The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคิดและการคิดวิเคราะห์
1.หลักการคิดและการคิดวิเคราะห์
2.การพัฒนาทักษะการคิดและการคิดวิเคราะห์
บทที่ 4 การอ่านและการจดบันทึกข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า
1.การอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า
2.การจดบันทึกข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ftakoolpun, 2021-04-27 02:38:40

บทที่3-4

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคิดและการคิดวิเคราะห์
1.หลักการคิดและการคิดวิเคราะห์
2.การพัฒนาทักษะการคิดและการคิดวิเคราะห์
บทที่ 4 การอ่านและการจดบันทึกข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า
1.การอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า
2.การจดบันทึกข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า

Keywords: ประเด็นคัดสรร,การศึกษา

ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศกึ ษา

บทท่ี 3

ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การคิดและการคดิ วเิ คราะห์

การคิดเป็นกระบวนการทางสมองของมนุษย์ซ่ึงมีศกั ยภาพสูงมาก และเป็นส่วนที่ทำให้มนุษย์
แตกตา่ งไปจากสัตวโ์ ลกอ่นื ๆ ผู้ท่มี คี วามสามารถในการคดิ สงู สามารถแกป้ ญั หาต่าง ๆ ให้ลุล่วงไปได้
ผู้ท่ีมีความสามารถในการคิด จึงมักได้รับการยกย่องให้เป็นผู้นำในองค์กรหรือกลุ่มต่าง ๆ การคิดมี
ความสำคัญอย่างย่ิง เนื่องจากการคิดเป็นปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลต่อการกระทำและการแสดงออก
ของบุคคล ดังนั้น การพัฒนาความสามารถในการคิด จึงเป็นจุดมุ่งหมายสำคัญของการจดั การศกึ ษา
ตลอดมา แตจ่ ะทำไดม้ ากน้อยหรอื ดีเพยี งใด ก็ขึ้นกับความรู้ ความเขา้ ใจ และปัจจยั ต่าง ๆ ที่เออ้ื อำนวย
(ทิศนา แขมมณี, 2554) โดยปกติมนุษย์มีปกติวิสัยในการคิดอยู่แล้ว แต่จะมีการคิดอย่างไรที่มี
จุดมงุ่ หมาย มคี ุณภาพ มิใชก่ ารคิดไปเรื่อยเป่อื ย เปน็ การคดิ ท่กี ระทำอยา่ งจงใจ เพื่อให้ได้บทสรุปหรือ
คำตอบทด่ี ีท่สี ามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ดังนั้นในรายวิชาประเดน็ คดั สรรทางการศึกษาจึงมงุ่ ให้ผู้เรยี น
คิดวิเคราะห์ในรูปแบบต่าง ๆ สามารถค้นหาคำตอบของการศึกษาด้วยตนเองได้ นำไปสู่แนวทางการ
แก้ไขปัญหาที่เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการศึกษาเป็น
การเรียนรทู้ ี่เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว และนำไปประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อไป

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. เพือ่ ให้นิสิตมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับหลักการของการคดิ และการคิดวเิ คราะห์
2. เพ่อื ให้นิสิตสามารถเลอื กวธิ ีการคิดวิเคราะห์ประเด็นและปัญหาทางการศึกษาได้
3. เพ่ือให้นิสิตตระหนักถึงคุณค่าและประโยชนข์ องการคดิ วิเคราะห์ปญั หาทางการศึกษา

สาระการเรียนรู้

1. หลักการคดิ และการคิดวิเคราะห์
2. การพัฒนาทักษะการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ผสู้ อนอธบิ ายเนอื้ หา แนวคิด ทฤษฎีที่เกีย่ วขอ้ งและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. นสิ ติ ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทความท่เี กยี่ วข้องกับการศึกษากำหนดให้
3. นสิ ติ ยกตวั อยา่ งการแก้ปัญหา และนำเสนอ
4. นสิ ติ ทบทวนความรู้โดยการตอบคำถามทา้ ยบท และร่วมกนั สรปุ บทเรยี น
5. ผูส้ อนสรปุ อธบิ ายเพิม่ เตมิ และร่วมสรุปในประเด็นทส่ี ำคญั

ส่อื และอุปกรณ์

1. เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า 161423 ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา
2. สอื่ การสอน PowerPoint บทท่ี 3
3. บทความทางการศกึ ษา
4. คำถามทา้ ยบท
5. ใบงานความรู้
6. คอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอร์เนต็

วิธีการประเมินผล

1. การร่วมอภิปรายและมสี ่วนร่วมในช้ันเรยี น
2. การนำเสนอและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
3. การเขียนบนั ทกึ การเรียนรู้
4. การทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบท

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยชุ มภู 37

หลกั การคิดและการคดิ วเิ คราะห์

ความหมายของการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

สำหรับความหมายของการคิดและการคิดวิเคราะห์ ได้มีนักจิตวิทยาและนักวิชาการทั้งชาว
ต่างประเทศและชาวไทยหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายไว้ ดงั นี้

ดิวอี้ (Dewey) (อ้างถึงในสุปรีชา วงศ์อารีย์, 2558) ให้ความหมายของการคิดว่าการคิดเป็น
กระบวนการทางสมองท่ีเกิดขึ้นภายในตน ซึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของสมองมนุษย์ เป็น
ความสามารถเฉพาะบุคคล การคดิ เร่มิ ตน้ เม่อื มกี ารกระตุ้นประสาทรับรู้จากสงิ่ แวดล้อม และสมองมี
การเลือกรับรู้การกระตุ้นสมองของมนุษย์สามารถคิดได้ตั้งแต่ขั้นต้นคือ การคิดสิ่งที่ง่ายไม่ซับซ้อน
จนถงึ การคดิ ขั้นสูงซ่งึ เปน็ การคดิ ท่ซี บั ซอ้ น ทั้งน้ีความสามารถในการคดิ จะมีการพัฒนาเป็นลำดับจาก
ง่ายไปยาก

ฮัดกินส์ (Hudgins) (อ้างถึงในสุปรีชา วงศ์อารีย์, 2558) ให้ความหมายของการคิดว่า เป็น
ปฏิกิริยาทางสมองที่เกิดจากการรู้สึกสงสัย เกิดปัญหาและพยายามที่จะแก้ไขปัญหานั้นเพ่ือช่วยให้
สามารถปรับตวั ใหเ้ ข้ากับสง่ิ แวดล้อม และเผชิญกบั ปญั หาน้ันได้เปน็ อย่างดี ทง้ั นี้ความสามารถในการ
คดิ จะเกดิ จากการมีความสามารถในการจำเปน็ พนื้ ฐาน

ศิริชยั กาจนวาสี และคณะ (2551) ใหค้ วามหมายของการคดิ วา่ เปน็ กระบวนการท่มี นษุ ย์ รับรู้
สิ่งเร้า มีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงเรา้ และพยายามจัดกระทาส่ิงเร้านั้น โดยผ่านกระบวนการทางสมอง จนได้
ผลผลติ ท่เี ปน็ ความคิด ซึ่งมนุษยจ์ ะสื่อสารความคดิ ออกมาโดยการพูด การเขยี น หรอื การกระทำ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2542) ให้ความหมายของการคิดว่า เป็นกลไก
ของสมองที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เป็นไปตามธรรมชาติของมนุษย์ที่ใช้ในการสร้างแนวความคิดรวบยอด
ดว้ ยการจำแนกความแตกต่าง การจัดกล่มุ และการกำหนดชือ่ เรือ่ งเก่ยี วกับขอ้ เท็จจรงิ ท่ีได้รับ การคิด
เป็นผลทเ่ี กิดจากการท่สี มองถกู รบกวนจากส่ิงแวดลอ้ มรอบ ๆ ตัว และประสบการณด์ ง้ั เดมิ ของมนุษย์

ประพันธ์ ศิริสุเสารจั (2556) กลา่ วว่าการคิดเปน็ กระบวนการของสมองท่เี ปน็ ไปตามธรรมชาติ
ของมนุษย์ท่เี กดิ ขน้ึ อันเป็นผลมาจากประสบการณเ์ ดมิ สิ่งเรา้ และสภาพแวดลอ้ มท่เี ขา้ มากระทบ สง่ ผล
ให้เกดิ ความคิดในการท่ีจะแก้ไขปรบั ตวั เพ่ือให้สามารถแก้ไขปัญหา หรือปรับตวั ให้เข้ากับสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ได้

ฆนัท ธาตุทอง (2554) ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ไว้ว่า เป็นการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ท่ี
เกิดขึ้นและใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พิจารณารายละเอียดอย่างลึกซึ้ง จำแนกแยกแยะข้อมูลส่วนต่าง ๆ
จดั เป็นหมวดหมู่ หา ความสมั พนั ธแ์ ละความเชอ่ื มโยง หรอื ข้อดี ข้อด้อย จุดเดน่ จุดด้อย เปรียบเทียบ
ความเหมอื น ความตา่ ง เปน็ การตคี วาม และใชเ้ หตผุ ลในการตัดสินใจในเร่ืองตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ข้อเสนอแนะ
ใน การแกป้ ญั หาท่ถี ูกตอ้ งอยา่ งเหมาะสมและยตุ ธิ รรม

38 ดร.ตระกลู พนั ธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา

ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์ (2560) ใหค้ วามหมายของการคดิ วเิ คราะหไ์ วว้ า่ เป็นการแยกแยะข้อมลู ทั้ง
ขอ้ เทจ็ จรงิ และความคดิ เห็นออกเปน็ สว่ น ๆ มกี ารเชอ่ื มโยงความสัมพันธเ์ ชงเิ หตุผลใช้เปน็ พน้ื ฐานการ
คดิ เพอื่ ทำใหเ้ กิดความเข้าใจในแง่มุมต่าง ๆ ได้ชัดเจนขน้ึ

สรปุ ได้วา่ การคดิ เปน็ กระบวนการทำงานของสมองที่เปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องมนุษย์แต่ละคน
โดยเร่มิ จากการรบั รูส้ ภาพหรอื สถานการณ์ปัญหาต่าง ๆ ท่เี ปน็ ส่งิ เรา้ เม่อื รับรู้แล้วกม็ กี ารเชือ่ มโยงสิ่งที่
รับรูใ้ หมน่ ีก้ บั ประสบการณเ์ ดมิ ท่สี ะสมอยู่ในสมองของมนุษยเ์ กิดเป็นมโนภาพใหม่ข้ึนในสมอง ส่งผลให้
เกดิ ความคิดในการสามารถแกไ้ ขปัญหา หรอื ปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ี
เกิดขึ้น สำหรับการคิดวิเคราะห์เป็นการคิดที่มีองค์ประกอบซับซ้อนทั้งวิธีการและขั้นตอนในการใช้
ทักษะหลายๆ ประการรว่ มกนั ซ่ึงสามารถฝึกฝนเรียนร้แู ละพัฒนาได้

ความสำคัญของการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

การมคี วามสามารถในการคดิ ถอื ว่ามีความสำคญั อยา่ งมากตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ของมนษุ ยเ์ พราะ
ทำให้บุคคลสามารถแก้ไขปัญหารวมทั้งสามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล
โดยเฉพาะในยุคข่าวสารเทคโนโลยีในปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันสูง
พน้ื ฐานการคดิ และการส่งเสริมการคดิ เป็นสงิ่ จำเป็นท่สี ามารถชว่ ยพฒั นาความคดิ ใหก้ ้าวหน้า ส่งผล
ใหส้ ติปัญญาเฉียบแหลม เปน็ คนรอบคอบ ตดั สินใจได้อยา่ งถูกต้อง สามารถแกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆ ในชีวิต
ไดด้ ี เปน็ บุคคลท่ีมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเปน็ สขุ ซึง่ ประโยชนข์ องการคดิ และการ
คดิ วิเคราะห์มี ดังน้ี

1. สามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมีระบบ มหี ลกั การและมเี หตผุ ล ผลงานทไ่ี ดร้ บั มีคณุ ภาพ

2. สามารถพจิ ารณาสง่ิ ตา่ ง ๆ และประเมนิ ผลงาน โดยใช้หลกั เกณฑอ์ ยา่ งสมเหตสุ มผล

3. สามารถประเมนติ นเองและผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

4. รูจ้ กั แสวงหาเลือกความร้แู ละรับประสบการณท์ ่มี ีคณุ ค่า มีความหมายและเปน็ ประโยชน์

5. ได้ฝกึ ทกั ษะการทำงานการใชเ้ หตุผลในการแก้ปัญหา

6. มีความร้คู วามสามารถ มกี ระบวนการทำงานอยา่ งเป็นระบบขนั้ ตอนนบั ต้ังแตก่ าร กำหนด
เปา้ หมาย รวบรวมขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ คน้ คว้าความรู้ ทฤษฎี หลักการต้ังข้อสนั นฐิ าน ตคี วามหมายและ
ลงข้อสรุป

7. สง่ เสรมิ ความสามารถในการใช้ภาษาและส่ือความหมาย

8. เกิดความสามารถในการคิดอย่างชัดเจน คิดอย่างถูกต้อง คิดอย่างแจ่มแจ้ง คิดอย่าง
กว้างขวาง คดิ ไกล คดิ อย่างลมุ่ ลกึ และคดิ อย่างสมเหตุสมผล

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู 39

9. ทำให้เป็นผมู้ ปี ัญญา มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรบั ผิดชอบ มีระเบียบวนิ ัย มีความเมตตา
กรุณาและเปน็ ผู้มปี ระโยชน์ตอ่ สังคม

10. มีทกั ษะและมีความสามารถในการอา่ น เขียน ฟงั พดู และมีทักษะการส่ือสารกับผอู้ ่นื

11. พัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งตอ่ เน่อื งในสถานการณท์ โี่ ลกมีการ
เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว

12. เป็นประโยชนต์ อ่ การดำรงอยใู่ นภาวะปัจจบุ นั ไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ

12.1 เปน็ ภูมคิ ุ้มกันการดำรงชวี ิตในสังคมที่ยงุ่ ยากซบั ซ้อนได้เป็นอย่างดี

12.2 เปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต

12.3 เปน็ เครอ่ื งมอื ในการแก้ปัญหาทห่ี ลากหลาย สามารถเผชิญกบั ปัญหาได้

12.4 เปน็ เครอื่ งมอื ในการเลือกและตดั สนิ ใจในภาวะการณต์ า่ ง ๆ ในสงั คมปัจจบุ นั ท่ยี งุ่ ยาก
ซับซ้อนไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

12.5 เปน็ เครอื่ งมอื ในการแขง่ ขัน และตอ่ สูก้ ับสภาวการณด์ ้านตา่ ง ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

สรปุ ไดว้ ่า การคดิ และการคดิ วิเคราะห์มคี วามสำคัญต่อการเรียนรแู้ ละการดำเนนิ ชีวติ ของ
มนุษยต์ ลอดชีวติ ในสภาวะการณป์ ัจจบุ นั ทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ บุคคลใดท่มี ีความสามารถ
ในการคดิ และการคดิ วเิ คราะหจ์ ะสามารถในการทำงานและใชช้ ีวติ ได้ประสบความสำเรจ็ และสามารถ
ดำรงชวี ิตในสงั คมได้อย่างเปน็ สขุ

หลักการของการคิดและการคดิ วเิ คราะห์

หลักการของการคิดและการคิดวิเคราะห์ สามารถสรุปได้เป็น 4 หลักการใหญ่ ๆ
(ฆนัท ธาตุทอง, 2554) ดงั น้ี

1. การคิดวิเคราะห์ทำให้ผู้เรียนมองเห็นข้อมูลที่มีอยู่ในขณะนั้น จึงไม่ควรคิดไปก่อนว่า
สิ่งต่าง ๆ จะเป็นแบบนั้นแบบนี้ หรือต้องเป็นในแบบที่คิดเท่านั้น เพราะเป็นการจำกัดโอกาส ความ
เปน็ ไปไดข้ องสงิ่ ต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากความคดิ

2. การคิดวิเคราะห์ทำให้ผู้เรียนไม่ยึดติดกับการแก้ปัญหาในรูปแบบเดิม ๆ ท่ีทำแล้วประสบ
ความสำเรจ็ ซ่ึงเปน็ การปดิ กลัน้ วิธกี ารใหม่

3. การคดิ วเิ คราะห์ทำให้ผู้เรียนทราบข้อเทจ็ จริงโดยไมเ่ ชอื่ ในส่ิงที่เหน็ หรอื คดิ ว่าเปน็ จรงิ โดยท่ี
ยังไมไ่ ดส้ ืบคน้ ข้อมูลและวิเคราะห์ใหล้ ึกซ้ึง

40 ดร.ตระกูลพันธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา

4. การคดิ วเิ คราะห์ทำให้ผเู้ รยี นเป็นคนช่างสงั เกต รอบคอบในการพิจารณาข้อเทจ็ จริง เพ่อื หา
ความสัมพนั ธ์เชงิ เหตผุ ล สามารถแกป้ ัญหาได้

