The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krupatchaniya Chumpom, 2018-11-06 08:40:15

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ62

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ62

แผนปฏิบัตริ าชการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
อาชีวศึกษาจังหวดั ระนอง

สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

4

แผนปฏบิ ัตริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ของ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

จงั หวดั ระนอง

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กนั ยายน 2561

Jin

1

คาชแ้ี จง และแนวปฏิบัติ

การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี
สาหรบั สถานศกึ ษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)

ก. คาชี้แจง
การจดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ. 2561 ของสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการ

การอาชวี ศกึ ษา เปน็ นโยบายเพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา ใหม้ ีคณุ ภาพมากยิ่งข้ึน
ซ่ึงทกุ สถานศึกษา ในสงั กดั ทกุ แหง่ ตอ้ งดาเนินการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี เพื่อเปน็ เครื่องมือ
สาคัญในการเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิงานใหบ้ รรลุตามวัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมาย ทง้ั ยังเปน็ เครอื่ งมอื
ตรวจสอบ และติดตามประเมินผลการดาเนนิ งาน/ปฏิบตั ิงาน ของหน่วยงานในสังกดั ว่า ได้ดาเนินงาน
ตามแผนและมีการใช้จา่ ยเงินงบประมาณได้ตรงตามแผนและถูกต้องตามระเบยี บราชการหรอื ไม่ดว้ ย

ดงั น้ัน สานักนโยบายและแผนการอาชวี ศกึ ษา จึงไดจ้ ดั ทาคู่มือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการ
ประจาปี สาหรบั สถานศกึ ษาสังกัด สอศ. เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาทกุ แหง่ จดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการเปน็ มาตรฐาน
เดียวกัน สามารถตรวจสอบข้อมลู ไดร้ วดเรว็ และถกู ต้องตามระเบยี บราชการ

ข. องค์ประกอบของเอกสารแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี
1 ปก
2 คานา
3 สารบญั
4 สว่ นท่ี 1 บทนา

1.1 วิสยั ทศั น์ พันธกิจ และเปา้ หมายบรกิ าร ของ สอศ.
1.2 ยุทธศาสตร์ มาตรการ และโครงการ สอศ.
1.3 อื่น ๆ เชน่ ยุทธศาสตร์ และนโยบาย ของรัฐบาล กระทรวง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม จุดเนน้ สาคัญ เปน็ ตน้

5 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา
2.1 ปรัชญา/วิสยั ทศั น/์ พันธกิจ/อตั ลกั ษณ/์ เอกลกั ษณ/์ อื่น ๆ
2.2 จุดเน้นในการพัฒนาสถานศึกษา และความโดดเด่น (ผลงาน/รางวัล)
2.3 กลยุทธ์ และมาตรการ ของสถานศึกษา ปปี จั จุบนั
2.4 ประวัติ ความเปน็ มา และข้อมูลด้านอาคารสถานที่
2.5 แผนภมู ิโครงสร้างการบรหิ าร ของสถานศึกษา
2.6 ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา
2.7 ขอ้ มูลนกั เรยี น นักศึกษา ของสถานศึกษา
2.8 อ่ืน ๆ เช่น ผงั ประกนั คุณภาพ ความร่วมมอื เครือข่าย วิทยาเขต สาขา ศูนย์ เปน็ ต้น

Jin

2

6 สว่ นท่ี 3 แผนปฏบิ ัตริ าชการและแผนใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ
3.1 สรปุ ผลการใชจ้ ่ายเงิน ปที ี่ผา่ นมา (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560
3.2 ประมาณการรายรับ - รายจา่ ย ของสถานศกึ ษา ในปี 2561
3.3 สรปุ งบหนา้ รายจา่ ย
3.4 รายละเอียดโครงการ ทกุ โครงการท่ีดาเนนิ งานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
3.5 ปฏิทนิ ปฏิบตั ริ าชการ/การดาเนินงานตามโครงการ

7 สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก
4.1 สรปุ รายการงบลงทนุ ทต่ี ้องจัดซ้ือจัดจา้ ง ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
4.2 แผนปฏบิ ตั ิการจัดซื้อจดั จ้างงบลงทนุ ดว้ ยเงินงบประมาณประจาปี
4.3 แผนและมาตรการ ประหยัดค่าสาธารณปู โภคประจาปี
4.4 อ่ืน ๆ เช่น แผนงานพิเศษ งานพิเศษ มาตรการพิเศษ กิจกรรมพิเศษ คาส่ัง เปน็ ต้น

ค. เอกสาร/ข้อมลู และแหลง่ ในการสนับสนุนการทาแผนปฏบิ ัติราชการประจาปี
1 ประมาณการเงินงบประมาณจัดสรรประจาปี แหล่งข้อมลู สนผ. สอศ. งานวางแผนฯ
2 ประมาณการเงินรายได้ (บกศ.) ประจาปี แหลง่ งานการเงิน และงานบญั ชี
3 ข้อมลู ยุทธศาสตร์ มาตรการ และโครงการ แหลง่ ข้อมลู สนผ. สอศ. และผอ.สถานศึกษา
4 ข้อมูลบคุ ลากร แหลง่ ข้อมลู งานบคุ ลากร และงานการเงิน
5 ขอ้ มูลนักเรยี นนกั ศกึ ษา งานทะเบยี น งานศนู ย์ขอ้ มูล และงานวางแผนฯ
6 ข้อมลู อาคารสถานท่ี แหล่งขอ้ มลู งานอาคารสถานท่ี และงานพัสดุ
7 รายการและแผนการจดั ซ้ือจดั จา้ งงบลงทนุ แหลง่ ขอ้ มลู งานพัสดุ

ง. ข้ันตอน/ลาดบั ในการเสนออนุมตั แิ ผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี ผู้รับผดิ ชอบ/แหล่ง
ลาดับข้ันตอน
งานวางแผนฯ
1 จดั เตรียมข้อมลู เบ้อื งตน้ /สาคญั ทใ่ี ช้ในการจัดทาแผน งานอาคาร/พสั ดุ
1.1 ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี งานบคุ ลากร/การเงนิ
1.2 ขอ้ มูลบคุ ลากร งานทะเบยี น/ศูนย์ข้อมูล
1.3 ข้อมลู นกั เรยี นนักศึกษา งานการเงนิ /บญั ชี
1.4 ขอ้ มลู งบประมาณ
1.5 อื่น ๆ เช่น แผนงาน ประวัติ ประกนั คุณภาพ งานวางแผนฯ
งานวางแผนฯ
2 เสนอผู้อานวยการ อนญุ าต เพอื่ แจ้งงาน/แผนกวิชา เสนองาน โครงการ งานวางแผนฯ
3 จัดใหม้ ีการประชมุ พิจารณา ในระดบั ตา่ ง ๆ
4 จัดทารายละเอยี ด(ร่าง) เสนอคณะกรรมการพิจารณา

Jin

3

5 กรรมการ ประชมุ พิจารณาตดั สนิ ใจและประมาณการใชจ้ า่ ยเงินประจาปี งานวางแผนฯ

6 งานแผนฯ ปรบั แกไ้ ขตามคณะกรรมการเหน็ ชอบ แลว้ เสนออีกคร้ัง งานวางแผนฯ

7 คณะกรรมการเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั ิราชการ จัดทาเล่มจริงอย่างน้อย 5 เล่ม งานบริหารงานทวั่ ไป

พร้อมCD จดั ส่งให้ สนผ.สอศ. ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารทรัพยกร ฝา่ ยพัฒนา

กิจการฯ ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมอื และงานวางแผนและงบประมาณ

8 หากมีการปรับเปลี่ยนแผน/โครงการ ต้องขออนุมัติผู้อานวยการทกุ คร้ัง/ทกุ เร่ือง งาน/แผนกวิชา

โดยผ่านผ่านงานวางแผน และฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ

9 ผู้อานวยการ เปน็ ผู้อนมุ ัติการปรบั เปลี่ยนแผน และจะดาเนิการไดต้ ามที่ปรับแผนฯ งานวางแผนฯ/

ตอ้ งได้รบั การอนุมัตกิ อ่ น โดยตอ้ งมหี ลักฐานการอนมุ ตั ปิ รับแผน/โครงการ/กิจกรรม/ งานบรหิ ารทว่ั ไป

งบประมาณ แนบในเอกสารแผนปฏิบตั ริ าชการ และต้องแจ้งใหผ้ ู้ถือแผนทกุ คนทราบ

10 การดาเนินการงาน/โครงการ/กจิ กรรมใด ๆ ต้องมกี ารผ่านงานวางแผน และฝ่าย งานวางแผนฯ

แผนงานและความรว่ มมือ ทกุ คร้ง เพือ่ ตดั ยอดเงินและควบคมุ การใชจ้ ่ายเงิน

ใหเ้ ปน็ ตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ

จ. เงอื่ นไข ขอ้ เสนอแนะ และข้อควรระวงั
1 ใหใ้ ช้โปรแกรม MS. Word และหรอื MS.Excel
2 ใชต้ ัวอักษร TH Sarabun New
3 หา้ มเปล่ียนแปลงแบบฟอรม์ หรือรูปแบบ ทจ่ี ะทาใหข้ ้อมูลคลาดเคลื่อน
4 หากมปี ญั หาในการกรอกแบบฟอรม์ หรอื ขอ้ มูลใด ใหต้ ดิ ตอ่ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สนผ.

โทร 02-281-5555 ตอ่ 1318, 1319

Jin

4

คานา

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
จงั หวัดระนอง น้ี

ได้ทาการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2562 ภายใตน้ โยบายของรฐั บาล สอดคล้องกบั
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ยุทธศาสตร์จงั หวัดระนอง และ
สอดคลอ้ งปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นามาเปน็ กรอบเปน็ แนวทางเปน็ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาลัย
เพือ่ สนองความต้องการของผู้เรยี น ซ่ึงดาเนนิ การจดั ทาได้ผ่านกระบวนการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนทม่ี ุ่งเน้น
แกไ้ ขปญั หาการจัดการเรียนการสอนเปน็ สาคญั โดยเนน้ การจัดทาแผนแบบบรู ณาการและมุ่งเน้นผลสัมฤทธิข์ อง
งาน เพื่อใหท้ ศิ ทางการบริหารงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ประสทิ ธิผลและสามารถตรวจสอบได้

วิทยาลยั ฯ ไดด้ าเนินการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2562 เพ่อื เปน็ แนวทางสู่การปฏบิ ตั แิ ละเกดิ
การพัฒนาวิทยาลัยอย่างต่อเน่ือง และผ่านความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการการบรหิ ารสถานศึกษาเปน็ ที่
เรยี บรอ้ ยแลว้ โดยครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษา จะได้ถอื ปฏิบตั ิตามโครงการตา่ งๆ ที่บรรจุไว้ในแผนฯ นี้
เพื่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล เปน็ ประโยชน์สงู สุดต่อนกั เรยี น นกั ศึกษา และสถานศกึ ษาต่อไป

ทา้ ยน้ี หากแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี มีสว่ นหนึ่งส่วนใดขาดตกบกพรอ่ ง ผู้จัดทาและ
รวมแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปนี ี้ ขอยอมรับแกไ้ ขและขออภัยดว้ ย

ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

กันยายน 2561

Jin

สารบัญ 5

เรอ่ื ง/รายการ หน้า
1 คาช้ีแจงและแนวปฏิบัตกิ ารจัดทาแผนปฏบิ ัตริ าชการ 1
2 รปู แบบการจัดทาปกแผนปฏบิ ัตริ าชการ 2-3
3 รปู แบบลกั ษณะการเขยี นคานา 4
4 รแู บบการเขยี นสารบัญ 5
5 รปู แบบ สว่ นท่ี 1 บทนา 6

