The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มประกันSAR

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krupatchaniya Chumpom, 2019-08-22 03:48:09

รวมเล่มประกันSAR

รวมเล่มประกันSAR

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
(Self Assessment Report : ASR)

ปีการศึกษา 2561

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
อาชวี ศึกษาจังหวัด ระนอง

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

คำนำ

พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๖ มาตรา ๔๘ ให้หนว่ ยงานต้นสงั กดั และสถานศึกษาจัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ี
ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่
เกย่ี วข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ
การประกันคุณภาพภายนอก

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี
ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้
เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาและดาเนนิ การตามแผนทีก่ าหนดไว้ จัดให้มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนนิ การ เพอื่ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่ง
รายงานผลการประเมินตนเอง ให้แกห่ นว่ ยงานตน้ สงั กัดหรอื หนว่ ยงานที่กากับดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจาทกุ ปี

เพื่อให้การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงต้องมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเชิงประจักษ์ที่
สอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ๙ ประเด็นการประเมิน
ได้แก่ มาตรฐานท่ี ๑ คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ การจัดการ
อาชีวศึกษา และมาตรฐานท่ี ๓ การสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้

ในการน้ีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง จึงได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑ ตามแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการ
อาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดทาข้ึน โดยเกณฑ์การประเมินคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย การวดั และประเมนิ ผลคุณภาพในเชิงปริมาณและคุณภาพ จานวน ๕
ด้าน ได้แก่ ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านครูผู้สอนและ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ด้านการมีส่วนร่วมและด้านปัจจัยพื้นฐาน ซ่ึงมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยความร่วมมือจากผู้บริหาร คณะครู บุคลากรภายในสถานศึกษา ตลอดจน
นักเรียน นักศกึ ษาและผทู้ เ่ี กยี่ วข้อง โดยการประเมินด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม ได้แก่ การสังเกต
การสมั ภาษณ์ การตรวจสอบจากเอกสารหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ช่วยในการปรับปรุงพัฒนา
ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายและนาไปส่กู ารพัฒนาอยา่ งต่อเน่ืองหลังจากการประเมินคุณภาพภายในแล้ว วิทยาลัยฯ ได้
จัดทารายงานการประเมินคุณภาพภายใน เพ่ือเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและสาธารณชน ได้ทราบผลการ
ดาเนินของสถานศึกษา พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ต่อไป

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง

เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2562

คำชแ้ี จง

คาชี้แจงของรายงานผลการประเมนิ ตนเองควรประกอบดว้ ยการสรปุ สาระท่สี าคญั ไดแ้ ก่

1. บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร
2. ข้อมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา
3. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4. ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
5. ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพ

การศกึ ษาของสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา
6. แผนพัฒนาเพ่ือยกระดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

สำรบญั หนำ้

คำนำ ก
คำชี้แจง ข
สำรบญั ค
สว่ นที่ 1 บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร 1
สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของสถานศกึ ษา 4
สว่ นที่ 3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 13
ส่วนท่ี 4 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 15
ส่วนท่ี 5 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 19

ตามเกณฑก์ ารประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา 24
ส่วนท่ี 6 แผนพฒั นาเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

สำรบัญตำรำง หนำ้
18
ผลกำรประเมนิ รำยด้ำนและภำพรวม (ปวช. และ หรอื ปวส. และ หรอื การฝกึ อบรมวชิ าชีพ) 19

ตารางท่ี 4.1 สรุปคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน 20
ตารางท่ี 5.1 ผลการประเมินดา้ นผเู้ รียนและผสู้ าเร็จการศึกษาโดยภาพรวมและ
21
จาแนกเปน็ รายการประเมิน
ตารางที่ 5.2 ผลการประเมนิ ด้านหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอนโดยภาพรวมและ 21
22
จาแนกเป็นรายการประเมิน 23
ตารางที่ 5.3 ผลการประเมินด้านครผู สู้ อนและผ้บู ริหารศึกษาโดยภาพรวมและ

จาแนกเป็นรายการประเมนิ
ตารางที่ 5.4 ผลการประเมินด้านการมีส่วนร่วมโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมิน
ตารางท่ี 5.5 ผลการประเมินดา้ นปัจจยั พ้นื ฐานโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมนิ
ตารางที 5.6 ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาจาแนกเป็นรายด้าน

1

ส่วนที่ 1
บทสรปุ สำหรับผู้บริหำร

1. กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ
1. 1 ผลสัมฤทธิ์

1. ด้านผเู้ รยี นและผสู้ าเรจ็ การศึกษา ระดับคณุ ภาพยอดเย่ียม
2. ด้านหลักสตู รและการจัดการเรยี นการสอน ระดบั คุณภาพดี
3. ดา้ นครผู ู้สอนและผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ระดับคณุ ภาพดเี ลศิ
4. ดา้ นการมสี ่วนรว่ ม ระดับคุณภาพยอดเยยี่ ม
5. ดา้ นปัจจยั พื้นฐาน ระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม
6. ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ระดับคณุ ภาพยอดเยี่ยม

1.2 จุดเดน่
1. สถานศึกษามกี ารให้ความรแู้ ละสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับสถานศึกษาคุณธรรม แก่ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา

และผู้เรยี นรว่ มกัน
2. สถานศกึ ษามกี ารจัดทาแผนปฏบิ ัติงานประจาปี โดยบุคลากรทางการศึกษาม่สี ่วนร่วม
3. สถานศกึ ษาไดร้ บั ความรว่ มมอื จากผูเ้ ชย่ี วชาญภายนอก ชมุ ชน ชมรม สถานประกอบการ หน่วยงาน ในการจัดการเรียน