สรปุ ได้วา่ หลกั การคิดวิเคราะห์ ผ้เู รียนจะต้องไม่เช่อื และยอมรับข้อมูลท่มี ีมาก่อน และไม่ด่วน
สรปุ ก่อนทจ่ี ะได้มีการคดิ วิเคราะห์ขอ้ มลู เพ่ือหาขอ้ เท็จจรงิ และความสัมพนั ธ์ของ ขอ้ มลู อย่างถถี่ ว้ นและ
ตอ้ งมีขอม้ ลู มากพอสมควรที่จะใช้ในการคิดวิเคราะห์เพอ่ื การตดั สินใจ

องคป์ ระกอบของการคิดและการคดิ วเิ คราะห์

องคป์ ระกอบการคดิ มี 6 องคป์ ระกอบหลกั (สุวทิ ย์ มลู คำ, 2547) ดังน้ี

1. สื่อหรอื ส่งิ เรา้ เป็นสิง่ ท่ีใชใ้ นการกระตุ้นให้ผ้เู รยี นเกดิ การคดิ หาคำตอบเพอ่ื สนอง ความสงสยั
ใครร่ ู้ เช่น ข้อความ ภาพ เสียง ขอ้ มลู สัญลกั ษณ์ กจิ กรรมหรอื สถานการณต์ า่ ง ๆ

2. การรับรู้ส่ิงเร้า เปน็ การใช้ประสาทสมั ผัสทั้ง 5 ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลน้ิ และรา่ งกาย ของผู้เรียน
ในการรับรสู้ ิ่งเรา้ ผ้เู รียนจะรบั รไู้ ด้มากหรอื นอ้ยเพียงใดขน้ึ อย่กู ับคณุ ภาพของส่งิ เรา้

3. จดุ มุง่ หมายในการคดิ เป็นการระบสุ ิ่งทตี่ อ้ งการไดร้ บั หลงั จากการคิดของผ้เู รยี นวา่ ตอ้ งการ
อะไรเช่นต้องการแกป้ ญั หาตอ้ งการตัดสนิ ใจหรอื ตอ้ งการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม

4. วิธีการคดิ เปน็ การเลือกวธิ กี ารให้ตรงกบั จดุ ม่งุ หมายในการคดิ เพอ่ื ใหไ้ ด้คำตอบท่ี ถกู ต้อง
เชน่ คิดแก้ปญั หา ใชว้ ธิ กี ารคดิ แกป้ ัญหา คดิ เพือ่ ตดั สนิ ใจ ใชว้ ธิ กี ารคดิ วจิ ารณญาณ และองคป์ ระกอบ
ของการคดิ วเิ คราะห์ มี 4 องคป์ ระกอบย่อย (ฆนทั ธาตทุ อง, 2554) ดงั น้ี

4.1 การกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการ ใช้เป็น
แนวทางสบืค้นขอ้มูลในการวเิ คราะห์ถา้ มขี อม้ ลู น้อยจะทำให้ขอ้ สรุปขาดความนา่ เชือ่ ถือ

4.2 การตั้งข้อสงั เกต หรอื คำถามเพ่ือใหไ้ ด้คำตอบ โดยใชห้ ลกั 5 W 1 H คอื ใคร (Who) ทำ
อะไร (What) ที่ไหน (Where) เม่อื ไหร่ (When) เพราะเหตใุ ด (Why) และอย่างไร (How)

4.3 การหาความสมั พนั ธ์เชิงเหตุผล เปน็ การหาสาเหตุ และการเชอ่ื มโยงสิง่ ตา่ ง ๆ ว่าปญั หา
ท่ีเกิดขึ้นมผี ลกระทบอยา่ งไรและกบั ใครบ้าง มแี นวทางแก้ไขปญั หาอยา่ งไรในอนาคต

4.4 การตีความ เป็นการพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยตรง ด้วยเกณฑ์
มาตรฐานหรอื ความรู้และประสบการณ์เดมิ เพื่อให้อธบิ ายปรากฏการณห์ รอื ส่ิงทเ่ี กิดขึ้นได้

5. ข้อมูลหรือเนื้อหาเป็นความรู้และประสบการณ์เดิมของบุคคลหรือความรู้ใหม่ที่ได้ จาก
การศกึ ษาเพอ่ื นำมาใชป้ ระกอบการคดิ ให้มคี วามรอบคอบและมคี วามถูกตอ้ งเหมาะสม

6. ผลของการคิด เป็นข้อสรุป ข้อเสนอแนะหรือแนวทางต่าง ๆ ที่ได้จากการคิดของบุคคล
อยา่ งมจี ดุ มงุ่ หมายและเปน็ ระบบมคี วามเปน็ เหตุเป็นผลและแสดงออกเปน็ พฤตกิ รรมได้

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู 41

องคป์ ระกอบการคดิ วเิ คราะห์มี 3 องคป์ ระกอบ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545) ดังนี้

1. การคิดวิเคราะห์ความสำคัญ เป็นความสามารถในการหาส่วนประกอบที่สำคัญของ
เรอ่ื งราวหรอื ปรากฎการณต์ า่ ง ๆ เรยี กไดว้ ่า เป็นการแยกแยะหาหัวใจของเรื่อง

2. การคดิ วิเคราะห์ความสมั พันธ์ เปน็ ความสามารถในการหาความสัมพนั ธ์ของส่วนต่าง ๆ
3. การคดิ วเิ คราะหห์ ลักการ เป็นความสามารถในการหาหลักการของความสัมพันธ์ของส่วน
สำคัญในเรื่องราวหรอื ปรากฎการณน์ ้ัน ๆ ว่าสัมพันธก์ นั อยโู่ ดยอาศัยหลกั การใด

กลา่ วโดยสรปุ องค์ประกอบของการคดิ วิเคราะหป์ ระกอบด้วย

1. การคิดวิเคราะห์ความสำคัญหรือการวิเคราะห์เนื้อหา ได้แก่ การจำแนกแยกแยะความ
แตกตา่ งระหวา่ งข้อเทจ็ จรงิ และสมมติฐานแลว้ นำมาสรปุ ความได้

2. การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ได้แก่ การเชื่อมโยงข้อมูล ตรวจสอบแนวคิดสำคัญ และ
ความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล แล้วนำมาหาความสมั พันธแ์ ละขอ้ ขัดแยง้ ในแต่ละสถานการณ์

3. การคิดวเิ คราะห์หลักการ ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์รูปแบบ โครงสรา้ ง เทคนิค วิธีการ และการ
เชอ่ื มโยงความคดิ รวบยอด โดยสามารถแยกความแตกต่างระหวา่ งข้อเทจ็ จรงิ และทัศนคติของผ้เู ขียนได้

สรุปได้ว่า องคป์ ระกอบของการคดิ คอื ส่งิ เร้าทเี่ ขา้ มากระตุ้นให้ผเู้ รียนเกดิ การคิด โดยผู้เรียน
จะต้องกำหนดจุดมงุ่ หมายในการคิดและวิธกี ารคดิ ให้สอดคลอ้ งกนั และศึกษาค้นควา้ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ เพื่อ
ใช้ประกอบการคิดตามความรู้และประสบการณ์ให้ได้ข้อสรุปที่มีความถูกต้องเหมาะสม สามารถ
นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และองค์ประกอบของการคิดวเิ คราะห์ประกอบดว้ ย การวเิ คราะห์ความสำคัญหรอื
การวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์หลักการ โดยทุกองค์ประกอบมี
ความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน เป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ได้หาก
ผู้เรียนมีความรู้ท่ีชัดเจนและแม่นยำในเร่ืองนั้น ๆ ย่อมสามารถนำความรู้ที่มีไปประกอบการวิเคราะห์
แยกแยะเร่อื งใดเร่ืองหนง่ึ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

การพฒั นาทักษะการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

ประเภทของทกั ษะการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

บลูม (Bloom) (อ้างอิงในทิศนา แขมมณีและคณะ, 2544) ได้จัดอยู่ในกลุ่มท่ีมีความเชื่อว่า
สมรรถภาพความคิดสามารถแยกย่อยและเรียงลำดับ จากง่ายไปหายากโดยอาศัยพฤติกรรมทาง
ความคดิ จากพน้ื ฐานท่งี า่ ยไปสู่ความคิดทยี่ าก และสลบั ซบั ซอ้ น สมรรถภาพของคนเรามีหลายด้านทั้ง
ด้านการคิด ความรู้สึกและกลไกล สำหรับในด้านความคิด (Cognitive Domain) ซึ่งความคิดเกี่ยวข้อง
กบั กระบวนการ เช่น การรู้ การรับรู้ การจำการคดิ การตดั สินใจ และการใช้เหตผุ ล จดุ ม่งุ หมายในการ
สอนดา้ นความรู้นนั้ ประกอบดว้ ยความรู้ 6 ระดบั คอื

42 ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา

1. ระดับการจำ (Memory) เป็นการจำเร่ืองราว หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ และแสดงออกเป็น
พฤติกรรมการบอกเล่า ตอบคำถาม หรืออ่านและเขียนสิ่งต่าง ๆ ที่ระลึกได้ ประกอบด้วย ความรู้
เฉพาะส่ิง ความรู้เก่ียวกบั วิธีการจัดการสิ่งเฉพาะ ความรเู้ รื่องสากลและเรอื่ งนามธรรมในสาขาต่าง ๆ

2. ระดับการเขา้ ใจ (Comprehension) เป็นการจับใจความสำคญั ของเรอ่ื งราว ย่อ หรอื ขยายให้
คนอื่นเข้าใจได้ แสดงออกเป็นพฤติกรรมการอธิบายยกตัวอย่างและเปรียบเทียบ ประกอบด้วย การ
แปล การตคี วาม การสรุปอ้างอิง

3. ระดับการประยุกตใ์ ช้ (Analysis) เปน็ การนำความรคู้ วามจำ ความเขา้ ใจไปใช้ในสถานการณ์
ใหมเ่ พื่อแกไ้ ขปญั หา แสดงออกเปน็ พฤติกรรมการปฏิบัตแิ ละสาธิตได้

4. ระดับการวิเคราะห์ (Comprehension) เป็นการแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วน ๆ แสดง
ออกเป็นพฤติกรรมการอธิบายถึงหลักการจัดประเภทขั้นตอนเหตุและผลหรือความแตกต่าง
ประกอบดว้ ย การวเิ คราะหห์ น่วยยอ่ ย การวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ การวเิ คราะห์หลกั การจดั ระเบยี บ

5. ระดับการสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นการรวบรวมเรื่องราว หรือส่วนต่าง ๆ มาผสมผสาน
และจัดโครงสร้างใหม่ให้ดกีว่าเดิมแสดงออกเป็นพฤติกรรมการออกแบบหรือการสร้างประกอบดว้ ย
ผลผลติ ทส่ี อื่ ความหมาย หรอื มลี ักษณะพิเศษเฉพาะ ผลผลิตในลกั ษณะของแผนงานหรอื ชดุ ปฏิบัติการ
ผลผลติ ในลักษณะของความสมั พันธ์เชิงนามธรรม

6. ระดับการประเมินค่า (Evaluation) เป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้เกณฑ์
มาตรฐาน แสดงออกเป็นพฤติกรรมการเลือก การตัดสินใจ การให้คะแนน บอกข้อดีและข้อเสียได้
ประกอบดว้ ย การตดั สินตามเกณฑ์ภายใน การตดั สินตามเกณฑภ์ ายนอก

การพัฒนาลำดับขั้นความรู้ของบูลม (Bloom) ได้มีนักวิชาการเสนอการปรับปรุง ลำดับขั้น
ความรู้ โดยการรวมขน้ั สังเคราะห์ไวก้ บั ขัน้ สรา้ งสรรค์ และมกี ารเปล่ยี นแปลงชื่อคำนามให้เป็นคำกริยา
ทำใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย และสามารถนำไปปฏบิ ัตใิ ช้งา่ ยขนึ้ (อ้างถึงในประพนั ธ์ศิริ สุเสารัจ, 2556) ดังตาราง 1

ตาราง 1 แสดงการเปรยี บเทยี บลำดับขนั้ ความรู้แบบเดิมและแบบใหม่

ความรู้แบบเดมิ (Original Cognitive Domain) ความรู้แบบใหม่ (New Cognitive Domain)
1. ความรู้ (Knowledge) 1. จำ (Remembering)
2. ความเข้าใจ (Comprehension) 2. เข้าใจ (Understanding)
3. การนำไปใช้ (Application) 3. ประยกุ ตแ์ ละนำไปใช้ (Applying)
4. การวเิ คราะห์ (Analysis) 4. วิเคราะห์ (Analyzing)
5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) 5. ประเมนิ คา่ (Evaluating)
6. การประเมินค่า(Evaluation) 6. สรา้ งสรรค์ผลงานใหม่(Creating)

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยุชมภู 43

บลูม (Bloom) (อ้างถึงในประพันธ์ ศิริสุเสารัจ, 2551) ได้กล่าวถึงทักษะการคิดวิเคราะห์
ประกอบดว้ ยทักษะสำคัญ ๆ 3 ด้าน ดงั น้ี

1. การคิดวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Element) เป็นความสามารถในการหา
ส่วนประกอบที่สำคัญของสิ่งของหรือเรื่องราวต่าง ๆ เช่น การวิเคราะห์ ส่วนประกอบของพืช ข่าว
ข้อความ หรอื เหตกุ ารณ์ ประกอบด้วย

1.1 วิเคราะห์ชนิด เป็นการใหน้ กั เรียนวินิจฉัยว่าส่ิงนั้น หรือเหตุการณ์น้ัน ๆ จัดเป็นชนิดใด
ลกั ษณะใด เพราะเหตุใด

1.2 วิเคราะห์สิ่งสำคัญที่เป็นการวินิจฉัยว่าสิ่งใดสำคัญ สิ่งใดไม่สำคัญ เป็นการค้นหา
สาระสำคัญ ข้อความหลกั ขอ้ สรปุ จดุ เด่น จุดดอ้ ยของส่ิงตา่ ง ๆ

1.3 วเิ คราะหเ์ ลศิ นัย เปน็ การมงุ่ คน้ หาสิง่ ทแี่ อบแฝงซอ่ นเร้นหรืออย่เู บ้ืองหลัง จากส่ิงท่ีเห็น
ซงึ่ ไม่ได้บอกตรง ๆ แต่มีร่องรอยของความจริงซอ่ นเร้นอยู่

2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationship) เป็นการค้นความสัมพันธ์ของส่ิง
ตา่ ง ๆ ว่ามีอะไรสัมพนั ธ์กนั สัมพนั ธ์กันอย่างไร สมั พันธ์กันมากน้อยเพียงใด สอดคลอ้ งหรือขัดแย้งกัน
ไดแ้ ก่

2.1 วิเคราะห์ชนิดของความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตผุล 14 ประเภท
ไดแ้ ก่

2.1.1 ประเภทความคล้ายคลึง แสดงความสัมพันธ์ในลักษณะท่ีมีความหมายอย่าง
เดียวกนั หรอื คลา้ ยคลึงกัน

2.1.2 ประเภทความขัดแยง้ หรอื ตรงขา้ มกนั แสดงความสมั พนั ธ์ในลกั ษณะท่เี ปน็ ความ
ขัดแยง้ หรอื ตรงขา้ มกนั หรอื มคี วามหมายตรงขา้ มกนั

2.1.3 ประเภทความสัมพันธ์การทำนาย แสดงความสมั พันธ์กัน ในเชิงทำนายเปน็ เหตุ
เป็นผลกนั

2.1.4 ประเภทความสมั พนั ธ์การเปน็ ลำดบั ย่อย แสดงความสัมพันธ์กันในลักษณะการ
ลำดับย่อย

2.1.5 ประเภทความสัมพันธ์การเป็นสมาชิกของประเภทเดียวกัน แสดงความสัมพันธ์
สอดคลอ้ งกนั โดยตา่ งเป็นสมาชกิ ยอ่ ยของประเภทเดยี วกัน

2.1.6 ประเภทความสัมพันธ์การเป็นลำดับท่ีสูงกวา่ แสดงความสัมพันธ์ท่เี ป็นประเภท
เดียวกนั แตม่ ลี ำดับท่สี ูงกว่า

44 ดร.ตระกลู พันธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศกึ ษา

2.1.7 ประเภทความสัมพันธก์ ารเติมให้สมบรู ณ์ แสดงความสัมพันธ์กนั โดยต่างก็เปน็
การเตมิ เตม็ ซึง่ กนั และกนั ใหม้ ีความหมายสมบรู ณ์และเป็นความหมายเดียวกนั

2.1.8 ประเภทความสัมพันธ์ส่วนย่อย-ส่วนรวม แสดงความสัมพันธ์การเป็นสว่ นย่อย
ของสว่ นใหญ่

2.1.9 ประเภทความสัมพันธ์ส่วนรวม-ส่วนย่อย แสดงความสัมพันธ์การเป็น
สาระสำคัญของอีกสว่ นหน่งึ