- วิสัยทศั น์ พันธกิจ และเปา้ หมายบริการ ของ สอศ. 12
- ยุทธศาสตร์ มาตรการ และโครงการ สอศ.
- อ่ืน ๆ เชน่ ยุทธศาสตร์ และนโยบาย ของรฐั บาล กระทรวง 31

6 รปู แบบ สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 290
- ปรัชญา/วิสยั ทศั น/์ พันธกิจ/อตั ลักษณ/์ เอกลักษณ/์ อ่ืน ๆ
- จดุ เน้นในการพัฒนาสถานศกึ ษา และความโดดเด่น (ผลงาน/รางวัล) Jin
- กลยุทธ์ และมาตรการ ของสถานศึกษา ปปี จั จุบนั
- ประวัติ ความเปน็ มา และขอ้ มลู ดา้ นอาคารสถานท่ี
- แผนภมู โิ ครงสร้างการบรหิ าร ของสถานศึกษา
- ขอ้ มลู บคุ ลากร ของสถานศึกษา
- ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ของสถานศึกษา

7 รปู แบบ สว่ นท่ี 3 แผนปฏบิ ัติราชการและแผนใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ
- สรปุ ผลการใชจ้ ่ายเงิน ปที ผ่ี ่านมา (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560)
- ประมาณการรายรบั - รายจ่าย ของสถานศกึ ษา ในปี 2561
- สรปุ งบหนา้ รายจา่ ย
- รายละเอียดวิธีเขียนโครงการ
- ปฏทิ นิ ปฏิบตั ริ าชการ/การดาเนินงานตามโครงการ

8 ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
- คาส่ังแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ 2562
- ครภุ ณั ฑ์ภายใน ประจาปงี บประมาณ 2562

6

ส่วนท่ี 1

บทนา

1. วิสยั ทศั น์ พันธกิจ และเป้าหมายบริการ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

วิสยั ทศั น์

"มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรูค้ ู่คุณธรรม มีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี มีความสุขในสังคม"

พนั ธกิจ

1 ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั /ประเภทสู่สากล
2 เสรมิ สร้างโอกาสการเขา้ ถึบงบรกิ ารทางการศกึ ษาของประชาชนอย่างท่ัวถงึ เทา่ เทยี ม
3 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการการศกึ ษาตามหลกั ธรราภิบาล

เป้าหมายบริการ

1 คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มภี มู ิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
และการพัฒนาประเทศในอนาคต

2 กาลงั คนได้รับการผลิตและพัฒนา เพ่ือเสริมสรา้ งศักยภาพการแข่งขนั ของประเทศ
3 มอี งคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน
4 คนไทยได้รับโอกาสในเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
5 ระบบบริหารจดั การการศึกษามีประสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดยการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น

2. ยุทธศาสตร์ มาตรการ และโครงการ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ยทุ ธศาสตร์

1 ยกระดับคณุ ภาพผู้เรียนเขา้ สู่มาตรฐานสากล
2 เพม่ิ ปรมิ าณผู้เรยี นสายอาชีพใหเ้ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของประเทศ
3 สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคส่วนในการจัดอาชวี ศึกษา
4 เพิม่ ประสิทธิภาพบริหารจดั การใหม้ ีมาตรฐานและคณุ ภาพโดยใช้หลกั ธรรมมาภิบาล

Jin

7

มาตรการ

1 สง่ เสรมิ ศักยภาพสถานศกึ ษา
2 การจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี
3 ปฏริ ูปการเรยี นการสอน
4 ปฏิรูปส่ือและหลกั สตู ร
5 ระเบยี บวินยั ความภาคภมู ใิ จในชาติ
6 ทนุ และสนับสนนุ การศกึ ษา
7 การสร้างและการกระจายโอกาส
8 สรา้ งความร่วมมือกบั ภาคเอกชนในทกุ ระดบั
9 สร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือในระดับภมู ภิ าคอาเซียนและตา่ งประเทศ
10 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ
11 ส่งเสรมิ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

โครงการ

1 ผลงานวิจัยเพอ่ื ถ่ายทอดเทคโนโลยี (เงินอุดหนุนโครงการเสรมิ สร้างนวัตกรรมการพัฒนา
เทคโนโลยี ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหมแ่ ละหุ่นยนตอ์ าชวี ศึกษา)

2 ผลงานวิจยั เพ่อื สร้างองคค์ วามรู้ (เงินอดุ หนนุ โครงการวิจยั และพัฒนาอาชวี ศึกษา
เพอื่ สรา้ งองค์ความรแู้ ละนวัตกรรม)

3 โครงการส่งเสริมงานวิจยั พัฒนานดยบายและวิจยั องค์ความรู้เพอื่ การพัฒนาอาชวี ศกึ ษา
4 เงินอดุ หนุนนกั เรียนอาชีวศกึ ษาเพื่อแก้ไขปญั หาความยากจนในชนบท (อศ.กช.)
5 เงินอุดหนุนทนุ การศึกษาเฉลมิ ราชกมุ ารี
6 โครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษาต้ังแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
7 เงินอุดหนุนคา่ บารุงสมาชิกวิทยาลัยนกั บริหารการศึกษาช่างเทคนคิ แผนโคลัมโบ
8 เงินอดุ หนนุ การฝึกอบรมรมเกษตรระยะสั้น
9 เงินอดุ หนนุ องคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยในบรมราชุปถมั ภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อกท.)
10 เงินอุดหนุนกจิ กรรมองคก์ ารวิชาชพี อุตสาหกรรม
11 เงินอุดหนนุ โครงการทางไกลผ่านดาวเทยี มวังไกลกังวล
12 เงินอดุ หนนุ การหารายไดร้ ะหว่างเรยี นของนกั เรยี นนักศกึ ษาที่ยากจน
13 เงินอดุ หนนุ กิจกรรมองค์การวิชาชพี พาณิชยกรรม ความคดิ สรา้ งสรรคอ์ านวยการ
และอาชีพเฉพาะทาง

Jin

8

14 เงินอดุ หนนุ ทนุ การศกึ ษาตอ่ ระดับปรญิ ญาตรสี ายปฏบิ ตั กิ าร
15 โครงการวิทยาลยั เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์
16 โครงการโรงเรียนพระราชทานวทิ ยาลัยกาปงเฌอเตยี ล ราชอาณาจักรกัมพูชา
17 โครงการควาร่วมมือกบั ต่างประเทศเพื่อพัฒนาอาชีวศกึ ษาไทยของประเทศไทย
18 จัดตง้ั สถาบนั การอาชีวศึกษา
19 โครงการรณรงค์ ปอ้ งกัน และแก้ไขปญั ายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)
20 โครงการขยายบทบาทศนู ย์ซ่อมสรา้ งเพื่อชุมชน (Fix it Center)
21 โครงการพัฒนาการศึกษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
22 โครงการส่งเสรมิ การประกอบอาชีพอสิ ระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศกึ ษา
23 โครงการศูนย์ฝึกอบรมในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน
24 โครงการเตรยี มความพร้อมสปู่ ระชาคมอาเซียน
25 โครงการเพ่ิมขีดความสามารถทางภาษาสาหรบั นักเรียนนักศึกษาอาชีวะ
26. โครงการสรางเสรมิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาขนาดเล็ก ใหไดมาตรฐานอาชีวศึกษา
27. โครงการลดปญหาการออกกลางคนั ของผเู รียนอาชีวศึกษา
28. โครงการความรวมมอื ในการฝกงานนักเรยี นนักศกึ ษาอาชีวศกึ ษาในตางประเทศ
29. โครงการสงเสรมิ ทกั ษะวิชาชีพเพ่ือเปนมอื อาชีพและความเปนเลิศนกั ศกึ ษา
อาชีวศึกษาเพื่อสรางทนุ ปญญาชาต
30. โครงการขยายอาชีวะอาเภอ
31. โครงการเสริมสรางคณุ ธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา
32. โครงการสงเสรมิ การปฏริ ูปอาชีวศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิผเู รยี นดวยคณุ ภาพและ
มาตรฐานใหมสี มรรถนะและความพรอมเพ่ือเขาสูตลาดแรงงาน
33. โครงการขยายโอกาสการศกึ ษาวชิ าชีพและพัฒนาคุณภาพการจัดหลักสูตรวิชาชีพ
ระยะส้ันเพื่อพัฒนาอาชีพประชาชน
34. โครงการผลิต พัฒนา เสริมสรางคณุ ภาพชีวติ ครคู ณาจารยและบคุ ลากรทางการศึกษา
35. โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการเรียนการสอนและการบรหิ ารจัดการอาชีวศกึ ษาดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ
36. โครงการอาชีวศกึ ษาพัฒนา
37. โครงการสรางคานิยมอาชีวศึกษา
38.โครงการศูนยความชานาญวิชาชีพเฉพาะทาง
39. โครงการยกระดับคณุ ภาพการจัดอาชีวศึกษาทวภิ าค
40. โครงการปฏิรปู การสอนภาษาไทย ประวตั ศิ าสตรหนาทพี่ ลเมอื ง
41. โครงการยกระดบั มาตรฐานทกั ษะพ้ืนฐานอาชีพ
42. โครงการอาชีวศกึ ษามาตรฐานสากล
43. เรงประสิทธิภาพการสอนของครอู าชีวศกึ ษา
44 จัดหาบคุ ลากรสนับสนนุ เพื่อคืนครใู หนักเรยี น

Jin

9

45. โครงการความรวมมอื ในการผลิตและพัฒนากาลังคนใหมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
เช่อื มโยงอุตสาหกรรมเปาหมายใหสอดคลองความตองการตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ

3. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)

1 ความมั่นคงใหก้ ับประเทศ
2 สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
3 การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน
4 สรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มกบั ทางสงั คม
5 การเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดแลม้
6 การปรับสมดุลและพัมนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั

4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
(พ.ศ.2560-2564)

1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์
2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและความเหลี่ยมล้าในสังคม
3 การสรา้ งความเข็มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแข่งขนั ไดอ้ ย่างย่ังยืน
4 การเติบโตทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื การพัฒนาอย่างย่ังยืน
5 การความม่ันคงแหง่ ชาติเพือ่ การพัฒนาประเทศสู่ความม่ังค่ังและย่ังยืน
6 การบริหารจดั การในภาครัฐ การปอ้ งกันการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบและธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย
7 การพัฒนาโครงการพน้ื ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม
9 การพัฒนาภาค เมือง และพนื้ ทเี่ ศรษฐกิจ
10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพอื่ การพัฒนา

5. นโยบายของรฐั บาลด้านการศกึ ษา

1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล
2 กระตุ้นคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
3 ผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมรองรบั ความต้องการของตลาดงาน

และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
4 การพัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทลั
5 พัฒนาคณุ ภาพคนทกุ ชว่ งวัยและการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้
6 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของทกุ ภาคสว่ น
7 การพัฒนาระบบการเงินเพ่ือการศึกษา

Jin

10

6. นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
(รมว.ศธ. พลเอกดาวรพ์ งษ์ รัตนสวุ รรณ)

1 การสร้างค่านิยมอาชีวศกึ ษา
2 การจดั การเรียนการสอนทวภิ าครี ่วมกับสถานประกอบการ
3 การแก้ไขปัญหาทะเลาวิวาทของนกั ศึกษา
4 การส่งเสรมิ อาชีวศดึ ษาใหม้ คี วามเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น
5 การจดั การศึกษาอาชีวศึกษาสู่มาตรฐานสากล (รวมอาชวี อาเซียน)

