The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krupatchaniya Chumpom, 2018-11-06 07:17:52

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
อาชวี ศกึ ษาจังหวัดระนอง

สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

คำนำ

มาตรฐานการศึกษา เป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณภาพการศึกษา สาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษาท่ีจัด
การศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง และการฝึกอบรมวิชาชีพ
ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ท่ีกาหนดว่า
“ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ระดับและประเภทการศึกษาท่ี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาท่ีมงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้” โดยให้สถานศึกษาทุก
แห่งนาไปใชเ้ ป็นเป้าหมายหรือกรอบทิศทางในการกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษาตนเอง ท้ังน้ีสถานศึกษา
อาจเพิ่มเติมอัตลักษณ์ความโดดเด่นของสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ ข้ึนมาได้ เพ่ือความสมบูรณ์ของมาตรฐาน
และเพื่อใช้ในการประเมินตนเองของสถานศึกษาในแต่ละปีการศึกษา ว่าสามารถบริหารการศึกษาใน
สถานศกึ ษาไดบ้ รรลุเป้าหมายหรอื ไม่ ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามท่ตี ้ังเปา้ หมายหรือไม่ และนอกจากนี้ การกาหนด
และประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ยังเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดสามารถนาไปเป็นเป้าหมายในการกากบั ดแู ล ตรวจสอบ และการประเมิน
คุณภาพในภาพรวม เพ่ือนาข้อมูลมาใช้วางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น ในการที่จะ
บรรลมุ าตรฐานการศึกษานน้ั

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง เป็นหน่วยงานทางการศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษา จงึ ได้นาเอามาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และอัตลักษณข์ องสถานศึกษาท่ีโดดเด่นใน
ด้านต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกันแล้วกาหนดเป็นมาตรฐานของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นภารกิจสาคัญท่ีสถานศึกษาต้อง
ดาเนนิ การตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ โดยพิจารณาความสอดคล้อง
ระหวา่ งมาตรฐานการศกึ ษาชาติ มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง
จึงได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบด้วย
มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน 12 ตัวบ่งชี้ เพ่ือใช้ในการจัดการศึกษาและการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษาดา้ นอาชีวศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และการ
ฝกึ อบรมวชิ าชีพ ใหม้ ีประสิทธิภาพและไดม้ าตรฐานการอาชวี ศึกษา

คณะผูจ้ ดั ทา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

ตลุ าคม ๒๕๖๑

สารบัญ หน้า

คานา ๑
สารบญั ๒๐
ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา ๒๓
ส่วนท่ี ๒ มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561 ๒๕
สว่ นที่ ๓ มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๔๑
สว่ นที่ ๔ มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
สว่ นที่ ๕ ภาคผนวก

ประกาศวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา
ประกาศวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง เรอ่ื งกาหนดค่าเปา้ หมายแตล่ ะ
มาตรฐานและตวั บง่ ชี้
คาส่ังวทิ ยาลยั คาส่ังวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง เรื่องแต่งตัง้ คณะกรรมกา
จัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
คณะผู้จัดทา

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๑

ส่วนท่ี ๑
ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

๑. สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา

๑.1 ขอ้ มูลเก่ยี วกับสถานศกึ ษา
ชอ่ื สถานศึกษา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

ท่ีตง้ั 19 หมู่ที่ 5 ถนนเพชรเกษม ตาบลราชกรูด
อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง รหสั ไปรษณยี ์ 85000

โทรศัพท์ 0 - 7789 - 7756
โทรสาร 0 - 7789 – 7756 กด ๑
Website http://www.kasetranong.ac.th

E – mail [email protected]

สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ปรชั ญา อตั ลักษณ์ เอกลกั ษณ์ของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

วสิ ัยทศั น์ (VISION)
มงุ่ พัฒนาแหลง่ เรียนรู้วิชาชีพเกษตร เพื่อผลิตและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมาตรฐาน ตอบสนองต่อ

ความต้องการของชมุ ชนและสังคม

พนั ธกิจ (MISSION)

พนั ธกิจที่ 1 ผลิตและพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีสมรรถนะและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตรงตามมาตรฐาน

วชิ าชีพ

พนั ธกิจที่ 2 พฒั นาแหลง่ เรียนร้วู ชิ าชีพเกษตรให้ได้มาตรฐาน

พันธกจิ ท่ี 3 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพด้วยหลักธรรมาภบิ าล และตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ปรชั ญา (PHILOSOPHY)

วสิ ยั ทัศนก์ วา้ งไกล ม่ันในคณุ ธรรม

มลี กั ษณะผนู้ า ลาเลิศวิชา

อัตลักษณส์ ถานศกึ ษา

จติ สาธารณะ มีลักษณะผูน้ า

เอกลกั ษณส์ ถานศกึ ษา

ภูมิทัศน์สวยงาม งานฟาร์มมีคุณภาพ

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒

แผนทีว่ ทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

( แปลงที่ ๑)

1. อาคารอานวยการ
1.1 ศาลพระภูมิ 1.2 พระพริ ุณ

2. อาคารเรยี น 1

3. อาคารเรยี น 2
4. หอประชุม

5. สานักงาน. อกท.
6. อาคารช่างกลเกษตร
7. โรงงานแปรรูปสตั วน์ า

8. อาคารช่างกอ่ สรา้ ง
9. อาคารช่างไฟฟ้า

10. โรงเกบ็ เครื่องจกั รกลฟาร์ม
11. บา้ นพักครู
12. บา้ นพกั รบั รอง

13. แผนกวชิ าประมง
14. แผนกวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร

15. บ้านพกั คนงาน
16. อาคารระยะสนั
17. อาคารหอพกั

18. แผนกวิชาสตั วศาสตร์
19. แผนกวชิ าพืชศาสตร์

20. อาคารเรยี น 3
21. บอ่ ปลาแปลงสาธิตทฤษฎีใหม่

22. หมบู่ ้านโครงการปฏิรปู ฯ

23. หอ ประชมุ หมู่บ้านโครงการปฏริ ูปฯ

24. คอกววั 25. คอกหมู

26. คอกไกไ่ ข่ 27. คอกเป็ด

28. อาคารศูนยว์ ทิ ยฯ 29. เสาธง

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓

แผนท่วี ิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
( แปลงที่ ๒)

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเก

๑.2 ข้อมูลปจั จุบนั ของสถานศกึ ษา
๑.2.1 แผนภมู ิการบรหิ ารของสถานศึกษา

ผู้อานว
นายกติ ติพงศ์

รองผูอ้ านวยการ ฝา่ ยแผนงานฯ
นายศริ ิพงศ์ เมยี นเพช็ ร์

งานแผนและงบประมาณ
นางสาวธนพร เปรมประเสริฐ

งานบุคลากร
นางวชั รา ปลายชัยภูมิ

งานบัญชี งานส่งเสริมผลติ ผลการคา้ และประกอบ
นางเปรมวดี ขามะลงั ธุรกิจ

นางจรรยพร ศรีชะฎา

งานฟารม์ และโรงงาน
นายประพัฒน์ ปานนิล

งานทะเบียน
นางสาวภชู สิ จณิ ณ์ ศลี ใหอ้ ยสู่ ขุ

งานประชาสมั พันธ์
นายการณั ย์ หวานชน่ื

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลัยเกษ

กษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๔ รองผู้อานวยการ ฝา่ ยแผนงานฯ
นายศริ พิ งศ์ เมยี นเพ็ชร์
วยการ
อตุ ตมะเวทนิ หัวหนา้ แผนกวิชาสามญั สมั พันธ์
นายธภี พ เสอื คารณ
งานกิจกรรมนกั เรียนนักศกึ ษา
นายธีภพ เสอื คารณ หวั หนา้ งานแผนกวิชาพชื ศาสตร์
ว่าที่ ร.ต.หญิงภูชิสจิณณ์ โชตคิ ุต
งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน
นางจรรยพร ศรีชะฎา หัวหนา้ แผนกวชิ ตุ สาหกรรม
งานครทู ี่ปรึกษา นางบญุ นา ตนั ธนกลุ
นางสาวจลุ เจิม สุรวิ งค์

หัวหน้างานวัดผลและประเมนิ ผล
นางสาวธนพร เปรมประเสริฐ

งานสือ่ การเรยี นการสอน
นายชนิ โชติ แพนอ้ ย

ษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๕

๑.2.2 คณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา

1) นายกิตติพงค์ อตุ ตมะเวทนิ ผู้อานวยการ ประธานกรรมการ
2) นายศิรพิ งศ์ เมียนเพ็ชร์ รองผู้อานวยการ กรรมการ
ตัวแทนฝา่ ยวชิ าการ
3) นางบุญนา ตนั ธนกุล ผู้แทนฝ่ายบรหิ ารทรพั ยากร กรรมการ
4) นายประพัฒน์ ปานนลิ ผแู้ ทนฝ่ายแผนงานและความร่วมมอื กรรมการ
ผแู้ ทนฝา่ ยพัฒนากิจการนกั เรียนนักศึกษา
5) นายบญุ ลือ พณิ แกว้ กรรมการ
6) นางจรรยพร ศรชี ะฎา ครูผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ
7) นายปราโมท หาญณรงค์ ครผู ทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ
ครผู ทู้ รงคณุ วฒุ ิ
8) วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ ภูชสิ จิณณ์ โชติคุต ผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ
9) นางสาวรุ่งนภา โนจา ครูผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ

10) นางศุภรดา จัตรุ งคก์ ช กรรมการ
11) นางวัชรา ปลายชัยภูมิ กรรมการและเลขานกุ าร

๑.๒.3 จานวนครู จาแนกตามแผนกวิชา/สาขา/สาขางาน

แผนกวิชา/ จานวน(คน) สถานภาพ ใบประกอบ วุฒิการศึกษา
วชิ าชพี
สาขาวิชา/สาขา
งาน ค ูรประจา
พนักงาน
ราชการ
ค ูรพิเศษ

มี
ไม่ ีม
ป ิรญญาเอก
ป ิรญญาโท
ป ิรญญาต ีร
่ตากว่า
ปริญญาต ีร

แผนกวิชาพืชศาสตร์ 3 3 - - 3 - - 21 -
3 2 - 13 - - - 3 -
แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ 5 4 1 - 41 - 14 -
3 1 2 - 3 - - 21 -
แผนกวชิ าประมง 3 1 1 13 - - - 3 -
- - - --- - ---
แผนกวชิ าธุรกิจ 1 1 - -1- - -1-
เกษตร
แผนกวชิ าสามญั
สมั พันธ์
แผนกวชิ า
อุตสาหกรรม
แผนกวิชาชา่ งกล
เกษตร

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๖

๑.๒.4 จานวนบคุ ลากรทางการศกึ ษา

สถานภาพ

ฝ่าย/แผนกวชิ า/งาน จานวน(คน) ้ขาราชการ
พ ันกงาน
ราชการ

ูลก ้จางประจา

ลูกจ้าง
ชั่วคราว

ฝ่ายบริหารทรพั ยากร 2 11
- - ---
งานบรหิ ารงานท่ัวไป 1 - -1-
งานบคุ ลากร 2 1 - -1
งานการเงนิ 4 1 - 21
งานการบญั ชี 7 1 - 42
งานพัสดุ 2 1 ---
งานอาคารสถานท่ี 1 1 ---
งานทะเบียน 19 5 185
งานประชาสัมพันธ์
1 - - -1
รวม 1 - 1- -
ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ 1 1 ---
1 1 ---
งานวางแผนและงบประมาณ - - ---
งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ - - ---
งานความร่วมมอื - - ---
งานวจิ ยั พฒั นานวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์ 4 2 1-1
งานประกนั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
งานสง่ เสริมผลิตผลการค้าและประกอบธุรกจิ
งานฟารม์ และโรงงาน

รวม

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๗

สถานภาพ

ฝ่าย/แผนกวชิ า/งาน จานวน(คน) ้ขาราชการ
พนักงาน
ฝ่ายพัฒนากิจการนกั เรยี นนักศึกษา ราชการ
ลูก ้จางประ
งานกจิ กรรมนกั เรยี นนกั ศกึ ษา
จา
งานครทู ี่ปรึกษา ลูก ้จาง
่ัชวคราว
งานปกครอง
3 11 1
งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน
1 1 ---
งานสวัสดิการนกั เรยี นนักศกึ ษา
1 - - -1
งานโครงการพเิ ศษและการบริการชุมชน
1 1 ---
รวม
ฝ่ายวชิ าการ 2 - - -2

งานพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน - - ---
งานวดั ผลและประเมนิ ผล 8 3 1-4
งานวิทยบรกิ ารและห้องสมดุ
งานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 2 1 - -1
งานส่ือการเรยี นการสอน 1 1 ---
1 - -1-
รวม - - ---
รวมทง้ั หมด 1 - 1- -
5 2 111
36 12 4 9 11

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๘

๑.๒.5 จานวนผูเ้ รียนจาแนกตามระดบั สาขางาน และชนั้ ปี

(ปีทีจ่ ดั ทารายงาน สารวจ ณ วนั ท่ี ๑๐ มิถนุ ายนของปกี ารศึกษาทร่ี ายงาน)

ระดับ/สาขางาน ชั้นปี รวม

12 3 ๑๐๘

ระดับ ปวช. ๑๐๘

- สาขางานการเกษตร ๔๘ ๓๙ ๒๑ ๘๗
๑๐
รวม ๔๘ ๓๙ ๒๑ ๓๒
๑๗
ระดับ ปวส. ๔๒ ๔๕ -
1๐ - - ๑๔๖
- สาขางานเกษตรศาสตร์ ๒๙ ๓ - ๒๕๔
- สาขางานพชื สวน
- สาขางานการผลิตสัตว์ ๗ ๑๐ -
- สาขางานเพาะเลียงสัตว์นา

รวม ๘๘ ๕๘ -
รวมท้งั หมด ๑๓๖ ๙๗ ๒๑

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๙

๒. เกยี รติประวัตขิ องสถานศึกษา
๒.๑ รางวัลและผลงานของ สถานศึกษา (ซึ่งเปน็ ท่ยี อมรับของสังคมในรอบปีการศึกษา)
๑. ผ่านมาตรฐานเหรียญทอง การประกวดนิทรรศการทางการเกษตร เรื่อง Aquaponics

ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระ
ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๑ – ๖
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยอี ุทยั ธานี

๒. ชนะเลิศอนั ดบั ๑ ผ่านมาตรฐานเหรยี ญทอง การประกวดนทิ รรศการทางการเกษตร เร่ือง
Aquaponics ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันท่ี
๒๘ พฤศจิกายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๓. ผลคะแนนรวมสาขาสัตวศาสตร์ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘
ระหว่างวนั ที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๒.๒ รางวลั และผลงานของ ผู้บรหิ าร (ซ่ึงเป็นท่ยี อมรบั ของสังคมในรอบปีการศึกษา)
ไม่มี

๒.๓ รางวัลและผลงานของ ครู และบุคลากรทางการศึกษา (ซ่ึงเป็นที่ยอมรับของสังคมในรอบปี
การศึกษา)

๑. นางสาวศศิสภุ า เปรมประเสรฐิ ผ้ทู าคุณประโยชน์ให้กับ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘
ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๒. นายปราโมท หาญณรงค์ ผู้ทาคุณประโยชน์ให้กับ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘
ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

๒.๔ รางวลั และผลงานของผ้เู รยี น (ซ่งึ เปน็ ท่ยี อมรับของสังคมในรอบปีการศกึ ษา)
ระดับชาติ
๑. นายศรทั ธา เรนชนะ และ นายกิติพงศ์ พิมพ์หล่อ ชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะไก่

ไข่ มาตรฐานเหรียญเงนิ ในการประชุมวิชาการองคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๑ – ๖ กุมภาพันธ์
๒๕๖๐ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ุทยั ธานี

๒. นายปรเมษฐ์ สังข์สวัสด์ิ ชนะเลิศอันดับ ๒ เหรียญเงิน ในการแข่งขันมวยไทยสมัครเล่น
กฬี าเยาวชนแห่งชาติ ครังท่ี ๓๓ “ชมุ พร – ระนองเกมส์”

๓. นายเกรียงไกร แดงประเสริฐ นายภาสกร ภาจาลอง นายธวัชชั ย พันธุจินดา
นายธนกร อนนั ชคต นางสาววาสนา รกั สงบ และนางสาววลัยลกั ษณ์ ชวลติ ชูวงศ์ ผา่ นมาตรฐานเหรียญทอง
การประกวดนิทรรศการทางการเกษตร เรื่อง Aquaponics ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ ในการประชุมวิชาการ
องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี ระดับชาติ ครงั ที่ ๓๘ ระหว่างวนั ท่ี ๑ – ๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีอุทยั ธานี

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๐

๔. นายสงกรานต์ แสวงผล และ นายธวัชชัย ชมจอหอ มาตรฐานเหรียญเงิน การแข่งขัน
ทักษะโคเนือ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันที่ ๑ – ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ุทัยธานี

๕. นายนฤชัย จงนอก มาตรฐานเหรียญเงิน การแข่งขันทักษะผสมเทียมโค ในการประชุม
วิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ระดบั ชาติ ครงั ที่ ๓๘ ระหวา่ งวันท่ี ๑ – ๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
อุทยั ธานี

๖. นางสาวสะจินา นัน และ นายณรงฤทธิ์ ลิป่วน มาตรฐานเหรียญทองแดง การแข่งขัน
ทักษะโคนม ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับชาติ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๑ – ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยอี ุทยั ธานี

๗. นายวันชัย หล่อเพชร และ นางสาวอรนุช ทบั ทอง มาตรฐานเหรียญทองแดง การประกวด
สงิ่ ประดษิ ฐป์ ระเภทท่ี ๘ ดา้ นเทคโนโลยีการเกษตร “เรื่องผักปลาโซล่าเซลล์” ในการประชุมวิชาการองค์การ
เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ระดบั ชาติ ครงั ท่ี ๓๘ ระหวา่ งวนั ที่ ๑ – ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีอุทยั ธานี

ระดบั ภาค
๑. นางสาวสะจนิ า นนั และ นายณรงฤทธ์ิ ลิป่วน ชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะโคนม
มาตรฐานเหรียญทอง ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร
๒. นายศรทั ธา เรนชนะ และ นายกิติพงศ์ พิมพ์หล่อ ชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันทักษะไก่
ไข่ มาตรฐานเหรยี ญทอง ในการประชมุ วชิ าการองค์การเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร
๓. นายนฤชยั จงนอก ชนะเลิศอนั ดบั ๒ การแข่งขนั ทกั ษะผสมเทียมโค มาตรฐานเหรียญเงิน
ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน – ๒ ธันวาคม
๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร
๔. นายสงกรานต์ แสวงผล และ นายธวัชชัย ชมจอหอ ชนะเลิศอนั ดบั ๒ การแข่งขันทักษะโค
เนือ มาตรฐานเหรียญทองแดง ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระ
ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๒๘
พฤศจกิ ายน – ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร
๕. นายปัทวัฒน์ แสวงผล และ นายทวีศักด์ิ เบ่งกิจ ทักษะการเพาะพันธุ์ปลา มาตรฐาน
เหรียญทอง ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน – ๒
ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๑

๖. นางสาววรรณภา ชาญประโคน และ นางสาวสายรุ้ง ขัวขินี มาตรฐานเหรียญทอง ทักษะ
การสร้างตารางและนาเสนอผลงาน ในการประชุมวิชาการองคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ในพระ
ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๒๘
พฤศจิกายน – ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๗. นายปรเมษฐ์ สังข์สวัสดิ์ นายพีร์ เกศมี และ นายศักสิทธิ์ จันทร มาตรฐานเหรียญเงิน
ทักษะการจดั สวนหยอ่ ม ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

๘. นางสาวปรารถนา ปานจันทร์ และ นายสานนท์ คาตัง มาตรฐานเหรียญเงิน ทักษะการ
ผลิตนาผักและผลไม้ ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๙. นายวันชัย หล่อเพชร และ นายปัญญา คีรีธาร มาตรฐานเหรียญเงิน ทักษะส่ิงประดิษฐ์
(ผักปลาโซล่าเซลล์) ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๑๐. นายประเสริฐ มาน้อย มาตรฐานเหรียญเงิน ทักษะการใช้แทรกเตอร์ล้อยางในการ
ประชุมวชิ าการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ระดับภาคใต้ ครังที่ ๓๘ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ พฤศจิกายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๑๑. นางสาววาสนา รักสงบ นางสาววลัยลักษณ์ ชวลิตชูวงศ์ และ นางสาวจันทนา แช่ม
สะอาด มาตรฐานเหรียญเงิน ทักษะส่ิงประดิษฐ์ (โอ่งอบปลาดุก) ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรใน
อนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้
ครังที่ ๓๘ ระหว่างวนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน – ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๑๒. นางสาวอนัญญา อังษานาม และ นางสาวเอมมิกา ศศิสนธิ์ มาตรฐานเหรียญทองแดง
ทักษะจัดสวนถาด ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๑๓. นางสาววาสนา รักสงบ และ นางสาววลัยลักษณ์ ชวลิตชูวงศ์ มาตรฐานเหรียญทองแดง
ทักษะการผลิตนานมจากพืชในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระ
ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันที่ ๒๘
พฤศจกิ ายน – ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๑๔. นางสาวปิยฉัตร รามแก้ว และ นายเจนณรงค์ พรหมครวญ มาตรฐานเหรียญทองแดง
ทักษะสุกร ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓๘ ระหว่างวันท่ี ๒๘ พฤศจิกายน –
๒ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

15. นายสงกรานต์ แสวงผล และนางสาวจิภาภรณ์ นาคสุวรรณ แข่งขันทักษะวิชาชีพ
สาขาสัตวศาสตร์ ทักษะโคเนอื มาตรฐานเหรยี ญทองแดง ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคต

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๑๒

แหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดบั ภาคใต้ ครังท่ี ๓9
ระหว่างวนั ท่ี 27 พฤศจิกายน –1 ธนั วาคม ๒๕61 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม

16. นายธาดา พงศ์อินวงค์ และนายกฤษณ ทองประสม แข่งขันทักษะวิชาชีพสาขาสัตว
ศาสตร์ ทักษะโคนม มาตรฐานเหรียญทองแดง ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคใต้ ครังท่ี ๓9
ระหวา่ งวันที่ 27 พฤศจกิ ายน –1 ธันวาคม ๒๕61 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๓

๒.๕ การพฒั นาการจดั การศึกษาจากผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา

ข้อเสนอแนะ แผนการปฏบิ ตั ิตาม ผลการดาเนินงาน

จากการ ขอ้ เสนอแนะ

ประเมนิ ครั้ง

ล่าสดุ

การประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรียนและ ไดร้ บั งบประมาณจัดทาโครงการเพม่ิ ศักยภาพผูเ้ รียนด้านภาษาต่างประเทศ
คณุ ภาพ ผู้สาเร็จการศึกษาวิชาชีพ โดยมีวิทยากรฝกึ อบรมท่ีเช่ียวชาญภาษาอังกฤษฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแก่
ภายในของ ข้อกาหนดท่ี 1.3 ทักษะใน
สถานศกึ ษา การใช้ภาษาสื่อสารได้อย่าง ผ้เู รียน

ถกู ต้องเหมาะสม

ตัวบ่งชีท่ี 3 ร้อยละของ

ผู้ เ รี ย น ท่ี มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร

สื่อสาร ด้านการฟัง การ

อ่าน การเขียนและการ

สนทนาทังภาษาไทยและ

ภาษาต่างประเทศ

1) จัดทาโครงการหรือ

กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน

ด้ า น ภ า ษ า ไ ท ย แ ล ะ

ภาษาต่างประเทศ เพ่ือ

เสริมทักษะในการสื่อสาร

ด้านการฟัง การเขียน และ

การสนทนา ทังภาษาไทย

ภาษาต่าง ปร ะ เทศ แ ก่

ผู้เรียน และยังเป็นการ

เตรียมความพร้อมในการ

เขา้ สู่ประชาคมอาเซียนในปี

พ.ศ.2559 นี

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๔

ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ คร้ัง แผนการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ผลการดาเนนิ งาน