2.1.10 ประเภทความสัมพันธ์เท่าเทียมกัน แสดงความสัมพันธ์กันแบบเท่าเทียมกัน
ในทางคณติ ศาสตร์ หรอื ตรรกะ

2.1.11 ประเภทความสัมพันธ์การปฏเิ สธ แสดงความสัมพนั ธ์กนั เชงิ ปฏิเสธ

2.1.12 ประเภทความสัมพันธ์ของการใช้คำ แสดงความสัมพันธ์กันในลักษณะของการ
ใชภ้ าษาตามหลัก ไวยากรณ์ เช่น ลักษณะนาม คำราชาศพั ท์ หรอื อกั ษรยอ่ เปน็ ต้น

2.1.13 ประเภทความสมั พนั ธ์ด้านคุณสมบตั ิ แสดงความสัมพนั ธ์กันทางคุณสมบัติของ
ภาษา โดยท่คี ำหรอื วลที ่เี ป็นโจทยป์ ญั หาน้นั อาจมคี วามหมายหรอื ไมม่ ีความหมายก็ได้

2.1.14 ประเภทความสัมพันธ์เชิงเหตุผลแบบสรุปความ เป็นการสรุปความโดยใช้
สมมติฐานท่ีกำหนดให้ โดยคำนึงถึงเหตุผล เพราะการสรุปจะต้องสรุปจากสมมติฐานเท่านั้น ซ่ึง
บางคร้งั อาจจะสรปุ ไมไ่ ด้ก็เป็นได้ เพราะเหตผุ ลไมเ่ พียงพอ

2.2 วิเคราะห์ขนาดของความสมั พนั ธ์

2.3 วเิ คราะหข์ น้ั ตอนความสัมพนั ธ์

2.4 วิเคราะห์จดุ ประสงคแ์ ละวธิ ีการ

2.5 วิเคราะห์สาเหตแุ ละผล

2.6 วเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ในรูปอปุ มาอุปไมย

3. การวิเคราะหห์ ลกั การ (Analysis of Organizational Principle) เปน็ ความสามารถในการค้นหา
โครงสร้างระบบเรื่องราว สิ่งของและการทำงานต่าง ๆ หาหลักความสมั พนั ธ์ส่วนสำคัญในเรือ่ งน้ัน ๆ
ว่าสัมพันธ์กันอยู่โดยอาศัยหลักการใด มีสิ่งใดเป็นตัวเชื่อมโยง การคิดวิเคราะห์หลักการเป็นการ
วิเคราะหท์ ่ถี อื ว่ามคี วามสำคญั ที่สุด การท่จี ะวิเคราะห์เชิงหลักการไดด้ จี ะตอ้ งมคี วามรู้ความสามารถใน
การวิเคราะห์องค์ประกอบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ได้ดีเสียก่อน เพราะผลจากความสามารถสรุป
เปน็ หลักการได้ ประกอบดว้ ย

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู 45

3.1 วิเคราะห์โครงสร้าง เปน็ การค้นหาโครงสรา้ งของสงิ่ ต่าง ๆ

3.2 วิเคราะห์หลักการ เป็นการแยกแยะเพื่อค้นหาความจริงของสิ่งต่าง ๆ แล้วสรุปเป็น
คำตอบหลกั ได้

มาซารโ์ น (Marzano) (อา้ งถงึ ในประพนั ธ์ ศิรสิ ุเสารัจ, 2551) ได้กลา่ วถงึ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
ประกอบดว้ ย

1. ทกั ษะการจำแนก เป็นความสามารถในการแยกแยะสว่ นยอ่ ยตา่ ง ๆ ทัง้ เหตกุ ารณ์ เรอื่ งราว
สิ่งของออกเปน็ สว่ นย่อย ๆ ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยอยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ สามารถบอกรายละเอยี ดของส่ิงตา่ ง ๆ ได้

2. ทักษะการจัดหมวดหมู่ เป็นความสามารถในการจดั ประเภท จัดลำดับ จัดกลุ่มของสิ่งท่ีมี
ลกั ษณะคล้ายคลงึ กันเข้าด้วยกนั โดยยดึ โครงสรา้ งลักษณะหรอื คุณสมบตั ิท่เี ปน็ ประเภทเดยี วกนั

3. ทักษะการเช่ือมโยง เป็นความสามารถในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมลตู ่าง ๆ ว่า
สัมพันธ์กนั อยา่ งไร

4. ทกั ษะการสรปุ ความ เป็นความสามารถในการจับประเดน็ และสรุปผลจากสงิ่ ทกี่ ำหนดใหไ้ ด้

5. การประยุกต์ เป็นความสามารถในการนำความรู้ หลักการและทฤษฎีมาใช้ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ สามารถคาดการณ์ ประมาณ พยากรณ์ ขยายความ คาดเดาสิ่งทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคตได้

สรุปไดว้ า่ ระดับของการคิดตามลำดบั ขัน้ ความรู้โดยท่วั ไป มี 6 ระดบั ไดแ้ ก่ การจำ การเข้าใจ
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่าและการสรา้ งสรรค์ ส่วนทักษะการคิดวิเคราะห์ 3 ด้าน คือ
การคดิ วิเคราะห์สว่ นประกอบ การคิดวเิ คราะห์ความสมั พันธ์ และการคดิ วเิ คราะหห์ ลกั การ โดยอาศัย
ทักษะ การจดั จำแนก การจัดหมวดหมู่ การเชือ่ มโยง การสรุปความและการประยุกต์

กระบวนการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

กระบวนการคิด มีความหมายครอบคลุมพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธ์กันอย่างเป็น ลำดับ
ขนั้ ตอน มีขอบขา่ ยสาระ (ฆนัท ธาตุทอง, 2554) ดงั น้ี

1. เน้ือหาหรือข้อมลู ท่ีใชใ้ นการคิด เชน่ ขอ้ มลู เก่ียวกับตนเอง หรอื การศกึ ษา สงั คม เศรษฐกิจ
การเมือง เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ้ มเปน็ ข้อมูลทางวชิ าการทีเ่ ผยแพร่ในสาธารณะ

2. คณุ สมบัติเอ้อื อำนวยตอ่ การคดิ เช่น การเปน็ คนใจกว้าง การรับฟงั ความคิดเห็นของบุคคล
อื่น การมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ทีด่ ี การแสวงหาความร้เู พม่ิ เตมิ เพอื่ หาคำตอบทีม่ ีคณุ ภาพ

3. กระบวนการท่ีใชใ้ นการคดิ แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 กลุม่ ไดแ้ ก่

46 ดร.ตระกูลพันธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศกึ ษา

3.1 กระบวนการทใ่ี ช้ในการรบั และส่งขอ้ มลู หรอื ส่งิ เรา้ เชน่ การรับรู้ การฟงั การอา่ น การ
เขยี น การแสดงออก การพดู การบรรยาย การอธบิ าย การยอ่ และขยายความ

3.2 กระบวนการทใี่ ช้ในการจดั กระทำกับข้อมลู แบ่งออกไดเ้ ปน็ 5 กลมุ่ คอื

3.2.1 กลุม่ ทท่ี กั ษะการคิดเป็นแกน เช่น การสังเกต การสำรวจ การถาม

3.2.2 กล่มุ ท่ีใชท้ ักษะการคดิ ระดบั สงู เชน่ การใหค้ ำนิยาม การประยกุ ต์ใช้

3.2.3กลมุ่ ที่ใชล้ กั ษณะการคิดเชน่ การคดิ กวา้ งการคิดลกึ ซึง้ การคดิ ไกล

3.2.4 กลุ่มท่ีใช้กระบวนการคดิ เช่น กระบวนการคิดแก้ปัญหา เป็นข้ันตอนการคดิ ใหไ้ ด้
แนวทางแก้ปัญหาหรือกระบวนการคิดตัดสินใจเป็นแนวทางทใี่ ช้ในการตดั สนิ ใจ

3.2.5 กลุ่มที่ใช้ควบคุมและประเมินการรู้คิดของตนเอง เป็นการตระหนักรู้ วางแผน
ตดิ ตามและประเมนิ ตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องตนเองใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย

4. การวดั และประเมนิ การคดิ เปน็ การประเมนิ ความสามารถในการคดิ แบง่ ได้ดังนี้

4.1 แสดงออกทางผลของการคิด เปน็ คุณภาพของผลงานหรือเน้อื หาที่นำเสนอ เครือ่ งมอื ที่
ใช้วัดผลสมั ฤทธิ์ เชน่ แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ ซ่ึงตอ้ งอาศัยเกณฑ์
ตดั สินผล

4.2 แสดงออกทางกระบวนการคิด เป็นการใช้ทักษะการคิดพื้นฐาน ทักษะการคิด ขั้นสงู
และกระบวนการควบคมุ และประเมนิ การรูค้ ิดของตน สามารถแบง่ แนวทางการวดั ได้ 2 แนวทาง คือ

4.2.1 การวัดผลตามแนวกลมุ่ จติ มติ ิ (Psychometrics) เป็นการวดั ผลโดยใช้ แบบทดสอบ
หรอื แบบสอบมาตรฐานเพือ่ วดั ความสามารถในการคิดโดยอาศัยเกณฑท์ ่กี ำหนด

4.2.2 การวัดผลตามแนวการประเมินตามสภาพจริงหรือวัดจากการปฏิบัติจริง
(Authentic Performance Measurement) เช่น การสังเกตสภาพการปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา งานที่
เกดิ ข้นึ และผลงานทไี่ ดร้ บั โดยใชเ้ กณฑต์ ัวบ่งชี้และระดับคุณภาพในการประเมิน

4.3 แสดงออกทางคุณลักษณะส่วนบุคคล เป็นการฝึกฝนและพัฒนาการคิดจนเกิด เป็น
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น การเป็นผู้ใฝ่รู้ การเป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล เครื่องมือที่ใช้ในการวดั
คณุ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินตนเอง และแฟ้มสะสมงาน

สุวิทย์ มลู คำ (2547) ไดก้ ลา่ วถงึ กระบวนการท่จี ะนำไปสู่การคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย 5 ขั้น
ตอน ดังน้ี

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู 47

1. กำหนดสิ่งท่ีต้องการวิเคราะห์ เป็นการกำหนดวัตถุสิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ต่าง
ขึ้นมาเพื่อเป็นต้นเรื่องที่จะใช้ในการวิเคราะห์ เช่น พืช สัตว์ หิน ดิน รูปภาพ บทความ เรื่องราว
เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณจ์ ากขา่ ว ส่ือเทคโนโลยตี า่ ง ๆ เป็นต้น

2. กำหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็นการกำหนดประเด็นข้อสงสัยจากปัญหาของสิ่งท่ี
ตอ้ งการวิเคราะห์ ซึ่งอาจจะกำหนดเปน็ คำถามหรอื เปน็ การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์เพ่ือ
คน้ หาความจรงิ สาเหตหุ รอื ความสำคญั

3. กำหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ เป็นการกำหนดข้อกำหนดสำหรับใช้แยกส่วนประกอบของ
ส่งิ ทีก่ ำหนดให้ เช่น เกณฑใ์ นการจำแนกสง่ิ ทมี่ ีความเหมือนกันหรอื ความแตกตา่ งกนั หลักเกณฑใ์ นการ
หาลักษณะความสัมพนั ธ์เชิงเหตผุ ลอาจเป็นลกั ษณะความสมั พันธท์ ี่มคี วามคล้ายคลึงกัน หรอื ขัด แย้ง
กัน

4. พิจารณาแยกแยะ เป็นการพินิจพิเคราะห์ทำการแยกแยะ กระจายส่ิงที่กำหนดให้ออกเปน็
สว่ นยอ่ ย ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคำถาม 5W1H ประกอบดว้ ย What (อะไร) Where (ท่ไี หน) When (เมอื่ ใด)
Why (ทำไม) Who (ใคร) How (อย่างไร)

5. สรุปคำตอบ เป็นการรวบรวมประเด็นเพื่อหาข้อสรุปเปน็ คำตอบ หรือตอบปัญหาของสิ่งท่ี
กำหนดให้

ประพันธ์ ศิริสุเสารัจ (2551) กระบวนการคิดวิเคราะห์เป็นการคิดระดับสูง การคิดจึงเป็น
กระบวนการ ซ่ึงมีขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ดังน้ี

1. กำหนดสิ่งท่ีจะวิเคราะห์ว่าจะวิเคราะห์อะไร กำหนดขอบเขตและนิยามของสิ่งท่ีจะคิดให้
ชัดเจน เช่น จะวิเคราะห์ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาสิ่งแวดล้อม หมายถึง ปัญหาเก่ียวกับขยะท่ีเกิดขึ้น
ในโรงเรยี นของเรา

2. กำหนดจุดมุ่งหมายของการวเิ คราะหว์ ่า ตอ้ งการวเิ คราะหเ์ พอ่ื อะไร เชน่ เพือ่ จดั อันดับ เพ่ือ
หาเอกลกั ษณ์ เพอ่ื หาข้อสรุป เพอ่ื หาสาเหตุ เพื่อหาแนวทางแกไ้ ข

3. พจิ ารณาขอ้ มลู ความรู้ ทฤษฎี หลักการ กฎเกณฑท์ ่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ ว่าจะใช้หลกั การใด
เปน็ เครอื่ งมอื ในการวิเคราะห์และจะใชห้ ลกั ความรู้น้ันว่าควรใช้ในการวิเคราะหอ์ ย่างไร

4. สรุปและรายงานผลการวิเคราะหไ์ ด้เป็นระบบชดั เจน

นอกจากน้ี สคุ นธ์ สนธิ พานนท์ และคณะ (2555) ได้เสนอขั้นตอนการคดิ วิเคราะห์ ดังน้ี

1. กำหนดสิ่งสำเร็จรูป สิ่งหนึ่งหรือเหตุการณ์ หรือเรื่องราวเป็นตัวต้นเรื่อง เช่น ต้นไม้ สัตว์
พลเมือง ภาวะโลกรอ้ น นทิ าน ขา่ ว เปน็ ต้น

48 ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา

2. กำหนดคำถามหรือปัญหาเพอ่ื คน้ หาความจริง เชน่ ต้นไมม้ คี วามสำคัญต่อมนุษยอ์ ยา่ งไร

3. พินิจพิเคราะห์แยกแยะกระจายสิง่ ที่กำหนดให้ออกเป็นส่วนย่อย เช่น ต้นไม้ มีความสำคญั
ต่อมนษุ ย์ คอื เปน็ รม่ เงาบงั แสงแดด ตน้ ไม้บางชนดิ เป็นยารกั ษาโรค ผลไม้นำมาเปน็ อาหาร ลำต้นของ
ต้นไม้นำมาสรา้ งบา้ นทอ่ี ยูอ่ าศัย ทำเครืองมอื อย่างอนื่ ได้

4. สรุปเป็นคำถาม หรือตอบปญั หาน้ัน ๆ กลา่ วคอื เมอื่ จำแนกแยกแยะตอบคำถามแล้วจะได้
ความคิดว่า ต้นไม้มีความสำคัญต่อมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เพ่ือได้ข้อสรุป และนำไปเป็นแนวทางการ
ตดั สนิ ใจ ประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากการวิเคราะห์ต่อไป

สรุปได้ว่า กระบวนการคดิ วเิ คราะห์เปน็ การคิดอย่างเป็นระบบเปน็ ข้นั ตอน ซง่ึ ประกอบด้วย 5
ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กำหนดสิ่งท่ีต้องการวิเคราะห์ ขั้นที่ 2 กำหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ ขั้นท่ี 3
กำหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ ข้ันท่ี 4 พจิ ารณาแยกแยะ และขนั้ ท่ี 5 สรุปคำตอบ

การพัฒนาทักษะกระบวนการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

เนอ่ื งจากการคิดมลี ักษณะเป็น “กระบวนการ” หรือวิธกี าร ไม่ใชเ่ นอ้ื หาสาระหรือเนอื้ หาความรู้
การเรียนการสอนจึงเป็นเร่อื งทย่ี ากขน้ึ สำหรับครูผ้สู อน เพราะ ไมม่ ีเน้ือหาความรูท้ ่ีจะถ่ายทอด ดังนั้น
การท่ีจะเขา้ ใจการคดิ แตล่ ะประเภท จึงต้องรวู้ า่ การคดิ นั้น ๆ มกี ระบวนการ หรือขัน้ ตอนการคิดอย่างไร
ซึ่งเม่ือเข้าใจแล้วจะเกิดเป็นทักษะได้ ก็จะต้องฝึกฝนให้สามารถดำเนินการคิดตามขั้นตอนนั้น ๆ ได้
ดังนั้นการที่จะจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการ คิดวิเคราะห์ ของผู้เรียนให้ได้ตามมาตรฐาน
การศึกษาด้านผู้เรียน ผู้สอนจำเป็นต้องมคี วามเข้าใจในความหมายของลักษณะของการคิดวิเคราะห์
รวมทั้งรู้และเข้าใจ กระบวนการ ขั้นตอนในการดำเนินการ รวมถึงตวั บ่งชีก้ ารมีทักษะการคดิ และการ
คิดวิเคราะห์ ก็จะช่วยให้แนวทางในการวัดและประเมนิ ทักษะการคิดด้วย (ทิศนา แขมมณี และคณะ ,
2549) ความหมาย ขัน้ ตอนการคดิ และตวั บ่งช้ีทักษะการคิดวิเคราะห์ แสดงได้ดงั ตาราง 2 ดงั นี้