1. แนวทางการปฏิรปู การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

1 หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นการสอนการวัดผล ประเมนิ ผล
2 ผลติ พัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
3 การทดสอบ การประเมิน การประกันคณุ ภาพและการพัฒนามาตรฐานการศกึ ษา
4 ขยายโอกาสทางการศึกษา การเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
5 สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา
6 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและสง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา

2. นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ

1 ภายใน 1 ปี ใหเ้ ด็กทกุ คนไดเ้ ข้าถงึ คุณภาพการศกึ ษาอย่างเทา่ เทยี ม
(โอกาสการเรยี น/ฝึกอบรมวิชาชีพ

2 ภายใน 5 ปี ใหค้ รูใช้ศักยภาพในการสอนอย่างเต็มที่
3 ภายใน 1 ปี จะทาใหค้ รูครบงเกณฑ์

ภายใน 2 ปี จะทาใหม้ คี รปู ระจาช้ันครบทกุ หอ้ ง
4 ภายใน 2 ปี จะทาใหเ้ ดก็ เรียนทอ่ งจาในส่ิงทคี่ วรจา และนาสิ่งทจ่ี าไปฝกึ คิดวิเคราะห์

แก้ปญั หาและนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันไดค้ รบทกุ โรงเรียน
(ทกั ษะกระบวนการคิด วิเคราะหเ์ พ่ือการประกอบอาชีพ)
5 ภายใน 5 ปี จะทาใหม้ ีการสอน STEM Education ครบทกุ โรงเรยี น
6 ภายใน 3 ปี จะยกระดับภาษาอังกฤษใหน้ ักเรยี นสามารถใชภ้ าษาอังกฤษเพอื่ ส่ือสารใน
ชวี ิตประจาวันได้
7 ภายใน 2560 ปรับระบบการสอน ONET ใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั และสะทอ้ นถงึ คณุ ภาพของการ
จดั การศกึ ษา (อาชีว VNET และประเมนิ สมรรถนะ)
8 ภายใน 10 ปี ผลติ กาลังคนใหต้ รงกับความต้องการของประเทศ
9 ผลติ คนดีออกสู่สังคม

Jin

11

10 ภายใน 10 ปี ซ่อมบา้ นพักครูใหแ้ ล้วเสรจ็ ท้งั หมด
11 แก้ปญั หาทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

Jin

12

ส่วนที่ 2

ข้อมลู พนื้ ฐาน

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

1. ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์
ปรัชญา

วิสยั ทศั น์กว้างไกล มั่นในคุณธรรม มลี ักษณะผู้นา้ ล้าเลศิ วิชา

วสิ ยั ทศั น์

มุ่งพัฒนาแหลง่ เรียนรูว้ ิชาชพี เกษตร เพื่อผลติ และพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน
ตอบสนองต่อความตอ้ งการของชมุ ชนและสงั คม

พนั ธกิจ

1 ผลิตและพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีสมรรถนะและคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ
2 พัฒนาแหล่งเรยี นรวู้ ิชาชีพเกษตรใหไ้ ด้มาตรฐาน
3 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล และตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เปา้ ประสงค์

1 สถานศึกษาใช้หลกั สตู รฐานสมรรถนะในการจัดการเรยี นรทู้ ีม่ ุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี
2 ผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน็ มอื อาชีพในการบริหารจัดการสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศ
3 สถานศกึ ษามีงานวจิ ัยนวัตกรรมเทคโนโลยีและการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยี ใหแ้ กช่ ุมชนและสังคม
4 สถานศึกษาเปน็ ศูนย์การเรียนรู้ในการพัฒนางานฟารม์ เกษตรทมี่ คี ุณภาพได้มาตรฐาน
5 สถานศึกษาเปน็ แหลง่ เรยี นรวู้ ิชาชีพตามมาตรฐานสาขาวิชาที่เปดิ สอน
6 สถานศึกษาใช้ระบบบรหิ ารงานด้านการจัดการศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ด้วย

หลกั ธรรมมาภิบาล และตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7 สถานศกึ ษามีเครอื ข่ายและใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพใน

การบรหิ ารจดั การอาชีวศกึ ษาเกษตร
8 สถานศกึ ษามีเครอื ขา่ ยความร่วมมอื กับสถานประกอบการในการจัดการอาชวี ศึกษาเกษตร
9 สถานศกึ ษามีระบบฐานขอ้ มลู ของสถานประกอบการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง

ในการจัดการอาชีวศึกษาเกษตร

Jin

13

2. จดุ เนน้ ในการพัฒนาสถานศกึ ษา และความโดดเด่น

จุดเนน้ ในการพฒั นาของสถานศกึ ษา

1 ภมู ิทศั นใ์ นวิทยาลยั สวยงามตามธรรมชาติ ควรจะไดป้ รบั แต่งใหเ้ ปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี ว
เชิงนเิ วศ โดยประสานความรว่ มมือกบั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด เพอ่ื ขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณ
และควรจะไดด้ แู ลใหส้ วยงามและสะอาดอยู่เสมอ

2 ควรปรับปรงุ ปา้ ยช่ือวิทยาลัย บรเิ วณถนนทางเขา้ วิทยาลยั บริเวณถนนทางเขา้ วิทยาลัย
ใหเ้ ด่นเปน็ สง่า เพ่อื ใหผ้ ู้สญั จรเหน็ ไดจ้ ดั เจนและพัฒนารัว้ ประตูทางเขา้ วิทยาลยั ด้านหน้าใหเ้ ด่น
และสวยงาม เพือ่ สรา้ งความประทบั ใจใหก้ ับผู้พบเหน็

3 แปลงสาธิตเพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นการสอน ควรจะได้รับการพัฒนาใหไ้ ดม้ าตรฐาน
สร้างความเช่ือมั่นและเปน็ ตวั อย่างทดี่ ีใหผ้ ู้เรียนและผู้พบเหน็ เชน่ แปลงยางพารา แปลงไมด้ อก
เรือนกลว้ ยไม้ เปน็ ตน้

4 ศกึ ษาปญั หานักศึกษาลดลงอย่างต่อเนื่อง เพอ่ื หาแนวทางแก้ไข เพราะบางชั้นเรียน
มนี กั ศึกษาเพียง 2 คน ซ่ึงไมเ่ สรมิ สร้างบรรยากาศท่ีดีในการเรียนการสอน

5 ควรเปดิ หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นเพิ่มเตมิ เพอื่ ใหห้ อ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และ
เคร่ืองมอื อปุ กรณไ์ ดถ้ กู ใชป้ ระโยชน์อย่างคุ้มคา่

6 สนับสนุนใหค้ รูไดค้ ดิ คน้ สรา้ งผลงาน นวัตกรรม หรือสรา้ งสรรคส์ ่ิงประดษิ ฐ์เพ่ิมข้ึน
เพราะมคี รูจา้ นวนน้อยทไ่ี ด้สร้างผลงานส่ิงประดิษฐ์

7 ควรท้าข้อตกลง (MOU) กบั สถานประกอบการ หรือสถาบนั การเกษตรเพอ่ื สง่ ครู
ไปฝึกประสบการณ์เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรไดม้ ีประสบการณ์ใหมๆ่ และมแี นวคดิ ในการพัฒนา

ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ผลงาน/รางวลั /เกียรติยศ/ชอื่ เสียง)

1 ปกี ารศกึ ษา 2550 รางวับชนะเลิศอันดบั 1 การประกวดสิ่งประดิษฐเ์ พอื่ การ
ประกอบอาชีพ (เล้ียงปลาไหลในยางในรถจักรยานยนตเ์ กา่ ) ในงานประชุมวิชาการองคก์ ารเกษตรกร
เกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย

2 ปกี ารศกึ ษา 2551 สถานศึกษาที่มีความมุ่งมั่นในการพั ฒนาสู่การเปน็ ตน้ แบบ
การจดั กระบวนการเรียนการสอน "เพศศึกษา" คร้งั ที่ 4 จาก คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 ปกี ารศึกษา 2551 ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ ระดับประเทศ ประเภทที่ 7
การคดิ คน้ สิ่งประดิษฐ์ "การเลี้ยงปลาไหลนาในยางในรถจักรยานต์เก่า" ในการประกวดผลงาน
โครงการชวี วิถเี พื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน จากการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย

4 ปกี ารศึกษา 2551 ได้รับรางวัลชนะเลิศ ระดบั ประเทศ ประเภทที่ 8 งานวิจยั ชีววิถี
เพอื่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน "การเล้ียงปลาดกุ รัสเซียในระบบนา้ หมุนเวียนในถังพลาสตกิ 200 ลติ ร
ในการประกวดผลงานโครงการชีววิถเี พอ่ื การพัฒนาอย่างย่ังยืน จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย

Jin

5 ปกี ารศึกษา 2552 ไดร้ บั รางวัลกองลกู เสอื วิสามัญชายดเี ดน่ งานชุมนุมลกู เสอื 14
วิสามญั อาชวี ศึกษา ครงั้ ท่ี 15 ณ ค่ายลูกเสือชิราวุธ จงั หวัดชลบรุ ี
Jin
6 ปกี ารศึกษา 2552 ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลศิ ระดบั ประเทศ ประเภทที่ 7
การคดิ คน้ สิ่งประดษิ ฐ์ "เครื่องผลิตกอ้ นเชื้อเหด็ ครบวงจร" ในการประกวดผลงานโครงการชวี วิถี
เพือ่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย

7 ปกี ารศึกษา 2552 ไดร้ บั รางวัลชมเชย ระดบั ประเทศ ประเภทท่ี 8 งานวิจยั
ชวี วิถเี พ่อื การพัฒนาอย่างย่ังยืน "การเปรยี บเทยี บวัสดเุ พาะเหด็ นางฟ้าภูฐาน" ในการประกวด
ผลงานโครงการชวี วิถีเพ่อื การพัฒาอย่างยั่งยืน จากการไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แหง่ ประเทศไทย

8 ปกี ารศึกษา 2552 ไดร้ บั การคัดเลอื กใหเ้ ปน็ สถานศึกษาแบบอย่างการจัด
กระบวนการเรยี นการสอนและการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

"สถานศึกษาพอเพียง 2552" จากกระทรวงศกึ ษาธิการ
9 ปกี ารศึกษา 2552 หนึ่งวิทยาลัย หน่ึงนวัตกรรม ระดับเหรียญงิน

"บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนวิชาคณติ ศาสตร์ เรอื่ ง เซ็ต" จากคณะกรรมการการอชวี ศึกษา
10 ปกี ารศกึ ษา 2553 ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดบั ท่ี 3 ระดับอาชวี ศกึ ษาและอดุ ม

ศกึ ษา ประเภท 3 " การเล้ียงปาลกุ ในถัง 200 ลติ รในระบบน้าหมนุ เวียน" ในโครงการ
คา่ ยนกั นกั ประดษิ ฐร์ ุ่นใหม่ ของส้านักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ

11 ปกี ารศกึ ษา 2553 รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดส่ิงประดิษฐ์เพ่อื การ
ประกอบอาชพี (การเล้ียงปลาดุกในถัง 200 ลติ ร ในระบบน้าหมุนเวียน) ในงานประชมุ
วิชาการองคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย (อกท.) ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 32

12 ปกี ารศกึ กษา 2554 ได้รบั รางวัลสถานศกึ ษาดเี ดน่ ดา้ นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
ระดับภาค และรางวัลสถานศึกษาดีเด่นคุณธรรมและจรยิ ธรรมระดบั ประเทศ