ลา่ สุด

2) จัดให้มีครูประจาวิชาภาษาไทย เน่ืองจาก ได้ครผู ชู้ ่วยบรรจุใหม่

ในปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยฯ ขาด ปีงบประมาณ 2559

ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยทุกระดับชัน ต้องขอ

ความอนุเคราะห์ครูผู้สอนจากโรงเรียนใน

ชุมชนใกล้เคยี ง มาสอนเป็นครังคราวและต้อง

เรียนรวมกันทังห้อง ทาให้การจัดการเรียน

การสอนไม่ทั่วถึงและไม่ต่อเนื่อง มีผลต่อ

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนจานวน

หนึง่ ท่ไี มผ่ ่านตามเกณฑ์กาหนดในหลักสตู ร

3) ครูประจาวชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร

มีการจัดการเรียนการสอนที่ทาให้มีผู้เรียนมี

ผลฤทธิท์ างการเรยี นไมผ่ า่ นตามเกณฑ์กาหนด

ในหลักสูตรเป็นจานวนมาก ดังนัน ครูผู้สอน

ต้องปรบั วิธเี รยี นเปล่ยี นวธิ สี อน และสอนแบบ

บูรณาการ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการ

สื่อสาร ด้านการฟัง การอ่าน การเขียนและ

การสนทนา จะทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นตามเกณฑ์กาหนดในหลักสูตร

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๕

ข้อเสนอแนะจากการประเมนิ ครง้ั ลา่ สดุ แผนการปฏบิ ัติตามขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินงาน

การประเมินคณุ ภาพภายนอก 1 ) ศึก ษ าปัญ หานั ก ศึก ษาล ด - โครงการแนะแนวอาชพี และจดั หา
โดย สานกั งานรบั รองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา ( องค์การ จานวนลงอย่างต่อเนื่อง เพ่ือหา งาน(สัญจร)
มหาชน )
เมอ่ื วันท่ี 19-21 กรกฎาคม 2554 แนวทางแกไ้ ข เพราะบางชนั เรยี นมี - โครงการเสริมสร้างสถานศึกษา

นกั ศกึ ษา ๒ คน ซึ่งไม่เสริมสร้างให้ ขนาดเล็ก

เกิดบรรยากาศท่ีดีในการเรียนการ - นวตั กรรม พยุง ประคอง ลองเดิน

สอน

2) ควรเปดิ หลักสูตรวชิ าชพี ระยะ - ฝึกอบรมอาชีพเกษตรระยะสนั

สันเพ่มิ เติม เพอ่ื ให้ห้องเรียน - ฝกึ อาชพี ระยะสนั

หอ้ งปฏิบตั ิการและเคร่อื งมอื - คลินกิ เกษตรเคล่อื นท่ี

อปุ กรณจ์ ะไดใ้ ช้ประโยชนอ์ ย่าง - ชวี วิถีเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยนื

ค้มุ คา่ - โครงการ Fix It center

๑) 3) สนับสนุนให้ครูได้คิดค้นสร้าง - โครงการเลยี งผักปลาระบบโซลา่

ผลงาน นวัตกรรม หรือสร้างสรรค์ เซล

ส่ิงประดิษฐ์เพ่ิมขึน เพราะมีครู - นวตั กรรม พยงุ ประคอง ลองเดนิ

จานว นน้อยที่ไ ด้สร้างผลง าน - นวัตกรรม วเิ คราะห์เกาะติด

สิ่งประดิษฐ์ ประชิดตวั

๒) 4) ควรประสานกับสานักงาน ได้รบั การบรรจแุ ละแต่งตังข้าราชการ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครู และ บุคลาก ร ทางก าร ศึก ษา
เรื่องการขาดแคลนครูในบาง ตา แ ห น่ ง ค รู ผู้ ช่ ว ย จ า น ว น 1
สาขาวิชาขาดครูอุตสาหกรรม , ตาแหน่ง คือ
ภา ษา อัง ก ฤ ษ , ภา ษา ไ ท ย , ครูแผนกวิชาคณิศาสตร์ ลาออกเพ่ือ
ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ , สั ง ค ม , ไปบรรจุเขา้ รับราชการ (ภมู ิลาเนา)
เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์ , พื ช ศ า ส ต ร์
เนื่องจากครู โอน ย้าย ไม่ได้รับครู
ทดแทน เป็นเหตุให้การเรียนการ
สอนไมเ่ กิดคุณภาพเทา่ ทีค่ วร

๓) 5) ควรจะทาข้อตกลง(MOU)กับ - โครงการเลยี งสุกรขุนรว่ มกับบริษัท
สถนประกอบการ หรือสถาบันด้าน เจรญิ โภคภณั ฑอ์ าหาร จากดั
เก ษต ร ก ร ร มเพ่ อ ส่ง ครู ไ ปฝึ ก (มหาชน)
ประสบการณ์ เพื่อให้บุคลากรได้มี - โครงการเลยี งโคเนือร่วมกบั ศิษยเ์ กา่
ประสบการณ์ใหม่ๆและมีแนวคิด - โครงการเลยี งก้งุ ร่วมกบั ศษิ ย์เก่า
ในการพฒั นา

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๑๖

ข้อเสนอแนะจากการประเมนิ คร้ัง แผนการปฏบิ ตั ิตามข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงาน

ลา่ สดุ

การประเมนิ คุณภาพภายในต้น 1) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรมี ได้รบั นักเรียนนกั ศกึ ษา

สงั กัด การดาเนินการในการทดสอบเชิงวิชาการด้าน สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

เม่ือวนั ที่ 7-8 สิงหาคม 2557 ความรู้และทักษะที่จาเป็นในการทางาน โดย เขา้ ทดสอบเชงิ วชิ าการด้าน

ประสานกับสานักงานทดสอบทางการศึกษา ความรแู้ ละทักษะทจี่ าเปน็

แหง่ ชาติ(สทศ.)เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน ในการทางานโดยสถาบนั

ภายนอกของ สมศ. พัฒนาฝีมือแรงงาน

2) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรมี การทดสอบมาตรฐาน

การดาเนินการในการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของ วชิ าชพี ของผู้สาเรจ็ โดยใช้
ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาทงั ระดับปวช.และระดบั ปวส. จาก การทดสอบรว่ มกับ

องค์กรท่ีเป็นท่ียอมรับ โดยมีการประสานกับ หนว่ ยงาน ของรฐั
หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่ือให้เป็นไปตามเกณฑ์การ
ประเมนิ ภายนอกของสมศ.

3) ควรมีการเร่งรัดให้มีการดาเนินการการจัดการ
เรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ทางด้านการ
อาชีวศึกษา เพื่อรองรับผู้ที่จบการศึกษาด้านการ

อาชีวศึกษาและจะมีผลต่อจานวนผู้เข้าเรียนด้าน
อาชีวศึกษาใหเ้ พ่ิมมากขนึ

4) ควรพิจารณาอัตราครูทดแทนให้สถานศึกษา ขอบรรจแุ ตง่ ตงั ครูสังคม ,
กรณีท่ีอนุญาตให้ครูย้าย เน่ืองจากในบางรายวิชา คณิตศาสตร์ , วิทยาศาสตร์
สถานศึกษาไม่มีครูในรายวิชานัน ทาให้ส่งผลต่อ ทข่ี าดแคลน

คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอน

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๑๗

๓. สรุปจุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพฒั นาสถานศึกษา
๓.๑ จดุ เดน่
๑. สถานศึกษามีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจเก่ียวกับสถานศึกษาคุณธรรม แก่ผู้บริหาร ครู

บุคลากรทางการศกึ ษา และผเู้ รียนรว่ มกนั
๒. สถานศึกษาจัดทาโครงการให้กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา และกลุ่มผู้เรียน

กาหนดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกาหนดเปา้ หมาย พฤติกรรมที่พงึ ประสงคร์ ว่ มกัน
๓. สถานศึกษาให้การส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา และ

กลุ่มผู้เรยี นดาเนินการตามโครงการคณุ ธรรม จริยธรรม โดยมกี ารนิเทศและเสริมแรง
๔. สถานศกึ ษามกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี โดยบคุ ลากรทางการศกึ ษามีส่วนรว่ ม
๕. สถานศึกษามสี ภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ของสถานศึกษาให้สะอาด เรียบร้อย สวยงาม ปลอดภัย
๖. สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญภายนอก ชุมชน ชมรม สถานประกอบการ

หนว่ ยงาน ในการจดั การเรยี นการสอน
๗. สถานศกึ ษาเป็นสถานศกึ ษานารอ่ งโครงการคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ มหลกั 12 ประการ
8. ผ้บู ริหาร ครู และนักเรียนร่วมจัดทาแผนงานโครงการ กิจกรรมตามแนวนโยบายของหน่วยงาน

ตน้ สังกัดให้บรรลุวัตถุประสงค์ผู้บริหารสถานศึกษา มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถด้านการบริหารจัดการ
สามารถพัฒนาสถานศกึ ษาบรรลเุ ป้าหมาย

9. ฝ่ายบริหาร มีการติดตาม ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งต่อเน่ือง
10. ครูทุกคนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นฐานสมรรถนะอาชีพบูรณาการหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการทุกรายวิชา
11. ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มีความรู้ ความสามารถ มุ่งม่ัน พัฒนาสถานศึกษาอย่างแท้จริง
12. นักเรยี นนกั ศึกษามรี ะเบยี บวินัยและมีความเป็นผนู้ าความรบั ผดิ ชอบงานในหน้าทสี่ ูง
13. นกั เรยี นนักศึกษามีจิตอาสา มีความรักสามัคคี และมลี กั ษณะผูน้ า
1๔. มีการใชเ้ ทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการเรยี นการสอน
1๕. มีการจัดซ่อมบารุงรักษาวัสดุ ครุภัณฑ์ตามความต้องการของสาขางานและความปลอดภัยต่อ
การใช้วัสดุ ครภุ ณั ฑ์

3.๒ จุดที่ควรพฒั นา
1. พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมากขนึ
2. ควรมกี ารใหบ้ ริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารครอบคลมุ ทกุ พืนทใี่ นสถานศกึ ษา
3. ครูผ้สู อนบางรายวิชาเปน็ ผูท้ ี่จบการศึกษาไมต่ รงกับรายวิชาทีส่ อน
๔. ครู และบุคลากรมีภาระงานสอนและหน้าที่รับผิดชอบมาก ทาให้ไม่สามารถจัดทาผลงาน

นวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ์ และงานสร้างสรรค์เพอ่ื เผยแพร่ความรู้ตา่ ง ๆ ได้
๕. ควรเพมิ่ จานวนผสู้ าเร็จการศึกษาใหส้ งู ขนึ เมื่อเทียบกบั จานวนผเู้ รียนแรกเข้า
๖. ควรจดั งบประมาณทาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตามสาขาวิชาชพี
๗. ควรมกี ารนาเทคโนโลยเี ข้ามาปรบั ใชใ้ นการพัฒนาสถานศึกษา
๘. ควรเพม่ิ การประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาให้ชุมชน สังคมและหน่วยงานภายนอก

ทราบใหม้ ากยงิ่ ขนึ

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๑๘

๓.๓ ขอ้ เสนอแนะ
1. สถานศึกษาควรเพมิ่ การประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาให้ชุมชน สังคมและ

หน่วยงานภายนอกอยา่ งตอ่ เนื่องและเป็นปัจจุบัน
2. ใช้ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การนิเทศติดตามผู้เรียนอย่างจริงจังและต่อเน่ืองตลอดปี

การศกึ ษาเพอื่ แก้ปัญหาการออกกลางคันของผู้เรยี นศกึ ษาสาเหตุปัญหาการออกกลางคันของผ้เู รยี น
๓. ควรนาปญั หาของนกั เรียนนักศึกษา ครู ผู้บริหารบุคลากรทางการศึกษามาแก้ปัญหาโดยใช้

กระบวนการของสถานศึกษาคณุ ธรรม
๔. จัดหาบคุ ลากรท่มี ีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาให้ความรู้และพัฒนา

ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา

๓.๔ แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา
เพื่อให้การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในอนาคตเป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา จึงกาหนดแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา
อนาคต ในรปู แบบของกลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ กิจกรรม ดงั นี

1. แผนการจัดการศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพเน้น คณุ ธรรมนาวิชาชพี สอดคลอ้ งกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน ไดแ้ ก่ โครงการดงั ต่อไปนี

- โครงการจดั ทาแผนพฒั นาศกั ยภาพครูและบคุ ลากร
- โครงการทดสอบมาตรฐานฝมี ือทางดา้ นวชิ าชพี
- โครงการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ V-NET
- โครงการจดั ทาแผนกิจกรรมลกู เสอื
- โครงการครทู ่ปี รึกษาพบผู้ปกครอง
- โครงการตรวจสขุ ภาพและคดั กรองสารเสพติด
- โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมมาภบิ าล
- โครงการจัดหาครภุ ัณฑ์การเรียนการสอน
- โครงการพฒั นาสอื่ การเรียนรู้ ดว้ ยระบบสารสนเทศ
2. แผนการจดั ระบบบรหิ ารจดั การอย่างมปี ระสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ โครงการดงั ตอ่ ไปนี
- โครงการพฒั นาระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศภายในสถานศึกษา
- โครงการจัดซือจัดหาวัสดุครภุ ัณฑท์ ท่ี นั สมัย
- โครงการ Big Cleaning Day
- โครงการซอ่ มแซมบารุงรักษาอปุ กรณ์
- โครงการทัศนศึกษาดูงาน
- โครงการพัฒนาระบบกากบั การตดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดาเนินงาน
ประกนั คุณภาพตามมาตรฐานอาชีวศึกษา
- โครงการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
- โครงการจดั ทาแผนพฒั นาสถานศกึ ษา
- โครงการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๑๙

3. แผนการพัฒนาศักยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้แก่ โครงการดังตอ่ ไปนี
- โครงการจดั ทาแผนการสอนเน้นฐานสมรรถนะดว้ ย E-book ผา่ น QR-Code
- โครงการวัดผลและประเมนิ ผลแบบม่งุ เนน้ สมรรถนะ
- โครงการพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะรายวิชารว่ มกับสถานประกอบการ

- โครงการจัดทาและเขยี นรายงานวิจยั
- โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการผลิตส่อื การสอนและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
- โครงการชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

ดงั ต่อไปนี 4. แผนการส่งเสริมและสนบั สุนการพฒั นางานวจิ ัย นวัตกรรมและสงิ่ ประดิษฐ์ ได้แก่ โครงการ

- โครงการพัฒนาทกั ษะการวิจัยนวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ โครงงานวชิ าชีพ
ให้กบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ระดบั ปวช.3 และ ปวส.2
- โครงการประกวดนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานวจิ ัย โครงงานวิชาชพี ของนักเรยี น
- โครงการเผยแพร่ นวัตกรรม และเทคโนโลยนี วตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานวจิ ยั

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๐

ส่วนท่ี ๒
มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2561

เน่อื งดว้ ยมีการออกกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยยกเลิกฎกระทรวง
วา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงสมควรปรับปรุงมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงและมาตรฐานการ
อาชีวศึกษา สาหรับการฝึกอบรมวิชาชีพระยะสัน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกฎกระทรวงการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ท่ีกาหนดว่า “ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
พ ร้ อม ทัง จั ดทา แผน พั ฒ น าก าร จัดก าร ศึ ก ษา ของ สถาน ศึก ษ าที่ มุ่ ง คุณ ภาพ ตามม าตร ฐาน ก าร ศึก ษ าแล ะ
ดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้”

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๗ แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา ตามมติในคราวประชุมครังท่ี ๒/๒๕๖๑ เมื่อวันท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๑ จึงให้ยกเลิก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พ.ศ. ๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการอาชีวศึกษา สาหรับการฝึกอบรมวิชาชีพระยะสัน พ.ศ.
๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการ
อาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ในการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาด้านอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั สูง และการฝกึ อบรมวชิ าชีพ ดงั ตอ่ ไปนีคอื

มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน 9 ประเดน็ การประเมนิ ดังนี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลักษณะของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษาทีพ่ ึงประสงค์

การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษา
อาชีวศึกษาให้ความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ
การศกึ ษา และมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมนิ ดังนี

๑.๑ ดา้ นความรู้
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการทฤษฎี และแนว
ปฏิบัติต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี และหรือข้อเท็จจริง
เป็นไปตามมาตรฐานคณุ วุฒอิ าชวี ศึกษาแตล่ ะระดบั การศึกษา
๑.๒ ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้
ผ้สู าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะ
ชวี ิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และ
การดารงชวี ติ อยูร่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมสี ขุ ภาวะทีด่ ี
๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ
นิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบ

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๑

ตามบทบาทหน้าทขี่ องตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ
และมีจติ สานกึ รกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามคี รูทีม่ ีคณุ วุฒิ การศึกษาและจานวนตามเกณฑ์ ที่กาหนดใช้หลักสูตร

ฐานสมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของ
สถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสาเร็จในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัด
หรือหน่วยงานทก่ี ากบั ดแู ลสถานศกึ ษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดงั นี

๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษาใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะท่สี อดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มกี ารปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติม ให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการหรือหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง
๒.๒ ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามีครทู ม่ี ีคณุ วฒุ กิ ารศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ได้รับการพัฒนาอย่าง
เป็นระบบต่อเน่ือง เพื่อเป็นผู้พร้อมทังด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียนทังวัยเรียนและวัยทางานตาม
หลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษาตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัด
การศึกษาและการประเมินผลการเรยี นของแตล่ ะหลกั สูตร ส่งเสริม สนบั สนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน
การสอนรายวิชาให้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน สมบูรณ์
๒.3 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ
งบประมาณ ของสถานศกึ ษาท่มี ีอย่อู ยา่ งเต็มศักยภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
๒.4 ดา้ นการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ
สถานศึกษามีความสาเร็จในการดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบายสาคัญที่
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทังการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน
ประกอบการและหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งทงั ภาครัฐและภาคเอกชน
มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้

สถานศึกษาร่วมมอื กับบุคคล ชุมชน องคก์ รตา่ ง ๆ เพื่อสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรูม้ ี
การจัดทานวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดงั นี

๓.1 ดา้ นความรว่ มมือในการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทังในประเทศ และ
ต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการ
และวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพ่อื พัฒนาผู้เรียนและคนในชมุ ชนสสู่ ังคมแหง่ การเรยี นรู้
๓.2 ดา้ นนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๒

สถานศกึ ษาส่งเสริมสนับสนุนใหม้ ีการจดั ทานวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท่ีสามารถ
นาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพรส่ สู่ าธารณชน

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๒๓

สว่ นท่ี ๓
มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั สูง ประกอบดว้ ยมาตรฐาน 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน 12 ตัวบ่งชี
ดังนคี อื

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลักษณะของผู้สาเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาให้มี
ความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมี
คุณธรรมจรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ประกอบด้วยประเดน็ การประเมนิ ดังนี
1. ด้านความรู้
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการทฤษฎี และแนว
ปฏิบตั ิตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วกบั สาขาวชิ าทเี่ รียน หรือทท่ี างาน โดยเน้นความรู้เชงิ ทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริง เป็นไป
ตามมาตรฐานคุณวฒุ อิ าชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดบั การศึกษา
ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชันสงู ทม่ี ีผลการเรยี นเฉล่ียสะสม 2.50 ขนึ ไป
2. ดา้ นทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
ผู้สาเรจ็ การศึกษามีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไป
ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการ
ดารงชวี ิตอย่รู ว่ มกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมสี ุขภาวะที่ดี
ตัวบ่งชีที่ 1.2 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั สูงท่ผี า่ นเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
3. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจ
นิสัยท่ีดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบ
ตามบทบาทหนา้ ท่ีของตนตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีจิตสาธารณะ และ
มีจิตสานึกรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม
ตัวบ่งชีท่ี 1.3 ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาผ่านเกณฑ์การเข้าร่วมกิจกรรมคุณธรรม
จรยิ ธรรมในสถานศึกษา
ตัวบ่งชีที่ 1.4 ระดับความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึง
ประสงค์ จากสถานประกอบการหรอื หนว่ ยงาน

มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชวี ศกึ ษา
สถ า น ศึ ก ษ ามี ค รู ที่มี คุ ณวุ ฒิ ก าร ศึ ก ษา แ ละ จ า น ว น ต าม เ กณ ฑ์ ท่ี กา ห น ดใ ช้ ห ลั ก สู ตร ฐ า น
สมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษา
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มคี วามสาเรจ็ ในการดาเนนิ การตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน
ทก่ี ากับดูแลสถานศกึ ษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมินดังนี

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๒๔

1. ด้านหลักสูตรอาชวี ศึกษา
สถานศกึ ษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะทีส่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มกี ารปรบั ปรุงรายวชิ าเดิม หรอื กาหนดรายวชิ าใหม่หรอื กลมุ่ วชิ าเพม่ื เติม ให้ทัน
ต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการหรอื หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง
ตัวบ่งชีที่ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา ท่ี
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผ้เู รยี น ชมุ ชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน
2. ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษา
สถานศกึ ษามีครูทีม่ ีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนดได้รับการพัฒนาอย่าง
เป็นระบบต่อเนื่อง เพ่ือเป็นผู้พร้อมทังด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทังวัยเรียนและวัยทางานตาม
หลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษาตามระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการจัด
การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรียนของแต่ละหลักสตู ร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน
การสอนรายวิชาใหถ้ กู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์
ตัวบ่งชที ี่ 2.2 ระดับคุณภาพในการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา
3. ด้านการบรหิ ารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ส่ือ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ
งบประมาณ ของสถานศกึ ษาท่มี ีอยู่อย่างเตม็ ศกั ยภาพและมีประสทิ ธิภาพ
ตวั บ่งชที ี่ 2.3 ระดับคุณภาพในการบริหารจดั การดา้ นบุคลากร
ตัวบ่งชีที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคาร
สถานท่ี ห้องเรียน
ตวั บ่งชีที่ 2.5 ระดบั คุณภาพในการบริหาร การเงนิ งบประมาณและครภุ ัณฑ์
ตัวบ่งชีที่ 2.6 ระดบั คณุ ภาพในการดาเนนิ การตามนโยบายสาคญั ของหน่วยงานต้นสงั กดั

มาตรฐานท่ี 3 การสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้
สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้มีการ
จดั ทานวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมนิ ดังนี
1. ด้านความร่วมมอื ในการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทังในประเทศและ
ตา่ งประเทศในการจดั การศกึ ษา การจัดทรัพยากรทางการศกึ ษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการ
และวชิ าชีพ โดยใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม เพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นและคนในชุมชนสสู่ งั คมแห่งการเรียนรู้
ตวั บ่งชีที่ 3.1 ระดบั คณุ ภาพความรว่ มมอื ในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
2. ดา้ นนวัตกรรมนวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัย
สถานศกึ ษาส่งเสริมสนับสนนุ ใหม้ กี ารจัดทานวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถ
นาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ตามวตั ถปุ ระสงค์ และเผยแพรส่ ู่สาธารณชน
ตัวบง่ ชที ี่ 3.2 ระดบั คณุ ภาพในการจัดทานวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๕

สว่ นที่ ๔
มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชนั สูง ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 มาตรฐาน 9 ประเดน็ การประเมนิ 12 ตัวบ่งชี ดงั นีคือ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ลกั ษณะของผูส้ าเร็จการศกึ ษาอาชวี ศึกษาท่ีพงึ ประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและ
การประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรมจริยธรรม และ
คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมนิ ดังนี
1. ด้านความรู้

ผสู้ าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ
ที่เก่ียวกับสาขาวิชาท่ีเรียน หรือที่ทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐาน
คณุ วฒุ อิ าชีวศกึ ษาแต่ละระดบั การศึกษา
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.1 ร้อยละของผู้สาเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี และ ประกาศนียบตั รวิชาชพี
ชันสงู ทมี่ ีผลการเรียนเฉล่ยี สะสม 2.50 ขึนไป

ประเดน็ การประเมนิ
ร้อยละของผสู้ าเร็จการศกึ ษาในระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูงที่มีผลการเรียน
เฉลย่ี สะสม 2.50 ขึนไป
การคานวณ

รอ้ ยละ

ระดับคุณภาพ
ปีการศึกษา.................... มีจานวนผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช .3) และ
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชันสูง(ปวส.2) จานวน ...................คน และในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.3)

และประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั สูง(ปวส.2) ทีม่ ผี ลการเรียนเฉล่ยี สะสม 2.50 ขึนไป จานวน...................คน คิด
เป็นรอ้ ยละ……….. ผลการประเมนิ เป็นระดับคณุ ภาพ.................. ได้คะแนน.......................คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพระดบั ตัวบง่ ช้ี คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ
ผลการประเมิน 5 คะแนน ดีมาก
ร้อยละ 60 ขึนไป 4 คะแนน ดี
รอ้ ยละ 50 – 59.00 3 คะแนน พอใช้
รอ้ ยละ 40 – 49.00 2 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ
ร้อยละ 30 – 39.00 1 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ เร่งดว่ น
ต่ากวา่ รอ้ ยละ 29.00

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๒๖

2. ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้

ผู้สาเร็จการศึกษามีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตาม
มาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาแต่ละระดบั การศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดารงชีวิตอยู่
รว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้อยา่ งมคี วามสุขตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและมีสุขภาวะท่ดี ี

ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.2 ร้อยละของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง
ท่ีผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี

ประเดน็ การประเมนิ

รอ้ ยละของผูส้ าเร็จการศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี และประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชันสูงที่ผา่ นเกณฑ์การ

ประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี

ระดบั สาขาวิชา สาขางาน ผู้เรยี นท่ผี ่านเกณฑก์ าร คดิ เปน็
ผูเ้ รยี นทีส่ าเร็จการศึกษา ประเมนิ มาตรฐาน ร้อยละ

วชิ าชพี

ปวช.

