1.2.6.5. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการวิจยั เคร่อื งจกั รนั้น เพ่อื พิจารณา วา่ สมควรจะใชต้ อ่ ไปหรอื สมควร
เลิกใช้ หรือควรจะปรบั ปรุงอย่างไร
1.2.7 การจดั บำรุงรักษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
การจัดบำรุงรักษาให้มีประสิทธิภาพจำเป็นจะต้องทราบถึงอุปสรรคต่าง ๆ อย่างชัดเจนและพยายาม
ขจัดอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทอี่ าจจะเกดิ ข้ึนเหล่าน้นั แลว้ กำหนดเปน็ แนวทางที่แนน่ อนในการบำรุงรกั ษาต่อไป
1.2.7.1. อปุ สรรคทม่ี ีผลต่อการบำรงุ รักษา
1.2.7.2. แนวทางปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั การบำรงุ รักษา
1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของการบำรงุ รกั ษา
1.3.1 ปรับปรุงพฒั นาคุณภาพของผลติ ภัณฑ์
1.3.2 ลดคา่ ใชจ้ ่าย และการส้ินเปลอื ง
1.3.3 ปรบั ปรงุ พัฒนาสถานะของการบำรุงรกั ษา
1.3.4 ปรับปรงุ พัฒนาเครื่องจักร อปุ กรณใ์ ห้มีประสิทธิภาพ
1.3.5 ปรบั ปรงุ พฒั นาประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลของการบำรงุ รกั ษา
7
บทท่ี 2
ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
เครอื่ งจกั รอุตสาหกรรม คือหลายคนคงอาจจะเคยได้ยินมาบ้างเเลว้ เเต่จะมีสักกค่ี นที่เขา้ ใจความหมาย
จริงๆของเครื่องจักรอุตสาหกรรม โดยเริ่มตั้งเเต่ ค.ศ. 1760 หรือ 200 กว่าปีก่อนได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำรุ่น
เก่า ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ขณะที่ในปัจจุ บันเครื่องจักร
อุตสาหกรรมจะใช้พลังงานจากแบตเตอร่หี รือไฟฟ้าในการขบั เคล่ือนกลไกการทำงาน ทำใหเ้ จา้ ของบริษัทต่างๆ
พากันใช้เคร่ืองจักร เพราะ การใช้เครือ่ งจกั รผลติ เป็นตัวแปรสำคญั ให้ผู้ผลิตผลิตสินค้าออกมาได้ในจำนวนมาก
ในระยะเวลาที่สั้นและมีคุณภาพที่มาตรฐาน ซึ่งจะแบ่งตามประเภทของอุตสาหกรรมและการใช้งานแต่ละ
บรษิ ัท
ประเภทของเคร่ืองจักรอุตสาหกรรมได้แบง่ ออกเป็นประเภทของการใชง้ าน คือ
1. เคร่ืองจกั รกลทใ่ี ชย้ กและขนถ่ายวสั ดุ
2. เครอื่ งจกั รกลที่ใชย้ กในงานดนิ
3. เครอ่ื งจักรกลที่ใช้ยกในงานคอนกรีต
4. เครื่องจักรกลทใ่ี ชใ้ นงานถนน
5. เครื่องจักรกลทใ่ี ชก้ ับงานฐานราก
6. เคร่อื งจกั รกลทใี่ ชใ้ นงานขุดเจาะ
7. เครื่องจกั รและอุปกรณผ์ ลิตอาหาร
8. เครอ่ื งจักรกลและอปุ กรณ์การพิมพ์
9. เครือ่ งจกั รกลงานอุตสาหกรรม
10. เครือ่ งจักรทำเย่ือกระดาษ
และยังมเี คร่ืองจักรอื่นๆอีกมากมายท่ีอยู่นอกเหนือตัวอย่างที่ยกมาโดยแบ่งออกเป็นลักษณะการทำงานท่ี
หลากหลายประเภท ในประเทศไทยเองก็มีบริษัทผลิตเครื่องจักรอุตสาหกรรมมากมายที่มีทั้งการให้คำปรึกษา
การจำหนา่ ย การออกแบบ การสร้าง-ผลิต การติดตัง้ รวมถึงมโี รงงานผลติ เครื่องจักรอตุ สาหกรรมท่ีมีมาตรฐาน
ในวงการธุรกิจทม่ี กี ารแข่งขันสูง เจา้ ของธรุ กจิ หลายๆเจ้าต่างกต็ ้องการเครื่องจักรอุตสาหกรรมท่ีมีคุณภาพดี แต่
อะไรที่บ่งบอกว่านั้นเป็นเครื่องจักรที่ดีเเละเหมาะสมกับธุรกิจของคุณซึ่งจะมีขนาดและรุ่นต่างกันไปตาม
ลักษณะอุตสาหกรรม
8
เคร่อื งจักร CNC รนุ่ Mycenter-HX500L
เครอ่ื งจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L คอื เปน็ เคร่ืองจักรทใ่ี ชใ้ นอุตสากรรมผลิตชิน้ ส่วนและ
อปุ กรณ์เสริมสำหรับรถยนต์ ซ่ึงใชใ้ นการปาดหน้าชิ้นงาน เจาะรู คว้านรชู ิน้ งาน ต๊าฟเกรียว เปน็ ต้น
ภาพ 2.1 เคร่ืองจักรCNC รุ่น Mycenter-HX500L
9
กลไกลการทำงานของ Mycenter-HX500i
กลไกลการทำงานของ Mycenter-HX500i จะถูกขับเคลื่อนและหมุนด้วยเฟืองและถูกกดลงไปบน
วัสดุที่ต้องการจากนั้นจึงถูกทำให้หมุน ปลายดอกสว่านจะทำงานเป็นตัวตัดเจาะวัสดุ หมุนเพื่อเจาะรูชิ้นงาน
ต่างๆซงึ่ เคร่ือง Mycenter-HX500i ต้องใช้เฟืองในการขับเคล่ือน เฟอื งมีหน้าท่ี คือ เฟือง (Gear) เป็นอุปกรณ์
เครื่องกลแบบง่ายชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรับส่งกำลัง ซึ่งการทำงานของเฟืองจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีเฟืองสองตัว
ประกบั เขา้ หากนั เม่อื ทำให้ฟันเฟืองตวั แรกหมุน เฟืองอกี ตัวที่ประกบเข้าคู่กับเฟืองตวั แรกจะหมุนไปในทิศทาง
ตรงกันข้ามจึงทำให้เกิดความได้เปรียบทางเชิงกลได้ โดยการใช้อัตราส่วนของจำนวนฟันเฟืองตัวที่สอง ซึ่งการ
ผลิตช้นิ งานแตช่ ิน้ มตี วั แปรสำคญั ท่ชี ว่ ยสำหรบั ระบายความร้อนของชนิ้ งานคือนำ้ มันหลอ่ เยน็
ภาพ 2.2 น้ำมันหล่อเย็น/นำ้ หล่อเย็น ( Coolant )
น้ำมันหล่อเยน็ ( Cutting Fluid ) หรอื เรียก นำ้ หล่อเยน็ เปน็ ผลิตภัณฑ์สารหล่อเยน็ ทีใ่ ชส้ ำหรบั ระบาย
ความร้อน และลดแรงเสียดทานขณะการตัดเฉอื นโลหะ
การตัดโลหะพบมากในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเหล็ก ชิ้นส่วนโลหะ โดยการใช้เครื่องมือกลสำหรับตัด
ชิน้ งานโลหะ ซงึ่ จะทำให้ความร้อนจากการตัด แบ่งเปน็ 2 สว่ น คือ
1. การตัดเฉอื น และการเสยี รปู ของโลหะ
2. แรงเสียดทานระหว่างใบเลอื่ ยกับผวิ โลหะขณะตดั เฉอื นโลหะ
ความร้อนที่เกิดขึ้นจะถูกถ่ายเทไปยังส่วนต่างๆ ได้แก่ เศษโลหะ ประมาณ 50% ใบเลื่อย และเครื่อง
ตัด ประมาณ 10% ชิ้นงาน ประมาณ 15% และใช้เป็นพลังงานในการตัด 25% ดังนั้น หากมีสารที่ช่วยลด
ความร้อน และแรงเสียดทานของการตัดก็จะทำให้เพิม่ ประสิทธภิ าพการตัดมากยง่ิ ข้ึน
10
ประโยชนน์ ำ้ มนั หล่อเยน็
1. ลดความรอ้ นของอปุ กรณต์ ่างๆขณะตัดโลหะ
2. ปอ้ งกันรอยท่ีอาจเกิดข้นึ กับรอยตัดชน้ิ งาน
3. ลดคา่ ใช้จา่ ยดา้ นเคร่ืองมอื กล จาการเส่อื มสภาพ สกุ กร่อน และชำรุดของอุปกรณ์
4. เพ่ิมความเร็วในการตดั โลหะ ทำให้ประหยัดเวลาในการทำงาน
5. ลดคา่ ใช้จา่ ยในการทำงาน หากใช้วธิ กี ารตดั แบบอ่นื
ประเภทน้ำมนั หล่อเยน็
1. สารเคมสี ังเคราะหผ์ สมนำ้ เปน็ ผลิตภัณฑท์ ีม่ ีสว่ นประกอบหลกั 2 ชนิด คือ
1.1 สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการระบายความร้อน และลดแรงเสียดทานผสม เช่น Boramide
compounds, Alkanolamine Esters and Reaction Products แ ล ะ 3 , 3 - Methylenebis
(5-Methyloxazol Idyne) เป็นตน้
1.2 น้ำ ผลติ ภัณฑน์ ี้มลี กั ษณะเป็นสารละลาย สีขาวขนุ่ คล้ายน้ำนมหรือสีอืน่ ๆตามชนิดของสารเคมี
เหมาะสำหรับงานที่ตอ้ งการความละเอยี ดสูง เชน่ งานเจียระไน งานตดั เฟืองเกยี ร์ เปน็ ตน้
2. น้ำมันผสมน้ำ/โซลูเบิลออยล์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบหลัก คือ น้ำมัน และน้ำ โดยมี
อัตราส่วนน้ำมันมากกว่าน้ำ โดยทั่วไปประมาณ 60-90% ด้วยการเติมสารที่ทำให้น้ำมันละลายรวมตัวกับน้ำ
หรือเรียกว่า อิมัลซิไฟเออร์ เป็นการนำข้อดีของน้ำมัน และน้ำเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับงานเบา และงานปาน
กลาง มีขอ้ เสียคอื อายุใชง้ านนอ้ ย เน่าเสียงา่ ย ช้ินส่วนโลหะเกดิ สนมิ
3. น้ำมัน 100% เป็นผลิตภัณฑ์ที่มนี ้ำมนั 100% สามารถใช้งานได้เลยโดยไมต่ ้องผสมนำ้ มักผลิตจาก
น้ำมนั แร่ ซง่ึ นำ้ มนั นี้มคี ุณสมบตั ใิ นการลดความรอ้ น และแรงเสียดทานทเ่ี กดิ จากการตัดโลหะ มีราคาถกู เหมาะ
สำหรบั งานตัดทม่ี ีรอบตำ่ งานท่ีตอ้ งการความละเอยี ดสูง มขี ้อเสยี คอื มกี ลน่ิ ฉุนขณะใชง้ าน และมีควันมาก
4. น้ำมันสังเคราะห์ 100% เป็นผลิตภณั ฑ์ที่มีน้ำมันสังเคราะห์ 100% ไม่มีองค์ประกอบของน้ำมันแร่
และน้ำ แต่อาจทำการผสมน้ำกลั่น 1:10-40 ก่อนใช้งาน ซึ่งน้ำมันสังเคราะห์นี้มีคุณสมบัติในการลดความร้อน
และแรงเสียดทานทเ่ี กิดจากการตดั โลหะ เชน่ นำ้ มนั แร่ นำ้ มันผสมนำ้ มันสตั ว์
องค์ประกอบทัว่ ไปนำ้ มนั หล่อเยน็
1. น้ำ เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งจะมีอัตราส่วนมากกว่าน้ำมันหรือสารอื่นๆ มีคุณสมบัติช่วยระบาย
ความร้อนไดด้ ี
11
2. น้ำมันแร่ เป็นน้ำมันที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบหรือน้ำมันที่ใช้แล้ว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ น้ำมันแร่
พาราฟินิก และน้ำมันแร่แนฟทานิก ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้น้ำมันแร่พาราฟินิก เพราะมีสารก่อมะเร็งน้อยกว่าแนฟ