12 นักศกึ ษารางวัลพระราชทาน
1) ปกี ารศึกษา 2536 นายสมพงษ์ พารเพิง นักศึกษาระดบั ช้ัน ปวส.
2) ปกี ารศกึ ษา 2540 นายตะวัน พงษจ์ นิ ดา นกั ศึกษาระดับช้ัน ปวส.
3) ปกี ารศึกษา 2542 นางสาวอรนชุ สรหงษ์ นักศกึ ษาระดับชั้น ปวช.
4) ปกี ารศกึ ษา 2546 นายทรงพล จนั ทร์กระจ่าง นกั ศึกษาระดับช้ัน ปวส.
5) ปกี ารศึกษา 2548 นายสุรชัย หาญจิตร นักศึกษาระดบั ชั้น ปวส.
6) ปกี ารศกึ ษา 2550 นายวิจติ ร อ้ึงพินจิ นักศึกษาระดบั ช้ัน ปวส.
7) ปกี ารศกึ ษา 2554 นายธงไชย รุณทรพั ย์ นกั ศึกษาระดบั ช้ัน ปวส.
8) ปกี ารศกึ ษา 2556 นายจรัล ชนะ นักศกึ ษาระดับชั้น ปวส.
9) ปกี ารศึกษา 2557 -
10) ปกี ารศึกษา 2558 -

15

13 ปกี ารศึกษา 2556 ไดร้ างวัลชนะเลศิ ระดับชาติ คะแนนรวมการแขง่ ขนั ทกั ษะ
วิชาชพี สาขาสัตวศาสตร์ อกท.ระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 35 ณ จงั หวัดอบุ ลราชธานี

14 ปกี ารศึกษา 2557
- รางวัลรองชนะเลศิ ระดับชาติ การประกวดสิ่งประดิษฐด์ า้ นพลังงาน
- นายอันยู ยกย่อง ศิษย์เกา่ อกท.ดเี ด่น ระดับภาคใต้ ไดร้ างวัลอนั ดบั 2

15 ปกี ารศกึ ษา 2558
(ได้รับรางวัลสถานศกึ ษาขนาดเล็ก)
- นวัตกรรม วิเคราะห์ เกาะติด ประชดิ ตัว ไดร้ บั รางวัลระดับประเทศ
- นวัตกรรม พยุง ประคอง ลองเดิน ไดร้ บั รางวัลระดับประเทศ
(ไดเ้ ปน็ สถานศึกษานา้ ร่องของวิทยาลัย)
- โครงการคุณธรรม จริยธรรม (ค่านยิ มหลัก 12 ประการ)

16 ปกี ารศึกษา 2559

-

17 ปกี ารศกึ ษา 2560

-

18 ปกี ารศึกษา 2561

-

Jin

16

3. กลยุทธแ์ ละมาตรการ ของสถานศึกษา

กลยุทธท์ ่ี 1 พัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา

มาตรการท่ี 1 ทา้ ความร่วมมือกบั สถานประกอบการทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
มาตรการที่ 2 จัดท้าแผนพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศกึ ษาโดยความ

กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาแผนการเรยี นร้แู ละมุ่งเน้นสมรรถนะบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพียงและคา่ นิยมหลัก ๑๒ ประการ
มาตรการที่ 1 จัดทาแผนการเรยี นรแู้ ละมุ่งเน้นสมรรถนะบูรณาการตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและค่านิยมหลัก๑๒ ประการ
มาตรการที่ 2 จดั การเรยี นการสอนโดยใช้แผนการเรยี นรแู้ ละมุ่งเนน้ สมรรถนะบรู ณาการ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและค่านิยมหลกั ๑๒ ประการ

กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรดู้ ้วยการปฏิบตั ิ

จรงิ โดยใชโ้ ครงการเป็นฐาน(PBL)และ STEM Education
มาตรการท่ี 1 จดั กระบวนการเรยี นร้ดู ว้ ย PBL และSTEM Education
มาตรการท่ี 2 สง่ เสริมใหค้ รูผู้สอนและผู้เรียนจัดท้าโครงการวิชาชีพดว้ ยกระบวนการ PBL

และ STEM Education

กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ณุ ธรรมจริยธรรมและความเปน็ ผู้นา้ ด้วยกจิ กรรม อกท.
ใหเ้ ป็นสถานศกึ ษาคุณธรรม

มาตรการท่ี 1 พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณธรรมจรยิ ธรรมและความเปน็ ผู้น้าดว้ ยกิจกรรม อกท.
มาตรการที่ 2 พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงคต์ ามคุณธรรมอัตลกั ษณ์

กลยทุ ธ์ที่ 5 เสรมิ สรา้ งทกั ษะและประสบการณอ์ าชีพใหค้ รู
และบุคลากรทางการศึกษาสคู่ วามเปน็ เลศิ

มาตรการที่ 1 พัฒนาเสริมสร้างทกั ษะและประสบการณ์อาชพี ใหค้ รแู ละบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาสู่ความเปน็ เลศิ

มาตรการท่ี 2 ประเมินประสิทธิภาพตามปฏบิ ตั ิงานของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเพอ่ื
พัฒนาเสรมิ สรา้ งทกั ษะและประสบการณ์อาชีพใหค้ รสู ู่ความเปน็ เลศิ

Jin

17

กลยทุ ธท์ ่ี 6 เสรมิ สรา้ งความรแู้ ละประสบการณ์ของผู้บรหิ ารในการจดั การศึกษาใหเ้ ปน็ ผู้นา้ มืออาชพี

มาตรการที่ 1 อบรมใหค้ วามรแู้ ละประสบการณข์ องผู้บรหิ ารในการจัดการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ผู้นา้
มอื อาชีพ

มาตรการท่ี 2 ประเมินความรูแ้ ละประสบการณข์ องผู้บริหารในการจัดการศึกษาใหเ้ ปน็ ผู้น้า
มืออาชพี

กลยุทธท์ ่ี 7 สร้างเครือข่ายการใชท้ รัพยากร บคุ คลร่วมกับ
สถานประกอบการและหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

มาตรการท่ี 1 ทา้ ความรว่ มมือกบั ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางในสถานประกอบการและ
หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

มาตรการที่ 2 ระดมทรัพยากรในการศกึ ษาจากบคุ คล
สถานประกอบการและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง

กลยทุ ธ์ท่ี 8 ส่งเสรมิ การสนบั สนุนใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาจัดท้า
งานวิจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ ถา่ ยทอดวิทยาการและเทคโนโลยีสชู่ ุมชน
และสงั คม

มาตรการที่ 1 ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาจัดท้า
งานวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี

มาตรการที่ 2 ใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาถา่ ยทอดวิทยาการ
และเทคโนโลยีสู่ชุมชนและสังคม

กลยุทธท์ ี่ 9 ส่งเสริมสนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี นจัดทา้ วิจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยี
เพอ่ื เผยแพร่ผลงานวิจยั สชู่ ุมชนและสังคม

มาตรการท่ี 1 ใหผ้ ู้เรียนจดั ท้าวิจยั นวัตกรรมและเทคโนโลยี
มาตรการที่ 2 ใหผ้ ู้เรยี นเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ชุมชนและสังคม

กลยทุ ธท์ ่ี 10 เสรมิ สรา้ งความรแู้ ละทกั ษะด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่

ในการพัฒนางานฟาร์มเกษตรใหม้ คี ุณภาพได้มาตรฐาน
มาตรการที่ 1 พัฒนาครผู ู้เรยี น และบคุ ลากรทางการ

ศึกษาใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีสมัยใหม่เพือ่ พัฒนางาน
ฟาร์มเกษตรใหม้ คี ุณภาพไดม้ าตรฐาน

Jin

กลยุทธท์ ี่ 11 พัฒนาระบบโรงเรอื นดว้ ยเทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ ห้ 18
ไดม้ าตรฐานงานฟาร์ม
Jin
มาตรการที่ 1 ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางศึกษารว่ มพัฒนาระบบโรงเรอื น
ดว้ ยเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ หไ้ ด้มาตรฐานงานฟาร์ม

มาตรการที่ 2 อบรมใหค้ วามรู้และทกั ษะกบั ครูและบคุ ลากรทางศึกษา
ในการพัฒนาระบบโรงเรอื นดว้ ยเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ หไ้ ด้
มาตรฐานงานฟาร์มดว้ ยผู้เช่ียวชาญ

กลยทุ ธท์ ี่ 12 เสรมิ สรา้ งความรวู้ ิชาชีพและทกั ษะการใช้เทคโนโลยี
ในการจัดการฟาร์ม

มาตรการที่ 1 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้
มีความร้วู ิชาชพี และทกั ษะการใช้เทคโนโลยีในการจดั การฟาร์ม

กลยุทธ์ท่ี 13 จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะทาง

มาตรการที่ 1 ร่วมมือและระดมทรพั ยากรกับสถานประกอบการ
และหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งในการจดั ต้ังศนู ย์การเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะทาง

กลยทุ ธ์ที่ 14 พัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรูว้ ิชาชีพของชมุ ชน

มาตรการที่ 1 รว่ มมอื และระดมทรัพยากรกับสถาน
ประกอบการและหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องในการพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหล่ง
เรียนรู้วิชาชพี ของชุมชน

กลยุทธท์ ี่ 15 พัฒนาระบบบริหารจัดการสถานศึกษาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

มาตรการที่ 1 จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาระบบ
บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยทุ ธ์ที่ 16 บริหารจัดการสถานศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพด้วย
หลกั ธรรมภบิ าลและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

มาตรการที่ 1 พัฒนาผู้บริหารใหม้ คี วามรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการสถานศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพด้วย
หลกั ธรรมภิบาลและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

19

กลยทุ ธท์ ี่ 17 พัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ สถานศึกษาพอเพียง

มาตรการที่ 1 ใหผ้ ู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการ
ศึกษา ผู้เรยี นรว่ มกันพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ สถานศึกษาพอเพียง

กลยทุ ธท์ ี่ 18 พัฒนาประสทิ ธิภาพของเครอื ขา่ ยและระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศใหท้ ันสมัย

มาตรการที่ 1 จัดสรรงบประมาณในการพัฒนา
ประสทิ ธิภาพของเครือขา่ ยและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหท้ นั สมัย

กลยทุ ธ์ท่ี 19 สรา้ งความเข้มแขง็ และขยายเครอื ขา่ ยความ
ร่วมมอื ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรร่วมกบั สถานประกอบการ
และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องทง้ั ในและต่างประเทศ

มาตรการท่ี 1 ท้าความร่วมมือร่วมกบั สถาน
ประกอบการ และหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งทัง้ ในและต่างประเทศในการสรา้ ง
ความเข้มแข็งและขยายเครือขา่ ยเพอ่ื การจัดการอาชวี ศึกษาเกษตรใหม้ ี
คณุ ภาพได้มาตรฐาน

กลยทุ ธ์ท่ี 20 พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ของสถานประกอบการ
และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการจัดการอาชวี ศึกษาเกษตรด้วยระบบ
Big Data

มาตรการท่ี 1 จัดหาโปรแกรม Big Data ในการ
พัฒนาระบบฐานข้อมลู ของสถานประกอบการและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาเกษตร

มาตรการที่ 2 ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาจัดท้า
ระบบฐานข้อมลู ของสถานประกอบการและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรดว้ ย

(กลยทุ ธ์ และมาตรการ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ มาตรการ ของ สอศ.)

Jin

าชพี 20
มชนและสังคม
Jin

21

Jin

22

Jin

23

Jin

24

Jin

25

Jin

26

Jin

27

.)