ปวส.

รวม
การคานวณ

ร้อยละ

ระดับคุณภาพ

ปกี ารศกึ ษา.................... มจี านวนผเู้ รยี นที่สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ(ปวช.3) และ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง(ปวส.2) จานวน.................................คน มีจานวนผู้เรียนท่ีผ่านเกณฑ์การ
ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จานวน.............................คน คิดเป็นร้อยละ.........................ผลการประเมินเป็น
ระดับคุณภาพ...............ได้คะแนน.......................คะแนน

เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพระดบั ตัวบ่งชี้ ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ
ผลการประเมนิ 5 คะแนน ดมี าก
รอ้ ยละ 80 ขึนไป 4 คะแนน ดี
รอ้ ยละ 70 – 79.00 3 คะแนน พอใช้
รอ้ ยละ 60 – 69.00 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
รอ้ ยละ 50 – 59.00 1 คะแนน ต้องปรับปรุงเร่งดว่ น
ต่ากวา่ ร้อยละ 59.00

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๗

3. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์

ผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษามีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยท่ีดี ภูมิใจ
และรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ี
ของตนตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสานึกรักษ์

สิ่งแวดล้อม
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.3 ร้อยละของผู้สาเร็จการศกึ ษาผ่านเกณฑ์การเข้ารว่ มกิจกรรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสถานศึกษา

ประเด็นการประเมนิ
รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพและประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชันสูงท่ีผ่านเกณฑ์การ

เข้าร่วมกิจกรรมคณุ ธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา

ผูเ้ รียนท่ผี ่านเกณฑก์ าร

ระดับ สาขาวชิ า สาขางาน ผู้เรยี นท่สี าเร็จการศึกษา การเขา้ ร่วมกิจกรรม คดิ เปน็
คณุ ธรรม จริยธรรมใน ร้อยละ

สถานศึกษา

ปวช.

ปวส.

รวม

การคานวณ

ร้อยละ

ระดบั คณุ ภาพ
ปีการศกึ ษา.................... มีจานวนผเู้ รียนที่สาเรจ็ การศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ(ปวช.3) และ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง(ปวส.2) จานวน.................................คน มีจานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การเข้า

รว่ มกิจกรรมคุณธรรม จรยิ ธรรมในสถานศกึ ษา จานวน.............................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.........................ผล
การประเมนิ เป็นระดบั คณุ ภาพ...............ได้คะแนน.......................คะแนน

เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพระดับตัวบง่ ช้ี คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ
ผลการประเมิน 5 คะแนน ดมี าก
รอ้ ยละ 80 ขึนไป 4 คะแนน ดี
รอ้ ยละ 70 – 79.00 3 คะแนน พอใช้
ร้อยละ 60 – 69.00 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
ร้อยละ 50 – 59.00 1 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วน
ต่ากว่ารอ้ ยละ 59.00

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๘

ตัวบ่งชี้ท่ี 1.4 ระดับความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ จากสถาน
ประกอบการหรือหนว่ ยงาน

ประเด็นการประเมิน

ค่าเฉลย่ี ความพึงพอใจของสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ที่มตี อ่ คณุ ลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษา

อาชีวศกึ ษาทพี่ งึ ประสงค์

คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ X S.D. ระดบั การประเมิน

๑. มคี วามตรงตอ่ เวลา

๒. มคี วามรบั ผิดชอบ

๓. มีสมั มาคารวะ

๔. มีความซื่อสัตย์

๕. แต่งกายสุภาพเหมาะสม

๖. มีความกระตอื รอื รน้ ในการใหบ้ รกิ าร

รวม

ระดับคณุ ภาพ

ปีการศึกษา............... สถานประกอบการหรือหน่วยงานมีระดับความพึงพอใจต่อคุณลั กษณะของ
ผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษา จากวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง มีค่าเฉล่ีย......................มีคุณภาพใน
ระดบั .......................... ไดค้ ะแนน ................คะแนน

เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับตัวบ่งช้ี คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ
ผลการประเมนิ 5 คะแนน ดีมาก
ความพงึ พอใจมคี า่ เฉลีย่ 4.51 – 5.00 4 คะแนน ดี
ความพึงพอใจมีค่าเฉลย่ี 3.51 – 4.50 3 คะแนน พอใช้
ความพงึ พอใจมคี า่ เฉลย่ี 2.51 – 3.50 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
ความพงึ พอใจมีคา่ เฉลีย่ 1.51 – 2.50 1 คะแนน ต้องปรับปรุงเรง่ ดว่ น
ความพงึ พอใจมคี ่าเฉลย่ี 1.00 – 1.50

มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศกึ ษา
สถานศึกษามีครทู ่มี คี ณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาและจานวนตามเกณฑท์ กี่ าหนดใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการ

จัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญและบริหารจัดการทรพั ยากรของสถานศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
มีความสาเร็จในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล
สถานศึกษา ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมินดังนี

1. ดา้ นหลักสูตรอาชวี ศึกษา
สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน

ประกอบการ ตลาดแรงงาน มกี ารปรบั ปรงุ รายวิชาเดมิ หรือกาหนดรายวชิ าใหม่หรอื กลุ่มวิชาเพ่ืมเติม ให้ทันต่อ

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๒๙

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการ

หรือหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง

ตัวบ่งชีท้ ่ี 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะรายวิชา ทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการ

ของผ้เู รยี น ชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน

ประเด็นการประเมนิ แหลง่ ข้อมูล หมายเหตุ

1. สถานศึกษามกี ารสารวจขอ้ มูลความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน สถาน งานหลักสูตร/ สภาอตุ ฯ/

ประกอบการ และตลาดแรงงาน ในการปรบั ปรงุ รายวิชาเดมิ หรอื กาหนดรายวชิ า ทวภิ าคี หอการคา้ /

ใหม่ หรอื กลุม่ วชิ าเพม่ิ เติม แรงงาน

จงั หวัด

2. สถานศึกษามีการปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรอื กาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวชิ า งานหลักสูตร/ หลกั สตู ร

เพ่ิมเตมิ ร่วมกบั สถานประกอบการและหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ทวิภาคี รายวชิ า/

รายวิชาตอ่ สาขาวชิ าท่เี ปิดสอน แผนการ

จดั การเรยี นรู้

3. สถานศกึ ษามีการใชร้ ายวชิ าเดมิ หรือกาหนดรายวชิ าใหม่ หรือกลมุ่ วชิ าเพมิ่ เติม งานหลักสตู ร

ร่วมกบั สถานประกอบการและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง ไม่นอ้ ยกวา่ 1 รายวิชาต่อ

สาขาวิชาทีเ่ ปิดสอน

4. สถานศกึ ษามกี ารประเมินรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลุ่มวิชา งานหลักสูตร

เพิ่มเตมิ ร่วมกับสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง ไม่นอ้ ยกวา่ 1

รายวิชาต่อสาขาวิชาที่เปิดสอน

5. สถานศกึ ษามีการเผยแพรร่ ายวชิ าทไ่ี ดร้ ับการปรับปรงุ สสู่ าธารณชน งานหลักสตู ร

ระดับคณุ ภาพ

ประเด็นการประเมนิ ผลการประเมนิ เอกสารอา้ งอิง/

หลักฐาน

1. สถานศึกษามกี ารสารวจขอ้ มูลความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน ม/ี ไมม่ ี

ประกอบการ และตลาดแรงงาน ในการปรบั ปรงุ รายวชิ าเดิม หรือกาหนด

รายวชิ าใหม่ หรือกลมุ่ วชิ าเพิ่มเตมิ

2. สถานศกึ ษามกี ารปรบั ปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลุ่มวิชา จานวน........ หลกั สูตร

เพิม่ เติม รว่ มกับสถานประกอบการและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไมน่ ้อยกว่า 1 รายวชิ า รายวิชา/

รายวชิ าต่อสาขาวิชาทเ่ี ปิดสอน แผนการ

จดั การเรยี นรู้

3. สถานศกึ ษามีการใชร้ ายวิชาเดมิ หรือกาหนดรายวชิ าใหม่ หรอื กลุม่ วชิ าเพ่มิ เตมิ จานวน........

รว่ มกับสถานประกอบการและหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ไมน่ ้อยกว่า 1 รายวิชาต่อ รายวชิ า

สาขาวชิ าทเี่ ปดิ สอน

4. สถานศึกษามีการประเมินรายวิชาเดมิ หรอื กาหนดรายวชิ าใหม่ หรือกลุ่มวชิ า จานวน........

เพม่ิ เติม ร่วมกับสถานประกอบการและหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง ไม่น้อยกว่า 1 รายวชิ า

รายวชิ าต่อสาขาวิชาที่เปิดสอน

5. สถานศกึ ษามีการเผยแพรร่ ายวชิ าท่ไี ดร้ ับการปรับปรุงสสู่ าธารณชน มี/ไมม่ ี

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๐

ปีการศกึ ษา............... สถานศกึ ษามีการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา ที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน ซึ่งมีผลการประเมิน จานวน
...................... ข้อ มีคุณภาพในระดับ.......................... ไดค้ ะแนน ................ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพระดับตัวบง่ ชี้ คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ
ผลการประเมนิ 5 คะแนน ดมี าก
มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 5 ข้อ 4 คะแนน ดี
มีผลตามประเดน็ การประเมิน 4 ข้อ 3 คะแนน พอใช้
มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 3 ขอ้ 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
มีผลตามประเด็นการประเมิน 2 ข้อ 1 คะแนน ต้องปรบั ปรุงเรง่ ด่วน
มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 1 ขอ้

2. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา

สถานศึกษามีครทู ่มี ีคุณวุฒิการศึกษาและมจี านวนตามเกณฑท์ ่กี าหนดได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ

ตอ่ เน่ือง เพอ่ื เปน็ ผู้พรอ้ มทงั ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและความเข้มแขง็ ทางวชิ าการและวิชาชีพ จัดการเรียนการ

สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทังวัยเรียนและวัยทางานตามหลักสูตร

มาตรฐานคณุ วุฒิอาชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดับการศกึ ษาตามระเบียบหรือขอ้ บังคับเก่ียวกับการจัดการศึกษาและการ

ประเมินผลการเรยี นของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาให้

ถกู ต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์

ตัวบ่งช้ที ่ี 2.2 ระดับคุณภาพในการจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา

ประเดน็ การประเมนิ แหลง่ ขอ้ มลู หมายเหตุ

1. สถานศกึ ษามีครทู ม่ี ีคุณวฒุ กิ ารศึกษาไมต่ ่ากว่าระดับปริญญาตรแี ละได้รับการ งานบุคลากร

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไมน่ ้อยกวา่ 20 ชัว่ โมง/ปี

2. สถานศึกษาจัดใหม้ ีจานวนครูต่อผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กาหนด งานบุคลากร/

งานทะเบียน

3. สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ตอบสนองความ งานหลักสูตร

ตอ้ งการของผเู้ รียนทังวยั เรียนและวยั ทางานตามหลกั สตู ร โดยจัดทาแผนการ

เรยี นรูค้ รบทกุ รายวิชา

4. สถานศึกษาให้ครูจัดการเรียนการสอนรายวชิ าให้ถกู ต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และ งานหลักสตู ร/ แบบ

ประเมนิ ผลการเรยี นตามสภาพจรงิ ครบทกุ รายวิชา งานวดั ผล ประเมินผล

เรยี น

5. สถานศึกษา จัดสอบมาตรฐานวิชาชพี ในระดบั ชนั ปวช.3 และ ปวส.2 โดย งานหลักสูตร/ ผลการสอบ

ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 100 งานวดั ผล มาตรฐาน

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๑

ระดับคณุ ภาพ

ประเด็นการประเมิน ผลการประเมนิ เอกสารอ้างองิ /
หลกั ฐาน
1. สถานศกึ ษามีครูทมี่ ีคุณวุฒกิ ารศึกษาไมต่ า่ กว่าระดับปริญญาตรแี ละไดร้ ับการ
พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง ไมน่ ้อยกวา่ 20 ชั่วโมง/ปี มี/ไมม่ ี

2. สถานศึกษาจดั ให้มจี านวนครูตอ่ ผู้เรียนตามเกณฑ์ที่กาหนด มี/ไมม่ ี
ครบ/ไมค่ รบทกุ
3. สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ตอบสนองความ วชิ า
ตอ้ งการของผู้เรียนทังวัยเรยี นและวยั ทางานตามหลักสูตร โดยจดั ทาแผนการ
เรียนรู้ครบทุกรายวิชา ครบ/ไม่ครบทกุ
วชิ า
4. สถานศึกษาใหค้ รจู ัดการเรียนการสอนรายวชิ าให้ถูกต้อง ครบถว้ น สมบูรณ์ ร้อยละ.............
และประเมินผลการเรียนตามสภาพจรงิ ครบทุกรายวิชา

5. สถานศกึ ษา จัดสอบมาตรฐานวิชาชีพในระดบั ชัน ปวช.3 และ ปวส.2 โดย
ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

ปีการศึกษา............... สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละ
ระดับ ตามหลักสูตรและระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการจัดการศึกษาและประเมินผลการเรียนของแต่
ละหลกั สูตรสง่ เสรมิ สนับสนุน กากับดแู ล ใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ซ่ึงมี
ผลการประเมิน จานวน...................... ข้อ มีคุณภาพในระดับ.......................... ได้คะแนน ................ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพระดับตัวบ่งชี้ คา่ คะแนน ระดับคุณภาพ
ผลการประเมิน 5 คะแนน ดมี าก
มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 5 ข้อ 4 คะแนน ดี
มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 4 ข้อ 3 คะแนน พอใช้
มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 3 ขอ้ 2 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ
มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 2 ข้อ 1 คะแนน ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ดว่ น
มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 1 ขอ้

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๒

2.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
สถานศึกษาบริหารจดั การบคุ ลากร สภาพแวดลอ้ ม ภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ

โรงฝึกงาน ศนู ย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ครุภณั ฑ์ และงบประมาณ ของสถานศึกษา
ท่มี อี ยอู่ ยา่ งเต็มศกั ยภาพและมีประสิทธภิ าพ

ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.3 ระดบั คณุ ภาพในการบรหิ ารจัดการด้านบุคลากร

ประเดน็ การประเมิน แหล่งข้อมลู หมายเหตุ
งานบคุ ลากร
1. สถานศกึ ษา ส่งเสรมิ สนับสนุน กากบั ดแู ล ให้มจี านวนครทู ังหมดเทยี บกับจานวนผเู้ รียน
ทงั หมด ตามเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลงั ในสถานศึกษาสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการ งานบุคลากร
อาชีวศึกษา
งานบุคลากร
2. สถานศกึ ษา ส่งเสรมิ สนับสนุน กากบั ดูแล ให้ครผู สู้ อนในแต่ละรายวิชาทกุ คนเป็นผู้ทีจ่ บ
การศึกษาตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาทส่ี อน หรือเป็นผทู้ ไี่ ดเ้ ข้ารับการศึกษาหรอื ฝึกอบรม งานบคุ ลากร
เพิม่ เติมตรงหรือสัมพนั ธ์กับรายวชิ าทสี่ อน งานบุคลากร

3. สถานศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กากับดแู ล ให้ครไู มน่ ้อยกว่าร้อยละ 75 ได้ศกึ ษา ฝกึ อบรม
ประชมุ วชิ าการ ศึกษาดงู านดา้ นวิชาการหรือวิชาชีพท่ตี รงหรือสัมพันธก์ ับรายวิชาทีส่ อน ไม่
น้อยกว่า 20 ช่ัวโมงต่อปี

4. สถานศึกษา สง่ เสริม สนับสนนุ กากับดแู ล ให้มจี านวนบุคลากรทางการศกึ ษาตามเกณฑ์
มาตรฐานอตั รากาลังในสถานศึกษาสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

5. สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนนุ กากับดแู ล ให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ
ประกาศเกยี รติคุณ ยกยอ่ งความรู้ ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ จาก
หน่วยงานหรือองค์กรภายนอก ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 ของจานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทงั หมด

ระดับคณุ ภาพ

ประเด็นการประเมนิ ผลการประเมิน เอกสารอา้ งองิ
/หลักฐาน
ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ

1. สถานศึกษา สง่ เสริม สนบั สนนุ กากบั ดูแล ให้มีจานวนครทู งั หมดเทียบกับจานวนผ้เู รียน

ทงั หมด ตามเกณฑม์ าตรฐานอตั รากาลงั ในสถานศึกษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการ

อาชวี ศกึ ษา

2. สถานศึกษา สง่ เสริม สนับสนนุ กากับดแู ล ให้ครูผสู้ อนในแต่ละรายวิชาทกุ คนเป็นผทู้ ่จี บ

การศกึ ษาตรงหรือสมั พันธ์กบั รายวชิ าท่สี อน หรอื เปน็ ผู้ท่ีไดเ้ ขา้ รับการศึกษาหรอื ฝึกอบรม

เพิ่มเติมตรงหรอื สมั พันธ์กบั รายวิชาทส่ี อน

3. สถานศกึ ษา ส่งเสรมิ สนับสนนุ กากับดแู ล ให้ครไู ม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 ได้ศกึ ษา

ฝกึ อบรม ประชมุ วชิ าการ ศึกษาดงู านดา้ นวิชาการหรือวชิ าชีพท่ีตรงหรือสมั พันธก์ บั รายวิชา

ท่สี อน ไมน่ ้อยกวา่ 20 ชว่ั โมงตอ่ ปี

4. สถานศึกษา ส่งเสริม สนบั สนุน กากับดูแล ใหม้ ีจานวนบุคลากรทางการศึกษาตามเกณฑ์

มาตรฐานอตั รากาลงั ในสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๓

5. สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนนุ กากบั ดูแล ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การ
ประกาศเกยี รติคณุ ยกยอ่ งความรู้ ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวชิ าชพี
จากหนว่ ยงานหรอื องคก์ รภายนอก ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 5 ของจานวนครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษาทังหมด

ปีการศึกษา............... สถานศึกษามีการบริหารจัดการบุคลากรที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมี

ประสิทธภิ าพ ซงึ่ มผี ลการประเมิน จานวน...................... ข้อ มีคุณภาพในระดับ.......................... ได้คะแนน

................ คะแนน

เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพระดบั ตัวบง่ ชี

ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

มีผลตามประเดน็ การประเมิน 5 ข้อ 5 คะแนน ดีมาก

มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 4 ข้อ 4 คะแนน ดี

มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 3 ขอ้ 3 คะแนน พอใช้

มีผลตามประเด็นการประเมนิ 2 ขอ้ 2 คะแนน ต้องปรบั ปรุง

มีผลตามประเด็นการประเมิน 1 ขอ้ 1 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน

ตวั บง่ ช้ที ี่ 2.4 ระดับคณุ ภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อม ภมู ิทศั น์ อาคาร สถานที่ ห้องเรียน

ประเดน็ การประเมนิ แหลง่ ข้อมูล หมายเหตุ
1. สถานศึกษา มกี ารพฒั นาและดแู ลสภาพแวดล้อม ภูมิทศั น์ของ งานอาคารฯ แบบสารวจความ
สถานศกึ ษาให้สะอาด เรยี บรอ้ ย สวยงาม และปลอดภยั แผนกวชิ า งาน พึงพอใจในการใช้
กิจกรรม
2. สถานศกึ ษา มีการกากบั ดูแลการใช้อาคารสถานที่ ห้องเรียน งานอาคารฯ โครงการ/คาสงั่ /
หอ้ งปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนยว์ ิทยบริการและอน่ื ๆ ใหม้ สี ภาพท่ี แผนกวิชา รายงาน
พรอ้ มใชง้ าน มีความปลอดภัย สะอาด เรียบร้อย สวยงาม
3. สถานศึกษา มกี ารกากับดูแลในการจดั หา การใช้ การบารุงรักษา แผนกวิชา โครงการ/บันทึก
ครุภัณฑ์ ทเี่ หมาะสม เพียงพอ และมคี วามปลอดภัยในทกุ สาขางานท่ี งานพัสดุ การใช้/ตารางเรยี น
จดั การเรยี นการสอน
4. สถานศกึ ษา มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใชใ้ นการบริหาร งานศนู ย์ขอ้ มลู
จดั การระบบฐานขอ้ มลู อยา่ งนอ้ ย 4 ประเภท อย่างเปน็ ระบบและมี แผนกวิชา
ประสทิ ธภิ าพ คอื
(1) มรี ะบบป้องกนั ผบู้ กุ รกุ ระบบฐานขอ้ มลู จากภายในและภายนอก
(2) มีการกาหนดสิทธกิ ารเขา้ ถึงระบบฐานขอ้ มูลอย่างชัดเจน
(3) มกี ารติดตงั โปรแกรม Anti-Virus เพือ่ ปอ้ งกนั ไวรสั
(4) มาตรฐานข้อมลู การ Update เปน็ ปจั จุบัน
(5) มีการสารองฐานขอ้ มูลอยา่ งสมา่ เสมอ

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศึกษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๔

5. สถานศกึ ษา สง่ เสรมิ ให้ผ้บู ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษาและ งานศนู ยข์ ้อมูล
ผเู้ รยี น สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากการบรหิ ารจดั การฐานขอ้ มลู แผนกวชิ า

สารสนเทศ อยา่ งมคี ุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ

ประเดน็ การประเมนิ ผลการประเมิน เอกสารอา้ งองิ /
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบัติ หลกั ฐาน
1. สถานศึกษา มีการพฒั นาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศนข์ อง
สถานศกึ ษาใหส้ ะอาด เรยี บรอ้ ย สวยงาม และปลอดภยั
2. สถานศึกษา มีการกากับดูแลการใช้อาคารสถานท่ี ห้องเรียน
หอ้ งปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและอนื่ ๆ ใหม้ สี ภาพที่
พร้อมใช้งาน มีความปลอดภัย สะอาด เรยี บร้อย สวยงาม
3. สถานศึกษา มีการกากบั ดูแลในการจัดหา การใช้ การ
บารุงรกั ษาครภุ ัณฑ์ ทีเ่ หมาะสม เพียงพอ และมคี วามปลอดภัยใน
ทุกสาขางานทจี่ ัดการเรียนการสอน
4. สถานศึกษา มีการนาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรม์ าใช้ในการ
บริหารจัดการระบบฐานข้อมูล อยา่ งนอ้ ย 4 ประเภท อย่างเปน็
ระบบและมปี ระสิทธิภาพ คือ
(1) มีระบบป้องกันผ้บู ุกรกุ ระบบฐานข้อมูลจากภายในและ
ภายนอก
(2) มีการกาหนดสิทธกิ ารเข้าถงึ ระบบฐานขอ้ มูลอยา่ งชดั เจน
(3) มกี ารตดิ ตังโปรแกรม Anti-Virus เพ่ือป้องกันไวรสั
(4) มาตรฐานขอ้ มูลการ Update เป็นปัจจุบัน
(5) มกี ารสารองฐานข้อมูลอย่างสม่าเสมอ
5. สถานศึกษา สง่ เสรมิ ใหผ้ บู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา
และผูเ้ รยี น สามารถใช้ประโยชนจ์ ากการบรหิ ารจัดการฐานขอ้ มูล
สารสนเทศ อยา่ งมคี ุณภาพ

ปีการศึกษา............... สถานศกึ ษามีการบริหารจดั การ พัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคาร
สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยู่

อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพซึ่งมีผลการประเมิน จานวน...................... ข้อ มีคุณภาพในระดับ
.......................... ได้คะแนน ................ คะแนน

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๓๕

เกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพระดับตัวบง่ ช้ี ค่าคะแนน ระดับคณุ ภาพ
ผลการประเมนิ 5 คะแนน ดีมาก
มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 5 ข้อ 4 คะแนน ดี
มีผลตามประเด็นการประเมนิ 4 ข้อ 3 คะแนน พอใช้
มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 3 ขอ้ 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 2 ขอ้ 1 คะแนน ต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น
มีผลตามประเดน็ การประเมิน 1 ข้อ