ทานิก ซึง่ น้ำมันแร่ท่ีใชม้ ีคณุ สมบตั ิในการหลอ่ ลืน่ และระบายความรอ้ นไดด้ ี
3. สารเตมิ แตง่ ชนดิ ตา่ งๆ
3.1 สารอมิ ลั ซไิ ฟเออร์ และลดความตึงผิว ทำหนา้ ทผ่ี สมนำ้ มันใหร้ วมตวั กับน้ำ และลดแรงตึงผิวทำ
ให้นำ้ มนั หล่อเย็นแทรกซมึ เขา้ สผู่ วิ โลหะไดด้ ี
3.2 สารรับแรงกดสูง ทำหน้าที่หล่อลื่นผิวโลหะทำให้รับแรงกดได้เพิ่มขึ้น สารเหล่านี้ ได้แก่ สาร
ประกอบซลั เฟอร์ ฟอสฟอรัส คลอรนี เป็นต้น
3.3 สารป้องกันการกัดกร่อน ทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนผวิ โลหะ วสั ดตุ ัด จากปฏิกิริยาเคมีของ
กรด สารเปอร์ออกไซด์ และความร้อน ได้แก่ โซเดยี มโมลิบเดต เอมนี เอไมด์ เป็นตน้
3.4 สารลดแรงเสยี ดทาน ทำหน้าลดแรงเสียดทานผวิ โลหะดว้ ยแผ่นฟิลม์ บางๆทจ่ี ับหน้าผิวโลหะ
3.5 สารป้องกันการเน่าเสีย ทำหน้าที่ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ ป้องกันไม่ให้น้ำมันหล่อเย็นเสียง่ายจากการ
เจรญิ เติบโตของจุลนิ ทรยี ์ สารเหลา่ นี้ ได้แก่ สารในกลุ่มอนิ ทรีย์แฮโล
3.6 สารรักษาความเป็นกรด-ด่าง ทำหน้าที่เป็นตัวบัฟเฟอร์รักษาสภาพความเป็นกรด-ด่าง ของ
น้ำมันหล่อเย็นให้คงที่ ซึ่งทั่วไปจะให้มีค่าในช่วง 8.5-9.0 นอกจากนั้น ยังต้านการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ได้อีก
ทาง สารเหลา่ นี้ ได้แก่ โซเดยี มไฮดรอกไซด์ และเอทาโนลาไมท์
3.7 สารเพิ่มความเสถียร ทำหน้าที่สร้างความเสถียรให้แก่สารละลายของน้ำมันหล่อเย็น ป้องกัน
การแยกตวั ของนำ้ มนั สารเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ แอลกอฮอล์ และไกลคอล
3.8 สารป้องกันฟอง ทำหน้าที่ลดการเกิดฟองขณะใช้งาน โดยเฉพาะในส่วนผสมที่มีสารลดแรงตงึ
ผิวสงู ซง่ึ เป็นสาเหตุให้เกดิ ฟองได้ขณะใชง้ าน สาเหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ ซิลกิ อน
3.9 สารลดความกระด้าง ทำหน้าที่ลดความกระด้างที่เกิดจากสารประกอบในกลุ่มของเกลือ
แคลเซยี ม และแมกนีเซียม สารพวกนี้ ได้แก่ สารในกล่มุ ของเอทลิ ีนไดแอมมีนเตตระอะซติ ิก
วิธกี ารบำรงุ รกั ษา
1. หลงั จากใช้งานควรขจัดเศษขีเ้ หลก็ ทต่ี ิดอยูภ่ ายในเคร่อื งจกั รและตามซอกภายในเคร่ืองจักร
2. ตรวจเชค็ ความเข้มขน้ ของน้ำมันหล่อเย็นควรไดร้ ับการตรวจสอบทุกวนั อย่างน้อยอาทติ ย์ละครั้ง ซึ่ง
ความเข้มข้นของน้ำมันหล่อเย็นสำคัญมากเพราะเป็นตัวบอกปริมานของสารต่างๆในน้ำมันหล่อเ ย็น หากมี
ความเข้มข้นสูงเกินไปก็จะสิน้ เปลืองและเกดิ ฟองไดง้ ่าย หากความเข้นน้อยเกินไปกจ็ ะทำให้มีดตัดมีอายุงานสั้น
ลง เพิม่ อัตราการขยายตวั ของแบคทเี รยี และมีความเสีย่ งทจี่ ะทำให้ช้ินงานเกดิ สนม
3. ตรวจเชค็ เคร่อื งจักร ตามแผน ทุก 1, 3, 6 ,12 เดอื น เชค็ ตาม พารามเิ ตอรท์ ี่กำหนด
12
การบำรงุ รักษา (Maintenance)
การบำรงุ รกั ษาหมายถึง การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือเคร่ืองจักรต่าง ๆ ให้มีสภาพที่พร้อมจะ
ใชง้ านอย่ตู ลอดเวลา
จดุ มุ่งหมายของการบำรุงรักษา
1. เพื่อให้เครื่องมือใช้ทำงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิผล (Effectiveness) คอื สามารใชเ้ ครอ่ื งมือเครื่องใช้
ไดเ้ ตม็ ความสามารถและตรงกับวตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ัดหามามากท่สี ดุ
2. เพื่อให้เคร่ืองมือเคร่ืองใช้มสี มรรถนะการทำงานสูง (Performance) และชว่ ยให้เคร่ืองมือเครื่องใช้
มีอายุการใช้งานยาวนาน เพราะเมื่อเครื่องมือได้ใช้งานไประยะเวลาหนึ่งจะเกิดการสึกหรอ ถ้าหากไม่มีการ
ปรบั แต่งหรอื ซอ่ มแซมแลว้ เคร่อื งมืออาจเกดิ การขัดข้อง ชำรุดเสยี หายหรอื ทำงานผิดพลาด
3. เพอ่ื ให้เครื่องมอื เครื่องใชม้ ีความเที่ยงตรงน่าเชือ่ ถือ (Reliability) คอื การทำให้เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้มี
มาตรฐาน ไมม่ ีความคลาดเคลือ่ นใด ๆ เกดิ ขึ้น
4. เพอื่ ความปลอดภัย (Safety) ซึ่งเปน็ จุดม่งุ หมายทสี่ ำคญั เครื่องมือเครื่องใช้จะต้องมีความปลอดภัย
เพียงพอต่อผูใ้ ช้งาน ถ้าเครื่องมอื เครือ่ งใชท้ ำงานผิดพลาด ชำรุดเสียหาย ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อาจจะ
กอ่ ให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุ และการบาดเจบ็ ตอ่ ผู้ใชง้ านได้ การบำรุงรักษาทด่ี จี ะช่วยควบคุมการผดิ พลาด
5. เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ที่ชำรุดเสียหาย เก่าแก่ ขาดการ
บำรุงรกั ษา จะทำใหเ้ กดิ ปัญหาดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม เช่น มฝี นุ่ ละอองหรอื ไอของสารเคมีออกมา มเี สยี งดงั เปน็ ตน้
ซง่ึ จะเปน็ อันตรายต่อผู้ปฏบิ ัตงิ านและผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ ง
6. เพอื่ ประหยดั พลังงาน เพราะเครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ส่วนมากจะทำงานไดต้ ้องอาศัยพลังงาน เชน่ ไฟฟ้า
น้ำมันเชื้อเพลิง ถ้าหากเครื่องมือเครื่องใช้ได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี เดินราบเรียบไม่มีการรั่วไหลของ
นำ้ มัน การเผาไหมส้ มบรู ณ์ ก็จะสิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง ทำให้ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยลงได้
ประเภทของการบำรงุ รักษา
งานบำรุงรักษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท
• Breakdown Maintenance (การบำรงุ รกั ษาโดยการซอ่ มแซมส่วนทเี่ สยี )
• Planned/Preventive maintenance (การบำรุงรกั ษาตามแผน)
• Predictive maintenance (การบำรงุ รกั ษาโดยการคาดคะเน)
• Proactive maintenance (เป็นแนวคิดใหม่ในวงการบำรุงรักษา โดยการแก้ที่สาเหตุที่แท้จริงของ
ปัญหา)
1. Breakdown Maintenance (การซอ่ มบำรุงโดยการซ่อมแซมส่วนทีเ่ สีย)
13
การบำรุงรักษาวิธีนี้ถือได้ว่าเป็นแนวคิดในงานการบำรุงรักษา ที่เก่าแก่ที่สุด ในตำราบางเล่มให้นิยาม
วิธีการบำรุงรักษาแบบนี้ว่า “ ดำเนินการโดยไร้การบำรุงรักษา” เพราะในความเป็นจริงฝ่ายซ่อมบำรุงจะไม่
ต้องปฏิบัติงานใด ๆ เลยจนกว่าจะมีรายงานว่าเครื่องจักรชำรุด ใช้งานต่อไปไม่ได้ อย่างไรก็ตามการ
บำรุงรักษาประเภทนี้ก็ยังคงมีใช้ในบางสถานการณ์ เช่น ในอาคารที่ไม่สลับซับซ้อน หรือมีอุปกรณ์อะไหล่
ทดแทนพร้อมอยู่เสมอ หรือสามารถสั่งซื้อได้อย่างทันทีทันใด โดยที่ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการบำรุงรักษา
ประเภทนี้ ควรน้อยกว่าการประยุกต์ใช้วิธีการบำรุงรักษาแบบอื่น เช่น การบำรุงรักษาหลอดไฟฟ้าที่ปล่อยทิ้ง
ไวจ้ นหลอดขาด หรือกอ็ กน้ำประปาชำรดุ ข้อเสยี ของการบำรงุ รักษาประเภทนไ้ี ด้แก่
• ไม่มสี ญํ ญาณใด ๆ บอกเป็นการเตอื นลว่ งหน้าเม่ือเครอื่ งจกั รเรมิ่ ชำรดุ
• ไม่สามารถยอมรบั ได้ ในระบบที่ต้องการความเชอ่ื มน่ั สงู เชน่ ระบบลฟิ ท์
• ตอ้ งเก็บชิ้นสว่ นอะไหลไ่ ว้เป็นจำนวนมาก ซึ่งหมายความวา่ มคี า่ ใช้จ่ายในการเกบ็ อะไหล่คงคลังสงู
• ไมส่ ามารถบรรลเุ ป้าหมายในการปฏบิ ตั ติ ามแผนการผลติ ได้ตามประสงค์
• ไม่สามารถวางแผนงานในการบำรงุ รกั ษาได้
2. Planned/ Preventive maintenance (การบำรงุ รกั ษาตามแผน)
เพื่อเป็นการลบล้างข้อบกพร่องในการบำรุงรักษาเมื่อชำรุด จึงได้มีการพัฒนางานทางด้านการ
บำรุงรักษาตามแผนขึ้นมา กลา่ วโดยยอ่ ก็คอื การบำรุงรักษาอาคารและอปุ กรณต์ ามระยะเวลาที่กำหนดข้ึนโดย
อาจจะได้มาจากประสบการณห์ รือจากคูม่ ือการใช้งานของระบบและอุปกรณ์นน้ั ๆ อย่างไรก็ตามการชำรุดของ
อาคารและอปุ กรณโ์ ดยไม่คาดฝันก็ไมส่ ามาถขจัดออกไปได้ เพราะว่าในทางสถติ ิแล้ว การชำรดุ ของอาคารและ
อุปกรณ์ไม่ได้เป็นการกระจายตัวแบบสม่ำเสมอ หรือมีรูปแบบที่แน่นอน ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะ เลือกช่วง
การบำรุงรักษาตามแผนที่เหมาะสม และในบางกรณีถึงแม้ว่าได้ปฏิบัติการบำรรุงรักษาตามแผนแล้วก็ตาม ก็
ยังคงมีโอกาสที่จะเกิดการชำรุดของเครื่องจักร และอุปกรณ์โดยไม่คาดคิดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สรุปได้ว่าการ
บำรุงรักษาแบบนี้จะทำให้เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างการบำรุงรักษา
แบบนี้ได้แก่ การตรวจเช็คระดับน้ำมันลิฟท์โดยสารที่บริเวณช่องตรวจระดับน้ำมัน การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันตาม
ระยะเวลาการถอดเปลี่ยนชิ้นส่วนที่สำคัญบางชิ้นตามระยะเวลา ปัญหาหนึ่งที่พบเสมอในการทำการ
บำรุงรกั ษาตามระยะเวลาคอื ทำการเปลย่ี นช้นิ สว่ นบางชนิ้ โดยไม่จำเปน็ และในบางกรณอี าจจะเปน็ การรบกวน
ชนิ้ ส่วน ในระบบอืน่ โดยไมจ่ ำเปน็ รวมถึงอาจจะมกี ารประกอบกลบั ชนิ้ ส่วนไมถ่ ูกต้อง ซึ่งนบั ว่าเปน็ ผลเสียมากว่า
ผลดีเสียอีก ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาจึงมีวิธีการบำรุงรักษาแบบใหม่ที่เรียกว่า Reliability centered
maintenance (RCM) โดยมกี ารดำเนนิ การย่อ ๆ ดังนี้
14
• ตรวจวเิ คราะหห์ าอปุ กรณ์วิกฤต
• ตรวจสอบอุปกรณ์วกิ ฤตตามระยะเวลาทก่ี ำหนด
• ถอดอุปกรณอ์ อกเพ่อื ปรับสภาพ
• ถอดเปลี่ยนอปุ กรณว์ กิ ฤต
• ในกรณขี องอุปกรณท์ ไ่ี ม่วิกฤต ก็ใหใ้ ชต้ อ่ ไปจนชำรดุ
• ในบางกรณีทจี่ ำเปน็ ใหท้ ำการออกแบบอุปกรณ์บางช้นิ ใหม่
3. Predictive maintenance (การบำรุงรักษาโดยการคาดคะเน)
เครื่องจักรสมัยใหม่มีกลไกที่ละเอียด และซับซ้อนกว่าเครื่องจักรในสมัยก่อน ๆ รวมทั้งเป็นการยากท่ี
จะทำการถอดเปลี่ยน หรือทำการตรวจเช็คตามจุดที่สำคัญของงานบำรุงรักษาตามแผน (PM) วิธีการในการ
บำรุงรักษาโดยการคาดคะเนนับได้ว่าเป็นปรัชญาใหม่ในศาสตร์ของการบำรุงรักษาเครื่องจักร แนวความคิด
โดยสรุปก็คือการใช้วิธีการ หรือเทคนิคใหม่ ๆ ของเครื่องมือวัดชนิดต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ในการวัด
แรงสนั่ สะเทือน กล้องอนิ ฟาเรด เทอรโ์ มกราฟฟี่ เปน็ ต้น โดยพนื้ ฐานแล้วพอท่ีจะจดั แบ่งการบำรุงรกั ษาแบบนี้
ออกเป็นวิธีย่อย ๆ คือ Vibration analysis, Oil/wear particle analysis, Performance monitoring,
Temperature monitoring
การศกึ ษาตดิ ตามสภาพเครื่องจักร (Condition monitoring) หรือเรียกอกี ชื่อหนึ่งวา่ การติดตาม
สุขภาพเครื่องจักร (Machine health monitoring) ก็จัดได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการบำรุงรักษแบบคาดคะเน
ความจริงแล้วการทำ CM (Condition monitoring) หรือ MHM (Machine health monitoring) ไม่ใช่
ของใหม่ เพราะโดยทั่วไปแล้ว วิศวร หรือผู้ควบคุมเครื่อง ก็ใช้สามัญสำนึกในการบำรุงรักษาเคร่ืองจักรอยู่แลว้
เช่น การใช้สายตาตรวจดูลักษณะทั่วไป การใช้จมูกดมกลิ่นไหม้ การใช้หูฟังเสียงที่ผิดปกติ และการใช้นิ้ว
สมั ผสั (ความร้อน) เป็นตน้ อย่างไรก็ตามวธิ ีการตรวจสอบดังกลา่ วจะเป็นลกั ษณะการประเมินสภาพเคร่ืองจักร
ที่ไม่มีข้อยุติที่แน่นอน ทั้งนี้เนื่องจากความไม่เที่ยงตรงของประสาทสัมผัสของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ดังน้ัน
การใช้เครือ่ งมือวดั เชิงปริมาณสำหรับการบำรุงรักษาแบบคาดคะเนจึงเป็นสิ่งสำคญั ท้ังนีเ้ พราะทำให้ได้ข้อสรุท่ี
ไม่มีการบิดเพริ้วได้ในการปะรเมินสภาพของเครื่องจักร ดังนั้นความหมายของ Predictive maintenance ก็
พอที่จะสรุปได้ว่า เมื่อสามารถทราบถึงลักษณะของต้นทุนของการชำรุด จึงพอที่จะสามารถจัดเตรียมการ
ล่วงหน้าสำหรับแรงงาน ชิ้นส่วนอะไหล่ และกำหนดช่วงเวลาการทำงานที่ไม่ขัดกับแผนการผลิตหลักได้ ใน
กรณที ่ีมีการประยุกตใ์ ช้ Predictive maintenance ทีเ่ หมาะสมแลว้ ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับคือ
• ลดคา่ ใชจ้ ่ายการบำรงุ รกั ษา
• ลดสถิตกิ ารชำรุดของเคร่อื งจักรและอุปกรณ์
• ลดเวลาการชำรดุ ของเคร่อื งจกั รและอุปกรณ์
15
• ลดปรมิ าณอะไหลค่ งคลังในการบำรงุ รกั ษา
• เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ
• วางแผนการบำรงุ รักษาได้มปี ระสิทธิภาพสูงขึ้น
• ทำใหก้ ารหยุดชะงักในการผลิตน้อยลง
4. Proactive maintenance (การบำรุงรักษาแบบปอ้ งกนั ลว่ งหน้า)
นับเป็นวิธีบำรุงรักษาอาคารและเครื่องจักรที่ค่อนข้างใหม่ต่อวงการ ทั้งนี้เพราะแนวคิดดังกล่างเพ่ิง
ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อประมาณ ค.ศ. 1985 โดยย่อแล้วงานบำรุงรักษาแบบนี้จะมุ่งพิจารณารากของปัญหา
(Root cause of failure)
โดยที่ root cause สามารถแบ่งยอ่ ยออกเป็นหกอย่างคอื
• Chemical stability,
• Physical stability,
• Temperature stability,
• Wear stability,
• Leakage stability
• Mechanical stability
เมื่อใดที่มีการไม่สมดุลย์ในระบบของเครื่อง (อาจจะเกิดความไม่มี Stability ในหนึ่งใน Root
cause ที่กล่าวมา หรืออาจจะมีความไม่สมดุลย์ในระบบมากกว่าหนึ่งสาเหตุก็เป็นได้) ตัวอย่างที่เห็นได้ง่าย ๆ
ในระบบไฮดรอลิคก็คือ การที่มีสิ่งสกปรก (Contaminants) หลุดลอดเข้าไปในระบบ ซึ่งอาจจะเกิดจากการ
เติมน้ำมันที่สกปรกเข้าไปในระบบ การเสื่อมสภาพของไส้กรองอากาศ การชำรุดเสียหายของซีล และสิ่ง
สกปรกตงั กล่าวก็เป็นสาเหตหุ ลกั ท่ที ำให้ระบบขาดความสมดุลย์ไป เม่ือวศิ วรหรอื ผูช้ ำนาญไดท้ ราบถึงสาเหตุที่
แทจ้ รงิ ของปญั หา (Root cause) ก็จะทำการแก้ไขให้ระบบกลับคืนส่สู มดลุ ย์ เชน่ ใชไ้ สก้ รองที่มปี ระสิทธิภาพ
สูงขึ้น เปลี่ยนซีลที่ขาด หรือทำการกรองน้ำมันที่สงสัยว่ามีสิ่งสกปรกผสมอยู่ เป็นต้น อย่างไรก็ตามเนื่องจาก
จำเป็นต้องใช้ทั้งเครื่องมือ บุคคลากรที่มีความชำนาญสูงในการค้นหา Root cause แนวความคิดในการซ่อม
บำรงุ แบบน้ียงั ไมแ่ พรห่ ลายมากนกั
Overall Equipment Effectiveness (OEE): ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร คือวิธีการคำนวณ
ความสามารถในการทำงานทั้งหมดของเครื่องจักรภายในโรงงาน โดยอ้างอิงจากปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและ
สรปุ ออกมาเปน็ ตวั เลข
โดยการคำนวณ OEE จะมีสว่ นประกอบหลกั 3 อยา่ ง คอื
1. อตั ราการเดินเครอ่ื งจักร (Availability)
16
2. ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองจกั ร (Performance Efficiency)
3. อัตราคุณภาพ (Quality Rate)
ซึ่งส่วนประกอบ 3 อย่างนี้ก็จะมีปัจจัยแยกย่อยลงไป เพ่ือให้การคำนวณนั้นตรงกับความเป็นจริงที่
เกิดขึ้นภายในโรงงานมากทส่ี ดุ
OEE = อตั ราเดนิ เคร่อื งจกั ร x ประสทิ ธิภาพการเดนิ เครือ่ ง x อัตราคณุ ภาพ
อตั ราการเดินเครือ่ งจักร (Availability)
อัตราการเดนิ เครอ่ื งจกั ร = เวลาเดนิ เคร่ืองจกั ร/เวลารบั ภาระงาน
เวลาเดนิ เครอ่ื งจักร = เวลารับภาระงาน – เวลาในการหยุดเดินเครอ่ื งจักร
เวลารับภาระงาน = เวลาทำงานทัง้ หมด-เวลาหยุดตามแผนงาน
ประสิทธิภาพการเดินเครอื่ งจักร (Performance Efficiency)
การคำนวณประสิทธิภาพการเดินเครื่องจักรสามารถคำนวณได้ 2 แบบ โดยอ้างอิงจากเวลาในการใช้
ตัวแปรดา้ นเวลาเพือ่ คำนวณ หรือการคำนวณจากการผลติ ช้นิ งาน โดยจะมีรายละเอยี ดดังนี้
การคำนวณประสิทธภิ าพโดยคิดจากเวลา
ประสิทธภิ าพในการเดนิ เคร่ืองจักร = (เวลาเดนิ เครือ่ งทัง้ หมด – เวลาในการหยดุ เดนิ เคร่ืองจักร)/เวลา
เดนิ เครื่องท้ังหมด
การคำนวณประสิทธิภาพโดยคิดจากการผลิตช้ินงาน
ประสทิ ธิภาพการเดินเคร่ืองจักร = จำนวนชน้ิ งานทผ่ี ลิตได้/จำนวนช้นิ งานท่ีควรผลิตไดต้ ามมาตรฐาน
อัตราคณุ ภาพ (Quality Rate)
การคำนวณอัตราคุณภาพ เป็นอีกตัวแปรที่สามารถผ่านการคำนวณได้ 2 รูปแบบ รูปแบบแรกคือการ
หาอัตราคุณภาพผ่านตัวแปรด้านเวลา ส่วนอีกรูปแบบคือการหาอัตราคุณภาพผ่านชิ้นงานที่ผลิตได้ โดยมีการ
คำนวณดังนี้
การหาอัตราคณุ ภาพโดยคดิ จากเวลา
เวลาเดนิ เครือ่ งทีเ่ กดิ มูลคา่ = เวลาเดนิ เครือ่ งสทุ ธิ – เวลาที่เสยี ไปจากการผลิตของเสยี
อตั ราคณุ ภาพ = เวลาเดินเคร่ืองทเ่ี กดิ มลู คา่ /เวลาเดนิ เครอื่ งสทุ ธิ
การหาอตั ราคุณภาพโดยคิดจากส่งิ ท่ีผลิต
อตั ราคุณภาพ = (จำนวนชนิ้ งานทผี่ ลิตได้-จำนวนช้นิ งานเสยี )/จำนวนชิน้ งานทีผ่ ลติ ได้
17
บทที่ 3
ข้อมูลสถานประกอบการ
3.1 ประวัติความเป็นมาของสถานประกอบการ
ภาพ 3.1 บรษิ ัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอร์เชยี ล วีฮเิ คลิ ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด
ภาพ 3.2 บรษิ ัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอรเ์ ชียล วีฮเิ คลิ ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกดั
18
19
20
21
ชื่ออังกฤษ : Knorr-Bremse Commercial Vehicle Systems (Thailand) Ltd.