Jin

20

4. ประวัติ ความเป็นมา และข้อมูลด้านอาคารสถานท่ี
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

4.1 ประวัติ ความเป็นมา ของวิทยาลัยฯ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ เริ่มจดั ต้ังตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม 2522
โดยใช้ชื่อ "วิทยาลยั เกษตรกรรมระนอง" เพ่ือเปน็ การสนองนโยบายรฐั บาล ที่กาหนดใหป้ ี พ.ศ.2522
เปน็ ปชี าวไร่ ชาวนา โดยจดั ต้ังพร้อมกับ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี ในจังหวัดอื่นๆ อีก9 แหง่
คือกาญจนบรุ ี ชัยนาท อุทยั ธานี นครสวรรค์ เพชรบรู ณ์ เชยี งใหม่ มหาสารคาม กระบแี่ ละ
นครศรีธรรมราช

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ต้ังอยู่เลขที่ 19 หมู่ท่ี 5 บา้ นนกงาง
ตาบลราชกรดู อาเภอเมอื งระนอง จงั หวัดระนอง หา่ งจากตวั จงั หวัดระนอง 33 กโิ ลเมตร และ
หา่ งจากกรงุ เทพมหานคร 600 กิโลเมตร มีพ้นื ท่ี 2 แปลง แปลงเดิมมพี ืน้ ที่ 840 ไร่ 3 งาน
90 1/10 ตารางวา ต่อมาในปี 2531 ได้ขอขยายพื้นทีเ่ พิ่มเติม เพ่ือใช้ในการจดั การเรียนการสอน
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสตั ว์น้า โดยใชพ้ ้นื ทีห่ ลังโรงเรยี นราชประชานุเคราะหท์ ี่ 38 ใกลก้ บั สถานี
เพาะเล้ียงสัตว์นา้ ชายฝ่ังระนอง มเี น้ือที่ประมาณ 100 ไร่ รวมพื้นทที่ ้ังหมดประมาณ 940 ไร่
มีประวัตพิ อสังเขป ดงั นี้

พ.ศ. 2522 เริม่ ดาเนนิ การจดั ต้ังวิทยาลยั ฯ โดยมีนายธารง บณุ ยประสาท
เปน็ ผู้ประสานงานจัดต้ังและดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการวิทยาลยั เกษตรกรรมระนอง คนแรก
(1 มกราคม 2522)

พ.ศ.2523 ได้รบั งยประมาณหมวดค่าที่ดินและสิ่งกอ่ สรา้ ง เพื่อดาเนินการ
ก่อสรา้ งอาคารเรียนช่ัวคราว 3 หลงั คอื อาคารพืชศาสตร์ , อาคารสัตวศาสตร์ , และ
อาคารชา่ งกลเกษตร

พ.ศ. 2524 ไดร้ บั งบประมาณเพ่มิ เติม และดาเนินการกอ่ สรา้ งอาคารตา่ งๆ
อย่างต่อเนื่อง

พ.ศ. 2525 ดาเนินการรับนักศึกษาเข้ามาศึกษาในหลักสูตรประกาศนบี ตั ร
วิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2524 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตรร์ ุ่นแรก
ซึ่งมีนักศึกษา 141 คน

พ.ศ. 2528 ดาเนินการรบั นักศกึ ษา ในหลกั สตู รประกาศนยี บตั รชพี ช้ันสงู
พุทธศกั ราช 2527 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ เปน็ ร่นุ แรก

พ.ศ. 2529 นายชยั วัฒน์ พิมพ์มะรัตน์ ย้ายมาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการ
แทนนายธารง บณุ ยประสาท ซึ่ง้ายไปเปน็ ผู้อานวยการวิทยาลยั วิทยาลยั เกษตรกรรมพัทลงุ

Jin

21

พ.ศ. 2530 ดาเนนิ การรับนกั ศกึ ษาเขา้ ศึกษาในหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
พุทธศกั ราช 2524 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาประมง และหลักสูตรประกาศนยี บตั ร
วิชาชีพเทคนคิ (ปวท.) พุทธศักราช 2527 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง
เปน็ รนุ่ แรก

พ.ศ. 2531 จดั ทาโครงการเพาะเล้ียงสตั ว์นา้ และแปรรูปผลิตภณั ฑ์สัตว์นา้ โดย
ได้รบั การช่วยเหลือทางดา้ นครภุ ณั ฑ์การศกึ ษา ในการเพาะเล้ียงสตั ว์นา้ และโรงงานแปรรปู ผลติ ภัณฑ์
สัตว์น้า โดยมีผู้เช่ียวชาญท้ังสองสาขามาประจาในระหว่าง พ.ศ. 2538 - 2540 และไดม้ กี ารพัฒนา

บคุ ลากรประจาวิทยาลยั ฯ ในสาขาวิชาท้ังสอง จากการช่วยเหลือแบบใหเ้ ปล่าภายใต้งบประมาณจาก
รัฐบาลเดนมาร์ก และงบประมาณสมทบจากรฐั บาลไทย ในดา้ นท่ีดิน และส่ิงก่อสรา้ ง

พ.ศ. 2533 ดาเนนิ การรับนกั ศึกษาในหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
พุทธศักราช 2527 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาประมงเปน็ ร่นุ แรก

พ.ศ. 2534 นายผล วรนุช ผู้ชว่ ยผู้อานวยการวิทยาลยั เกษตกรรมระนอง
รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการในระหว่างเดือน เมษายน ถงึ เดอื น กนั ยายน
แทนนายชยั วัฒน์ พิมพ์มะรตั น์ ซ่ึงได้ประสบอุบตั ิเหตเุ สยี ชีวิต

พ.ศ. 2534 นายจรญั จลุ โสภณ ย้ายมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการแทน
นายผล วรนชุ ซ่ึงย้ายไปทาหน้าทผี่ ู้ประสานงานการจัดต้ังวิทยาลยั ประมงชมุ พร เขตอุดมศักดิ์

พ.ศ. 2537 ได้รบั การจดั ตั้งวิทยาลัยชุมชนอนั ดามนั ตามนโยบายของรฐั บาล
เพ่อื จดั การเรยี นการสอนสาขาวิชาภาคนอกเกษตรกรรม

พ.ศ. 2538 ดาเนนิ การรบั นักศกึ ษาเขา้ ทดลองศึกษา ในหลกั สูตรประกาศนบี ตั ร
ครเู ทคนคิ ช้ันสูง (ตอ่ เน่ือง 2 ป)ี ในสาขาวิชาการประมง โดยดาเนินการภายใต้การควบคมุ ของ
วิทยาลยั ประมงติณสูลานนท์

พ.ศ. 2539 ดาเนนิ การรับนกั ศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
พุทธศกั ราช 2536 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาการประมง สาขางานอุตสาหกรรมประมง
เปน็ รุ่นแรก

ธันวาคม 2540 นายสุรฉตั ร สนทอง ย้ายมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการแทน
นายดารง มแี กว้ กญุ ชร ซึ่งย้ายไปดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชลบรุ ี

กรกฎาคม 2541 นายปรีชา เมียนเพชร ผู้ชว่ ยผู้อานวยการวิทยาลยั เกษตรและ
เทคโนโลยีพัทลุง ย้ายมารักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
แทนนายสรุ ฉตั ร สนทอง ซึ่งย้ายไปดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบรุ ีรัมย์

พ.ศ. 2541 ดาเนินรบั นักศกึ ษา หลักสูตรประกาศนีบตั รวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.)
พุทธศักราช 2540 ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และหลกั สุตรประกาศนีบตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2538 (เพมิ่ เติม พ.ศ.2541)
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรและเทคโนโลยี (โครงการปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพอ่ื ชวี ิต)

Jin

22

พ.ศ. 2542 ดาเนินการจัดการเรยี นการสอนหลักสุตรการเรยี นระบบทวภิ าคี ปวช.อศ.กช.(เพ่ิมเตมิ )
พ.ศ. 2543 ดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนหลักสูตรการเรียนระบบทวิภาคี
ปวส. ประเภทวิชาประมง สาขาวชิ าเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประมง (เพิ่มเติม)
พ.ศ. 2543 นายบญุ ฤทธิ์ ส่งศรี ผู้ช่วยผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีระนอง แทนนายปรีชา เมียนเพ็ชร์ ซ่งึ ย้ายไปดารงตาแหน่งผอู้ านวยการวทิ ยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง
พ.ศ. 2544 ดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการเรียนระบบทวภิ าคี
ปวส. ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ (เพิ่มเตมิ )
พ.ศ. 2545 ดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ
พุทธศักราช 2545 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2546 ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ
(ปวช.)พุทธศักราช 2545 (ปรับปรงุ 2546 ) ประเภทวชิ าประมง สาขาวิชาเพาะเลยี้ งสัตว์นา้
และประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขางานการบญั ชี
พ.ศ. 2547 ดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สูง
(ปวส.อศ.กช.กลมุ่ ตน้ น้า ) พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาบริหารธุรกจิ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
พ.ศ. 2550 นายวุฒิพงษ์ วงศ์สุวรรณ รองผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีพัทลุง ย้ายมารกั ษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
แทนนายบญุ ฤทธิ์ ส่งศรี ซง่ึ ย้ายไปดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีสุราษฎรธ์ านี
พ.ศ. 2551 นายประเวศ วรางกรู รองผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีพิจิตร ย้ายมารักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
แทนนายวฒุ ิพงษ์ วงศ์สุวรรณ ซึง่ ย้ายไปดารงตาแหน่ง ผ้อู านวยการวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีสตูล
พ.ศ. 2552 ดาเนินการจัดการเรยี นการสอนหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ
(ปวช.) พุทธศักราช 2545 (ปรับปรงุ 2546 ) ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขางานคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
พ.ศ. 2553 นายมนตรี เมืองทอง รองผู้อานวยการวทิ ยาลัยเทคนิคพัทลุง
ย้ายมารกั ษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง แทน
นายประเวศ วรางกูร ซึ่งย้ายไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชัยนาท
พ.ศ. 2555 นายจานงค์ พูลภักดี รองผอู้ านวยการวทิ ยาลัยสารพัดช่างพัทลุง
ย้ายมารกั ษาการ ในตาแหนง่ ผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
แทนนายมนตรี เมืองทอง ซึ่งย้ายไปดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการวิทยาลัยการอาชีพกันตงั
พ.ศ. 2557 นายบารุง ทองรอด รองผู้อานวยการวิทยาลัยอาชีวศกึ าชุมพร
ย้ายมาดารงตาแหน่ง ในตาแหนง่ ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
พ.ศ. 2559 นายวิวฒั น์ ศรีบญุ นาค รองผู้อานวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ ทุง่ สง
ย้ายมาดารงตาแหน่ง ในตาแหน่ง ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

Jin

23

พ.ศ. 2561 นายประยุทธ นลิ วงศ์ งผอู้ านวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ ทุ่งสง
ย้ายมาดารงตาแหนง่ ในตาแหนง่ ผู้อานวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

พ.ศ. 2561 นายประยุทธ นลิ วงศ์ รองผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนคิ ทุ่งสง
ย้ายมาดารงตาแหน่ง ในตาแหน่ง ผ้อู านวยการวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

Jin

24

4.2 ขอ้ มูลดา้ นอาคารสถานที่

ช่ือสถานศกึ ษา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

ช่ือภาษาอังกฤษ Ranong College of Agriculture and Technology

ทีต่ ้ังสถานศกึ ษา เลขที่ 19 หมู่ท่ี 5 ถนน เพชรเกษม

ตาบล ราชกรูด อาเภอ/เขต เมือง จงั หวัด ระนอง รหสั 85000

โทรศพั ท์ โทร 0-7789 - 7756

โทรสาร โทร. 0-7789 - 7756 กด 1

เว็บไซต์ http://www.kasetranong.ac.th

อีเมล [email protected]