ตัวบ่งช้ที ี่ 2.5 ระดบั คณุ ภาพในการบริหาร การเงิน งบประมาณและครุภัณฑ์

ประเด็นการประเมิน แหลง่ ขอ้ มูล หมายเหตุ

1. สถานศึกษา มีแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติงานประจาปี มีการจัดงบประมาณ งานวางแผน

เปน็ คา่ ใชจ้ ่ายของแผนงาน โครงการ กจิ กรรมตา่ งๆ

2. สถานศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณ คา่ วสั ดุฝึก อุปกรณแ์ ละสือ่ สาหรบั การ งานวางแผน

เรียนการสอน ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 20 ของงบดาเนินงาน

3. สถานศึกษา มกี ารจัดสรรงบประมาณ ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผ้เู รียนใช้ งานวางแผน

ความรู้ความสามารถไปบรกิ ารวชิ าการ วิชาชีพ หรือทาประโยชนต์ ่อชุมชน

สงั คมไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของงบดาเนนิ งาน

4. สถานศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณ ในการส่งเสรมิ สนับสนุน การจดั ทา งานวางแผน

การประกวด การแสดงโครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี นวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งาน

สร้างสรรค์ของผูเ้ รียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของงบดาเนนิ งาน

5. สถานศกึ ษา มีการจัดสรรงบประมาณ ในการส่งเสริม สนบั สนุน การจดั งานวางแผน

กิจกรรมด้านการรกั ชาตเิ ทิดทนู พระมหากษตั รยิ ์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ และทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ

วัฒนธรรมการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม การกฬี าและนันทนาการ การสง่ เสรมิ การดารง

ตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของงบดาเนินงาน

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ๓๖

ระดับคุณภาพ

ประเดน็ การประเมิน ผลการประเมิน เอกสารอ้างองิ /
หลักฐาน
ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบัติ

1. สถานศกึ ษา มแี ผนพฒั นาและแผนปฏิบัตงิ านประจาปี มกี ารจดั งบประมาณ

เปน็ คา่ ใช้จา่ ยของแผนงาน โครงการ กจิ กรรมต่างๆ

2. สถานศึกษา มกี ารจัดสรรงบประมาณ ค่าวัสดุฝกึ อปุ กรณ์และส่ือสาหรับการ

เรียนการสอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของงบดาเนินงาน

3. สถานศึกษา มกี ารจัดสรรงบประมาณ ในการส่งเสริม สนับสนนุ ให้ผู้เรียนใช้

ความรูค้ วามสามารถไปบรกิ ารวชิ าการ วิชาชีพ หรือทาประโยชน์ตอ่ ชุมชน

สังคมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 1 ของงบดาเนินงาน

4. สถานศึกษา มกี ารจัดสรรงบประมาณ ในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การจดั ทา

การประกวด การแสดงโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ นวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์

งานสร้างสรรค์ของผเู้ รียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของงบดาเนินงาน

5. สถานศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณ ในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัด

กจิ กรรมดา้ นการรักชาติเทดิ ทูนพระมหากษตั ริย์ สง่ เสริมการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ และทะนุบารงุ ศาสนา ศิลปะ

วฒั นธรรมการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม การกีฬาและนันทนาการ การสง่ เสรมิ การดารง

ตนตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 5 ของงบดาเนินงาน

ปีการศึกษา............... สถานศึกษามีการบริหาร การเงิน งบประมาณและครุภัณฑ์ท่ีมีอยู่อย่างเต็ม

ศักยภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพซง่ึ มผี ลการประเมิน จานวน...................... ขอ้ มีคณุ ภาพในระดับ..........................
ไดค้ ะแนน ................ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพระดับตัวบง่ ชี้ คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ผลการประเมิน 5 คะแนน ดีมาก
มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 5 ข้อ 4 คะแนน ดี
มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 4 ขอ้ 3 คะแนน พอใช้
มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 3 ขอ้ 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 2 ข้อ 1 คะแนน ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ด่วน
มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 1 ขอ้

ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.6 ระดับคณุ ภาพในการดาเนินการตามนโยบายสาคญั ของหน่วยงานตน้ สังกดั

ประเด็นการประเมนิ แหลง่ ข้อมลู หมายเหตุ

1. ผอู้ านวยการสถานศึกษามีความรูค้ วามเข้าใจ ในนโยบายสาคญั ที่ ผ้อู านวยการ คาสัง่ มอบหมาย
หนา้ ท่ตี ามนโยบาย
หน่วยงานตน้ สงั กดั มอบหมายไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
การประชมุ /
2. ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาใชว้ ิธีการสอื่ สารท่ีหลากหลายให้ครู ผู้อานวยการ กระดานขา่ ว

บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียนรวมทงั ผปู้ กครอง ชมุ ชน สถาน

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๓๗

ประกอบการ และหน่วยงาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทังภาครัฐและเอกชน ผู้บริหาร/หวั หนา้ ประชาสัมพนั ธ์
แผนกวชิ า
3. ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรยี น ร่วมกนั กาหนด แผนพัฒนา/
แผนงานโครงการ กจิ กรรม และเปา้ หมาย และดาเนินงานเพอ่ื ให้ แผนปฏิบัตกิ าร
นโยบายสาคญั ของหนว่ ยงาน ต้นสังกดั ประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ประจาปี/รายงาน
ผลการปฏบิ ัตงิ าน
4. ผู้อานวยการสถานศกึ ษามกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบการดาเนินงาน ผู้อานวยการ ประจาปี
ตามแผนงานโครงการ กจิ กรรม และเปา้ หมายที่กาหนด ผู้อานวยการ
คาส่งั นิเทศ
5. ผู้อานวยการสถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งานบริหาร ตดิ ตาม/รายงาน
จดั การตามนโยบาย ผล

รายงานผลการ
ปฏิบตั งิ าน
ประจาปี

ระดับคณุ ภาพ

ประเด็นการประเมนิ ผลการประเมนิ เอกสารอ้างอิง/

ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ หลกั ฐาน

1. ผูอ้ านวยการสถานศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจ ในนโยบายสาคญั ที่

หนว่ ยงานตน้ สังกัด มอบหมายไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

2. ผู้อานวยการสถานศึกษามีความสามารถในการส่อื สารให้ครู

บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผเู้ รียนรวมทังผปู้ กครอง ชมุ ชน สถาน

ประกอบการ และหน่วยงาน ที่เก่ียวขอ้ งทังภาครฐั และเอกชน

3. ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และผู้เรยี น รว่ มกนั กาหนด

แผนงานโครงการ กจิ กรรม และเป้าหมาย และดาเนินงานเพื่อให้

นโยบายสาคญั ของหนว่ ยงาน ตน้ สงั กดั ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย

4. ผอู้ านวยการสถานศกึ ษามกี ารติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงาน

ตามแผนงานโครงการ กิจกรรม และเป้าหมายที่กาหนด

5. ผ้อู านวยการสถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ผลการดาเนินงานบรหิ าร

จดั การตามนโยบาย

ปกี ารศกึ ษา............... สถานศึกษามีการในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัด

อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีผลการประเมิน จานวน...................... ข้อ มีคุณภาพในระดับ

.......................... ไดค้ ะแนน ................ คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพระดับตัวบ่งชี้

ผลการประเมนิ ค่าคะแนน ระดบั คุณภาพ

มีผลตามประเด็นการประเมิน 5 ข้อ 5 คะแนน ดมี าก

มีผลตามประเด็นการประเมนิ 4 ข้อ 4 คะแนน ดี

มีผลตามประเด็นการประเมนิ 3 ข้อ 3 คะแนน พอใช้

มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 2 ขอ้ 2 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ

มผี ลตามประเดน็ การประเมิน 1 ข้อ 1 คะแนน ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๓๘

มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้

1. ด้านความร่วมมอื ในการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้

สถานศกึ ษามีการสรา้ งความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทังในประเทศและต่างประเทศใน

การจดั การศึกษา การจัดทรพั ยากรทางการศกึ ษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดย

ใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม เพือ่ พฒั นาผ้เู รียนและคนในชมุ ชนสู่สงั คมแห่งการเรยี นรู้

ตัวบง่ ชที้ ี่ 3.1 ระดับคุณภาพความร่วมมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้

ประเด็นการประเมิน แหล่งขอ้ มลู หมายเหตุ

1.การบรกิ ารทางวิชาการและวิชาชีพไมน่ อ้ ยกว่า 5 ครังต่อปี งานโครงการพิเศษ Fix it center,

เกษตรระยะสนั

, 108อาชีพ

2.ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ท่ี งานหลกั สตู ร แผนการสอน

หลากหลาย ไม่นอ้ ยกว่า 2 วธิ กี าร เชน่ PBL,STEM และอน่ื ๆ ,โครงงาน

3.สถานศึกษามีความร่วมมือกับบคุ คล ชุมชน องคก์ รตา่ ง ๆ งานทวภิ าคี/งาน MOU

ภายในประเทศ จานวนไม่นอ้ ยกวา่ 10 แห่งต่อปี ความรว่ มมือ

4.การระดมทรพั ยากรทางการศกึ ษาจานวนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ5 งานแผน,การเงนิ ,

ของงบอดุ หนนุ รายหวั งานแนะแนว

5.สถานศกึ ษามีความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรตา่ งๆระหวา่ ง งานความร่วมมอื MOU

ประเทศ จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 1 แห่งต่อปี

ระดบั คุณภาพ ผลการประเมิน เอกสารอ้างองิ /
ประเดน็ การประเมนิ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ หลักฐาน

1.การบรกิ ารทางวิชาการและวิชาชีพไม่นอ้ ยกว่า 5 ครังต่อปี

2.ครูทุกคนจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรยี นร้ทู ี่
หลากหลาย ไม่น้อยกวา่ 2 วิธกี าร เชน่ PBL,STEM และอนื่ ๆ
3.สถานศึกษามีความร่วมมอื กับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ
ภายในประเทศ จานวนไมน่ ้อยกวา่ 10 แห่งต่อปี
4.การระดมทรัพยากรทางการศกึ ษาจานวนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ5
ของงบอุดหนุนรายหัว
5.สถานศกึ ษามีความรว่ มมอื กับบุคคล ชุมชน องคก์ รตา่ งๆ
ระหว่างประเทศ จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 1 แห่งต่อปี

ปีการศกึ ษา............... สถานศกึ ษามคี วามร่วมมือในการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ซ่ึงมีผลการประเมิน
จานวน...................... ข้อ มคี ณุ ภาพในระดบั .......................... ได้คะแนน ................ คะแนน

มาตรฐานสถานศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ปีการศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๓๙

เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพระดับตัวบง่ ช้ี คา่ คะแนน ระดบั คุณภาพ
ผลการประเมิน 5 คะแนน ดีมาก
มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 5 ข้อ 4 คะแนน ดี
มีผลตามประเดน็ การประเมิน 4 ข้อ 3 คะแนน พอใช้
มผี ลตามประเด็นการประเมิน 3 ข้อ 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง
มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 2 ข้อ 1 คะแนน ตอ้ งปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน
มีผลตามประเด็นการประเมิน 1 ข้อ

2. ดา้ นนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย

สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดย

ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนาไปใช้

ประโยชน์ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ และเผยแพร่สสู่ าธารณชน

ตวั บ่งชี้ท่ี 3.2 ระดับคุณภาพในการจดั ทานวตั กรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย

ประเดน็ การประเมิน แหล่งขอ้ มลู หมายเหตุ

1.สถานศึกษาสง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผู้เรียนมกี ารจัดทานวัตกรรม งานวิจยั ฯ

สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ระดบั ปวช. จานวนไมเ่ กิน

3 คน/ชนิ งาน และ ระดับ ปวส. จานวนไม่เกนิ 2 คน/ ชนิ งาน

2.สถานศึกษาส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ผู้ครแู ละผู้บริหาร มกี ารจัดทา งานวิจัยฯ

นวตั กรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ท่ีมีความสมั พันธ์

กับ PLC จานวนไม่นอ้ ยกว่า 1 เรื่อง/กล่มุ

3.สถานศึกษาส่งเสรมิ สนบั สนนุ งบประมาณให้มกี ารจัดทา งานวิจยั ฯ

นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ัย รอ้ ยละ 5 ของ

งบดาเนินงาน

4.จานวนนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ที่ งานวิจยั ฯ

สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ได้ตามวัตถปุ ระสงค์และเผยแพร่สู่

สาธารณะชน จานวนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ10 ของผลงานทงั หมด