ตาราง 2 ความหมาย ข้ันตอนการคิดและตวั บ่งชที้ ักษะการคิดวิเคราะห์

ทกั ษะการคิด ความหมาย ขั้นตอน ตวั บ่งช้ี
การคดิ วิเคราะห์
การจำแนกแยกแยะ 1. กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ 1. สามารถระบุ
สง่ิ /เรอ่ื ง/ ขอ้ มลู ต่าง ๆ
เพ่อื หาสว่ นประกอบ/ ในการ วิเคราะห/์ วัตถปุ ระสงคใ์ นการ
องคป์ ระกอบและ
ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง จำแนกแยกแยะข้อมูล วเิ คราะห์
องคป์ ระกอบเหล่านนั้
2. รวบรวมศกึ ษาและ 2. สามารถจดั ระบบ

จัดระบบขอ้ มลู / เรื่อง ขอ้ มลู / เร่อื ง/ สงิ่ ที่

สง่ิ ที่วเิ คราะห์ วิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู 49

ทักษะการคิด ความหมาย ข้ันตอน ตวั บ่งชี้

เพ่อื 3. กำหนดเกณฑใ์ น 3. สามารถกำหนด

- ชว่ ยใหเ้ กิดความ การวิเคราะห/์ จำแนก เกณฑใ์ นการวิเคราะห์

เข้าใจในเรอ่ื งนัน้ แยกแยะขอ้ มลู 4. สามารถแยกแยะ

- หาความสมั พนั ธเ์ ชงิ 4. จำแนกแยกแยะ ขอ้ มลู ไดต้ ามเกณฑ์

เหตุผลมาอธิบายเรื่อง ขอ้ มลู ตามเกณฑ์ และระบอุ งค์ประกอบ

นนั้ เพอ่ื ให้เห็น ของสงิ่ ท่วี เิ คราะห์

- ประเมนิ และ องคป์ ระกอบของสงิ่ / 5. สามารถอธิบาย

ตดั สนิ ใจเลอื กคำตอบ เรอื่ งนน้ั อยา่ งครบถ้วน ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง

ท่เี หมาะสมตามวัตถุ 5. หาความสัมพันธ์ องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ

ประสงค์ทตี่ ง้ั ไว้ ระหว่างองคป์ ระกอบ ของส่งิ ทวี่ ิเคราะห์

ต่าง ๆ และ 6. สามารถนำเสนอผล

ความสัมพันธ์ของ การวิเคราะห์

ขอ้ มูลในแต่ละ 7. สามารถนำผลการ

องคป์ ระกอบ เพอื่ ให้ วเิ คราะห์ มาใชใ้ นการ

เห็นว่าสว่ นย่อยต่าง ๆ ตอบคำาถามตาม

มีความสัมพนั ธ์กันและ วัตถุประสงค์

ประกอบกนั เปน็

โครงสรา้ ง/ ภาพรวมได้

อยา่ งไร

6. นำเสนอผลการ

วเิ คราะห์

7. นำผลการวิเคราะห์

มาตอบคำถามตาม

วัตถปุ ระสงค์

นอกจากน้ี (ทศิ นา แขมมณี, 2554) ไดน้ ำเสนอแนวทางและขนั้ ตอนในการบรูณาการทกั ษะการ
คดิ และการคิดวเิ คราะห์ในการจดั การเรยี นรมู้ ี 6 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) การศกึ ษาทำความเข้าใจ ความหมาย
และกระบวนการของทักษะการคดิ 2) การกำหนดจดุ ประสงค์การเรียนรู้ หรอื ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวัง
3) การกำหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4) การกำหนดทกั ษะการคิดทีค่ วรบูรณาการ 5) การออกแบบ
กจิ กรรมการเรียนรู้ท่บี ูรณาการกระบวนการคดิ และ 6) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

เทคนิคการส่งเสรมิ การคดิ วิเคราะห์ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ, 2560) มดี งั น้ี

1. การวเิ คราะห์จากนิทานโดยให้ลอื กนทิ านทสี่ นใจในการอ่านและใหค้ ิดวเิ คราะห์

50 ดร.ตระกลู พันธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา

2. การวิเคราะห์โดยใช้คำถามกระตุ้น ซึ่งเป็นคำถามที่จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดจาก
ขอ้ สงั เกตหรือข้อสงสัยของตัวผู้เรยี นเอง

3. การวิเคราะห์จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ หรือเหตุการณ์รอบตัว มีสิ่งรอบตัวที่นำมาฝึก
วเิ คราะหไ์ ด้ เช่นเหตุการณใ์ นโรงเรยี น ชุมชน สงั คมทง้ั ในและตา่ งประเทศท่นี า่ สนใจนำมาวิเคราะห์

4. การวเิ คราะห์จากชวี ิตประจำวันของตนเอง โดยใชก้ จิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ในการวเิ คราะห์
เช่นคา่ ใช้จา่ ยของตนเอง วธิ กี ารเรยี น วิธีการดูแลสขุ ภาพ

5. การวิเคราะห์เหตุการณ์จากสถานการณ์จริงในชุมชน เป็นการใช้ปัญหาหรือสิ่งที่สนใจ
ศึกษาจากสถานการณ์จริงในชุมชนมากำหนดและคิดวิเคราะห์ เช่น ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาภัยแล้ง
เป็นต้น

6. วิเคราะห์บุคคลในชมุ ชน เป็นการศกึ ษาจากบุคคลสำคัญในชุมชนว่าทำไมบุคคลเหล่านี้ถึง
ประสบความสำเร็จหรอื สาเหตทุ ่ไี ดร้ บั เลอื กเป็นบคุ คลตวั อย่าง

7. การวิเคราะห์ข่าว เป็นการนำข่าวที่น่าสนใจในปัจจุบันมาวิเคราะห์ในแง่มุมต่าง ๆ และ
นำเสนอให้เกิดประโยชนใ์ นการเรยี นรู้

8. การวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง เป็นการนำกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนมา ให้ฝึก
วิเคราะหเ์ ชน่ กรณตี วั อยา่ งการติดเกมของผ้เู รียนในชนั้ เรียน

9. การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคและวิธีการจดั การเรียนรู้ส่งเสริมการคิด เช่น เทคนิคการสอน
K-W-L หรอื ใช้ผงั กราฟฟิกมาสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนคดิ วเิ คราะห์

10. การวิเคราะห์จากวารสารและงานวิจยั ใหเ้ ลือกเรอ่ื งทสี่ นใจมาวเิ คราะห์นำเสนอ

11. การวิเคราะห์จากเรื่องราวในอินเทอรเ์ น็ต เพื่อให้รูเ้ ท่าทันความเปลี่ยนแปลงของโลกและ
ผู้อ่นื

สรุปได้ว่า การพฒั นาทกั ษะการคดิ และการคดิ วเิ คราะหข์ องผูเ้ รียน โดยการบรณู าการเขา้ ไปในการ
จัดการเรียนรู้สาระต่าง ๆ นับเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับบริบทของการจดั การศึกษาในระบบที่ผู้สอนมีหน้าที่
หลกั ในการจดั การเรียนรู้สาระตา่ ง ๆ ให้แก่ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ทางการอยแู่ ลว้ หากผูส้ อนบูรณาการสอดแทรก
การพฒั นา หรอื ฝกึ ทักษะการคดิ ควบคูไ่ ปกบั การสอนเนอ้ื หาสาระตา่ ง ๆ ก็จะเกดิ ประโยชนท์ ัง้ จากผู้เรียนที่จะ
มีโอกาสฝึกฝนพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้นแล้ว ทักษะเหล่านั้นยังสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจใน
สาระทเ่ี รียนเพิ่มขึ้น ซง่ึ สง่ ผลให้มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีขนึ้ ดว้ ย ดังนน้ั ผู้สอนจงึ ควรศึกษาเรียนรู้วิธีการใน
การบูรณาการการเรียนการสอนและฝึกทักษะการคิดต่าง ๆ รวมถึงเทคนิคการวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่ช่วย
ส่งเสริมการคดิ วเิ คราะห์ ให้แกผ่ ้เู รียนอยา่ งเหมาะสมและเกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกลู พันธ์ ยชุ มภู 51

ประโยชน์ของการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์

การคิดมปี ระโยชน์อย่างมากในการดำเนนิ ชวี ติ ทำใหส้ ามารถตดั สนิ ใจ แก้ไขปญั หาต่าง ๆ ท่ี
เกดิ ข้นึ ได้อยา่ งเหมาะสม และประโยชน์ของการคิด (ประพนั ธ์ ศริ สิ ุเสารัจ, 2556) กล่าวโดยสรปุ ได้
ดังนี้

1. ทำให้ผูเ้ รยี นปฏิบัตงิ านไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบมีหลกั การและเหตุผล ผลงานมคี ุณภาพ

2. ทำให้ผู้เรียนมีหลกั เกณฑพ์ ิจารณาคณุ สมบตั แิ ละประเมนิ ผลงานไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล

3. ทำให้ผู้เรยี นรู้จกั การแสวงหาและเลอื กความรู้และประสบการณท์ ่ีมีความหมาย

4. ทำให้ผู้เรียนได้ฝกึ ทกั ษะการทำงานการใช้เหตผุ ลในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกตอ้ ง

5. ทำใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั ิตามขั้นตอนหรือกระบวนการคิด

6. ทำใหผ้ ู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้ภาษาและการส่ือสารทผ่ี ่านกระบวนการคดิ

7. ทำให้ผูเ้ รียนคิดได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ชดั เจน แจม่ แจ้ง กวา้ งไกล ล่มุ ลึก และมเี หตผุ ล

8. ทำให้ผู้เรยี นมปี ญั ญามีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมีความรับผิดชอบและมรี ะเบยี บวนิ ัย

9. ทำใหผ้ ู้เรียนมีความสามารถในการฟัง การพูด การอา่ น การเขยี นได้เปน็ อย่างดี

10. ทำใหผ้ ู้เรียนมที ักษะการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ปฏิบัตงิ านและใชช้ ีวิตอย่างมีความสุข

การคิดวิเคราะห์นับวา่ มีประโยชน์ต่อบคุ คลทกุ คนในการนำไปใช้เพื่อการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อ่ืน
ในสังคมเพื่อให้เกิดความสุข ช่วยให้ส่งเสริมความฉลาดทางสติปัญญา สามารถแก้ปัญหา ประเมิน
ตัดสินใจ และสรุปข้อมูลต่าง ๆ ที่รับรู้ด้วยความสมเหตุสมผลแล้ว การวิเคราะห์ยังเป็นเครื่องมือใน
การศึกษาหาความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองน้นั สำหรับประโยชนข์ องการคดิ วเิ คราะห์ (ไพฑูรย์ สินลารัตน,์
2560) มดี ังน้ี

1. การคิดวิเคราะห์กับการคิดสังเคราะห์เป็นการเอาข้อมูลที่แยกแยะแล้วมารวมกัน โดยจัด
กลมุ่ ใหม่ ทำใหไ้ ดผ้ ลของการคดิ เปน็ สิง่ ใหม่

2. การคิดวิเคราะห์กับการให้คำจำกัดความเป็นการระบุลกั ษณะสำคัญของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง เปน็
ขอ้ ความทีแ่ สดงลักษณะร่วมอยา่ งมีความหมาย

3. การคิดวิเคราะห์กับการคิดสร้างสรรค์ เป็นการคิดเพื่อสร้างสิ่งแปลกใหม่ที่มีความแปลก
แตกต่างจากสิง่ ทมี่ อี ยู่ก่อนและส่ิงนั้นจะตอ้ งมีประโยชนเ์ พ่อื นำไปแกไ้ ขปัญหาได้

52 ดร.ตระกลู พันธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศกึ ษา

4. การคดิ วเิ คราะห์กับการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ เปน็ การคดิ ทผ่ี า่ นการพิจารณาข้อมูลอย่าง
รอบคอบ อย่างสมเหตสุ มผลมกี ารไตรต่ รองข้อดแี ละขอ้ เสยี เพอ่ื นำไปสู่การตดั สินใจเลอื กวธิ กี ารท่ีใช้ใน
การแกป้ ญั หาหรือเรือ่ งสิ่งทนี่ ำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ถูกตอ้ งและเหมาะสม

5. การคิดวิเคราะห์กับการคิดแก้ปัญหา เป็นการคิดเพื่อหาคำตอบหรือวิธีการจัดการกับ
สภาวะที่มีความอึดอัดคับข้องใจ การคิดแก้ปัญหามี 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ระบุปัญหา 2) วิเคราะห์หา
สาเหตุของปัญหา 3) แสวงหาทางแก้ไขปัญหาหลาย ๆ ทาง 4) เลือกการแก้ปัญหาท่ีดีที่สุด 5) ลงมือ
ดำเนนิ การแกป้ ญั หาตามวิธีการที่เลือกไว้ 6) รวบรวมข้อมลู 7) ประเมินผล

6. การคิดวิเคราะห์กับการคิดเชิงระบบ เป็นการคิดเชิงองค์รวม ภาพรวม ตระหนักถึง
องคป์ ระกอบยอ่ ยที่มคี วามสมั พันธ์ มีหนา้ ท่ีเช่อื มโยงกัน นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการวางแผนการ ทำงานที่
มปี ระสิทธภิ าพหรือแกป้ ัญหาทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ข้อมลู หลายด้านท่ีสมั พันธ์กัน

สุวิทย์ มูลคำ (2547) ประโยชนข์ องการคิดวิเคราะห์มดี ังน้ี

1. ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของ
เหตุการณ์ต่าง ๆ รู้ว่าเรื่องนั้นมอี งค์ประกอบอะไรบ้าง ทำให้เราได้ขอ้ เท็จจรงิ ท่ีเป็นฐานความรู้ในการ
นำไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาการประเมินและการตัดสนิ ใจเร่ืองตา่ ง ๆ ได้ อยา่ งถูกตอ้ ง

2. ช่วยให้เราสำรวจความสมเหตุสมผลของข้อมูลท่ีปรากฏและไม่ด่วนสรุปตามอารมณ์
ความรู้สกึ หรอื อคติ แตส่ ืบค้นตามหลักเหตผุ ลและข้อมลทู ่เี ป็นจรงิ

3. ช่วยใหเ้ ราไม่ด่วนสรุปสงิ่ ใดงา่ ย ๆ แต่สอ่ื สารตามความเป็นจริง ขณะเดียวกัน จะช่วยให้เรา
ไม่หลงเชอ่ื ข้ออ้างท่เี กดิ จากตัวอยา่ งเพยี งอย่างเดยี ว แตพ่ จิ ารณาเหตผุ ล และปัจจยั เฉพาะในแต่ละกรณี
ได้

4. ช่วยในการพิจารณาสาระสำคัญอน่ื ๆ ท่ีถูกบิดเบือนไปจากความประทับใจในครั้งแรก ทำ
ให้เรามองอยา่ งครบถ้วนในแง่มุมอนื่ ๆ ท่มี ีอยู่

5. ช่วยให้พฒั นาความเป็นคนช่างสังเกต การหาความแตกตา่ งของสิ่งท่ีปรากฏพิจารณาตาม
ความสมเหตุสมผลของสงิ่ ท่เี กดิ ขึ้นก่อนท่จี ะตัดสนิ สรปุ สิ่งใดลงไป

6. ช่วยให้เราหาเหตุผลท่ีสมเหตสุ มผลให้กับสิ่งท่เี กิดขึ้นจริง ณ เวลานัน้ โดยไม่พ่ึงพิงอคติ ท่ี
กอ่ ตัวอยใู่ นความทรงจำ ทำให้เราสามารถประเมินสง่ิ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งสมจรงิ สมจงั

7. ช่วยในการประมาณความนา่ จะเป็น โดยสามารถใช้ข้อมูลพืน้ ฐานท่ีเรามี วิเคราะห์ร่วมกบั
ปัจจัยอ่ืน ๆ ของสถานการณ์ ณ เวลานั้นอันจะช่วยเราคาดการณ์ความน่าจะเป็นได้สมเหตุสมผล
มากกว่า

สรุปได้ว่าประโยชน์ของการคิดและการคิดวิเคราะห์ทำให้ผู้เรียนสามารถรู้และเขา้ ใจ ประเด็น
ปญั หาและสาเหตทุ แี่ ทจ้ รงิ ทำให้สามารถเลอื กแนวทางการแกป้ ัญหาท่ถี ูกตอ้ งและเหมาะสมได้ ช่วยให้