เน้ือท่ขี องสถานศกึ ษา

940 ไร่ 3 งาน 90 1/10 ตารางวา

มอี าคาร รวมท้ังส้ิน 13 หลัง มีหอ้ งท้ังสิ้น 29 หอ้ ง ไดแ้ ก่

1 หอ้ งเรยี นภาคบรรยาย 11 หอ้ ง

2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ 1 หอ้ ง

3 หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางภาษา 1 หอ้ ง

4 หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 3 หอ้ ง

5 หอ้ งปฏบิ ตั ิการพิมพ์ดีดไทย-อังกฤษ 1 หอ้ ง

6 หอ้ งปฏิบตั ิการเครอ่ื งใชส้ านักงาน 1 หอ้ ง

7 หอ้ งปฏิบตั ิการศูนย์การเรยี นรู้ฯ 1 หอ้ ง

8 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคณุ ภาพนา้ 1 หอ้ ง

9 หอ้ งปฏิบตั ิการชวี วิทยาสัตย์น้า 1 หอ้ ง

10 หอ้ งศนู ย์การเรยี นรภู้ าษาไทย 1 หอ้ ง

11 หอ้ งศูนย์การเรียนรู้สังคมศึกษา 1 หอ้ ง

12 หอ้ งศูนย์การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ 1 หอ้ ง

13 หอ้ งศนู ย์การเรยี นรเู้ พศศกึ ษา 1 หอ้ ง

14 หอ้ งสื่อแผนกวิชาสามญั สมั พันธ์ 1 หอ้ ง

15 หอ้ งสื่อแผนกวิชาประมง 1 หอ้ ง

16 หอ้ งส่ือแผนกวิชาสัตวศาสตร์ 2 หอ้ ง

อื่น ๆ เช่น สีประจา ต้นไม้ สัญลกั ษณ์ เพลง ของสถานศกึ ษา

Jin

คณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา 5. แผนภูมิโครงสรา้

รองผอู้ านวยการ ฝ่ายบรหิ ารทรัพยากร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโน
นายศริ ิพงศ์ เมยี นเพช็ ร์
งานบริหารงานทว่ั ไป ผอู้ านวยการ
นางวัชรา ปลายชยั ภมู ิ นายกิตตพิ งค์ อุตตมะ
งานบคุ คากร
นางวัชรา ปลายชัยภูมิ รองผอู้ านวยการ ฝา่ ยแผนงานฯ
นายศิรพิ งศ์ เมยี นเพช็ ร์
งานการเงนิ
นางศภุ รดา จัตรุ งคก์ ช งานวางแผนและงบประมาณ
นางสาวรุ่งนภา โนจา
งานบญั ชี งานความรว่ มมอื
นางเปรมวดี ขามะลงั นายชวนนั ท์ กุลรัตนชีวา

งานพสั ดุ งานส่งเสริมผลิตผล การคา้ และประกอบการ
นายบญุ ลอื พณิ แกว้ ธรุ กิจ
งานอาคารสถานที่
นายปราโมท หาญณรงค์ นางจรรยพร ศรชี ะฎา

งานทะเบียน งานฟาร์มและโรงงาน
ว่าทร่ี .ต.หญิงภชู ิสจณิ ณ์ โชติคตุ ิ นายศริ ิพงศ์ เมียนเพช็ ร์

งานประชาสมั พนั ธ์ งานศูนย์ขอ้ มลู สารสนเทศ
นางสาวพัชนยิ า ชมุ ผอม

งานประกนั คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
นางบญุ นา ตนั ธนกุล

งานนวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดษิ ฐ์
นายประพัฒน์ ปานนลิ

างการบรหิ าร 25

นโลยีจังหวดั ระนอง คณะกรรมการวทิ ยาลยั

ะเวทิน รองผอู้ านวยการ ฝ่ายวชิ าการ
นายศิรพิ งศ์ เมียนเพ็ชร์
รองผู้อานวยการ ฝ่ายพฒั นากจิ การฯ
นายศริ ิพงศ์ เมยี นเพ็ชร์ หัวหนา้ แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ์
งานปกครอง นายธภี พ เสอื คารณ
นางบุญนา ตนั ธนกุล
หัวหนา้ งานแผนกวิชาพชื ศาสตร์
งานกิจกรรมนกั เรยี นนกั ศึกษา ว่าที่ ร.ต.หญิงภชู สิ จณิ ณ์ โชตคิ ุติ
นายธีภพ เสอื คารณ หัวหน้าแผนกวิชาสัตวศาสตร์

งานแนะแนวและจดั หางาน นางบญุ นา ตันธนกุล
นางจรรยพร ศรชี ะฎา หัวหนา้ แผนกวชิ าประมง
งานครูทีป่ รกึ ษา นายประพฒั น์ ปานนิล
นางสาวจุลเจมิ สุริวงค์ หวั หน้าแผนกวิชาอตุ สาหกรรม

งานสวัสดิการนักเรยี นนักศึกษา นางบญุ นา ตนั ธนกลุ
นางเปรมวดี ขามะลัง หัวหน้าแผนกวชิ าธรุ กจิ เกษตร

งานโครงการพเิ ศษและบรกิ ารชุมชน นางเปรมวดี ขามะลัง
นายประพฒั น์ ปานนลิ หัวหน้าแผนกวชิ าชา่ งกลเกษตร

งานวิทยบริการและห้องสมุด นายปราโมท หาญณรงค์
นางสาวพชั นยิ า ชมุ ผอม หวั หน้างานวดั ผลและประเมนิ ผล

งานอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี นางสาวธนพร เปรมประเสรฐิ
นายปราโมท หาญณรงค์ หัวหน้างานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน
งานสอื่ การเรยี นการสอน
นายชนิ โชติ แพน้อย นางบุญนา ตันธนกลุ

Jin

26

6. ข้อมูลบุคลากร

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

6.1 อัตรากาลัง ปี 2562 ข้อมูล ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2561

ผู้ใหข้ ้อมูล นางวัชรา ปลายชัยภมู ิ

อัตรากาลงั ของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง มบี ุคลากรทัง้ สิ้น 39 คน

ก. ข้าราชการ 15 คน

1 ผู้บริหาร 2 คน

2 ข้าราชการครู 13 คน

3 ขา้ ราชการพลเรอื น - คน
ข. ลูกจา้ งประจา 9 คน

1 ทาหน้าท่ีสอน - คน

2 ทว่ั ไป/สนบั สนนุ 9 คน

ค. พนักงานราชการ 4 คน

1 ทาหนา้ ท่ีสอน 4 คน

2 ทัว่ ไป/สนบั สนนุ - คน

ง. ลกู จ้างชั่วคราว 11 คน

1 ทาหน้าทีส่ อน 2 คน

2 ทว่ั ไป/สนบั สนนุ 9 คน

จ. มขี ้าราชการ/ลกู จ้าง มาชว่ ยราชการ คน

ฉ. มขี ้าราชการ/ลกู จ้าง ไปชว่ ยราชการทีอ่ ื่น คน

ช. มอี ัตราวา่ ง ไมม่ คี นครอง คน
1 ข้าราชการ - คน
2 ลูกจา้ งประจา - คน

Jin

27

6.2 ข้อมลู บุคลากร จาแนกตามวฒุ ิการศึกษา 28 คน

ก. ครผู ู้สอน ข. เจา้ หน้าที่ทวั่ ไป/สนับสนุน คน รวม
คน
- ตา่ กวา่ ม.6 - คน 2 คน 2 คน
คน 4 คน
- ปวช./ม.6 - คน 4 คน 3 คน
คน 14 คน
- ปวส./อนปุ รญิ ญาตรี - คน 3 คน 5 คน
- คน
- ปรญิ ญาตรี 14 คน - 28 คน

- ปริญญาโท 5 คน -

- ปริญญาเอก - คน -

รวม 19 คน รวม 9

6.3 ขอ้ มูลลูกจ้างชวั่ คราว จาแนกตามแหล่งเงินทจ่ี ้าง 11 คน

ก. ครผู ู้สอน ข. เจ้าหน้าทีท่ ่วั ไป/สนับสนุน คน รวม
คน
- จ้างดว้ ยงบบคุ ลากร - คน - คน - คน
คน - คน
- จ้างด้วยงบดาเนนิ งาน - คน - คน - คน
คน 9 คน
- จ้างดว้ ยงบเงนิ อดุ หนนุ - คน - 2 คน
11 คน
- จ้างด้วยเงนิ รายได้ (บกศ.) 1 คน 8

- จ้างด้วยเงนิ อื่น ๆ 1 คน 1

รวม 2 คน รวม 9

6.3 ขอ้ มลู บคุ ลากรท้ังหมด จาแนกตามหนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ

6.3.1. ข้าราชการ รวม 13 คน (ข้าราชการครู และขา้ ราชการพลเรอื น)

ชอ่ื - สกุล วุฒิการศกึ ษา ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี

(ป.เอก/โท/ตร.ี ..) สอนวิชา สนบั สนนุ /ธรุ การท่วั ไป

1. นางบญุ นา ตันธนกุล ป.ตรี วชิ าสัตวศาสตร์ หวั หนา้ งานประกัน/ปกครอง

2. นายประพฒั น์ ปานนลิ ป.โท วชิ าประมง หวั หนา้ งานวจิ ัยฯ

3. นายบญุ ลือ พณิ แกว้ ป.ตรี วชิ าสัตวศาสตร์ หวั หนา้ งานพสั ดุ

4. นายชวนนั ท์ กลุ รัตนชีวา ป.โท วิชาพชื ศาสตร์ หวั หนา้ งานความรว่ มมอื

5. นายปราโมท หาญณรงค์ ป.ตรี วิชาชา่ งกลเกษตร หวั หนา้ งานช่างกลเกษตร/อาคาร

6. นางสาวธนพร เปรมประเสรฐิ ป.ตรี วชิ าประมง หวั หนา้ งานวดั ผล

7. นางเปรมวดี ขามะลัง ป.โท วชิ าธุรกิจเกษตร หวั หน้างานสวัสดกิ ารนกั เรยี นนกั ศึกษา

8. นางสาวจุลเจิม สุริวงค์ ป.โท วชิ าพชื ศาสตร์ หวั หนา้ งานครูทปี่ รกึ ษา

9. นายการณั ย์ หวานชน่ื ป.ตรี วิชาประมง หวั หนา้ งานประชาสัมพนั ธ์

10. นางสาวรงุ่ นภา โนจา ป.ตรี วชิ าอุตสาหกรรม หวั หนา้ งานแผนและงบประมาณ

11.ว่าที่ ร.ต.หญงิ ภูชสิ จณิ ณ์ โชตคิ ุต ป.ตรี วชิ าพชื ศาสตร์ หวั หนา้ งานทะเบยี น/พชื ศาสตร์

12.นายธภี พ เสือคารณ ป.ตรี วชิ าภาษาไทย หวั หนา้ งานกิจกรรม

13. นางจรรยพร ศรชี ะฎา ป.ตรี วิชาประมง หวั หนา้ งานแนะแนว

Jin

28

6.3.2. ลูกจ้าประจา รวม 9 คน (ทาหน้าท่ีสอน ธุรการ ทว่ั ไป)

ชื่อ - สกุล วุฒิการศกึ ษา ปฏิบัตหิ นา้ ที่

(ป.เอก/โท/ตร.ี ..) ตาแหนง่ สนบั สนนุ /ธุรการทว่ั ไป

1. นายชมภู่ แกว้ เงนิ ม.6 พนกั งานเอกสาร -
2. นายวฒุ ชิ ยั พลู สวัสด์ิ
3. นายชานาญ เพช็ รจันทร์ มศ.3 พนง.พสั ดุ -
4. นายสุรยิ า แสวงผล
5. นางศุภรดา จัตรุ งค์กช ป.4 พนง.ขับเครอ่ื งจักกลขนาดกลาง -
6. นางโศจิรตั น์ เทพอานวย
7. นายลิขิต เทพอานวย ปวส. พนง.ขบั เครอื่ งจักกลขนาดหนกั -
8. นางสาวจารวุ จิ ิตร์ ช่วยแทน่
9. นายอภิวันท์ ภาสดา ปวท. พนกั งานธรุ การ 4 -