ชื่อภาษาไทย : บริษทั คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอรเ์ ชียล วฮี เิ คิล ซสิ เต็มส์ (ประเทศไทย) จำกดั
เลขทะเบียน : 0115562002701
ประกอบธุรกิจ : การผลติ ชน้ิ สว่ นและอปุ กรณ์เสรมิ อนื่ ๆสำหรบั ยานยนต์ (ผลิต รับจา้ งผลติ ซื้อ นำเข้าสง่ ออก
จำหนา่ ย ค้าปลีกค้าส่ง ตดิ ตง้ั อะไหล่ อุปกรณ์ รถยนต์)
วันทจี่ ดทะเบียน : 25 มกราคม 2562
ทต่ี ั้ง : 863 หมทู่ ี่ 9 ตำบลหัวสำโรง อำเภอแปลงยาว จ.ฉะเชงิ เทรา
Website : www.knorr-bremse.com
ทนุ จดทะเบียน : 128,000,000 บาท
ภาพ 3.3 แผนทตี่ ้งั บรษิ ัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอรเ์ ชยี ล วีฮิเคิล ซสิ เตม็ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด
22
บทท่ี 4
วิธีการดำเนินงานของโครงงานวิจยั
บริษัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอร์เชียล วีฮิเคิล ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกัด ใช้เครื่องจักรCNC รุ่น
Mycenter-HX500l ในการผลิตอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ในการผลิตจะปัญหาเกี่ยวกับระบบน้ำcoolantมีเศษ
โลหะปนเปือ้ น และการชำรดุ ของปมั๊ มอเตอรข์ ณะผลิตงาน ทำใหก้ ระบวนการผลติ เกดิ ความล่าช้า เกิดค่าใช้จ่าย
ในการซ่อมแซม จากปญั หาข้างตน้ ทำใหเ้ กดิ ความสญู สียทั้งเวลา คา่ ใชจ้ า่ ย ซ่ึงในการวจิ ัยนี้ได้ศึกษาวิธีการและ
รปู แบบขั้นตอนการดำเนินการทำวจิ ัยอย่างเปน็ ระบบเพ่ือให้เกิดข้อมลู ท่ีถูกต้อง ซึง่ จะส่งผลให้ระบบการทำงาน
มีประสิทธิภาพเพิม่ มากขนึ้
4.1 ศึกษาและเก็บข้อมลู ทัว่ ไปของกระบวนการผลิต
เก็บรวบรวมข้อมูลการทำงานเบ้ืองต้นของเครื่องจกั รCNC รุ่น Mycenter-HX500L และกระบวนการ
ผลิตเพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการทำงานของเครื่องจักร ลักษณะการทำงานของเครื่องจักร และขั้นตอน
กระบวนการผลิตเช่น ลักษณะการทำงานของเครื่อง กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเครื่องจักรเป็น
อย่างไร จำนวนผลิตภัณฑเ์ ครือ่ งจักรผลติ ไดใ้ นแตล่ ะครัง้ ได้ปริมาณเทา่ ไร จำนวนของดแี ละของเสียท่ีได้จากการ
ผลติ
4.2 คำนวณและวเิ คราะหค์ า่ ประสิทธผิ ลโดยรวมของเครอ่ื งจักรก่อนการปรับปรงุ
นำขอ้ มูลทเ่ี กบ็ รวบรวมมาคำนวณคา่ ประสทิ ธผิ ลโดยรวมของเครือ่ งจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L
จากนั้นทำการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อทราบถึงสาเหตุของการเสื่อมสภาพของเครื่องจักร ซึ่งข้อมูลดังกล่าว ได้มา
จากใบบันทึกการแจ้งซ่อมตั้งแต่เดือนมีพฤศจิกายน 2564 – เมษายน 2565 เป็นระยะเวลา 6 เดือนเป็นระยะ
ก่อนปรับปรุงช่วงเดือนพฤศจิกายน 2564 - กุมภาพันธ์2565 กับหลังปรับปรุงการจัดทำPM บ่อยขึ้นช่วง
หลังจากเดือนกุมภาพันธ์2565 – เมษายน 2565 ดังนั้นทางผู้จัดทำจึงได้มีข้อสรุปในการจัดทำ PM เพื่อที่จะ
แก้ไขและนำผลการแก้ไขไปเป็นแนวทางในการขยายผลไปใช้กับเคร่ืองจักรอ่ืนต่อไปกำหนดแนวทางแก้ไข และ
จดั ทำระบบบำรุงรกั ษาเคร่อื งจกั ร
4.3 กำหนดแนวทางแก้ไข และจัดทำระบบบำรุงรกั ษาเครื่องจักร
กำหนดแนวทางแก้ไขสาเหตุหลักของปัญหาที่ได้ทำการวิเคราะห์ในขั้นตอน 4.2 เพื่อเพิ่มค่าประสิทธิผล
โดยรวมของเคร่ืองจกั รโดยใชเ้ ครือ่ งมอื และแนวทางในการแกป้ ัญหา ดังนี้
4.3.1 จดั ทำระบบบำรงุ รกั ษาเครื่องจกั ร CNC รนุ่ Mycenter-HX500l
- ทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) พร้อมทั้งจัดทำคู่มือบำรุงรักษา
(PM Manual) รายละเอียดการบำรุงรักษา (PM Card)
- ทำการบำรุงรักษาแบบตรวจสอบแลว้ ซ่อม (Inspection and Repair)
- ทำการบำรงุ รกั ษาแบบหลังเกดิ เหตุขัดขอ้ ง (Breakdown -Maintenance)
- จัดทำการ PM เครอื่ งจักรใหม้ แี บบรายวนั รายอาทิตย์ รายเดอื น
23
4.4 ประเมินผลการดำเนินงานโดย การวัดค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรหลังมีการจัดทำPM ให้
บ่อยขึ้น
หลงั จากไดด้ ำเนินการปรับปรุงตามวธิ ีท่ีกำหนดแล้ว จงึ ทำการประเมินผลการดำเนินงานโดยการคำนวณ
ค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรหลังการปรับปรุง แล้วนำมาเปรียบเทียบกับค่าประสิทธิผลโดยรวมของ
เครอ่ื งจักรกอ่ นการปรบั ปรงุ
4.5 สรปุ ผลการดำเนนิ งานและจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
หลังจากได้ดำเนินการปรับปรุงตามวิธีที่กำหนด และประเมินผลการดำเนินงานเรียบร้อยแล้วจึงทำการ
สรุปผลการดำเนินงานทั้งหมด และจัดทำรูปเล่มรายงานฉบับสมบรู ณ์
การคำนวณดชั นีการบำรงุ รักษาเครื่องจกั ร Burnout furnace machine
1. เวลาเฉล่ียระหวา่ งการขัดข้อง ( Mean Time Between Failure ; MTBF )
จาก MTBF = เวลาการเดินเครื่องท้ังหมด (ชม. )−เวลาเครื่องจกั รหยดุ ( ชม. )
จำนวนครัง้ ของการหยดุ เคร่อื งจักร (ครงั้ )
2. เวลาเฉลี่ยในการซอ่ ม ( Mean Time To Repair ; MTTR )
จาก MTTR = เวลาเครื่องจักรหยุด ( ชม. )
จำนวนครง้ั ของการหยุดเครื่องจักร (ครั้ง )
3. อัตราความสญู เสยี จากการหยดุ เครอ่ื ง = เวลาเครือ่ งจกั รหยดุ ( ชม. ) ) 100
เวลาในการเดนิ เครอื่ งทงั้ หมด (ชม.