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกลู พนั ธ์ ยชุ มภู 53

สง่ เสรมิ ความฉลาดทาง สตปิ ัญญา สามารถแกป้ ัญหา ประเมิน ตดั สนิ ใจ และสรปุ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีรับรู้
ด้วยความสมเหตุสมผล อันเป็นพื้นฐานการคิดในมิติอื่น ๆ ส่งผลให้การแก้ปัญหาและการตัดสินใจใน
การทำงานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

บทสรุป

การคิดเป็นความสามารถพื้นฐานของการคดิ ท่สี ามารถนำมาใช้ในชวี ติ ประจำวนั และนำไปใชใ้ น
กระบวนการคดิ และการคิดวเิ คราะหไ์ ด้ โดยทักษะการคดิ ถอื เป็นทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน ได้แกท่ กั ษะการ
ส่ือความหมายและทักษะการคิดที่เป็นแกน หรือทักษะการคิดท่ัวไป ส่วนทักษะการคิดวิเคราะห์เป็น
ทักษะการคิดขั้นสูงหรือทักษะการคิดซับซ้อน กระบวนการคิด เป็นขั้นตอนในการคิดหรือการคิดท่ีมี
ข้ันตอน ประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน คอื ข้ันท่ี 1 กำหนดส่งิ ทตี่ อ้ งการวเิ คราะห์ ขั้นที่ 2 กำหนดปัญหาหรือ
วัตถปุ ระสงค์ ข้ันท่ี 3 กำหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ ขั้นท่ี 4 พจิ ารณาแยกแยะ และขั้นท่ี 5 สรุปคำตอบ
สำหรับการพัฒนาความสามารถทางการคิดและการคิดวิเคราะห์ ต้องอาศัยการฝึกฝนและพัฒนา
ทักษะการคิดขั้นพน้ื ฐานสู่การคิดขั้นสูง ซง่ึ การพฒั นาการคดิ และการคิดวิเคราะหใ์ นการจัดการเรียนรู้
เพื่อเป็นการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มี 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาทำความเข้าใจ
ความหมายและกระบวนการของทักษะการคดิ 2) การกำหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หรือผลการเรียนรู้
ท่ีคาดหวัง 3) การกำหนดเน้ือหาสาระการเรียนรู้ 4) การกำหนดทกั ษะการคิดทคี่ วรบรู ณาการ 5) การ
ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่บี ูรณาการกระบวนการคิด และ 6) การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

คำถามท้ายบท

1) การคดิ และการคดิ วิเคราะห์ คอื อะไร และมีความสำคญั อยา่ งไร
2) จงอธบิ ายหลักการของการคดิ และการคดิ วิเคราะห์
3) องคป์ ระกอบของการคิดและการคดิ วเิ คราะห์มีอะไรบ้าง
4) ระดบั การคดิ และการคิดวิเคราะหม์ ีก่รี ะดบั อะไรบา้ ง
5) จงวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างการคิดกับการคิด

วิเคราะห์
6) การคิดและการคิดวิเคราะห์ คอื อะไร และมขี ้นั ตอนของการคิดอยา่ งไร
7) การพฒั นาทักษะการคดิ และการคดิ วเิ คราะห์ คอื อะไร และมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร
8) การพฒั นาทกั ษะการคิดและการคิดวเิ คราะห์จะชว่ ยนิสิตในเร่ืองของการศกึ ษาได้อยา่ งไร
9) นสิ ติ มเี ทคนคิ การวิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางการศึกษาทส่ี นใจอยา่ งไร

54 ดร.ตระกลู พันธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา

เอกสารอ้างอิง

ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด : การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2).
นครปฐม: เพชรเกษมการพมิ พ.์

บุญชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ยั เบอ้ื งต้น (พิมพ์ครงั้ ที่ 7). กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาส์น.

ประพันธ์ ศริ ิสุเสารัจ. (2551). การพฒั นาการคดิ . กรุงเทพฯ: 9119 เทคนคิ พริ้นตง้ิ .

. (2556). การพัฒนาการคดิ (พิมพ์ครงั้ ที่ 5). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพร้ินต้ิง.

ไพฑรู ย์ สินลารัตน์และคณะ. (2560). คดิ วเิ คราะห์ : สอนและสรา้ งไดอ้ ยา่ งไร (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2).
กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ทศิ นา แขมมณีและคณะ, (2544). การนำเสนอรปู แบบเสรมิ สร้างทกั ษะการคิดขน้ั สูงของนิสิตนักศึกษา
ครูระดับปริญญาตรี สำหรับหลักสูตรครุศึกษา. รายงานผลการวิจัย. คณะครุศาสตร์.
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

ทศิ นา แขมมณี. (2554). ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สรา้ งสรรค์ และการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ : การบรู ณาการในการจดั การเรยี นร.ู้ วารสารราชบณั ฑติ ยสถาน. 36(2),
หนา้ 188-194.

ศิริชัย กาจนวาสี และคณะ. (2551). การเลอื กใช้สถติ ิท่ีเหมาะสมสำหรบั การวิจัย (พิมพ์คร้งั ที่ 5).
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

สคุ นธ์ สนธิ พานนท์ และคณะ (2555). พัฒนาทกั ษะการคดิ ตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: 9119
เทคนิคพร้ินต้ิง.

สปุ รีชา วงศ์อารีย.์ (2558). การคดิ และการตัดสินใจ. เอกสารคำสอน รายวชิ าการคิดและการตดั สนิ ใจ.
อุดรธานี: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธาน.ี

สวุ ิทย์ มูลคำ. (2547). ครบเครอื่ งเรอื่ งการคิด (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: หจก.การพมิ พ.์

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ. (2542). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542.
กรุงเทพฯ: บริษทั พรกิ หวานกราฟฟกิ .

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู 55

บทท่ี 4

การอา่ นและการจดบันทกึ ขอ้ มลู เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้

การอ่านและการจดบันทึกมีความสำคัญอย่างยิ่งกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่มีการ
เปลี่ยนแปลงของข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว การอ่านและการจดบนั ทึกจึงเป็นทักษะที่จำเป็นและเปน็
ประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเอง เพอ่ื ใหเ้ ป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ การแปลความหมายของตวั อักษรที่อ่าน
ออกมาเป็นความรคู้ วามคดิ และเกดิ ความเข้าใจในเร่ืองราวท่ีอา่ นอยา่ งแท้จรงิ เกดิ จนิ ตนาการในการ
ต่อยอดความรู้ และนำไปใช้เพื่อพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้า แต่หากผู้เรยี นขาดทักษะการ
อ่านและการจดบนั ทกึ ท่ดี ียอ่ ม ย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ รายงานการศึกษาค้นคว้าทีไ่ มม่ ีคุณภาพ เน่ืองจาก
การจดบันทึกเป็นหลักฐานในการดำเนินงานที่กำลังเดินการอยู่หรือได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว
เป็นข้อมูลสำหรับอ้างอิงในการเขียนรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า ดังนั้นความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการอ่าน
และการจดบันทกึ ขอ้ มูลแบบตา่ ง ๆ จะทำใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาคน้ คว้าอย่างมจี ุดมุ่งหมาย

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. เพอ่ื ใหน้ ิสติ มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การอ่านและการจดบันทกึ ข้อมูล
2. เพอ่ื ใหน้ สิ ติ สามารถเลือกวิธีการอ่านและการจดบนั ทกึ ข้อมลู ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
3. เพอ่ื ให้นสิ ติ ตระหนักถึงคณุ ค่าและประโยชน์ของการอ่านและการจดบันทกึ

สาระการเรยี นรู้

1. การอา่ นเพ่ือการศกึ ษาค้นควา้
2. การจดบนั ทึกขอ้ มูลเพ่ือการศกึ ษาค้นควา้

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ผสู้ อนอธบิ ายเนอ้ื หา แนวคิด ทฤษฎีทีเ่ ก่ยี วขอ้ งและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
2. แบ่งกลมุ่ นสิ ติ ศกึ ษา และสรปุ เนื้อหาท่กี ำหนดให้
3. นสิ ติ ฝึกปฏิบัติการอา่ นและบนั ทกึ ขอ้ มูล และนำเสนอ
4. นสิ ติ ทบทวนความรโู้ ดยการตอบคำถามทา้ ยบท และรว่ มกนั สรปุ บทเรียน
5. ผสู้ อนสรุป อธบิ ายเพิม่ เตมิ และรว่ มสรุปในประเด็นทส่ี ำคัญ

สื่อและอุปกรณ์

1. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา 161423 ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา
2. สือ่ การสอน PowerPoint บทท่ี 4
3. บทความทางการศกึ ษา
4. คำถามทา้ ยบท
5. ใบงานความรู้
6. คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

วิธีการประเมินผล

1. การรว่ มอภปิ รายและมีส่วนรว่ มในชั้นเรียน
2. การนำเสนอและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
3. การเขยี นบนั ทกึ การเรียนรู้
4. การทำงานกลมุ่
5. การตอบคำถามทา้ ยบท

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยชุ มภู 57

การอา่ นเพื่อการศึกษาค้นควา้

ความหมายของการอ่าน

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่าน
หมายถงึ ว่าตามตัวหนงั สือ ถ้าออกเสียงดว้ ย เรียกวา่ อ่านออกเสยี ง ถา้ ไมต่ ้องออกเสยี ง เรยี กว่า อ่าน
ในใจ สังเกตหรอื พิจารณาดเู พ่ือให้เข้าใจ เชน่ อา่ นสหี นา้ อา่ นรมิ ฝปี าก อา่ นใจ ตคี วาม เช่น อ่านรหัส
อา่ นลายแทง

เอด็ การ์ เดล ( Edgar Dale, 1969) ใหค้ วามหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่าน คือ กระบวนการ
ค้นหาความหมายจากสิ่งพิมพ์ เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ของผู้อ่าน การอ่านไม่ได้หมายความว่า
เฉพาะการมองผา่ นแตล่ ะประโยค หรอื แตล่ ะย่อหนา้ เทา่ นนั้ แตผ่ ูอ้ า่ นต้องเข้าใจความคิดนน้ั ๆ ดว้ ย

การอ่านเพ่ือการศึกษาค้นคว้าและนำความรู้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวันนั้น สามารถ
แบ่งการอา่ นออกเปน็ 3 แบบ ไดแ้ ก่

1. การอ่านแบบคร่าว ๆ คือ การอ่านเพ่ือให้ได้ภาพรวมของเนื้อหา เรื่องตอนนั้น หรือสำรวจ
เนือ้ หากวา้ ง ๆ เปน็ การอ่านอยา่ งรวดเร็ว แตต่ อ้ งจับใจความสำคัญของเน้ือหาตอนนัน้ ๆ ได้ ครบถ้วน
โดยมขี ้นั ตอนในการอา่ น คอื ขั้นแรก เปน็ การสำรวจรปู เลม่ เช่น ชอ่ื เรอ่ื ง ชือ่ ผูแ้ ตง่ เลขมาตรฐานสากล
ประจำหนงั สอื (ISBN) คร้ังทีพ่ ิมพ์ สำนักพมิ พ์ ราคา และหวั ขอ้ เรือ่ ง เพ่ือใช้ในการเลอื กหนงั สือ และขั้น
ต่อมา เป็นการอ่านเนื้อหาทั้งหมดอย่างรวดเร็ว โดยหาใจความสำคัญของเร่ืองการอ่าน แบบคร่าว ๆ
ทำใหเ้ ราสามารถอา่ นหนังสือไดจ้ ำนวนเล่มมากข้นึ

2. การอ่านแบบกวาดสายตา คือการอ่านเพื่อค้นคว้าเร่ืองท่ีอ่านโดยใช้วิธีกวาดสายตาอย่าง
รวดเรว็ ทลี ะ 2-3 บรรทดั เพอื่ หาแบบเจาะจงในสิง่ ที่ตนตอ้ งการ เชน่ การคน้ หาคำในพจนานกุ รม การ
ค้นหาหัวข้อหนงั สอื ในสารบัญ การอา่ นแบบกวาดสายตาชว่ ยให้หาส่ิงที่ต้องการเรว็ ขน้ึ

3. การอา่ นอยา่ งละเอียด คอื การอ่านอยา่ งละเอยี ด เป็นการอา่ นขั้นสดุ ทา้ ย หลงั จากท่ี ผู้อ่าน
ใชว้ ธิ กี ารแบบครา่ ว ๆ การอา่ นแบบกวาดสายตา การอา่ นอยา่ งพินจิ พเิ คราะห์ คอื การตคี วาม เน้ือหา
อยา่ งละเอยี ด

สรุปได้ว่า การอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรับสารอย่างหนึ่งที่ผูอ้ ่านพยายามทำความเข้าใจ
จากนัน้ ผอู้ า่ นเกดิ ความคดิ ความเขา้ ใจแล้วสามารถนำความคิด ความเขา้ ใจนั้นไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้
โดยการอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้านั้นมี 3 แบบคือ 1) การอ่านแบบคร่าว ๆ 2) การอ่านแบบกวาด
สายตา และ 3) การอา่ นอยา่ งละเอียด ซึ่งการอ่านทงั้ 3 แบบ เป็นการอ่านท่จี ะช่วยให้การศึกษาคน้ ควา้
เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ ได้อย่างแท้จรงิ

58 ดร.ตระกลู พันธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศึกษา

ประโยชนข์ องการอา่ น

การอ่าน เป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความคิด
สร้างสรรค์ และรู้วิธีการแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา (ฉวีวรรณ คูหาภินันท์, 2542)
ประโยชนข์ องการอ่านเพ่ือการศกึ ษาคน้ คว้ามี ดงั นี้

1. การอา่ นทำให้ผเู้ รยี นได้ทราบเนือ้ หาสาระความรู้ตา่ ง ๆ มากกว่าการฟงั บรรยาย

2. การอา่ นสามารถทำไดท้ ุกท่ีทกุ เวลาเมอ่ื ผูเ้ รยี นมีความตอ้ งการอา่ นส่อื สารสนเทศ

3. การอา่ นทำให้ผเู้ รยี นมสี ติ มีสมาธอิ ยกู่ ับตนเอง และมีความคิดสรา้ งสรรค์ สร้างจินตนาการ

4. การอา่ นทำให้ผเู้ รยี นเกดิ แนวคดิ ใหม่ ๆ และมมี ุมมองเปดิ กวา้ งไมย่ ดึ ตดิ รปู แบบ

5. การอา่ นทำให้ผู้เรยี นมแี นวทางการแกไ้ ขปญั หาในการทำงานและการดำรงชีวิต

6. การอา่ นทำให้ผเู้ รยี นมีความรคู้ วามชำนาญในการทำงานและพัฒนาทกั ษะอาชพี

7. การอา่ นทำให้ผู้เรยี นใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์และพักผอ่ นหยอ่ นใจ

8. การอา่ นทำใหผ้ ู้เรียนทันตอ่ เหตกุ ารณแ์ ละความเจรญิ กา้ วหนา้ ของโลกสมัยใหม่

สรุปไดว้ ่า การอา่ นเปน็ เครอ่ื งมือในการศึกษาค้นควา้ ที่เป็นประโยชนต์ ่อตัวผู้เรียน การอ่านทำ
ให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทั่วโลก ทำให้ผู้อ่านมี
ความสุข มีความหัวง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมี
ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคน
ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ทำให้ผู้เรียนมีความรู้และมีความชำนาญในการ
ประกอบอาชีพ สามารถปรับปรุงและพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา มีทัศนคติที่ดีต่อการดำรงชีวิต และ
รูเ้ ทา่ ทันความเปล่ยี นแปลงของโลก

วิธกี ารอ่านเพ่ือการศกึ ษาคน้ ควา้

เมอ่ื ผูเ้ รยี นตอ้ งการศกึ ษาคน้ ควา้ จะตอ้ งรู้กอ่ นว่าต้องการศึกษาอะไร แลว้ จึงเลอื กหาหนังสือท่ี
จะคน้ คว้า โดยการพจิ ารณาจากประเภทของหนงั สือ เมือ่ ได้หนังสอื ทีต่ ้องการแล้ว จะต้องพิจารณาจาก
สว่ นประกอบท่ีสำคญั ของหนงั สอื เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ทางการศึกษาโดยตรง ดังน้ี

1. คำนำ จะเป็นส่วนที่ผู้แต่งหนังสือจะบอกถึงจุดมุ่งหมายในการแต่ง สาระสำคัญของเรื่อง
และบางครงั้ ยงั บอกวิธีการใชห้ นงั สอื ไวใ้ นคำนำ จงึ ทำใหร้ จู้ กั ผู้แตง่ ไดม้ ากข้ึน

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศึกษา l ดร.ตระกลู พนั ธ์ ยุชมภู 59

2. สารบญั จะเป็นตวั บอกขอบเขต ของเน้ือหา ว่ากล่าวถึงอะไรบ้างลำดับก่อนหลังของ เนอื้ หา
และสว่ นประกอบของหนงั สือ เช่น ภาคผนวก ดชั นี เป็นตน้ ดงั น้ัน หนา้ สารบัญทีล่ ะเอียดจึงมีส่วนช่วย
อำนวยความสะดวกในการศกึ ษาคน้ คว้าแก่ผูอ้ ่าน