ปวส. พนกั งานรบั โทรศัพท์ -

ปวส. พนกั งานขบั รถยนต์ -

ปวช พนกั งานพมิ พ์ 3 -

ป.4 พนกั งานบรกิ าร 2 -

6.3.3. พนกั งานราชการ รวม 3 คน (ทาหน้าที่สอน ธุรการ ทั่วไป)
ช่ือ - สกุล
วุฒิการศกึ ษา ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี

(ป.เอก/โท/ตร.ี ..) สอนวิชา สนบั สนนุ /ธรุ การทั่วไป

1. นางสาววชั รา ปลายชยั ภูมิ ป.ตรี คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ หวั หนา้ งานบรหิ ารทวั่ ไป
2. นางสาวพชั นยิ า ชมุ ผอม
3. นายชนิ โชติ แพนอ้ ย ป.โท คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ หวั หนา้ ศูนย์ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. นายสนธยา แสวงผล
ป.ตรี ภาษาอังกฤษ หวั หนา้ งานสื่อการเรยี นการสอน

ป.ตรี ประมง ผู้ช่วยหวั หนา้ งานกจิ กรรม

6.3.4. ลกู จ้างชวั่ คราว รวม 11 คน (ทาหน้าท่ีสอน ธุรการ ท่ัวไป)
ชือ่ - สกุล
วุฒิการศกึ ษา ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี

(ป.เอก/โท/ตร.ี ..) สอนวิชา สนบั สนนุ /ธรุ การทัว่ ไป

1. นางสาวอัญชนา ถนอมสิน ป.ตรี วทิ ยาศาสตร์ -
2. นางสาวรงุ้ บญุ มานนท์
3. นางสาวภควดี จันทร์ค้อม ป.ตรี สัตวศาสตร์ -
4. นางสาววลัยพร ระเหม
5. นางศศิธร ยืนยง ปวส. - ธุรการฝ่ายพฒั นาฯ
6. นางสาวรงุ่ นภา นมุ่ ชผู ล
7. นายอนริ ุทธ์ ยืนยง ปวส. - ธุรการงานบริหารทว่ั ไป
8. นางนวลศรี ธนบตั ร
9. นายเชาวฤทธิ์ ปอ้ งสุ ป.ตรี - ธรุ การฝ่ายวิชาการ
10. นายคุณากร คงทอง
11. นางสาวสุวรรษา แนมใส ปวส. - ธุรการฝ่ายแผนงานฯ

ป.ตรี - เจ้าหนา้ ทพ่ี สั ดุ

ป.4 - คนครัว

ปวช. - คนงานเกษตรพนื้ ฐาน

ม.6 - คนงานเกษตร/ยาม

ม.3 - คนงานเกษตร/เลี้ยงไก่

Jin

7. ข้อมูลนักเรยี น

7.1 จานวนนักเรียนนัก

ปกี ารศกึ ษา 2561 (

1. หลักสตู รในระบบ/ตอ่ เนื่อง รวมทง้ั สิ้น 257

ประเภทวชิ า/สาขา ภ

รวมทงั้ สน้ิ ระดับ ปวช.
1. ประเภทวิชาเกษตรกรรม
ปีท่ ่ี 1 ปีท่ ี่ 2 ป่ที ่ี 3 รวม
สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์
- สาขาวิชา/งาน สัตวศาสตร์ 47 38 20 105
- สาขาวิชา/งาน พชื ศาสตร์
- สาขาวิชา/งาน การประมง ----
- สาขาวิชา/งาน การเกษตร ----
----
- ในระบบ (ปฏริ ปู )
- นอกระบบ (อศ.กช.) 33 24 7 64
2. ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม 14 14 13 41
สาขาวิชาพณิชยกรรม
3. ประเภทวชิ าประมง ----
สาขาวิชาเพาะเล้ียงสัตว์น้า
- สาขาวิชา/งาน เพาะเลี้ยงสัตว์น้าทวั่ ไป ทงั้ ปีการศึกษา (2561) รวมทง้ั สิน้ 500
4. ประเภทวชิ าเกษตรกรรม - คน
สาขาวิชาพชื ศาสตร์ - คน 2.3 หลกั สูตรเกษตรฯร
สาขาวิชาสตั วศาสตร์
- สาขาวิชา/งาน เกษตรศาสตร์ 2.4 หลักสูตระยะส้ัน ต
- ในระบบ (ปฏริ ปู )
- นอกระบบ (อศ.กช.)
2. หลกั สตู รนอกระบบ/ระยะสนั้
2.1 หลกั สูตรวิชาชีพระยะส้ัน
2.2 หลักสตู รเสรมิ วิชาชพี (แกนมัธยม)

7.2 เป้าหมายจานวนนัก

29

นักศึกษา หน่วย : คน
กศึกษา ปัจจบุ ัน
(ปปี ัจจุบัน) ระดับ ป.ตร/ี ปทส. รวมทงั้ สิ้น
254
7 คน รวม ป่ที ่ี 1 ป่ีที่ 2 รวม
ภาคเรยี นที่ 2/2561(ปีปจั จุบัน) 149

ระดับ ปวส.
ป่ที ี่ 1 ปท่ี ี่ 2
86 63

-------
-------
-------

64
41

7 10 17 17

9-9 9
9 3 12 12

-- - -
111 111
61 50
คน - คน
0 คน คน - คน

ระยะส้ัน 500 2.3 หลักสตู ร ปชด. 29
2.4 หลกั สูตอื่น ๆ ทวิศึกษา
ตชด. -

กเรียน นักศกึ ษา

ปีการศึกษา 2562

1. หลกั สตู รในระบบ/ต่อเนื่อง รวมทงั้ ส้นิ 337

ประเภทวชิ า/สาขา ระดับ ปวช.

รวมทงั้ ส้ิน ปีท่ ่ี 1 ปี่ท่ี 2 ปีท่ ี่ 3 รวม
1. ประเภทวชิ าเกษตรกรรม 186
100 47 39
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- สาขางานเกษตร (ในระบบ) 40 33 25 98
- สาขางานเกษตรทวั่ ไป (อศ.กช.) 60 14 14 88
2. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
สาขาวิชาพณิชยกรรม ----
- สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
3. ประเภทวชิ าประมง (ทวภิ าคี) ----

สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสตั ว์น้า -- --
- สาขาวิชา/งาน เพาะเลี้ยงสตั ว์น้าทว่ั ไป --
4. ประเภทวิชาเกษตรกรรม (ทวิภาคี) ทง้ั ปกี ารศึกษา (2562) --
สาขาวิชาพชื ศาสตร์ - คน
สาขาวิชาสัตวศาสตร์ - คน รวมทง้ั สิ้น 500
5. ประเภทวิชาเกษตรกรรม
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 2.3 หลักสูตรเกษตรฯร
- สาขางานเกษตรศาสตร์
- ในระบบ 2.4 หลักสตู ระยะสั้น ต
- นอกระบบ (ภาคสมทบ)
2. หลักสูตรนอกระบบ/ระยะสนั้
2.1 หลกั สตู รวิชาชพี ระยะส้ัน
2.2 หลักสูตรเสรมิ วิชาชีพ (แกนมัธยม)

30

(ปีตอ่ ไป) หน่วย : คน

7 คน ระดับ ป.ตร/ี ปทส. รวมทง้ั สน้ิ
ภาคเรยี นท่ี 1/2562(ปตี ่อไป) 324
รวม ปท่ี ่ี 1 ปีท่ ่ี 2 รวม
ระดับ ปวส. 138
ปท่ี ่ี 1 ปีท่ ่ี 2
50 88

- - - - - - 98
- - - - - - 88

-------

10 7 17 17

10 10 20 20
10 10 20 20

- - - --- -
20 61 81 --- 81
0 คน
ระยะสั้น 500 คน 2.3 หลกั สูตร ปชด. - คน
ตชด. - คน 2.4 หลกั สตู อ่ืน ๆ ทวิศึกษา - คน

30

สว่ นท่ี 3 33

3.2 ประมาณการรายรบั - รายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ปตี ่อไป) Jin
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

1. ประมาณการรายรบั 23,835,082.30 บาท
บาท
ก. เงนิ รายได้ (บกศ.) ยกมา 4,351,030.30 บาท

- ยอดยกมาจากปีปัจจบุ ัน 1,085,905.30 บาท
- คาดวา่ มรี ายรับในปีต่อไป 2,265,125.00 บาท
- ผลผลติ ที่คาดวา่ จะได้รับ 1,000,000.00 บาท

ข. เงนิ งบประมาณ ปี 2561 (ปีต่อไป) ที่คาดวา่ จะได้รบั 19,484,052.00 บาท

งบบุคลากร 11,758,632.00 บาท

งบดาเนินงาน 2,280,460.00 บาท

งบลงทุน 1,180,000.00 บาท

งบเงินอดุ หนุน 2,732,560.00 บาท

งบรายจา่ ยอืน่ 1,532,400.00 บาท

2. ประมาณการรายจ่าย 19,484,052.00

งบบคุ ลากร 11,758,632.00 บาท

- เงินเดือน 6,387,480.00 บาท

- ค่าจา้ งประจา 2,839,440.00 บาท

- ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 821,832.00 บาท

- เงินวทิ ยฐานะ 369,600.00 บาท

- ค่าตอบแทนรายเดือนขา้ ราชการ 201,600.00 บาท

- ค่าจา้ งลกู จา้ งชั่วคราว 940,680.00 บาท

- ค่าครองชพี ลูกจา้ งช่ัวคราว 198,000.00 บาท

งบดาเนินงาน 2,280,460.00 บาท

- ค่าตอบแทน - บาท

- ค่าใชส้ อย 740,460.00 บาท

- ค่าวสั ดุ 740,000.00 บาท

- ค่าสาธารณูปโภค 800,000.00 บาท

งบลงทนุ 1,180,000.00 บาท

- ค่าครุภัณฑ์ 1,180,000.00 บาท

- ส่ิงกอ่ สรา้ ง - บาท

งบเงนิ อุดหนุน 2,732,560.00 บาท

- ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี นของนกั เรียนสายอาชพี อาชีวศึกษา 51,360.00 บาท

- โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจนในชนบท 405,000.00 บาท

- โครงการฝึกอบรมอาชพี ระยะส้ัน 39,000.00 บาท

- โครงการองค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยฯ 50,000.00 บาท

- โครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาฯ 2,114,700.00 บาท

- ทุนการศึกษาเฉลิมราชกมุ ารี 72,500.00 บาท

งบรายจ่ายอ่ืน 1,532,400.00 บาท

- โครงการศูนยซ์ อ่ มสรา้ งเพ่ือชมุ ชน 500,000.00 บาท

- โครงการปลกู จติ รสานึกทรพั ยากรปุาไม้ 70,000.00 บาท

- โครงการศูนยบ์ ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา 92,000.00 บาท