4. ความพรอ้ มใช้งานเคร่ืองจักร = เวลาการเดินเคร่ืองทัง้ หมด (ชม. )−เวลาเคร่ืองจกั รหยดุ ( ชม. ) 100
จำนวนของเวลาการเดนิ เคร่ืองทัง้ หมด (ชม. )
ภาพ 4.1 เคร่อื งจักรทที่ ำการ Maintenance CNC รุ่น Mycenter-HX500L
24
เครื่องจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L ทำงาน ผู้ควบคุมต้องทำการป้อนโปรแกรมเอ็นซี เข้าไปใน
ระบบควบคุมของเครื่องโดยผ่านแป้นพิมพ์ หรือช่องทางอื่นๆเมือ่ ระบบควบคุมอ่านโปรแกรมเอ็นซีทีผ่ ู้ควบคุม
ป้อนเข้าไปแล้วก็จะไปควบคุมเครื่องจักรให้ทำงานโดยการอาศัย มอเตอร์ป้อน เพื่อทำให้แท่นเลื่อนสามารถ
เคลื่อนที่ได้ เมื่อระบบควบคุมอ่านโปรแกรมแล้วจะเปล่ียนรหัสโปรแกรม นั้นให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเพื่อเขา้
ไปควบคมุ ให้มอเตอร์ทำงาน จงึ ต้องส่งสัญญาณนี้เขา้ ไปในภาคขยายสัญญาณ ของระบบขบั (Drive Amplified)
และส่งสัญญาณไปยังมอเตอร์ป้อนเพื่อควบคุมความเร็วและระยะทางของการ เคลื่อนที่ของแท่นเลื่อนแต่
เน่ืองจากระบบควบคุมซีเอ็นซไี มส่ ามารถมองเหน็ ได้
ในการทำงานของเครื่องจักร CNC จะมนี ำ้ Coolantเป็นสารหล่อเยน็ ระบายความร้อนใหช้ ิ้นและ Tool
ในขณะท่ีเครอ่ื งกำลังทำงานอยู่ หากไมม่ นี ้ำมาหลอ่ เยน็ จะทำให้เกดิ ความเสียหายกบั ชิ้นงานและTool ไดส้ าเหตุ
ส่วนใหญ่ที่จะทำให้น้ำหล่อเย็นCoolantไม่ไหลมาจากมีเศษผุ่นและเศษผงเหล็กไปอุดตันตาม Filter ปั๊ม
มอเตอร์ไหม้ ต่างๆ
สถติ กิ าร Breakdown เคร่อื งจักร
สถติ กิ ารBreak doweช่วงเดอื น พ.ย 2564 - เม.ย 2565
7
6
6
5
5
4 4
4
3
2
11
1
0 ธ.ค 64 ม.ค 65 ก.พ 65 มี.ค 65 เม.ย 65
ชุดขอ้ มูล 1 แสดงจำนวนกำรBreak dowe
พ.ย 64
แผนภูมิแสดงสถิติการฺ Break dowe เครื่องจักร
เดือน เคร่อื งจักร 25
Breakdown
พฤศจิกายน 2564 สาเหตุ
6 ครง้ั
ธนั วาคม 2564 - ปั๊มชำรุด 1 คร้งั
มกราคม 2565 4 คร้ัง - มีอากาศในระบบปม๊ั 3 ครง้ั
กุมภาพันธ์ 2565 5 ครั้ง - Filter coolant อุดตนั 4 ครัง้
มีนาคม 2565 4 ครั้ง - มีอากาศในระบบปั๊ม 3 ครั้ง
เมษายน 2565 1 ครง้ั - Filter coolant อดุ ตนั 5 ครัง้
1 ครัง้ - มีอากาศในระบบปั๊ม 1 คร้ัง
- Filter coolant อุดตัน 4 คร้ัง
- มอี ากาศในระบบปมั๊ 1 คร้งั
- Filter coolant อดุ ตนั 3 ครัง้
- อากาศในระบบป๊ัม 1 ครัง้
- Filter coolant อุดตัน 1 ครั้ง
แสดงสาเหตกุ าร Breakdownn เครอ่ื งจักร
Filter coolant ตนั
เกิดจากเศษผงเหล็กหรือฝ่นุ ท่ีเขา้ ไปอดุ ตันในขณะท่ีปั๊มกำลังดดู นำ้ เพื่อไปหล่อเย็นให้กบั ช้ินงานและTool
ภาพ 4.1 Filter coolant ตันเกดิ จากเศษผงเหลก็ หรือฝุ่น
การแก้ไขปญั หา
- ทำความสะอาด Filterโดยการนำไปใชน้ ำ้ ยาทำความสะอาดลา้ งทำความใช้ลมเปา่ ให้สะอาดและจัดทำ
แผน PMเขา้ บำรงุ รักษา
Before 26
After
ภาพ 4.2 กอ่ นทำหลงั ทำการทำความสะอาด Filter Coolant
มอี ากาศในระบบปั๊ม
ภาพ 4.3 การแก้ไขปัญหาอากาศในระบบป๊ัม ภาพ 4.4 เปล่ยี นปั๊มมอเตอร์ใหม่
การแกไ้ ขปัญหา
- ทำการไล่อากาศในระบบถอดสายน้ำยาออกทำการเปดิ ไลอ่ ากาศออกจากระบบ Coolant
- เปล่ียนมอเตอรใ์ หม่
- เชค็ คสาเหตุของการชำรุดทเี่ กิดกับมอเตอร์
27
ภาพที่ 4.5 แผนผงั การตดิ ตงั้ เครือ่ ง
28
บทท่ี 5
ผลการดำเนินงาน
จากการศึกษา และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับระบบการบำรุงรักษาของเครื่องจักรของบริษัท คนอร์-เบรมเซอร์
คอมเมอร์เชียล วฮี เิ คลิ ซสิ เตม็ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยไดใ้ ชห้ ลกั การและทฤษฎที ่ีเก่ียวข้องมาประกอบ เพ่ือ
เป็นแนวทางแกไ้ ขและปรบั ปรุง
5.1 ศกึ ษาและเกบ็ ข้อมูลทัว่ ไปของเครื่องจกั รและกระบวนการผลติ
จากการเกบ็ ข้อมลู เครื่องจักร CNC รนุ่ Mycenter-HX500L
5.2 คำนวณค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรก่อนการดำเนินการปรับปรุง (Overall Equipment
Effectiveness: OEE)
ผู้จัดทำได้ทำการเก็บข้อมูลดิบก่อนการปรับปรุงและได้ทำการคำนวณค่า OEE ซึ่งได้ยกตัวอย่างการ
คำนวณค่า OEE ของเครือ่ งจักร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L ตามตาราง 5.1 แสดงไวใ้ นภาคผนวก ก
ในการเก็บข้อมูลดิบน้นั เราได้ใชน้ าฬิกาจับเวลาในการเก็บเพ่ือคำนวณค่า OEE โดยทำการจับเวลาอยู่ 4
ส่วนหลัก ไดแ้ ก่
1. เวลาทั้งหมด คือ จับเวลาตั้งแต่พนักงานได้ทำการเปิดเครื่องจักรจนปิดเครื่องจักรกรณีของ
บริษัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอรเ์ ชยี ล วีฮิเคิล ซิสเตม็ ส์ (ประเทศไทย) จำกดั เป็นการผลติ แบบตอ่ เนื่อง
2. เวลาสูญเสีย เวลาทเี่ ครอื่ งจักรหยุด หรอื การปรับตงั้ ค่าเคร่ืองจกั รก่อนการทำงานโดยทำการจับ
เวลาตั้งแต่พนักงานเริ่มเตรียมชิ้นงาน เตรียมเครื่องจักรจนชิ้นงานชิ้นแรกถูกทำงานบนเครื่องจักร ซึ่งจะเป็น
เวลาในการปรับตงั้ ค่าเคร่อื งจักร
3. เวลาสูญเสียความเร็วหรือเวลาสูญเสียจากการเดินเครื่องเปล่า โดยทำการจับเวลาขณะที่
เคร่อื งจักรวา่ งหรอื ไม่ได้ถูกกระทำกับชนิ้ งาน
4. เวลาหยดุ ตามแผน คอื เวลาท่ีเครื่องจักรหยุดตามแผนงาน
5.3 ดชั นีช้ีวัดประสทิ ธภิ าพการบำรงรักษาประกอบดว้ ย
1. เวลาเฉลีย่ ระหว่างการขดั ข้อง ( Mean Time Between Failure ; MTBF )
2. เวลาเฉลี่ยในการซ่อม ( Mean Time To Repair ; MTTR )
3. อตั ราการศูนย์เสยี จากการหยดุ เคร่ืองจักร
4. ความพรอ้ มใช้งานของ
5.3.1 ค่า MTBF, MTTR ,อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร,ความพร้อมใช้งานเคร่อื งจักรก่อน
มีการปรบั ปรงุ ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม
29
1. เวลาเฉล่ยี ระหว่างการขัดข้อง ( Mean Time Between Failure ; MTBF)
จาก MTBF = เวลาการเดนิ เครือ่ งท้งั หมด (ชม. )−เวลาเคร่ืองจักรหยดุ ( ชม. )
MTBF จำนวนครัง้ ของการหยุดเครื่องจกั ร (ครั้ง )
= 2,160−203.7 = 130.42 ชม./คร้งั
15
2. เวลาเฉลย่ี ในการซ่อม ( Mean Time To Repair ; MTTR )
จาก MTTR = เวลาเครอื่ งจกั รหยุด ( ชม. )
จำนวนครัง้ ของการหยุดเคร่ืองจักร (คร้ัง )
MTTR = 203.7 = 33.95 ชม./ครงั้
15
3. อัตราความสญู เสียจากการหยดุ เครอ่ื งจักร
= เวลาเคร่อื งจักรหยดุ ( ชม. ) ) 100
เวลาในการเดนิ เครื่องทั้งหมด (ชม.
= 203.7 100 = 9.43%
2,160
4. ความพร้อมใชง้ านเคร่ืองจักร
= เวลาการเดนิ เครอื่ งท้งั หมด (ชม. )−เวลาเครอ่ื งจกั รหยุด ( ชม. ) 100
จำนวนคร้งั ของเวลาการเดนิ เคร่อื งทงั้ หมด (ชม. )
= 2,160−203.7 100 = 90.56%
MTTR
2,160
จากผลการคำนวณก่อนปรับปรงุ ค่า MTBF คือ 130.42 ชม./ครัง้ ,ค่า MTTR คอื 33.95 ชม./ครัง้ ,
อตั ราความสูญเสยี จากการหยุดเคร่อื งจักร คือ 9.43 เปอร์เซ็นต์ ,ความพรอ้ มใชง้ านเคร่ืองจกั ร คอื 90.56
เปอร์เซ็นต์
5.3.2 ค่า MTBF, MTTR ,อัตราความสญู เสียจากการหยุดเครอื่ งจักร,ความพร้อมใช้งานเครอ่ื งจักรหลงั
มกี ารปรับปรุงช่วง เดอื นกมุ ภาพันธ์นถงึ เดือนเมษายน
1. เวลาเฉลีย่ ระหว่างการขัดข้อง ( Mean Time Between Failure ; MTBF)
จาก MTBF = เวลาการเดนิ เครือ่ งท้ังหมด (ชม. )−เวลาเคร่ืองจกั รหยุด ( ชม. )
MTBF จำนวนครง้ั ของการหยดุ เคร่ืองจักร (ครั้ง )
= 2,112−67.91 = 340.68 ชม./คร้งั
6
2. เวลาเฉลยี่ ในการซ่อม ( Mean Time To Repair ; MTTR )
จาก MTTR = เวลาเคร่อื งจกั รหยดุ ( ชม. )
จำนวนครง้ั ของการหยดุ เคร่ืองจักร (ครงั้ )
MTTR = 67.91 = 11.31ชม./คร้งั
6
30
3.อัตราความสูญเสยี จากการหยุดเครื่องจักร
= เวลาเครอ่ื งจักรหยดุ ( ชม. ) ) 100
เวลาในการเดนิ เครอ่ื งทั้งหมด (ชม.