หนังสือไม่จำเป็นจะต้องมีสารบัญทุกเล่ม แต่สารบัญจำเป็นต้องมีในหนังสือที่มีเนื้อหา
หลากหลายเร่ืองรวมอยู่ในเล่มเดียวกัน เช่น นิตยสาร วารสาร หรือหนังสือเพื่อการค้นคว้า เป็นต้น
หนังสือทไี่ ม่จำเป็นตอ้ งมสี ารบญั เช่น นวนยิ าย บทละคร นทิ าน เปน็ ต้น

3. บญั ชีตารางและบญั ชภี าพ มหี นงั สือบางประเภท เชน่ รายงานการวจิ ัย ตำรา และ เอกสาร
ทางวชิ าการ เพอื่ บอกให้ผอู้ า่ นทราบว่า ตารางแสดงสถติ ิ ตวั เลข แผนภูมิ หรอื ภาพประกอบ อย่ใู นหน้า
ใดของหนงั สือ จะช่วยใหศ้ ึกษาไดส้ ะดวกยง่ิ ข้ึน

4. เนื้อหา สำหรับการอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า ผู้ศึกษาจะต้องรู้ว่า ตนเองต้องการที่จะ
ค้นคว้า อย่างละเอียดทั้งเรื่องหรือต้องการค้นคว้าเฉพาะเรื่อง หากจะค้นคว้าทั้งเรื่อง ผู้อ่านจะต้อง
พยายามจับใจความสำคัญในแต่ละยอ่ หน้าและแตล่ ะบทให้ได้ เมื่ออ่านจบต้องสามารถสรุปเนื้อหาใน
แตล่ ะยอ่ หนา้ เรียบเรยี งเปน็ หนง่ึ บท และสามารถเรยี บเรียงแต่ละบทสรุปเป็นเรืองเด่ียวกนั ได้ ส่วนการ
อ่านที่ค้นคว้าเฉพาะเรื่อง ซึ่งเป็นเรื่องย่อย ๆ ท่ีกล่าวในบางตอนของหนังสือหรือวารสาร ผู้อ่านต้อง
เลอื กเนอื้ หาโดยอาศัยสารบัญเปน็ สำคัญ สง่ิ ที่ควรจะฝกึ ให้เป็นนสิ ยั คอื อา่ นใหต้ ลอด ทีละย่อหน้า จับ
ใจความของย่อหน้านัน้ ๆ ให้ได้เมือ่ อา่ นจบจงึ คอ่ ยสรุปใจความสำคัญออกมาเป็นหนง่ึ บท เช่นเดียวกับ
การคน้ คว้าท้งั เรอ่ื ง การค้นคว้าท้ังสองแบบน้ัน ควรจะใช้การบันทึกประกอบด้วย เพ่ือให้เกดิ การศึกษา
ทเ่ี ปน็ ระบบ จะช่วยอำนวยความสะดวกแก่การลำดับความสำคญั และการจดจำ

5. ภาคผนวก รวบรวมเนื้อหาทอี่ ้างองิ และข้อเขียนทห่ี าอ่านไดย้ ากไวท้ ้ายเล่ม แม้ไม่ใช่เน้ือหา
โดยตรงท่ีแท้จรงิ แต่จะช่วยขยายความรู้ ความเข้าใจ และความคดิ เก่ียวกบั เนอื้ หาไดม้ าก

6. บรรณานุกรม คอื หนังสืออ้างองิ ทผี่ ู้แตง่ ใช้ประกอบในการเขียนหนังสือเรอ่ื งนัน้ เรยี งลำดับ
ไว้ตามตัวอักษรชื่อผ้แู ต่ง ผ้ศู ึกษาคน้ คว้าควรดูรายละเอยี ดในส่วนน้ีดว้ ย

7. ดชั นี คอื สว่ นสุดทา้ ยของหนังสอื ชว่ ยในการหาเนื้อหาที่ต้องการศึกษา สำหรับผู้ศึกษาที่มี
เวลาน้อย จะรวบรวมเอาช่ือและคำตา่ ง ๆ ทีม่ ีในหนงั สอื พรอ้ มกับบอกหมายเลขหน้าเอาไว้

การอ่านมีหลายระดับและมีวิธีการตา่ ง ๆ ตามความม่งุ หมายของผู้ศกึ ษา และประเภทของสื่อ
การอ่าน การอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้าและเขียนรายงาน อาจใช้วิธีอ่านต่าง ๆ เช่น การอ่านสำรวจ
การอ่านข้าม การอ่านผ่าน การอ่านจับประเด็น การอ่านสรุปความ และการอ่านวิเคราะห์ ซึ่งมี
รายละเอยี ด ดังนี้

1. การอ่านสำรวจ คือ การอ่านข้อเขียนอย่างรวดเร็ว เพื่อรู้ลักษณะโครงสร้างของข้อเขียน
สำนวนภาษา เนอ้ื เรอื่ งโดยสงั เขป เปน็ วธิ อี า่ นที่เปน็ ประโยชน์อย่างย่ิงในการเลือกสรรสง่ิ พิมพ์ สำหรับใช้

60 ดร.ตระกูลพันธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศึกษา

ประกอบการคน้ คว้า หรือการหาแนวเรื่องสำหรับเขียนรายงาน และรวบรวมบรรณานกุ รมในหัวข้อที่
เขียนรายงาน

2. การอ่านข้าม เปน็ วธิ อี า่ นอย่างรวดเร็วเพอ่ื เขา้ ใจเน้ือหาของข้อเขียน โดยเลือกอ่านข้อความ
บางตอน เช่น การอ่านคำนำ สาระสังเขป บทสรุป และการอ่านเนื้อหาเฉพาะตอนที่ตรงกับความ
ตอ้ งการ เป็นต้น

3. การอ่านผา่ น เปน็ การอา่ นแบบกวาดสายตา โดยผูอ้ า่ นจะทำการกวาดสายตาอย่างรวดเร็ว
ไปยังสิ่งที่เป็นเป้าหมายในข้อเขียน เช่น คำสำคัญ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ แล้วอ่านรายละเอียด
เฉพาะท่เี ก่ยี วกบั สิ่งทตี่ อ้ งการ เชน่ การอา่ นเพอ่ื ค้นหาชื่อในพจนานกุ รม และการอ่านแผนที่

4. การอ่านจับประเด็น หมายถึง การอ่านเรือ่ งหรือข้อเขียนโดยทำความเข้าใจสาระสำคัญใน
ขณะที่อ่าน มักใช้ในการอ่านข้อเขียนทีไ่ ม่ยาวนกั เช่น บทความ การอ่านเร็ว ๆ หลายครั้งจะช่วยให้จบั
ประเด็นได้ โดยการอ่านมีเทคนิคคือต้องสังเกตคำสำคญั ประโยคสำคัญที่มีคำสำคญั และทำการย่อ
สรปุ บนั ทกึ ประโยคสำคัญไว้ เพ่ือใช้ประโยชนต์ ่อไป

5. การอ่านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตคี วามหมายสิ่งที่อ่านได้ถูกต้องชดั เจน
เขา้ ใจเร่ืองอยา่ งดี สามารถแยกส่วนท่สี ำคญั หรือไม่สำคัญออกจากกนั รวู้ ่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง หรือ
ขอ้ คิดเหน็ ส่วนใดเปน็ ความคดิ หลัก ความคิดรอง การอ่านสรุป ความมสี องลักษณะคอื การสรปุ แต่ละ
ย่อหนา้ หรือแต่ละตอน และสรปุ จากทง้ั เรอ่ื งหรอื ทง้ั บท การอ่านสรปุ ความควรอยา่ งอยา่ งครา่ ว ๆ ครั้ง
หน่ึงพอให้ร้เู ร่อื งแล้วอา่ นละเอียดอกี คร้ังเพ่ือเข้าใจเรื่องอย่างดี หลกั จากนัน้ ต้ังคำถามตนเองในเรื่องท่ี
อา่ นวา่ เก่ียวกบั อะไร มเี ร่ืองราวอย่างไร แลว้ เรยี บเรียงเน้อื หาเปน็ สำนวนภาษาของผู้สรุป

6. การอ่านวิเคราะห์ การอ่านเพื่อค้นคว้าและเขียนรายงานโดยทั่วไปต้องมีการวิเคราะห์
ความหมายของขอ้ ความ ทง้ั น้เี พราะผเู้ ขยี นอาจใชค้ ำและสำนวนภาษาในลักษณะต่าง ๆ อาจเป็นภาษา
โดยตรงมีความชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาโดยนัยที่ต้องทำความเข้าใจ และภาษาที่มีความหมายตาม
อารมณ์และความรสู้ ึกของผู้เขียน ผู้อ่านท่มี ีความรู้เร่อื งคำศัพท์และสำนวนภาษาดี มีประสบการณ์ใน
การอ่านมากและมีสมาธิในการอ่านดี ย่อมสามารถวิเคราะห์ได้ตรงความหมายที่ผู้เขียนต้องการส่ือ
และสามารถเข้าใจเรือ่ งทีอ่ ่านได้ดี

สรุปได้ว่า วิธีการอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงาน มี 6 วิธี คือ 1) การอ่านสำรวจ
2) การอ่านข้าม 3) การอ่านผ่าน 4) การอ่านจับประเด็น 5) การอ่านสรุปความ และ 6) การอ่าน
วิเคราะห์ ซึ่งถือว่าเป็นทักษะการอ่านอย่างถูกวิธี หรือการอ่านอย่างมีจุดมุ่งหมายจะทำให้ผู้เรียนได้
ข้อสรุปไปใช้ในการทำรายงานให้มีความสมบูรณ์ได้ นอกจากนี้การอ่านโดยการพิจารณาจาก
ส่วนประกอบของหนังสือได้แก่ คำนำ สารบญั บัญชีตาราง บัญชีภาพ เนื้อหา ภาคผนวก บรรณานุกรม
และดัชนี จะช่วยใหผ้ ู้เรียนสามารถศึกษาไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงคม์ ากยงิ่ ขน้ึ

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยุชมภู 61

เทคนคิ การอา่ นเพ่อื การศกึ ษาค้นควา้

ผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องเสียเวลากับการอ่านหนังสือ ตำราเรียนมากเกินควร เนื่องจากการอา่ นท่ี
ขาดประสิทธิภาพ คืออ่านทุกตัวอกั ษร ทุกประโยคไปเรื่อย ๆ ตั้งแตต่ น้ จนจบ แล้วยังพยายามอ่านซ้ำ
แล้วซ้ำอีก เพอื่ ท่องจำสงิ่ ท่ีอ่านใหข้ น้ึ ใจ ทำให้ยง่ิ เสยี เวลาเขา้ ไปใหญ่ การจะลดเวลาท่เี กนิ ควรไปน้ัน เรา
ตอ้ งอ่านอยา่ งมวี ัตถปุ ระสงค์ มกี ารวางแผนลว่ งหนา้ มกี ารทวนความเข้าใจหลงั อา่ นจบแลว้ ซ่ึงเทคนิค
การอา่ นเพ่ือการศกึ ษาคน้ คว้ามผี ้ไู ด้นำเสนอไวด้ งั นี้

โรบินสนั (Robinson, 1961) ได้เสนอเทคนคิ การอ่านแบบ SQ3R เพอ่ื ช่วยให้ผู้อ่านสามารถเลือก
ส่ิงที่คาดว่าจะรู้จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจแนวคิดของเรือ่ งที่อ่านได้รวดเร็ว และจดจำเร่ืองไดด้ ี ตลอดจน
สามารถทบทวนเรือ่ งท่ีอ่านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซึง่ มีขั้นตอนการอ่าน ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 Survey (S) โดยการกวาดสายตาไปตามหัวข้อตามบทอ่าน เพื่อหาจุดสำคัญของ
เรอื่ งทอ่ี ่านเปน็ การอ่านอยา่ งครา่ ว ๆ ถา้ หากบทอา่ นน้ันมบี ทสรปุ ก็ใหอ้ า่ นบทสรุปดว้ ย การอ่านข้ันนี้ไม่
ควรใช้เวลามากจนเกินไป การอา่ นในขั้นตอนน้ีจะทำใหผ้ ู้อ่านได้รู้ใจความสำคัญของเร่ือง หรือแนวคิด
หลกั ของเรือ่ ง การอา่ นในขัน้ ตอนน้ีจะชว่ ยใหผ้ ้อู า่ นเรยี บเรียงแนวคิดตา่ ง ๆ ของเรอื่ งได้

ขัน้ ตอนท่ี 2 Question (Q) โดยการเปลยี่ นหวั ข้อให้เปน็ คำถาม การตั้งคำถามในข้นั ตอนน้ี จะทำ
ใหผ้ อู้ ่านอยากรู้อยากเหน็ มากขึ้น ดงั น้ันคำถามจึงเปน็ สงิ่ ท่จี ะเพม่ิ ความเข้าใจมากขึ้น คำถามจะช่วยให้
ผู้อ่านระลกึ ถึงความรเู้ ดิมท่ีเกย่ี วข้องกบั เรื่องที่อ่าน ท่สี ำคัญคำถามจะต้องสัมพันธ์กับเรื่องราวท่ีกำลัง
อ่านในเวลาเดยี วกันกค็ วรจะต้องถามดูตัวเองด้วยว่าใจความสำคัญท่ีผู้เขียนกำลงั เขียนอยนู่ ั้นคืออะไร
ทำไมจงึ สำคัญ สำคัญอยา่ งไรและเกี่ยวข้องกับอะไรหรือใครบ้าง ตอนไหน หรอื เมอื่ ไร อย่างไรก็ตามก็
ควรพยายามต้ังคำถามใหไ้ ด้เพราะจะชว่ ยใหก้ ารอา่ นในข้นั ตอ่ ไป เป็นไปอยา่ งมีจดุ หมายและสามารถจบั
ประเด็นสำคญั ไมผ่ ิดพลาดและคดิ เสมอว่าตอ้ งอา่ นเพ่อื หาคำตอบน้นั

ขั้นตอนท่ี 3 Read (R1) เป็นการอ่านข้อความช้า ๆ อย่างละเอียดเพื่อความเข้าใจและ จับ
ประเด็นสำคญั ๆ การอา่ นในขั้นตอนน้ีเปน็ การอา่ นอย่างกระตือรอื รน้ เพ่อื ท่จี ะหาคำตอบให้ได้ ขณะที่
อา่ นหากนกึ คำถามได้อกี กจ็ ดบนั ทกึ ไว้แลว้ ต้ังใจอา่ นจนกว่าจะไดค้ ำตอบท่ีตอ้ งการ

ขั้นตอนท่ี 4 Recite (R2) เมื่ออ่านจบตอนหน่ึง ๆ แล้วพยายามตอบคำถามอย่างย่อ ๆ โดยใช้
สำนวนภาษาของตนเอง พร้อมกับบอกชื่อตัวอย่างในเรื่อง ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านรู้ว่าเรื่องท่ีอ่านเก่ียวกบั
อะไร ถา้ ตอบคำถามไม่ได้ให้ย้อนกลับไปอา่ นเรอ่ื งใหมอ่ ยา่ งครา่ ว ๆ

ข้ันตอนท่ี 5 Review (R3) ในขั้นตอนน้ีเปน็ การทบทวนหวั ขอ้ หรอื ประเดน็ สำคญั ตา่ ง ๆ หลงั จาก
ที่อ่านบทอ่านจบแล้ว อาจจะเป็นการอ่านทวนคำถามคำตอบในประเด็นสำคัญ ๆ ก็ได้ เพื่อเป็นการ
ระลึกถึงความจำของบทอ่าน แต่ถ้าหากยังไม่แนใ่ จในบทอ่านตอนใดก็ตาม ก็ใหกลบั ไปอ่านซ้ำใหมอ่ ีก
เพ่อื จะไดจ้ ำเรื่องได้แม่นยำยิง่ ขึ้น

62 ดร.ตระกูลพันธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คดั สรรทางการศึกษา

ยุดา รักไทย และปานจิตต์ โกญจนาวรรณ (2557) ได้เสนอเทคนิคการอา่ นแบบ ORUS เป็นวิธี
อ่านเพ่อื การเรยี นท่ีผูเ้ รียนสามารถอ่านทำความเขา้ ใจได้อย่างรวดเร็ว มี 4 ขั้นตอน ดังตอ่ ไปน้ี