5.สถานศึกษารว่ มกบั บุคคล ชุมชน องค์กรตา่ งๆ ส่งเสรมิ งานวิจยั ฯ

สนับสนุนใหม้ ีการจดั ทา นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์

งานวจิ ัย จานวนไม่น้อยกวา่ 1 เรอ่ื งตอ่ ปี

ระดบั คุณภาพ ผลการประเมนิ เอกสารอ้างองิ /
ประเดน็ การประเมิน ปฏิบัติ ไมป่ ฏิบตั ิ หลกั ฐาน

1.สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผูเ้ รียนมกี ารจัดทานวตั กรรม
ส่งิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั ระดบั ปวช. จานวนไม่เกิน 3
คน/ชินงาน และ ระดบั ปวส. จานวนไม่เกนิ 2 คน/ ชนิ งาน

มาตรฐานสถานศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศกึ ษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๔๐

2.สถานศึกษาส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ผู้ครูและผู้บริหาร มกี ารจดั ทา
นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั ทม่ี ีความสมั พนั ธ์กับ
PLC จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เรือ่ ง/กลมุ่

3.สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนับสนนุ งบประมาณใหม้ กี ารจดั ทานวัตกรรม
สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั รอ้ ยละ 5 ของงบดาเนินงาน

4.จานวนนวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ท่สี ามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์และเผยแพร่สสู่ าธารณะชน
จานวนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ10ของผลงานทังหมด

5.สถานศึกษารว่ มกบั บุคคล ชมุ ชน องค์กรตา่ งๆ สง่ เสรมิ สนบั สนุน
ให้มกี ารจัดทา นวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั
จานวนไม่นอ้ ยกวา่ 1 เรื่องต่อปี

ปีการศึกษา............... สถานศึกษามีการจัดทานวัตกรรมนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์

งานวจิ ยั อยา่ งเตม็ ศักยภาพและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีผลการประเมิน จานวน...................... ข้อ มีคุณภาพใน

ระดบั .......................... ไดค้ ะแนน ................ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพระดับตัวบ่งชี้

ผลการประเมนิ คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ

มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 5 ขอ้ 5 คะแนน ดมี าก

มีผลตามประเดน็ การประเมิน 4 ข้อ 4 คะแนน ดี

มผี ลตามประเด็นการประเมนิ 3 ข้อ 3 คะแนน พอใช้

มีผลตามประเดน็ การประเมนิ 2 ข้อ 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง

มผี ลตามประเดน็ การประเมนิ 1 ขอ้ 1 คะแนน ต้องปรับปรุงเรง่ ด่วน

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 256๑

มาตรฐานการศกึ ษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ๔๑

สว่ นที่ ๕
ภาคผนวก

มาตรฐานสถานศึกษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปกี ารศึกษา 256๑

ประกาศวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
เรือ่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 2561

........................................................................

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้
เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ ประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกาํ หนดพร้อมทง้ั จดั ทาํ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทม่ี ุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และดาํ เนนิ การตามแผนท่กี ําหนดไว้ จัดให้มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดาํ เนนิ การ เพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา นนั้

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ได้กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐาน
การศึกษาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 เพื่อจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาด้านอาชีวศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และการฝึกอบรมวิชาชีพ โดยกําหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ปีการศึกษา 2561 ประกอบด้วย
มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมนิ 12 ตัวบง่ ช้ี ดงั นี้

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศกึ ษาอาชวี ศึกษาท่พี ึงประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษาเป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สําเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาให้มี

ความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมี
คณุ ธรรมจริยธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ประกอบด้วยประเดน็ การประเมิน ดงั น้ี

1. ดา้ นความรู้
ผ้สู าํ เร็จการศกึ ษาอาชวี ศึกษามีความรู้เก่ียวกบั ข้อเท็จจรงิ ตามหลกั การทฤษฎี และแนวปฏิบัติ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสาขาวิชาที่เรียน หรือท่ีทํางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตาม
มาตรฐานคุณวฒุ อิ าชีวศึกษาแต่ละระดบั การศึกษา
ตัวบ่งช้ีที่ 1.1 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพแล ะ
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สูงทมี่ ผี ลการเรยี นเฉลย่ี สะสม 2.50 ข้นึ ไป ( ๕ คะแนน)
2. ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้
ผู้สําเร็จการศึกษามีทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไป
ตามมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาแต่ละระดบั การศกึ ษา สามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน และการดํารงชีวิต
อยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสขุ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมีสขุ ภาวะทีด่ ี
ตัวบ่งชี้ท่ี 1.2 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชัน้ สูงทผี่ ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ( ๕ คะแนน)
3. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์
ผ้สู าํ เรจ็ การศึกษาอาชีวศกึ ษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัย
ที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตาม
บทบาทหน้าที่ของตนตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมี
จิตสาํ นึกรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม

/ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.3...

~๒~

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ร้อยละของผู้สําเร็จการศึกษาผ่านเกณฑ์การเข้าร่วมกิจกรรมคุณธรรม
จริยธรรมในสถานศกึ ษา ( ๕ คะแนน)

ตัวบ่งช้ีท่ี 1.4 ระดับความพึงพอใจต่อคุณลักษณะของผู้สําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึง
ประสงค์ จากสถานประกอบการหรือหนว่ ยงาน ( ๕ คะแนน)

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชวี ศึกษา
สถานศึกษามีครูท่ีมคี ุณวุฒกิ ารศกึ ษาและจํานวนตามเกณฑ์ที่กําหนดใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ

ในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญและบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธภิ าพ มีความสําเรจ็ ในการดําเนินการตามนโยบายสําคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับ
ดแู ลสถานศกึ ษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมินดังน้ี

1. ดา้ นหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษาใชห้ ลกั สูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรงุ รายวชิ าเดิม หรือกําหนดรายวิชาใหม่หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติม ให้ทัน
ต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีและความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการ
หรือหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชา ท่ี
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียน ชมุ ชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน ( ๕ คะแนน)
2. ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจํานวนตามเกณฑ์ท่ีกําหนดได้รับการพัฒนาอย่าง
เป็นระบบต่อเน่ือง เพื่อเป็นผู้พร้อมท้ังด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนท้ังวัยเรียนและวัยทํางานตาม
หลกั สูตร มาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาแตล่ ะระดบั การศกึ ษาตามระเบียบหรอื ข้อบงั คับเก่ียวกับการจัดการศึกษา
และการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กํากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอน
รายวชิ าให้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์
ตวั บง่ ช้ีที่ 2.2 ระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา ( ๕ คะแนน)
3. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ส่ือ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ
งบประมาณ ของสถานศึกษาทมี่ อี ยูอ่ ย่างเตม็ ศักยภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
ตัวบ่งช้ีท่ี 2.3 ระดบั คณุ ภาพในการบรหิ ารจัดการดา้ นบคุ ลากร ( ๕ คะแนน)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคาร
สถานท่ี หอ้ งเรยี น ( ๕ คะแนน)
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.5 ระดบั คุณภาพในการบริหาร การเงนิ งบประมาณและครภุ ัณฑ์ ( ๕ คะแนน)
ตวั บ่งชี้ที่ 2.6 ระดบั คณุ ภาพในการดาํ เนนิ การตามนโยบายสําคัญของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
( ๕ คะแนน)
มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้
สถานศกึ ษารว่ มมอื กับบุคคล ชุมชน องคก์ รต่าง ๆ เพ่อื สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้มีการจัดทํา
นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมินดังนี้
1. ด้านความรว่ มมอื ในการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท้ังในประเทศและ
ตา่ งประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการ
และวชิ าชีพ โดยใช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม เพอื่ พัฒนาผู้เรียนและคนในชมุ ชนสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้
ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3.1 ระดบั คุณภาพความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ( ๕ คะแนน)

/๒. ดา้ นนวตั กรรม...

~๓~

2. ด้านนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั
สถานศกึ ษาส่งเสริมสนบั สนุนให้มีการจัดทํานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
โดยผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผเู้ รียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถนําไปใช้
ประโยชนไ์ ด้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สูส่ าธารณชน
ตวั บง่ ชที้ ี่ 3.2 ระดบั คุณภาพในการจัดทํานวัตกรรมนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
งานวิจยั ( ๕ คะแนน)

ทั้งนี้ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง พ.ศ. 2561 ในการจัด
การศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาด้านอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับ
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) และการฝกึ อบรมวิชาชพี ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2561 เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561

(นายกิตติพงค์ อตุ ตมะเวทนิ )
ผอู้ าํ นวยการวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

ประกาศวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
เรอ่ื ง กาหนดค่าเป้าหมายแตล่ ะมาตรฐานและตวั บ่งชี้ ปกี ารศึกษา 2561

........................................................................

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี
ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โดยการกาหนดค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งช้ี
ของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดพร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษา นั้น

เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง มีคุณภาพ
และมาตรฐาน จึงกาหนดค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถานศึกษา ตามเอกสารแนบท้าย
ประกาศนี้

ทั้งนี้ ให้ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ดาเนินการ
จัดการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตามที่กาหนดค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งชี้
ตามมาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง พ.ศ. 2561 ภายในปกี ารศึกษา 2561

ประกาศ ณ วันท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2561

(นายกิตติพงค์ อตุ ตมะเวทิน)
ผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

การกาหนดค่าเป้าหมาย แนบทา้ ยประกาศวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
เรอื่ ง กาหนดค่าเปา้ หมายแตล่ ะมาตรฐานและตวั บ่งช้ี ปกี ารศกึ ษา 2561

มาตรฐาน / ตัวบ่งช้ี คา่ เป้าหมาย

มาตรฐานท่ี 1 คุณลกั ษณะของผ้สู าเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาที่พึง คา่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ
ประสงค์
๔.๗๕ ดมี าก
1. ด้านความรู้
ตัวบง่ ชที้ ี่ 1.1 ร้อยละของผสู้ าเร็จการศึกษาในระดับ ๕ ดีมาก
ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพและ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู ทีม่ ีผลการ
เรียนเฉลี่ยสะสม 2.50 ขน้ึ ไป ๕ ดมี าก
2. ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.2 รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศึกษาในระดับ ๕ ดมี าก
ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพและประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู ท่ีผา่ นเกณฑ์
การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ ๔ ดี
3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ๔.๕๐ ดี
ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.3 รอ้ ยละของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาผ่านเกณฑ์การเขา้ รว่ ม
กิจกรรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศกึ ษา ๕ ดีมาก
ตัวบง่ ชี้ที่ 1.4 ระดับความพงึ พอใจตอ่ คณุ ลกั ษณะของผูส้ าเร็จ
การศึกษาอาชวี ศกึ ษาทีพ่ งึ ประสงค์ จากสถานประกอบการหรือ ๔ ดี
หนว่ ยงาน ๔ ดี
มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชวี ศกึ ษา ๔ ดี
๕ ดีมาก
๑. ดา้ นหลักสตู รอาชวี ศกึ ษา ๕ ดมี าก
๔.๐๐ ดี
ตวั บง่ ช้ีที่ 2.1 ระดบั คุณภาพในการใชแ้ ละพัฒนาหลกั สูตรฐาน ๔ ดี
สมรรถนะรายวชิ า ท่สี อดคลอ้ งกับความต้องการของผ้เู รยี น ชมุ ชน
สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน ๔ ดี
2. ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา ๔.๕๐ ดี
ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.2 ระดับคุณภาพในการจดั การเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
3. ด้านการบริหารจดั การ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ระดับคุณภาพในการบรหิ ารจดั การดา้ นบุคลากร
ตัวบ่งชี้ท่ี 2.4 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดแู ล สภาพแวดล้อม

ภมู ิทศั น์ อาคาร สถานท่ี ห้องเรยี น

ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.5 ระดบั คณุ ภาพในการบรหิ าร การเงิน งบประมาณ
และครภุ ณั ฑ์
ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.6 ระดับคณุ ภาพในการดาเนนิ การตามนโยบายสาคญั
ของหน่วยงานตน้ สังกัด
มาตรฐานที่ 3 การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
1. ดา้ นความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
ตวั บ่งชที้ ่ี 3.1 ระดบั คุณภาพความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การ
เรียนรู้
2. ด้านนวัตกรรมนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์
งานวจิ ยั
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.2 ระดบั คุณภาพในการจดั ทานวตั กรรมนวัตกรรม
สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย
ระดบั มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง


Click to View FlipBook Version