= 67.91 100 = 3.21%
2,112
4.ความพร้อมใช้งานเครือ่ งจักร
= เวลาการเดนิ เครื่องทั้งหมด (ชม. )−เวลาเครอ่ื งจกั รหยดุ ( ชม. ) 100
จำนวนคร้ังของเวลาการเดินเครือ่ งท้ังหมด (ชม. )
= 2,112−67.91 100 = 96.78 %
MTTR
2,112
จากผลการคำนวณหลังการปรับปรุง ค่า MTBF คือ 340.68 ชม./ครัง้ ,ค่า MTTR คอื 11.31 ชม./คร้ัง,
อัตราความสูญเสียจากการหยุดเครอ่ื งจักร คอื 3.21 เปอร์เซ็นต์ ,ความพรอ้ มใช้งานเครื่องจกั ร คอื 96.78
เปอรเ์ ซ็นต์
31
ตาราง 5.1 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเคร่อื งจักร CNC รนุ่ Mycenter-HX500L
เดือนพฤศจกิ ายน 2564 ( ก่อนมกี ารปรบั ปรุง )
เครื่องจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L งานที่ งานท่ี งานที่ เฉลย่ี หนว่ ย
1 2 3 ช่วั โมง
เวลาท้ังหมด 24 ชั่วโมง x 30 วัน 720 720 720
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพกั เทีย่ งกะเช้า,ดึก+พกั เบรคชว่ งเย็น 90 90 90 ชว่ั โมง
เวลารบั ภาระงาน เวลาทั้งหมด - เวลาหยดุ ตามแผน 630 630 630 ชั่วโมง
การสญู เสยี เวลาที่เครือ่ งจกั รหยุด การปรับตั้งคา่ เคร่อื งจกั ร 60 65 55 ชั่วโมง
เวลาเดนิ เครอื่ งจรงิ เวลารับภาระงาน - การสญู เสยี เวลาท่ี 570 565 575 ชั่วโมง
เครอ่ื งจกั รหยดุ
อตั ตราการเดินเครอื่ ง เวลาเดินเครอื่ งจรงิ /เวลารับภาระงาน 90.47 89.68 91.26 92.32 รอ้ ยละ
เวลาสญู เสยี ความเรว็ สูญเสียจากการเดนิ เคร่ืองเปลา่ 45 30 50 ชั่วโมง
เวลาเดนิ เครอ่ื งสุทธิ เวลาเดนิ เคร่ืองจริง - เวลาสญู เสียความเรว็ 520 535 525 ชว่ั โมง
ประสิทธภิ าพในการเดนิ เวลาเดินเครือ่ งสุทธิ/เวลาเดนิ เครอ่ื งจรงิ 91.22 94.69 91.30 92.40 รอ้ ยละ
เคร่ืองจักร
จำนวนชิ้นงานทง้ั หมดท่ผี ลิตได้ งานที่ผลิตท้ังหมด 1,140 974 991 ช้นิ
จำนวนชิน้ งานเสยี งานทผ่ี ลิตแล้วไมต่ รงตามมาตรฐาน 434 ชิน้
จำนวนชน้ิ งานดี งานท่ีผลิตแลว้ ตรงตามมาตรฐาน 1,136 971 987 ชนิ้
อตั ราคณุ ภาพ จำนวนชิ้นงานท่ีผลติ ได้-(จำนวนงานเสยี +งาน 99.82 99.69 99.59 99.7 รอ้ ยละ
ซอ่ ม)/งานท่ผี ลติ ไดท้ ้งั หมด
ประสิทธผิ ลโดยรวมของ
เครอ่ื งจกั ร : OEE อตั ราเดินเครื่อง x ประสิทธภิ าพเดนิ เครือ่ ง x 82.37 84.10 82.97 83.14 เปอรเ์ ซน็ ต์
อตั ราคณุ ภาพ
จากตาราง 5.1 แสดงผลการคำนวณคา่ OEE ของเครื่องจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L เดอื น พฤศจิกายน
2564 ก่อนการปรบั ปรุงเดนิ งานท้ังหมด 3 Part
จะเห็นได้ว่า อัตราการเดินเครื่อง 92.32 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร 92.40 เปอร์เซ็นต์
อัตราคุณภาพ 99.7 เปอรเ์ ซน็ ต์ ประสิทธิผลโดยรวมของเครือ่ งจกั ร : OEE 83.14 เปอร์เซน็ ต์
32
ตาราง 5.2 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเครอ่ื งจกั ร CNC รนุ่ Mycenter-HX500L
เดือน ธันวาคม 2564 (กอ่ นมกี ารปรบั ปรุง)
เคร่ืองจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L งานที่ งานที่ เฉลีย่ หน่วย
1 2
เวลาทั้งหมด 24 ชั่วโมง x 31 วัน 744 720 ชว่ั โมง
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพกั เทยี่ งกะเช้า,ดึก+พกั เบรคชว่ งเย็น 90 90 ชว่ั โมง
เวลารับภาระงาน เวลาทั้งหมด - เวลาหยุดตามแผน 654 630 ช่วั โมง
การสญู เสยี เวลาทเ่ี คร่อื งจกั รหยุด การปรบั ตั้งค่าเครอ่ื งจักร 55 65 ชัว่ โมง
เวลาเดินเคร่ืองจรงิ เวลารบั ภาระงาน - การสญู เสยี เวลาที่เครื่องจกั ร 599 565 ชั่วโมง
หยุด
อัตตราการเดินเคร่อื ง เวลาเดนิ เคร่ืองจรงิ /เวลารบั ภาระงาน 91.59 89.68 90.63 รอ้ ยละ
เวลาสญู เสียความเรว็ สูญเสยี จากการเดนิ เคร่ืองเปล่า 40 35 ชั่วโมง
เวลาเดนิ เครือ่ งสทุ ธิ เวลาเดนิ เคร่ืองจริง - เวลาสญู เสียความเรว็ 559 535 ชั่วโมง
ประสิทธภิ าพในการเดนิ เครื่องจักร เวลาเดนิ เคร่ืองสุทธ/ิ เวลาเดนิ เครอื่ งจริง 93.32 94.69 94 ร้อยละ
จำนวนชน้ิ งานทั้งหมดทผ่ี ลิตได้ งานทผ่ี ลิตท้งั หมด 1,000 1050 ชิ้น
จำนวนช้ินงานเสยี งานทผ่ี ลติ แลว้ ไมต่ รงตามมาตรฐาน 43 ชิ้น
จำนวนช้นิ งานดี งานทผี่ ลิตแล้วตรงตามมาตรฐาน 946 1,047 ชน้ิ
อตั ราคณุ ภาพ จำนวนช้ินงานทผ่ี ลติ ได้-(จำนวนงานเสีย+งาน 94.60 99.71 97.15 รอ้ ยละ
ซอ่ ม)/งานทผ่ี ลติ ได้ทง้ั หมด
ประสิทธผิ ลโดยรวมของเคร่อื งจักร : อตั ราเดินเคร่อื ง x ประสทิ ธภิ าพเดนิ เครื่อง x อัตรา 80.85 84.67 82.76 เปอรเ์ ซน็ ต์
OEE คณุ ภาพ
จากตาราง 5.2 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเคร่ืองจักร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L เดือน ธันวาคม
2564 ก่อนการปรับปรงุ เดนิ งานทัง้ หมด 2 Part
จะเห็นได้ว่า อัตราการเดินเครื่อง 90.63 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร 94 เปอร์เซ็นต์
อตั ราคณุ ภาพ 97.15 เปอร์เซน็ ต์ ประสทิ ธผิ ลโดยรวมของเคร่อื งจักร : OEE 82.76 เปอรเ์ ซ็นต์
33
ตาราง 5.3 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเครอ่ื งจกั ร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L
เดือน มกราคม 2565 (ก่อนมกี ารปรับปรุง)
เครอ่ื งจกั ร CNC รุ่น Mycenter-HX500L งานท่ี งานท่ี งานท่ี งานที่ เฉลี่ย หน่วย
1 2 3 4
เวลาท้งั หมด 24 ชวั่ โมง x 30 วนั 720 720 720 720 ช่วั โมง
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพักเทีย่ งกะเชา้ ,ดึก+พกั เบรคช่วงเย็น 90 90 90 90 ชว่ั โมง
เวลารับภาระงาน เวลาท้งั หมด - เวลาหยดุ ตามแผน 630 630 630 630 ชั่วโมง
การสญู เสยี เวลาทเ่ี คร่ืองจักร การปรบั ตัง้ ค่าเครอ่ื งจักร 65 55 50 45 ชั่วโมง
หยุด
เวลาเดนิ เคร่ืองจรงิ เวลารบั ภาระงาน - การสูญเสยี เวลาที่ 565 575 580 585 ชั่วโมง
เครื่องจักรหยดุ
อตั ตราการเดินเครอ่ื ง เวลาเดินเครื่องจริง/เวลารบั ภาระงาน 89.68 91.26 92.06 92.85 91.46 รอ้ ยละ
เวลาสญู เสียความเร็ว สูญเสยี จากการเดินเครอื่ งเปลา่ 45 30 50 35 ชั่วโมง
เวลาเดินเครื่องสุทธิ เวลาเดนิ เคร่ืองจริง - เวลาสญู เสยี ความเร็ว 520 535 525 550 ชว่ั โมง
ประสทิ ธภิ าพในการเดนิ เวลาเดินเครอ่ื งสทุ ธิ/เวลาเดินเครอื่ งจรงิ 92.03 93.04 90.51 94.02 92.4 รอ้ ยละ
เคร่ืองจกั ร
จำนวนชิน้ งานทัง้ หมดท่ผี ลติ ได้ งานทีผ่ ลิตทง้ั หมด 1,000 950 1,024 1,000 ชิ้น
จำนวนช้ินงานเสยี งานทผี่ ลติ แลว้ ไมต่ รงตามมาตรฐาน 1 1 2 2 ชิ้น
จำนวนชิ้นงานดี งานท่ีผลติ แล้วตรงตามมาตรฐาน 999 949 1,022 998 ชิน้
อตั ราคณุ ภาพ จำนวนช้ินงานที่ผลติ ได้-(จำนวนงานเสีย+ 99.90 99.89 99.80 99.80 99.84 รอ้ ยละ
งานซ่อม)/งานทผี่ ลติ ไดท้ งั้ หมด
ประสิทธผิ ลโดยรวมของ อัตราเดินเคร่ือง x ประสทิ ธิภาพเดินเคร่อื ง 82.44 84.80 83.13 87.12 84.39 เปอรเ์ ซน็ ต์
เครอ่ื งจักร : OEE x อตั ราคุณภาพ
จากตาราง 5.3 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเคร่ืองจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L เดือน มกราคม
2565 เริ่มมีการปรับปรงุ เดนิ งานทงั้ หมด 4 Part
จะเห็นได้ว่า อัตราการเดินเครื่อง 92.32 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร 92.40 เปอร์เซ็นต์
อตั ราคุณภาพ 99.7 เปอร์เซน็ ต์ ประสทิ ธผิ ลโดยรวมเฉลย่ี ของเครื่องจกั ร : OEE 83.14 เปอร์เซ็นต์
34
ตาราง 5.4 คา่ เฉล่ยี OEE ของเครอ่ื งจกั ร กอ่ นการปรบั ปรงุ
ประสทิ ธิภาพการเดินเคร่ือง อตั ราการ ประสิทธภิ าพใน อตั ราคุณภาพ คา่ ประสิทธิผล
ประจำเดือน เดนิ เครื่อง การเดินเครอื่ ง (เปอร์เซ็นต์) โดยรวมของ
(เปอร์เซ็นต์) (เปอรเ์ ซ็นต)์ เครื่องจกั ร
พฤศจิกายน 2564 92.40 (เปอรเ์ ซน็ ต์)
ธันวาคม 2564 92.32 91.30 97.15
มกราคม 2565 90.63 94 99.8 83.14
91.46 92.4 82.76
84.39
จากตาราง 5.4 พบวา่ ไดค้ ่า OEE กอ่ นการปรบั ปรุงของแตล่ ะเดอื นในการทำงานเครื่องจักร ดังนี้ เดือน
พฤศจิกายน 2564 คือ 83.14 เปอร์เซ็นต์ เดอื นธนั วาคม 2564 คือ 82.76 เปอรเ์ ซน็ ต์ และ เดือนมกราคม
2565 คือ 84.39 เปอร์เซน็ ต์