- โครงการอาชวี พัฒนาค่านิยมไทย (เกษตรทฤษฎีใหม)่ 165,000.00 บาท

- โครงการเร่งประสิทธภิ าพการสอนครูอาชวี ศึกษา 189,600.00 บาท

- โครงการจดั หาบุคลากรสนับสนนุ เพื่อคืนครูใหน้ ักเรยี น 117,600.00 บาท

- โครงการลดปัญหาการออกกลางคัน 25,000.00 บาท

- โครงการขยายและยกระดับอาชวี ศึกษาทวภิ าคี 23,200.00 บาท

- โครงการปูองกนั และฟ้ืนฟูการบุกรุกทาลายทรพั ยากรธรรมชาติ 90,000.00 บาท

- โครงการ Smart Farmer 240,000.00 บาท

- โครงการชีววถิ ี 20,000.00 บาท

ส่วนที่ 3
3.3 สรุปงบหนา้ รายจา่ ยปีงบป

วิทยาลยั เกษตรและเทค

แผนการใชจ้ ่ายเงนิ ปตี ามแผนป

รายการค่าใชจ้ ่าย/รายจา่ ยตามงบประมาณ ผลผลิต 1.โครงการข

- งบบคุ ลากร ปวช. ปวส. ระยะส้ัน สงิ ประดษิ ฐ/์ รวม โอกาสยกระ
เงินเดือนขา้ ราชการ หุ่นยน การจดั การศกึ
เงินวิทยฐานะ 16,941,622.00 1,236,770.00 39,000.00
คา่ ตอบแทนรายเดอื นขา้ ราชการ 11,758,632.00 - (ทวิศกึ ษ
ค่าจ้างลูกจ้างประจา 6,387,480.00 797,770.00
คา่ ตอบพนกั งานราชการ 18,217,392.00 23,200
ค่าจ้างลูกจ้างช่ัวคราว 369,600.00 530,000.00
ค่าครองชีพลูกจ้างชั่วคราว 201,600.00 500,000.00 11,758,632.00
- งบดาเนนิ งาน 2,839,440.00 30,000.00
821,832.00 117,770.00 6,387,480.00
- คา่ ตอบแทน 940,680.00 22,770.00
ค่าเช่าบา้ น(ขน้ั ต่า) 198,000.00 95,000.00 369,600.00
เงินคา่ ตอบแทนนอกเวลา 1,464,920.00
เงินค่าสอนพเิ ศษ 201,600.00
ค่าเบยี้ ประชุมกรรมการ 540,920.00
ค่าตอบแทนพเิ ศษขรก.และลจ.เต็มขนั้ 2,839,440.00
ค่าตอบแทนพเิ ศษของ 3 จว.ภาคใต้ 240,460.00
150,000.00 821,832.00
- คา่ ใชส้ อย 70,000.00
คา่ เช่าทรพั ย์สิน(ขน้ั ตา่ ) 940,680.00
คา่ เช่ารถยนต์(ขน้ั ตา่ ) 80,460.00
คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 474,000.00 198,000.00
คา่ ซ่อมรถยนต์ราชการและแทรกเตอร์ 150,000.00
ค่าซ่อมครภุ ัณฑ์ 300,000.00 2,262,690.00
ค่าซ่อมส่ิงก่อสรา้ ง
ค่าจ้างเหมาบริการ 1,070,920.00
ค่าเงินสมทบประกันสังคม
740,460.00
- ค่าวัสดุ 150,000.00
วัสดสุ านกั งาน 100,000.00
วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อล่ืน
วัสดุไฟฟาู และวิทยุ 80,460.00
วัสดกุ ารศกึ ษา 591,770.00
172,770.00
395,000.00

34

ประมาณ พ.ศ. 2562 หนว่ ย : บาท
คโนโลยรี ะนอง
เงินรายได้ รวมทั้งส้ิน
ปฏบิ ตั กิ าร (ปี 2562) แหลง่ เงิน ผลผลิต/โครงการ เปน็ เงิน
โครงการ
5.โครงการตาม รวมทง้ั สิ้น บกศ.
ขยาย 4.โครงการขยาย นโยบาย
ะดบั 2.โครงการเรียนฟรี 3โครงการคา่ นยิ ม บทบาทศนู ย์ซอ่ ม
กษา 15 ปี ไทย (ทฤษฏีใหม่) สร้างเพื่อชุมชน 844,200.00 3,647,100.00 1,970,590.30 23,835,082.30
ษา) (Fix it Center) 174,028.65 11,758,632.00
6,387,480.00
0.00 2,114,700.00 165,000.00 500,000.00
369,600.00

201,600.00
2,839,440.00

821,832.00
940,680.00
198,000.00
2,436,718.65

- 1,070,920.00

740,460.00
150,000.00
100,000.00

80,460.00
591,770.00
172,770.00
395,000.00

Jin

แผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ปตี ามแผนป

รายการคา่ ใชจ้ า่ ย/รายจ่ายตามงบประมาณ ผลผลติ 1.โครงการข

ปวช. ปวส. ระยะสั้น สิงประดษิ ฐ/์ รวม โอกาสยกระ
หุ่นยน การจดั การศกึ
150,000.00
150,000.00 (ทวิศกึ ษ

วัสดุงานบา้ นงานครัว 24,000.00 24-,000.00
วัสดุหนังสือ วารสารและตารา 450,000.00 600,000.00
วัสดคุ อมพวิ เตอร์ 100,000.00 100,000.00
วัสดุก่อสร้าง
วัสดุยานพาหนะและขนส่ง 350,000.00 500,000.00
1,180,000.00 1,180,000.00
- ค่าสาธารณปู โภค (ขนั้ ต่า)
คา่ โทรศพั ท์ 1,180,000.00 1,180,000.00
ค่าน้าประปา
คา่ ไฟฟาู
- งบลงทนุ
3.1 ครุภณั ฑ์
ชุดสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน

3.2 ส่ิงก่อสร้าง

- งบเงนิ อุดหนนุ 548,860.00 30,000.00 39,000.00 617,860.00
-คา่ อุปกรณ์การเรยี นของนักเรยี นสายอาชีพ 51,360.00 30,000.00 51,360.00
อาชีวศกึ ษา 405,000.00 405,000.00
42,500.00 39,000.00 72,500.00
- อุดหนนุ อศ.กช.
- ทนุ การศึกษาเฉลิมราชกมุ ารี 50,000.00 39,000.00
- อดุ หนนุ โครงการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ 50,000.00
อนุบาลจนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
23,200
- อุดหนุนการฝึกอบรมเกษตรระยะสั้น
- อดุ หนุนกิจกรรมองคก์ าร อกท.
- อดุ หนุนการหารายได้ระหว่างเรียน

- งบรายจ่ายอ่ืน (โครงการตามนโยบาย)
5.1 โครงการศนู ย์ซ่อมสรา้ งฯ
5.2 โครงการสถานศึกษาขนาดเล็ก
5.3 โครงการศูนย์บม่ เพาะผู้ประกอบการ
อาชีวศกึ ษา
5.4 โครงกายกระดับมาตรฐานทกั ษะฯ
5.5 โครงการลดปญั หาการออกกลางคัน

5.6 โครงการอาชีวพฒั นาคา่ นยิ มไทย
(เกษตรทฤษฎีใหม่)

ปฏบิ ัตกิ าร (ปี 2562) แหลง่ เงนิ ผลผลิต/โครงการ เงินรายได้ 35
โครงการ บกศ.
รวมท้ังส้ิน
ขยาย 4.โครงการขยาย เป็นเงิน
ะดบั 2.โครงการเรียนฟรี 3โครงการคา่ นยิ ม บทบาทศนู ย์ซ่อม
กษา 15 ปี ไทย (ทฤษฏีใหม่) สรา้ งเพ่ือชุมชน 5.โครงการตาม รวมทงั้ ส้ิน
ษา) (Fix it Center) นโยบาย

174,028.65 24,000.00

774,028.65
100,000.00

174,028.65 674,028.65
1,180,000.00

1,180,000.00

2,114,700.00 2,732,560.00

2,114,700.00 51,360.00

0.00 165,000.00 500,000.00 844,200.00 1,532,400.00 405,000.00
500,000.00 72,500.00

92,000.00 2,114,700.00
39,000.00
25,000.00 50,000.00

165,000.00 1,532,400.00
500,000.00
-

92,000.00
-

25,000.00

165,000.00

Jin

แผนการใชจ้ ่ายเงนิ ปตี ามแผนป

รายการคา่ ใชจ้ า่ ย/รายจ่ายตามงบประมาณ ผลผลิต 1.โครงการข

ปวช. ปวส. ระยะสั้น สิงประดษิ ฐ/์ รวม โอกาสยกระ
ห่นุ ยน การจดั การศกึ
409,000.00
173,600.00 (ทวิศกึ ษ

5.7 โครงการเร่งประสิทธิภาพการสอนครู 20,000.00 23,200
อาชีวศึกษา 63,600.00
5.8 โครงการจัดหาบคุ ลากรสนบั สนนุ เพอ่ื คนื 1,989,210.00 90,000.00 2,398,210.00
ครูใหน้ ักเรยี น 828,860.00 50,000.00 1,002,460.00
5.9 โครงการขยายและยกระดบั อาชีวศึกษา 73,000.00
ทวิภาคี 73,000.00
150,000.00
5.10 โครงการปอู งกันและฟน้ื ฟกู ารบกุ รุก 12,670.00 150,000.00
ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ 10,000.00 12,670.00
10,000.00 10,000.00
5.11 โครงการปลูกจติ รสานกึ ทรพั ยากรปาุ ไม้ 300,000.00 10,000.00
21,190.00 300,000.00
5.12 โครงการ Smart Farmer 7,000.00 21,190.00
7,000.00
5.13 โครงการชีวิถี 5,000.00
5,000.00
- โครงการ (อดุ หนนุ ) 10,000.00
ฝา่ ยบริหารทรัพยากร 10,000.00
- โครงการบรหิ ารงานท่ัวไป 30,000.00
- โครงการพฒั นาครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา 50,000.00
และศกึ ษาดูงาน 100,000.00
- โครงการพฒั นาและ ปรับปรุงงานบคุ ลากร 163,600.00
- โครงการงานการเงิน 100,000.00
- โครงการงานบญั ชี 26,000.00 190,000.00
- โครงการงานอาคารสถานที่ 5,000.00 76,000.00
- โครงการงานทะเบยี น 5,000.00
- โครงการพธิ ีมอบประกาศนียบตั รผู้สาเรจ็
การศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2561
- โครงการงานประชาสัมพนั ธ์
- โครงการประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย

- โครงการสง่ เสรมิ เอกลกั ษณ์สถานศึกษา

- โครงการพสั ดุกลาง
- โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารจัดทาแผน
แมบ่ ท (Master Plan)
- โครงกาซ่อมแซมระบบโคมไฟถนนรอบ
บรเิ วณวิทยาลัยและระบบสายเมน
- โครงการพฒั นาระบบโครงข่ายสารสนเทศ
ภายในวิทยาลัย
ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ
- โครงการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการสถานศึกษาฯ

ปฏบิ ัติการ (ปี 2562) แหล่งเงิน ผลผลิต/โครงการ เงนิ รายได้ 36
โครงการ บกศ.
รวมทั้งส้ิน
ขยาย 4.โครงการขยาย เป็นเงนิ
ะดบั 2.โครงการเรียนฟรี 3โครงการคา่ นยิ ม บทบาทศนู ย์ซ่อม
กษา 15 ปี ไทย (ทฤษฏีใหม่) สรา้ งเพื่อชุมชน 5.โครงการตาม รวมทง้ั ส้ิน
ษา) (Fix it Center) นโยบาย

189,600.00 189,600.00

117,600.00 117,600.00

0.00 23,200.00

90,000.00 90,000.00

70,000.00 70,000.00
240,000.00
20,000.00 240,000.00

1,796,561.65 20,000.00
464,100.00 4,194,771.65
1,466,560.00

73,000.00

150,000.00
12,670.00
10,000.00
10,000.00
300,000.00
21,190.00

7,000.00

64,100.00 5,000.00
100,000.00
300,000.00 10,000.00

114,100.00

263,600.00

490,000.00
76,000.00
5,000.00

Jin


Click to View FlipBook Version