ขน้ั ตอนที่ 1 สำรวจ (Overview) องค์ประกอบต่าง ๆ ของสิง่ ทีจ่ ะต้องอ่านไดแ้ ก่ 1) ชื่อบท หัวข้อ
ใหญ่ และหัวข้อย่อย ทพี่ มิ พต์ วั หนา สิ่งเหลา่ นี้จะบอกถงึ ขอบเขตและลกั ษณะของเน้ือหาอย่างคร่าว ๆ
2) รปู ภาพ กราฟ และแผนภมู ิ หนงั สอื วิชาการส่วนใหญจ่ ะมสี ง่ิ เหลา่ นี้ รวมทง้ั ภาพประกอบประเภทอ่ืน
เพ่อื ชว่ ยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจเนอื้ หาประเด็นสำคัญ ๆ ไดม้ ากขน้ึ 3) สรปุ อา่ นแบบผา่ น ๆ (Skimming) ดูว่าส่ิง
ที่ผู้แต่งต้องการนำเสนอคืออะไร เพื่อเวลาอ่านจริง เราจะได้มุ่งตรงไปยังเนื้อหาสำคัญทั้งหลาย ไม่
เสียเวลาไปกับการอ่านส่วนที่เป็นน้ำ ในกรณีที่ผู้แต่งไม่ได้เขียนบอกไว้วา่ ตรงไหนเป็นบทสรุป ให้ลอง
อา่ นย่อหน้าสุดท้ายของเร่ือง และ 4) คำถาม คอื สิ่งทบ่ี อกใหเ้ รารูว้ า่ เนอื้ หาส่วนไหนในเรื่องท่ีเราต้องให้
ความสนใจเปน็ พเิ ศษ เพราะผแู้ ต่งมักจะถามถึงส่งิ ทีเ่ ปน็ ประเดน็ สำคญั ของเร่ือง ซงึ่ หลังจากรู้คร่าว ๆ
แล้วว่าเรือ่ งที่จะอ่านมันเกี่ยวกับอะไร สิ่งไหนนา่ จะเปน็ ประเด็นสำคญั ของเรื่อง เราก็ตอ้ งวางแผนการ
อา่ น โดยแบ่งเนือ้ หาท้งั หมดออกเปน็ สว่ นๆ และกำหนดเวลาในการอ่านของแต่ละสว่ น ทัง้ น้ใี หร้ วมเวลา
ท่ีจะใช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู และสรปุ ความเขา้ ใจด้วย

ขั้นตอนท่ี 2 อา่ น (Read) ดว้ ยความรวดเรว็ คดั เอาแต่ใจความสำคัญ ซ่ึงส่วนใหญ่อยู่ที่ประโยค
แรกหรอื สดุ ท้ายของยอ่ หนา้ โดยไม่มกี ารหยุด ให้ทำเหมอื นกับว่าเรากำลังคยุ กบั ผู้แตง่ เหมือนเขากำลัง
อธิบายบางสิ่งให้เราเข้าใจ ดังนั้นถ้ามีตรงไหนสงสัยไม่เข้าใจก็ให้เขียนคำถามไว้ตรงขอบของ
หนา้ กระดาษ ใกล้ ๆ กบั สว่ นที่เราไม่เขา้ ใจ ขอ้ ความไหนท่ีรูว้ ่าไมส่ ำคญั สำหรบั เราก็ ใหข้ า้ มไปได้ ไมต่ อ้ ง
กังวลว่าเราจะไมเ่ ข้าใจท้ังหมด

ข้นั ตอนท่ี 3 เกบ็ ขอ้ มลู (pick Up) เปน็ การนำสาระสำคญั ทง้ั หลายเขา้ สู่คลงั ความจำของเรา โดย
กลับไปดูสิ่งทเี่ พ่ิงอ่าน แลว้ ขดี เสน้ ใตห้ รือทำเครอื่ งหมายดอกจนั (*) ไวต้ รงทส่ี ำคญั ๆ หรอื ตรงขอ้ ความ
ที่เราคดิ ว่าอาจถูกนำมาออกขอ้ สอบเทา่ นนั้ หรอื เขียนโน้ตสั้น ๆ ไว้ทีข่ อบของหนา้ หนงั สือ

ขั้นตอนที่ 4 สรุปความเข้าใจ (Summarize) เป็นการสรุปใจความสำคัญของเนื้อหาที่เราอ่าน
ตามความเขา้ ใจดว้ ยคำพดู หรือภาษาท่เี ป็นของตวั ผู้อา่ นเอง

สรปุ ได้ว่า หากผเู้ รยี นมีเทคนคิ การอา่ นเพ่อื การศึกษาคน้ ควา้ ทีเ่ หมาะสมในระดับอดุ มศกึ ษา จะ
ชว่ ยใหพ้ ฒั นาทักษะการอา่ นใหถ้ ึงขั้นการอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณได้เปน็ อยา่ งดี เพราะเทคนิคการอ่าน
ทั้งแบบ SQ3R หรอื ORUS ตา่ งก็มีข้นั ตอนฝกึ ให้ผู้อ่านตอ้ งคดิ และจดบันทึกในขณะทอี่ ่านอยตู่ ลอดเวลา
ช่วยลำดับความคดิ อยา่ งเป็นระบบและมเี หตุผล ทำใหส้ ามารถวิเคราะห์และสงั เคราะห์เน้ือหาได้อย่าง
ถูกตอ้ ง ชดั เจน

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยชุ มภู 63

การจดบนั ทกึ ข้อมลู เพอ่ื การศกึ ษาคน้ คว้า

รปู แบบการจดบนั ทึกข้อมูล

รปู แบบการจดบันทกึ มี 2 แบบ ไดแ้ ก่

1. การจดบันทึกแบบมาตรฐาน เป็นการบันทึกข้อความเรยี งตามประเด็นและหัวข้อที่กำหนด
เช่น คำอธิบายตามขอบเขต แนวคิด คำสำคัญ สาระหลัก สรุปความ สรุปย่อตามภาษา หรือสำนวน
ของผู้สรุป โดยไม่ให้เป็นการคัดลอกต้นฉบับ แต่ถ้าจำเป็นต้องคดั ลอกให้คัดลอกไดไ้ ม่เกิน 3 บรรทดั
และใสเ่ คร่ืองอัญประกาศ และอ้างองิ แหล่งท่ีมาให้ถูกต้อง

2. การจดบันทึกด้วยแผนผัง หรือไดอะแกรม เป็นการแปลงข้อความ หรือแนวคิดต่าง ๆ
ออกเป็นภาพ หรือเปน็ แผนผงั และมคี ำอธิบายด้วยภาษาท่ีสัน้ กระชบั ซ่งึ เปน็ ประโยชน์ต่อการทำความ
เขา้ ใจเนือ้ หาโดยรวม และไม่จำเปน็ ต้องอา่ นรายละเอยี ด ช่วยใหบ้ นั ทึกไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สามารถนำไปใช้
ในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาได้

สรปุ ไดว้ า่ การจดบนั ทกึ ขอ้ มูลมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ การจดบันทกึ แบบมาตรฐาน และการจดบันทึก
ด้วยแผนผัง หรือไดอะแกรม เป็นรูปแบบการจดบันทึกเพื่อบันทึกเป็นคำ ข้อความ รูปภาพหรือ
สญั ลกั ษณ์ เพอ่ื บนั ทกึ ส่ิงท่ไี ด้ศกึ ษาคน้ ควา้ มา ซงึ่ สามารถบนั ทกึ ลงในสมุดบนั ทึกหรือบันทึกลงในสมุด
อิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ โดยการบันทึกข้อมูลลงสมุดบันทึกมาตรฐาน และสมุดบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ มี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

1. สมดุ บันทกึ มาตรฐาน ลักษณะของสมุดบนั ทึกมาตรฐานท่ดี ตี ้องเป็นสมุดเย็บเลม่ ควรมีเลข
หนา้ กำกบั ข้อดีของสมดุ บันทกึ มาตรฐานคอื พกพาง่าย เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีไม่ซบั ซ้อน เน่ืองจากใช้ปากกา
ซึ่งเป็นอุปกรณท์ ีง่ ่ายในการจดบนั ทึก และใช้เป็นหลักฐานเพือ่ ยืนยันขอ้ มลู ของผู้จดบันทึก ส่วนขอ้ เสยี
คือ ต้องมีการบันทึกด้วยลายมือที่ชัดเจนเป็นระเบียบ ยากต่อการสืบค้น ข้อมูลอาจสูญหายได้ หาก
สมุดสูญหาย หรือถกู ทำลายและไมม่ กี ารสำรองขอ้ มูล

2. สมุดบันทึกอเิ ล็กทรอนิกส์ เป็นระบบทีส่ ร้างขึ้นด้วยความพยายามท่ีจะทำให้กระบวนการ
บันทึกข้อมูลเป็นดิจิทัล เพื่อช่วยในการจัดเก็บข้อมูล ทั้งภาพประกอบ ข้อความ สมการ กราฟ ในรูป
ของไฟล์เอกสาร ข้อดีของสมุดบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ คือประหยัดพื้นท่ีในการจัดเก็บและสามารถเกบ็
ข้อมูลได้จำนวนมากง่ายต่อการบันทึก ข้อมูลที่มาจากคอมพิวเตอร์มีรูปแบบอักษรท่ีมีมาตรฐาน
สามารถเช่ือมตอ่ ขอ้ มลู จากโปรแกรม อุปกรณ์ หรอื เครือ่ งมือวทิ ยาศาสตรบ์ างชนิดได้โดยตรง มีระบบ
ป้องกันความปลอดภัยและการสำรองข้อมูล ในขณะที่ข้อเสยี คือข้อมูลอาจสูญหายหากไม่ได้รับการ
สำรองข้อมูล มีความเสย่ี งท่ขี อ้ มลู อาจถกู โจรกรรมหรอื รั่วไหลได้

วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดบนั ทึกข้อมลู

1. เพือ่ บนั ทกึ แนวคิดสำคัญหรือสิ่งท่ีเปน็ ประโยชนจ์ ากเรอ่ื งทไี่ ด้อา่ นและฟังได้

64 ดร.ตระกลู พนั ธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศึกษา

2. เพอ่ื เตอื นความจำสงิ่ ที่พบเหน็ ในชีวติ ประจำวนั และใชป้ ระโยชนใ์ นการเรยี นรู้
3. เพ่ือทบทวนความรู้ ขอ้ เทจ็ จรงิ และความคิดเห็นต่าง ๆ ให้มคี วามเข้าใจยง่ิ ข้ึน
4. เพ่อื จัดเกบ็ ข้อมลู ใหเ้ ป็นหมวดหมูใ่ ห้เชอื่ มโยงกนั ในการเขยี นอยา่ งเปน็ ระบบ
5. เพ่อื ให้ทราบแหล่งทีม่ าของข้อมลู แตล่ ะประเภท และใช้อ้างอิงได้อย่างถกู ต้อง
หลกั การของการจดบันทึกขอ้ มลู ทีด่ ี
การจดบนั ทกึ ขอ้ มูลทดี่ ี มีหลกั การสำคัญ 10 ประการ (คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2556) ดงั น้ี
1. ผู้เรยี นควรวางแผนการจดบันทึกอยา่ งเป็นระบบใหร้ วดเรว็ และมปี ระสทิ ธิภาพ

2. ผ้เู รยี นควรกำหนดหวั ข้อเร่ืองทจี่ ะบนั ทกึ ให้ตรงกับขอบเขตเนอื้ หาท่ีจะสรปุ ความ

3. ผู้เรียนควรจดบันทึกเฉพาะเรือ่ งหรือสิง่ ทสี่ ำคัญทต่ี ้องการด้วยภาษาของตนเอง

4. ผ้เู รยี นควรวเิ คราะห์และทำความเขา้ ใจเรือ่ งทอ่ี ่านหรือฟังกอ่ นทำการจดบนั ทกึ

5. ผู้เรียนควรแยกบันทึกขอ้ มลู ท่ีเปน็ ข้อเท็จจรงแิ ละความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ ให้ชัดเจน

6. ผู้เรยี นควรใชต้ วั ย่อบนั ทึกหรอื ทำเครอ่ื งหมายช่วยจำในขณะทม่ี กี ารอา่ นหรือฟัง

7. ผ้เู รยี นควรระวังการคดั ลอกผลงานทางวชิ าการ (Plagiarism)โดยไม่อ้างอิงทม่ี า

8. ผเู้ รยี นควรใชบ้ ัตรบันทกึ ข้อมลู จำนวนหนึ่งแผ่นแบบหน้าเดยี วต่อหนึ่งหวั ข้อเรือ่ ง

9. ผเู้ รยี นควรแยกบัตรบนั ทึกใหม่หรือใสเ่ ลขหนา้ เม่อื ไดข้ ้อมูลมาจากคนละแหลง่

10. ผเู้ รียนควรจดบันทกึ ข้อมูลให้ถกู ต้องและอา้ งอิงตามหลกั การเขยี นบรรณานกุ รม

สรุปได้ว่าหลักการของการจดบันทึกข้อมูลเป็นข้อคิดที่ดีก่อนการบันทึกข้อมูลช่วยให้ผู้เรียน
สามารถจดบันทึกได้อย่างถูกต้องและไม่เสียเวลาในการเรียบเรียงข้อมูลในการทำรายงาน และการ
บนั ทึกในแบบอเิ ล็กทรอนิกสจ์ ะตอ้ งจดั แยกแฟ้มขอ้ มูลการบันทกึ ด้วยเชน่ กัน

สำหรับการบันทึกข้อมูลงานวิจัยควรมีรูปแบบลักษณะชัดเจน มีวันระบุ มีการสารองข้อมูล
(back up) และควรเป็นไปตามกฎระเบียบองค์กร และในกรณีที่ใช้รูปแบบการบันทึกด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ควรมีระบบรักษาความปลอดภัยด้านอิเล็กทรอนิกส์ (IT security) และเพื่อให้ข้อมูล
งานวจิ ยั สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริง จำเป็นต้องมั่นใจวา่ การบันทกึ ข้อมูล ตง้ั แต่กระบวนการวิจัย

เอกสารประกอบการสอน ประเดน็ คัดสรรทางการศึกษา l ดร.ตระกลู พนั ธ์ ยุชมภู 65

ตลอดจนการรายงานและเผยแพร่ข้อมูลเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ หลักการบันทึกข้อมูลงานวิจัยที่ดี
สำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (2561) มีดังน้ี

1. มรี ูปแบบชัดเจน มมี าตรฐาน สบื คน้ ได้

2. บันทึกอย่างสุจริต มั่นใจได้ว่าไม่มีการแก้ไขย้อนหลัง โดยมีหลักฐานยืนยันว่าใครเป็น
ผกู้ ระทำสง่ิ ใด เมื่อไร เพราะอะไร และผอู้ น่ื ไม่ควรแกไ้ ขได้ในภายหลัง

3. ข้อมลู มีคุณภาพ รายละเอียดครบถว้ น เชื่อถือได้

4. ขอ้ มูลไมส่ ูญหาย

5. มรี ะยะเวลาการจัดเก็บท่เี หมาะสม

แนวทางการจดบันทึกขอ้ มูล

โดยธรรมชาตแิ ล้วการจดจำจดุ สำคญั หรือรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยท่เี ราอ่านหรอื ฟังไดท้ ้งั หมดเป็น
สิ่งที่ยากมาก ผลก็คืออาจจะต้องอ่านใหม่อีกครั้งหรือสองครั้ง เพื่อให้จำจุดสำคัญได้ ซึ่งเป็นการ
เสยี เวลา การจดบันทึกจงึ เปน็ การช่วยจำและทำใหเ้ ขา้ ใจมากยง่ิ ขึ้น

การจดบันทึก คือการเขียนขอ้ ความ เพื่อช่วยในการจำ มีประโยชน์มากในการศึกษาทุกระดับ
โดยเฉพาะอย่างย่งิ การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ผูเ้ รียนมกั จะประสบปัญหาในการจดบนั ทึกเพราะขาด
ประสบการณห์ รือเทคนิคทสี่ ำคญั ในการจดบนั ทึก (วีรพงษ์ พลนกิ รกจิ , 2551) แนวทางในการบนั ทกึ ยอ่
หรอื การจดบนั ทกึ มีดังน้ี

1. บันทึกสาระสำคัญ ได้แก่ การบันทึกคำหรือประเด็นสำคัญ ทั้งชื่อเรื่อง หัวข้อหลัก และ
หัวข้อรอง รวมท้ังความหมายของคำสำคัญ ฯลฯ โดยการตอบคำถามตามสตู ร 5 W 1 H

2. บนั ทกึ ชอ่ื หนงั สือหรือตำราและหัวขอ้ รวมทั้งชอ่ื ผแู้ ต่ง การบันทกึ จากการอา่ นนั้นจะช่วยใน
การคน้ ควา้ เมอ่ื ตอ้ งการรายละเอียดรวมทงั้ การอ้างองิ ได้ทนั ที

3. จัดหมวดหมู่ของสาระสำคัญ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ หรือหมวดหมู่ตามแต่เนื้อหา ทั้งนี้เพ่ือ
คน้ คว้าหรือทบทวนได้สะดวก และจดจำไดง้ า่ ยขึ้น การจดั หมวดหมูข่ องสาระสำคัญทำได้หลายวธิ ี เช่น
จัดหมวดหมู่ตามหวั ข้อ จัดหมวดหมู่ความเหมือนหรอื ความแตกต่าง เปน็ ตน้