5.4 แผนผงั สาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
5.3 แผนผังสาเหตแุ ละผล (Cause and Effect Diagram)
ภาพ 5.1 แผนผังก้างปลาวิเคราะหส์ าเหตขุ องปญั หาของเคร่อื งจักรอตั โนมัติ การใชเ้ คร่อื งจกั รไม่
เต็มประสทิ ธิภาพ แสดงการประเมินสาเหตุของปัญหา ของเครอ่ื งจักรทคี่ วบคุมโดยคนงาน
(Manual -Machine) ดังภาพ
ตาราง 5.5 เกณฑก์ ารแบง่ ประเภทการบำรงุ รักษา 35
เกณฑก์ ารให้ เกรด การดแู ลรกั ษา
คะแนน การบำรงุ รกั ษาเชงิ ป้องกัน
A การตรวจเชค็ แล้วซ่อม
80 - 105 B การบำรงุ รกั ษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง
50 - 79 C
< 50
1. เกรดเอ (A) ทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) พร้อมทั้งจัดทำคู่มือ
บำรุงรักษา (PM Manual) แสดงไวใ้ นภาคผนวก ง รายละเอียดการบำรุงรักษา (PM Card)
2. เกรดบี (B) ทำการบำรุงรักษาแบบตรวจสอบแล้วซ่อม (Inspection and Repair)ทำการ
บำรุงรักษาแบบตรวจสอบแล้วซ่อม (Inspection & Repair) กับเครื่องจักรที่ได้เกรดบีจากการประเมิน
ความสำคัญในการใชง้ านเครอื่ งจกั รในการผลิต
การตรวจสอบ (Inspection) มกี ารดำเนินการตรวจสอบใน 3 ลกั ษณะ คือ
• การตรวจสอบรายวนั (Daily Inspection) ตรวจสอบสภาพสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเครือ่ งจัก
• การตรวจสอบประจำ (Routine Inspection) เปน็ การตรวจสอบโครงสรา้ งหลักของเครื่องจักร
เปน็ ประจำทุกเดอื นตามแผนงานในแตล่ ะปีเช่น
- ชุดเฟืองป้อน (FEED GEAR) ต้องสามารถทดส่งกำลังไปให้เพลานำและเพลาป้อนในการ
กลึงอตั โนมตั ิได
• การตรวจสอบพิเศษ (Special Inspection) ตรวจสอบสภาพโครงสรา้ งทางพเิ ศษ นอกเหนอื ไปจาก
การตรวจสอบรายวนั และการตรวจสอบประจำดว้ ยวธิ กี ารท่ซี บั ซอ้ นขึน้ เช่น
- กันสะท้าน ตอ้ งสามารถปอ้ งกันการโกง่ งอของช้ินงานขณะทำงานได้
การบำรงุ รกั ษา/ซอ่ มแซม (Maintenance/Repair) แบง่ เปน็ 2 ลักษณะ คอื
• การบำรุงรักษา (Maintenance) เพื่อป้องกันและยืดอายุการใช้งานของส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
เครื่องจักร เชน่
- หลงั จากเลิกใชง้ านแลว้ ตอ้ งเช็ดทำความสะอาดเคร่ืองกดั
- หลอ่ เย็นดว้ ยน้ำมันหล่อเย็นขณะกลึงช้นิ งาน เพอื่ ระบายความรอ้ นทเ่ี กิดข้ึนจากการตัดเฉือน
โลหะ และเป็นการช่วยยดื อายุการใชง้ านของคมตดั เคร่ืองมือตัดด้วย
• การซ่อมแซม (Repair) ความเสียหายที่ถูกตรวจพบ และถูกวินิจฉัยว่าอยู่ในระดบั ท่ีต้องซ่อมแซม จะ
ไดร้ ับการพจิ ารณาหาวธิ ีซ่อมแซมทถ่ี ูกต้องเหมาะสม
3. เกรดซ(ี C) ทำการบำรงุ รักษาแบบหลังเกดิ เหตุขัดข้อง (Breakdown -Maintenance)
36
ทำการบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance) กับเครื่องจักรที่ได้เกรดซี จาก
การประเมินความสำคัญในการใช้งานเครื่องจักรในการผลิต ซึ่งเครื่องจักรที่ได้เกรดซีคือ เครื่องเจียระไน
(Grinding)
การบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance) จะเป็นการบำรุงรักษาเมื่อ
เครอื่ งจักรเกดิ การชำรุดและหยดุ การทำงานโดยฉุกเฉนิ ซง่ึ เราจะไม่รลู้ ว่ งหน้าว่าเคร่ืองจักรจะขัดข้องดังนั้นการ
บำรงุ รักษาจะทำตามสถานการณ์และแก้ไขแค่ส่วนทขี่ ัดข้องเท่านัน้
5.5.1 จัดทำแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการบำรุงรักษาเครื่องจักร ซึ่งได้แสดงไว้ในภาคผนวก ง และ
ภาคผนวก จ เพื่อเสนอเป็นแนวทางในการนำไปใช้ ซึ่งแบบฟอร์มที่ใช้ช่วยในการเก็บข้อมูลการบำรุงรักษาได้
แสดงไว้ในภาคผนวก ฉ มดี ังนี้
1. ใบแจง้ ซอ่ มเคร่ืองจกั ร
2. ใบบนั ทึกประวัติการซ่อม
3. ใบบนั ทึกการบำรุงรกั ษา
37
ตาราง 5.6 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเครอ่ื งจกั ร CNC รุ่น Mycenter-HX500L
เดือน กุมภาพันธ์ 2565 ( เริ่มมีการปรับปรงุ )
เครอื่ งจักร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L งานท่ี งานท่ี งานท่ี เฉลย่ี หนว่ ย
1 2 3
เวลาท้งั หมด 24 ชั่วโมง x 28 วัน 672 672 672 ชัว่ โมง
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพักเท่ยี งกะเชา้ ,ดึก+พักเบรคชว่ งเยน็ 90 90 90 ชั่วโมง
เวลารบั ภาระงาน เวลาทงั้ หมด - เวลาหยดุ ตามแผน 582 582 582 ชั่วโมง
การสญู เสยี เวลาที่เครอื่ งจักรหยุด การปรบั ต้ังคา่ เคร่ืองจักร 40 35 35 ชว่ั โมง
เวลาเดนิ เคร่อื งจริง เวลารับภาระงาน - การสญู เสยี เวลาที่ 542 547 547 ชั่วโมง
เครื่องจักรหยดุ
อตั ตราการเดินเครื่อง เวลาเดนิ เคร่ืองจรงิ /เวลารบั ภาระงาน 93.12 93.98 93.98 93.69 ร้อยละ
เวลาสญู เสยี ความเร็ว สูญเสยี จากการเดนิ เครอ่ื งเปลา่ 20 20 25 ช่วั โมง
เวลาเดนิ เครอื่ งสุทธิ เวลาเดนิ เคร่ืองจริง - เวลาสญู เสียความเรว็ 522 527 522 ช่ัวโมง
ประสทิ ธภิ าพในการเดนิ เวลาเดนิ เครื่องสทุ ธิ/เวลาเดนิ เครอ่ื งจรงิ 96.30 96.34 96.30 96.31 รอ้ ยละ
เครื่องจักร
จำนวนชิ้นงานทง้ั หมดที่ผลติ ได้ งานท่ผี ลติ ท้งั หมด 950 1,000 991 ชิน้
จำนวนช้นิ งานเสยี งานท่ีผลิตแลว้ ไมต่ รงตามมาตรฐาน 112 ชิ้น
จำนวนชิ้นงานดี งานทผี่ ลิตแล้วตรงตามมาตรฐาน 949 999 989 ชน้ิ
อตั ราคณุ ภาพ จำนวนช้ินงานทผี่ ลิตได้-(จำนวนงานเสยี +งาน 99.89 99.90 99.79 99.86 รอ้ ยละ
ซ่อม)/งานทผ่ี ลติ ไดท้ ง้ั หมด
ประสทิ ธผิ ลโดยรวมของ อัตราเดนิ เครื่อง x ประสทิ ธิภาพเดินเครือ่ ง x 89.57 90.44 90.13 90.04 เปอร์เซน็ ต์
เครอ่ื งจักร : OEE อัตราคณุ ภาพ
จากตาราง 5.6 แสดงผลการคำนวณคา่ OEE ของเครื่องจักร CNC รนุ่ Mycenter-HX500L เดอื น กุมภาพนั ธ์
2565 หลังเร่มิ มีการปรบั ปรงุ เดนิ งานทัง้ หมด 3 Part
จะเห็นไดว้ า่ อัตราการเดินเคร่ือง 93.69 เปอร์เซน็ ต์ ประสิทธภิ าพในการเดนิ เคร่ืองจักร 96.31 เปอรเ์ ซน็ ต์
อตั ราคุณภาพ 99.86 เปอรเ์ ซ็นต์ ประสิทธผิ ลโดยรวมของเครอ่ื งจักร : OEE 90.04 เปอร์เซ็นต์
38
ตาราง 5.7 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเคร่อื งจกั ร CNC รุ่น Mycenter-HX500L
เดอื น มนี าคม 2565 ( หลงั มกี ารปรับปรุง )
เคร่ืองจกั ร CNC รุ่น Mycenter-HX500L งานท่ี งานท่ี งานที่ งานที่ เฉล่ยี หน่วย
1 2 3 4
เวลาทัง้ หมด 24 ชั่วโมง x 30 วัน 720 720 720 720 ชวั่ โมง
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพักเท่ยี งกะเช้า,ดึก+พกั เบรคช่วงเยน็ 90 90 90 90 ชว่ั โมง
เวลารบั ภาระงาน เวลาท้ังหมด - เวลาหยุดตามแผน 630 630 630 630 ชั่วโมง
การสญู เสยี เวลาท่ีเครือ่ งจกั ร การปรบั ตงั้ ค่าเครือ่ งจกั ร 30 15 30 18 ชั่วโมง
หยุด
เวลาเดินเครอ่ื งจรงิ เวลารบั ภาระงาน - การสูญเสยี เวลาที่ 600 615 610 612 ชั่วโมง
เครือ่ งจกั รหยดุ
อตั ตราการเดนิ เคร่อื ง เวลาเดินเครอ่ื งจรงิ /เวลารบั ภาระงาน 95.23 97.61 96.82 97.14 94.17 รอ้ ยละ
เวลาสญู เสยี ความเร็ว สญู เสียจากการเดนิ เครือ่ งเปล่า 25 33 20 22 ชั่วโมง
เวลาเดนิ เครื่องสุทธิ เวลาเดินเครือ่ งจรงิ - เวลาสญู เสียความเร็ว 575 582 590 590 ชัว่ โมง
ประสทิ ธภิ าพในการเดนิ เวลาเดนิ เคร่ืองสทุ ธิ/เวลาเดนิ เครอื่ งจรงิ 95.83 94.63 96.72 96.72 95.97 ร้อยละ
เครอ่ื งจักร
จำนวนช้ินงานท้ังหมดทผี่ ลติ งานทผี่ ลิตทงั้ หมด 1,140 974 1,000 1,000 ชนิ้
ได้
จำนวนชน้ิ งานเสีย งานท่ีผลิตแลว้ ไมต่ รงตามมาตรฐาน 4 3 2 2 ชิ้น
จำนวนช้ินงานดี งานทีผ่ ลิตแล้วตรงตามมาตรฐาน 1,136 971 998 998 ชน้ิ
อตั ราคณุ ภาพ จำนวนชิ้นงานท่ีผลิตได้-(จำนวนงานเสีย+ 99.82 99.69 99.80 99.80 99.7 รอ้ ยละ
งานซอ่ ม)/งานท่ผี ลติ ไดท้ งั้ หมด
ประสิทธผิ ลโดยรวมของ อัตราเดนิ เคร่ือง x ประสทิ ธภิ าพเดนิ เครื่อง 91.02 92.08 93.45 93.76 92.57 เปอรเ์ ซน็ ต์
เคร่ืองจกั ร : OEE x อตั ราคุณภาพ
จากตาราง 5.7 แสดงผลการคำนวณคา่ OEE ของเครื่องจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L เดอื น มีนาคม
2565 หลงั เริ่มมีการปรับปรงุ เดนิ งาน ทัง้ หมด 4 Part
จะเห็นได้ว่า อัตราการเดินเครื่อง 94.17 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร 95.97 เปอร์เซ็นต์