4. เรียงลำดับเรื่อง ให้อ่านและเข้าใจง่าย และท่ีสำคัญคือ เชื่อมโยงประเด็นให้เห็น
ความสัมพนั ธท์ ั้งหมด และถูกต้องตามความหมาย การเรยี งลำดบั เรอื่ งทำได้หลายวธิ ี เชน่ เรียงลำดับ
ตามลำดับเวลา (อดีต-ปัจจุบัน) เรียงลำดับตามตำแหน่งพื้นที่ (เหนือ-ใต้-ออก-ตก) เรียงลำดับตาม
สาเหตไุ ปสู่ผลท่เี กิดขึ้น เป็นตน้

66 ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา

5. ใช้ถ้อยคำที่กระชับแต่ชดั เจน เข้าใจง่ายและครอบคลมุ เนือ้ หามากที่สดุ โดยอาจใช้เทคนิค
การบนั ทกึ โดยใชค้ ำสมั ผสั ซึง่ การใช้คำทม่ี เี สียงสมั ผสั คล้องจองจะช่วยใหจ้ ำได้ดี

การจดบนั ทึกถอื ว่าเปน็ สว่ นหนึง่ ทจี่ ะชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถจดจำส่ิงต่าง ๆ รายละเอียดต่าง ๆ
ได้มากขึ้นและจดจำได้เป็นอย่างดี และสามารถย้อนกลับมาดูสิ่งท่ีจดบันทึกลงไปในนั้นได้เสมอ ซ่ึง
เทคนิคการจดบนั ทึกตอ่ ไปนี้จะชว่ ยใหส้ มองได้จดจำมากขน้ึ

1. จดบันทึกด้วยรูปภาพแทนการใช้ตัวหนังสือ เป็นการใช้ภาพหรือสญั ลักษณ์ ช่วยในการจด
บันทึกนั้นทราบหรือไม่ว่าจะช่วยเพิ่มการจดจำให้กับเราได้มากขึ้น เนื่องจากสมองของคนเรานั้น
สามารถประมวลผลรปู ภาพได้มากกว่าข้อความตัวหนงั สือ นั่นเองจึงหมายความวา่ หากเราทำการจด
บันทกึ ดว้ ยรปู ภาพก็จะชว่ ยให้เกดิ ความเข้าใจต่อความซบั ซอ้ นเหล่านัน้ ไดเ้ ปน็ อย่างดี หากเราวาดภาพ
ไม่สวยก็ไมใ่ ช่ปัญหา เพราะสิ่งที่สำคัญที่สุดคือเราต้องจดให้ตัวเราเองนั้นอ่านออก ทำความเข้าใจได้
ทราบถงึ ความหมายท่ไี ด้จดลงไปและยงั นำกลับมาอา่ นซ้ำได้

2. เลือกใช้ตัวเชือ่ มเพื่อให้เกิดความเข้าใจ อย่าลืมว่าเมื่อทำการจดเนื้อหาด้วยภาพแล้ว สิ่งท่ี
เราทำการวาดภาพลงไปต้องมคี วามเชอ่ื มโยงกับเนื้อหาดว้ ย และถ้าหากเราสร้างความเชื่อมโยงระหวา่ ง
สิ่งที่วาดและเนื้อหาข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้สามารถจดจำสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ฝึกให้มีความคิด
สร้างสรรค์ รวมไปถึงการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ช่วยให้เกิดความเข้าใจ และสามารถกลับมา
ทบทวนไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ

3. เปลีย่ นแนวคดิ ด้วยการสอื่ สาร จินตนาการการประชุมในแต่ละครัง้ ให้เหมอื นกบั เรากำลังจะ
วาดการ์ตนู อย่าพยายามที่จะจดบนั ทกึ สิง่ ต่าง ๆ เพียงแค่สายตา อยา่ เขียนทกุ คำท่ไี ด้ยิน ควรใช้คำย่อ
ในการจดบันทึก พยายามเขียนสิ่งที่เป็นประเด็น ทำการขีดเส้นเน้นคำหรือข้อความที่ต้องการเน้นเปน็
พเิ ศษ โดยอาจมกี ารใชร้ ปู ทรงเรขาคณิตพื้นฐานมาช่วยในการจดบนั ทกึ เช่น ส่เี หล่ยี ม วงกลม เพ่ือเป็น
การแยกประเภทของข้อมลู ใสก่ รอบข้อความน้ันเพยี งรวบรวมขอ้ มลู ประเภทเดยี วกัน หรอื เพอ่ื การเน้น
ข้อความน้ัน ๆ วา่ มคี วามสำคัญ หรอื ใช้สัญลักษณ์เพมิ่ ความนา่ สนใจให้กบั การจดบันทกึ อีกทัง้ เปน็ วธิ ีท่ี
ง่ายและดีสำหรบั การเริ่มตน้ จดบนั ทกึ ดว้ ยรปู ภาพ และสามารถเพมิ่ การจดจำไดม้ ากข้ึน

4. จดบ่อย ๆ ให้เกิดความเคยชิน เพราะหลายคนอาจจะไม่ถนัด หรือไม่ชอบจดบันทึก การ
หมั่นจดบอ่ ย ๆ ให้เกิดเปน็ นิสยั จะชว่ ยฝกึ ฝนใหต้ วั เรานั้นมวี ินยั มากขน้ึ หมนั่ ฝกึ จดบันทึกบอ่ ย ๆ และไม่
นานเราก็จะชอบการจดบันทึก และขาดสมุดบันทึกเลม่ โปรดไม่ไดเ้ ลย

การจดบนั ทกึ นนั้ เปน็ ส่วนหนึ่งทจี่ ะช่วยใหส้ มองเราไดเ้ กิดการจดจำมากขึ้น บางครง้ั ส่ิงท่ีเราคิด
วา่ จำไดก้ อ็ าจถูกลบเลือนจากสิ่งท่ีพบเจอครั้งใหม่ หรอื ความทรงจำใหม่ ๆ นนั่ เอง และหลาย ๆ ครั้งท่ี
หลายคนไดพ้ ลาดโอกาสสำคัญจากความคิดและหลงลืมไป จึงไม่ได้ทำการจดบันทึกเอาไว้ สิ่งเหล่าน้ี
อาจเกิดขึ้นเพราะว่าไม่คุ้นชินในการจดบันทึก หากต้องการให้เกิดเป็นนิสัยในการจดบนั ทึกอาจต้องมี
การจดบอ่ ย ๆ ให้เป็นนิสัย หรือการปลูกฝงั นิสัยการจดบันทึกตั้งแตเ่ ด็ก ซึ่งการจดบันทึกนั้นสามารถ
ชว่ ยทำให้การทำงานนนั้ ประสบความสำเรจ็ หรอื เพิ่มความสำเร็จจากการทำงานมากข้ึน

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศึกษา l ดร.ตระกูลพันธ์ ยุชมภู 67

สำหรับการจดบันทกึ ข้อมูลเพื่อการศกึ ษาค้นคว้า (สายฝน บูชา, 2556) ได้เสนอแนวทางการ
จดบนั ทกึ ขอ้ มลู ไว้ 5 วิธี ดังน้ี

1. แบบคดั ลอกขอ้ ความ (Direct Quotations or Quotation Note) เปน็ การคดั ลอกข้อความ บาง
ตอนที่ต้องการจากต้นฉบับโดยที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงข้อความใด ๆ เนื่องจากถ้าเปลี่ยนแปลง ข้อความ
แล้วอาจจะทำให้เกิดความเข้าใจที่คาดเคลื่อนได้ ซึ่งจะต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศ ("...") คร่อม
ขอ้ ความนนั้ ไว้ และมกี ารอ้างอิงอย่างถกู ตอ้ ง

2. แบบถอดความ (Paraphrase or Paraphrase Note) เปน็ การดดั แปลงแนวการเขียนข้อความ
ขึน้ ใหม่ใหไ้ ดใ้ จความครบถว้ นตามตน้ ฉบับ โดยใชส้ ำนวนของผเู้ ขียนเอง ผเู้ ขียนจะตอ้ งอ่านตน้ ฉบับอย่าง
ละเอียดใหเ้ ขา้ ใจแนวคดิ และสาระสำคญั ทง้ั หมดแล้วเรียบเรยี งเขียนใหมเ่ ปน็ ร้อยแก้วตามความคิดและ
ภาษาหรือสำนวนของตนเอง ต้องสื่อความให้เข้าใจถูกต้องครบถ้วนทุกประเด็น ซึ่งอาจมีจำนวน
ข้อความเทา่ เดิมหรอื สน้ั กวา่ เดมิ ได้

3. แบบย่อและสรุปความ (Precis Summary or Summary Note) เป็นการอ่านเนื้อหาและเก็บ
สาระสำคญั หรือเก็บประเดน็ ตา่ ง ๆ ใหค้ รบถว้ น และจดบนั ทกึ ขอ้ มลู แบบย่อ หรอื สรปุ ความท่ีเน้นการ
เก็บใจความสำคัญของเร่ืองที่อ่าน และยังคงถ้อยคำบางส่วนของต้นฉบบั ไว้ เช่น สำนวน แนวคิดของ
ต้นฉบับและอาจมขี อ้ ความบางสว่ นในสำนวนของผูบ้ ันทกึ แต่ตอ้ งรักษาขอ้ เท็จจริงและแนวคิดของเจ้า
ของเดมิ ไวใ้ หถ้ ูกต้อง

4. แบบบอกเค้าโครงเร่ือง (Outline) เปน็ การจดบนั ทึกแบบตั้งหัวขอ้ หรอื แนวคดิ หลกั ของเรอ่ื งท่ี
อ่านออกมาแทนที่จะยอ่ หรอื สรุป แต่วิธีนี้ไม่ควรใช้บ่อย เน่ืองจากนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการรวบรวมและ
เรียบเรียงข้อมูลในการทำรายงานได้ยากและเมื่อใช้ก็ควรเขียนอยู่ในรูปของการเขียนโครงเรื่องอย่าง
ถูกต้อง

5. แบบแสดงความคิดเห็น (Personal Reactions and Comments) เป็นการจดบันทึก เมื่อมี
ความรู้สึก หรือปฏิกิริยาใด ๆ ต่อข้อความนั้นในขณะที่อ่าน โดยผู้เขียนต้องแยกข้อความให้ชัดเจน
ระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น อาจใช้สีปากกาที่ต่างกันในการจดเพื่อให้เกิดความชัดเจนและไม่
สบั สนในการทำความเขา้ ใจ

สรุปได้ว่า แนวทางการจดบันทึกข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้ามี 5 วิธี ได้แก่ 1) แบบคัดลอก
ข้อความ 2) แบบถอดความ 3) แบบย่อและสรุปความ 4) แบบบอกเค้าโครงเรื่อง และ 5) แบบแสดง
ความคิดเห็น ซึ่งวิธีท่ี 1-3 เหมาะสำหรับผู้เริม่ ต้นในการทำรายงาน ส่วนวิธีที่ 4-5 เหมาะสำหรับผู้ทีม่ ี
ประสบการณ์ ในการอ่านและจดบันทกึ ในการเขียนผลงานทางวิชาการ (รกั ษิต สทุ ธพิ งษ,์ 2563) และ
เม่อื ไดข้ ้อความท่ตี อ้ งการ ครบถว้ นแลว้ ผู้เรยี นสามารถนำมาเรียบเรยี งเนอื้ หาตามเค้าโครงเร่อื ง เพ่ือใช้
ในการเขียนรายงานทางวชิ าการได้ตอ่ ไป

68 ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยุชมภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศึกษา

บทสรปุ

การอา่ นเพ่ือการศึกษาคน้ คว้ามีวธิ กี ารอา่ นเพื่อการศกึ ษาค้นควา้ และการเขียนรายงาน 6 วิธี คือ
1) การอา่ นสำรวจ 2) การอา่ นขา้ ม 3) การอา่ นผา่ น 4) การอ่านจับประเดน็ 5) การอ่านสรุปความ และ
6) การอ่านวิเคราะห์ ซึง่ ถอื วา่ เป็นทกั ษะการอ่านอยา่ งถกู วิธี หรอื การอา่ นอยา่ งมีจุดมงุ่ หมาย จะทำให้
ผู้เรียนได้ข้อสรุปไปใชใ้ นการทำรายงานใหม้ ีความสมบรู ณ์ได้ ผู้เรียนจะต้องมีเทคนิคการอ่านทเ่ี หมาะสม
กับความถนัดของตนเอง เทคนิคการอา่ นทัง้ แบบ SQ3R หรอื ORUS เป็นเทคนิคการอ่านเพ่อื การศึกษา
ค้นคว้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่หากผู้เรียนขาดทักษะการจดบันทึกข้อมูลที่ดีก็อาจทำให้การทำ
รายงานการศึกษาค้นคว้าไม่สำเร็จตามวัตถุประสงคไ์ ด้ ดงั น้นั ผู้เรยี นจงึ ตอ้ งมที ักษะในการจดบันทึกท่ีดี
ด้วย เช่น 1) แบบคัดลอกข้อความ 2) แบบถอดความ 3) แบบย่อและสรุปความ 4) แบบบอกเค้าโครง
เรอ่ื ง และ 5) แบบแสดงความคดิ เหน็ ซ่ึงเปน็ แนวทางในการจดบนั ทกึ ข้อเทจ็ จรงิ และแสดงความคิดเหน็
ทางวิชาการอย่างเป็นระบบและนำไปใช้ในการเขียนรายงานทางวชิ าการได้ ดังน้ันการอ่านและการจด
บันทึกข้อมูล ถือว่าเป็นทักษะที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและการเขียนรายงานให้มีคุณภาพ และ
สามารถประยกุ ตท์ ักษะการอ่านและการจดบันทกึ ขอ้ มลู ในการพัฒนาตนเองและการพฒั นาวชิ าชีพได้

คำถามท้ายบท

1) การอา่ นคืออะไรและมีความสำคัญอยา่ งไรในการศึกษาคน้ ควา้
2) การอา่ นมีคณุ คา่ และมีประโยชน์อย่างไรต่อการศกึ ษาและการพฒั นาวชิ าชีพครู
3) การอา่ นเพื่อการศึกษาค้นควา้ มีกวี่ ิธี และแตล่ ะวธิ ีมีแนวปฏิบัตใิ นการอา่ นอยา่ งไร
4) นสิ ติ จะใช้เทคนคิ การอ่านเพอ่ื การศึกษาคน้ คว้าในการเขียนรายงานทางวชิ าการอยา่ งไร
5) การจดบนั ทึกมคี วามสำคญั อย่างไรในการเขียนงานทางวิชาการ
6) หลักการของการจดบันทกึ ขอ้ มลู ข้อมลู ที่ดีประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
7) แนวทางการจดบันทึกมีกี่วธิ ีอะไรบา้ ง
8) นิสติ จะเลอื กแนวทางการจดบนั ทกึ วิธใี ดทเ่ี หมาะสำหรับการศกึ ษาและการเขียนรายงาน

เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคัดสรรทางการศกึ ษา l ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู 69

เอกสารอา้ งองิ
คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. (2556). การค้นควา้ และการเขียนรายงาน

(พมิ พ์คร้งั ท่ี 12). กรงุ เทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ คณะอกั ษรศาสตร์.
ฉววี รรณ คหู าภินันท์. (2542). การอา่ นและการส่งเสรมิ การอา่ น (พมิ พค์ ร้งั ท่ี2). กรงุ เทพฯ: โปรแกรม

บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั
บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา.
ยดุ า รักไทย และปานจิตต์ โกญจนาวรรณ (2557). คนเกง่ เรียน. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์บิสคิต.

รกั ษติ สทุ ธพิ งษ.์ (2563). ประเดน็ คัดสรรทางการศกึ ษา. เอกสารคำสอนรายวชิ าประเด็นคดั สรรทาง
การศกึ ษา. มหาวทิ ยาลยั พะเยา.

ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถานพ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นามมีบคุ๊ ส์
พับลิเคชน่ั ส.์

วีรพงษ์ พลนกิ รกจิ .(2551). เรียนอย่างยิ้มในมทส (พมิ พ์ครั้งที่ 7). นครราชสมี า:
โรงพมิ พเ์ ลศิ ศิลป์ 1994.

สายฝน บชู า. (2556). การศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เขียนรายงานทางวชิ าการและนำเสนอ (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 5).
กรุงเทพฯ: ทรปิ เพล้ิ เอด็ ดูเคช่ัน.

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542.
กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟกิ .

สำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ. (2561). คูม่ ือการบนั ทกึ ข้อมลู งานวิจัย.
กรุงเทพฯ: สำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ.

สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. (2554). การอ่านเพื่อการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ . กรงุ เทพฯ: สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

Robinson, F. P. (1961). Effective study. New York: Harper & Brothers.
Dale, Edgar. (1969). Audio-Visual Methods in Teaching. 3 Ed. New York: The Dryden Press Holt,

Rineheart and Winston. Inc.

70 ดร.ตระกูลพนั ธ์ ยชุ มภู l เอกสารประกอบการสอน ประเด็นคดั สรรทางการศึกษา


Click to View FlipBook Version