อัตราคุณภาพ 99.7 เปอรเ์ ซน็ ต์ ประสิทธิผลโดยรวมของเครือ่ งจักร : OEE 92.57 เปอรเ์ ซ็นต์
39
ตาราง 5.8 แสดงผลการคำนวณคา่ OEE ของเคร่ืองจกั ร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L
เดือน เมษายน 2565 ( หลงั มกี ารปรบั ปรงุ )
เครอ่ื งจักร CNC รุ่น Mycenter-HX500L งานท่ี งานท่ี งานท่ี เฉล่ีย หนว่ ย
1 2 3
ชวั่ โมง
เวลาทัง้ หมด 24 ช่ัวโมง x 30 วัน 720 720 720 ชั่วโมง
เวลาหยดุ ตามแผน เวลาพกั เทย่ี งกะเช้า,ดึก+พักเบรคชว่ งเยน็ ชั่วโมง
เวลารบั ภาระงาน 90 90 90 ชั่วโมง
การสญู เสยี เวลาทเี่ คร่ืองจกั ร เวลาท้งั หมด - เวลาหยดุ ตามแผน
630 630 630
หยุด การปรับต้ังคา่ เครอ่ื งจักร
12 9 5
เวลาเดินเครอื่ งจริง เวลารับภาระงาน - การสญู เสยี เวลาท่ี
เครอื่ งจักรหยดุ 618 621 625 ช่ัวโมง
อตั ตราการเดินเคร่อื ง
เวลาสญู เสยี ความเรว็ เวลาเดนิ เครอื่ งจรงิ /เวลารบั ภาระงาน 98.09 98.57 99.20 98.62 รอ้ ยละ
สูญเสยี จากการเดนิ เคร่อื งเปล่า 655 ชั่วโมง
เวลาเดินเคร่อื งสทุ ธิ เวลาเดินเคร่อื งจรงิ - เวลาสญู เสยี 612 616 620 ชั่วโมง
ความเร็ว
ประสทิ ธภิ าพในการเดนิ 99.02 99.19 99.2 99.13 รอ้ ยละ
เครื่องจกั ร เวลาเดนิ เครื่องสุทธ/ิ เวลาเดินเครอื่ งจริง
974 1,010 1,000 ชิน้
จำนวนชนิ้ งานทง้ั หมดท่ีผลิต งานทผ่ี ลิตทั้งหมด
ได้ 121 ชิน้
งานทผ่ี ลติ แล้วไมต่ รงตามมาตรฐาน 973 1,008 999 ชน้ิ
จำนวนช้ินงานเสีย งานที่ผลติ แล้วตรงตามมาตรฐาน
จำนวนชิ้นงานดี จำนวนชน้ิ งานทผี่ ลติ ได้-(จำนวนงานเสยี + 99.69 99.69 99.80 99.72 รอ้ ยละ
งานซอ่ ม)/งานที่ผลติ ได้ทงั้ หมด
อัตราคณุ ภาพ อัตราเดนิ เคร่ือง x ประสิทธิภาพ 96.82 97.43 98.20 97.48 เปอร์เซน็ ต์
ประสิทธผิ ลโดยรวมของ เดินเครอื่ ง x อตั ราคุณภาพ
เคร่อื งจกั ร : OEE
จากตาราง 5.8 แสดงผลการคำนวณค่า OEE ของเคร่ืองจักร CNC ร่นุ Mycenter-HX500L เดือน เมษายน
2565 หลงั การปรบั ปรุงเดินงานทัง้ หมด 3 Part
จะเห็นได้ว่า อัตราการเดินเครื่อง 98.62 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร 99.13 เปอร์เซ็นต์
อัตราคณุ ภาพ 99.72 เปอรเ์ ซ็นต์ ประสทิ ธิผลโดยรวมของเครอ่ื งจักร : OEE 97.48 เปอร์เซ็นต์
40
บทที่ 6
สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ
จากการการเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่องจักรไปประยุกต์ใชก้ ับบริษัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอม
เมอร์เชียล วีฮิเคิล ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จำกัดพบว่าเครื่องจักรมีค่าประสิทธิผลโดยรวม (OEE) ของ
เคร่ืองจักรสูงขึ้น ซ่ึงทำให้สามารถเพม่ิ อัตราการผลติ ไดโ้ ดยในบทน้จี ะเกย่ี วกบั การสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา
ทพี่ บจากการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ
6.1 สรุปผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินงานในครั้งน้ี จะเห็นไดว้ า่ ระบบการบำรุงรักษาตามเกณฑ์การแบ่งประเภทเคร่ืองจักรของ
แต่ละประเภทมีความเหมาะสม คือ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) การตรวจเช็ค
แล้วซ่อม (Inspection & Repair) และการบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown - Maintenance)
ตามลำดับ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับบริษัท คนอร์-เบรมเซอร์ คอมเมอร์เชียล วีฮิเคิล ซิสเต็มส์
(ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งผลที่ได้จากการปรับปรุงระบบการบำรุงรักษาแล้ว พบว่ามีค่าประสิทธิผลโดยรวมของ
เครอื่ งจกั รเพม่ิ ขึน้ ดงั นี้
ประสิทธภิ าพจากการปรับปรุงการบำรงุ รกั ษาเครื่องจักรท่ีเพิม่ ขึ้น 9.93 เปอร์เซน็ ตโ์ ดยนำค่าเฉลี่ย OEE
กอ่ นมีการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบำรงุ เครื่องจักรช่วงเดือนพฤศจิกายน – เดอื นมกราคมมาลบกบั ค่าเฉล่ียหลังทำ
มีการเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงเครื่องจักร ระยะเวลา3เดือนตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์จนถึงเมษายน
ประสิทธิภาพความพร้อมของเครื่องจักร( MTTR ) เพิ่มขึ้นจากเดิม 90.56 เปอร์เซ็นต์เพิ่มขึ้นเป็น 96.78
เปอร์เซนต์ที่ค่า OEE เพิ่มขึ้นได้นั้นเพราะสามารถลดระยะเวลาที่เครื่องจักรสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ เพราะ
จากเดิมพนักงานที่ปฏิงานอยู่หน้าเครื่องจักรมักพบกับปัญหาขัดข้องของเครื่องจั กรทั้งปัญหาเล็กน้อยและ
ปัญหาใหญ่ ๆ เช่น อุปกรณ์หรืออะไหล่ของเครื่องจักรสึกหรอ แตกหัก เสียหาย หรือแม้กระทั่งไม่ทราบสาเหตุ
ของปัญหาอย่างแน่ชัด จนทำให้เสียเวลาในการซ่อมนานมาก ส่งผลใหเ้ กิดเวลาสญู เปลา่ หลงั จากที่มีการทำการ
บำรุงรักษาเชงิ ป้องกันพร้อมทั้งทำคู่มือบำรุงรกั ษา รายละเอียดการบำรุงรักษารวมถงึ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกบั
การบำรุงรักษาเครื่องจักรแล้วนั้น ทำให้ปัญหาที่เกี่ยวกับเครื่องจักรลดลง ประสิทธิภาพในการเดินเครื่องจักร
เพ่มิ ข้นึ
เน่ืองจากกอ่ นหนา้ นที้ างบริษทั ไม่มีการปรับปรุงเพ่ิมประสิทธภิ าพการบำรงุ รักษาเกยี่ วกบั ระบบหล่อเย็น
Coolant ต่างของเครื่องจักรอย่างจริงจัง จะมีการบำรุงรักษาก็ต่อเมื่อมีเครื่องจักรชำรุด หรือขัดข้อง จาก
ลักษณะดังกล่าวทำให้พนักงานไม่ได้ให้ความสำคัญกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรเท่าที่ควร เมื่อมีการนำระบบ
การบำรุงรักษาเครื่องจักรไปประยุกต์ใช้ เมื่อมีการปรับปรุงระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรระบบ Coolant
ส่งผลให้ลดจำนวนของเสีย ประหยัดเวลาในการซ่อมเครื่องจักร เป็นผลให้ลดการสูญเสียการชำรุดของ
เคร่ืองจักร ลดคา่ ใช้จ่ายในการซอ่ มแซม ลดปญั หาการเกิดของเสียและรอยตำหนิของช้ินงานเน่ืองจาก
41
เครอ่ื งจกั ร ทำให้สภาพแวดลอ้ มการทำงานดีข้ึน เครอื่ งจกั รมกี ารชำรุดเสยี หายอยู่ในระดบั ต่ำ ทำให้พนักงานให้
ความสำคัญกบั การดแู ลรกั ษาเครือ่ งจกั รมากขึน้ มคี วามเขา้ ใจเครือ่ งจักรและอปุ กรณ์มากข้นึ
6.2 ปัญหาท่ีพบจากการดำเนนิ งาน
จากการทำโครงงาน เริ่มตั้งแต่ต้นทำโครงร่าง จนถึงการทำรูปเล่มโครงงาน พบว่ามีปัญหาในการ
ดำเนินงานอย่หู ลายประการ ไดแ้ ก่
6.2.1 การเกบ็ ขอ้ มลู เปน็ ไปอยา่ งล่าชา้ เนือ่ งจากสว่ นใหญเ่ ป็นงานทใี่ ชเ้ วลาทำต่อชน้ิ นานมาก
6.2.2 ฝ่ายซ่อมบำรุงของโรงงานไม่ให้ความสำคัญกับเอกสารมากนัก เช่น แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการ
บำรุงรักษาเครื่องจักร ใบแจ้งซ่อมเครื่องจักร ใบบันทึกประวัติการซ่อม และใบบันทึกการบำรุงรักษาเนื่องจาก
เห็นว่าการทำเอกสารเป็นเรอื่ งทยี่ ุ่งยาก
6.3 ข้อเสนอแนะ
6.3.1 แผนกซ่อมบำรุงควรปรับปรุงแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้มากขึ้น โดยเฉพาะการบำรุงรักษา
เชงิ ปอ้ งกัน
6.3.2 แผนกซ่อมบำรุงควรให้ความสำคัญกับเอกสารที่เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้มากข้ึน
เพราะเอกสารเหล่านนั้ อาจมีประโยชน์ดา้ นระบบการซอ่ มบำรุงภายในโรงงาน รวมถึงการวดั คา่ OEE
42
บรรณานุกรม
นกุ ลู อบุ ลบาล. 2554.การประยกุ ตร์ ะบบ TPM เพ่ือสนับสนนุ ระบบการผลติ แบบลนี . การประชมุ
วิชาการงานวศิ กรรมอตุ สหการ ประจำปี 2554, 20 – 21 ตุลาคม 2554 หน้า 59 – 66.
ประจวบ นำพาผล. การปรับปรุงค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร OEE บรรจุแป้งวิทยานิพนธ์
วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทางวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์, 2555.
ศวุ ลิ เขตตีวรรณ.์ “การปรบั ปรงุ ประสทิ ธิผลโดยรวมของเครือ่ งจักรหลกั ในอุตสาหกรรมการผลติ ผลิตภณั ฑ์จาก
ไม:้
ทวีชยั อวยพรกชกร. (2555). กระบวนการหาค่าประสทิ ธิผลโดยรวม (OEE) ด้วยพฤตกิ รรมเวลา.[ระบบ
ออนไลน์].
แหลง่ ท่ีมา https://so05.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/article/view/61055 (ตลุ าคม
2554 - มกราคม 2555)
43
ภาคผนวก
44