การสอน

1.3 จดุ ท่ีควรพัฒนา
1. พฒั นาบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศมากขึ้น
2. ควรมีการให้บรกิ ารระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารครอบคลมุ ทุกพ้ืนที่ในสถานศึกษา
3. ครูผสู้ อนบางรายวิชาเป็นผทู้ จี่ บการศึกษาไมต่ รงกบั รายวชิ าท่สี อน

1.4 ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
1. สถานศึกษาควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของสถานศึกษาให้ชุมชน สังคมและหน่วยงานภายนอกอย่ าง

ต่อเน่อื งและเป็นปจั จบุ นั
2. ใช้ระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รียน การนิเทศตดิ ตามผู้เรียนอย่างจรงิ จังและต่อเน่ืองตลอดปีการศึกษาเพ่ือแก้ปัญหาการออก

กลางคนั ของผ้เู รียนศกึ ษาสาเหตปุ ัญหาการออกกลางคนของผ้เู รยี น
3. ควรนาปัญหาของนักเรยี น นกั ศึกษา ครู ผู้บริหารบคุ ลากรา่ งการศึกษามาแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการของสถานศึกษา

คณุ ธรรม

2. กำรสรำ้ งควำมเชือ่ มน่ั ใหแ้ กผ่ ู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งและสถำนประกอบกำร
1. มุง่ พัฒนาแหล่งเรียนรวู้ ชิ าชพี เกษตร เพื่อผลิตและพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน ตอบสนองตอ่ ความต้องการของ

ชมุ ชนสังคมและสถานประกอบการ

3. การจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทีบ่ รรลุเปา้ ประสงคข์ องหน่วยงานต้นสงั กัด
1. มกี ารประชมุ ช้แี จงครู บคุ ลากรเพ่อื ใหเ้ กดิ ความรูค้ วามเข้าใจ
2. มีการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการและผู้รบั ผดิ ชอบแตล่ ะตวั บง่ ชใี้ ห้ชัดเจน
3. จัดทาแผนพัฒนาสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั หนว่ ยงานตน้ สังกัด
4. มีการตดิ ตามผลประมวลผลเป็นระยะ

4. การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี (Best Practice)
โครงการศูนยก์ ารเรียนรู้ Smart Farmer ตามแนวทางศาสตร์พระราชาและปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารพัฒนาท่ีย่ังยนื 2562

2

นโยบายรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการโดยมอี งค์ประกอบอยู่ 2 สว่ นคอื ส่วน
ที่ 1 คอื 1.1 นอ้ มนาแนวพระราชดาริ สืบสนพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรมาขับเคลื่อนงานด้าน
การศึกษาใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรม เพระพระราชปณิธานของพระองคท์ า่ นถือเปน็ พรอนั สงู สดุ และมอบเป็นนโยบาย
1.2 การดาเนินการตามยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี กระทรวงศกึ ษาธิการจะดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2560 - 2579) ภายใตว้ สิ ัยทศั น์ “ประเทศมีความม่ันค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ซง่ึ ไดก้ าหนดไว้ในรฐั ธรรมนูญฯ โดยยึดยุทศาสตร์ชาติเป็นจุดเน้นด้านการศึกษาที่จะดาเนิน 6 ด้านคือ 1)
ความม่ันคง 2 ) การสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3 )การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4 ) การสร้างโอกาสความ
เสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม 5 ) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม 6 ) การปรับ
สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 1.3 จุดเน้นการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธกิ าร 1 ) ดาเนนิ การอยู่ภายใต้
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 2 ) ทุกโครงการของกระทรวงศึกษาธิการต้องเน้นความโปร่งและ
ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น 3 ) กระทรวงศึกษาธิการต้องการมีคุณลักษณะ MM = Modernized MOE มีการดาเนินการ
สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 4 ) ดาเนินการแร่งด่วนตามข้อส่ังการของนายกรัฐมนตรีให้เห็นผลการ
ดาเนินการเป็นรูปธรรม 1.4 จดุ เนน้ สาคญั นโยบาย แนวทางหลักการดาเนินของกระทรวงศึกษาธิการ ของนายธีระเกียรติ เจ
ริฐเศรษฐศลิ ป์ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดม้ อบจุดเนน้ เชิงนโยบายแนวทางการดาเนินงาน และโครงการสาคัญของ
กระทรวงศึกษาธิการโดยยดึ กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน เป็นหลกั ในการดาเนินการใหเ้ ปน็ รูปธรรม ดังนี้ 1 ) ด้านความม่ันคง
2 ) ด้านการผลิต พัฒนากาลงั คนสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน 3 ) ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน 4 ) ด้านการ
สรา้ งโอกาส ความเสมอภาคทางการศกึ ษาโดยยกระดับคุณภาพสถานศึกษา 5 ) ด้านการเสริมสร้างชีวิตประชาชนท่ีเป็นมิตร
กบั ส่ิงแวดลอ้ ม และ 6 ) ด้านการพัฒนาระบบและการบรหิ ารจดั การ

ด้วยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ได้จัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับ
ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) และโครงการอาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท (อศ.กช.) มีการจัดทาการเรียนการอสนให้
สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ของสถานศึกษา ดังต่อไปน้ี

กลยทุ ธท์ ่ี 10 การเสริมสรา้ งความรทู้ กั ษะด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการพัฒนางานฟาร์มการเกษตรให้มีคุณภาพ
ได้มาตรฐาน

กลยทุ ธ์ท่ี 12 เสรมิ สร้างความรูว้ ิชาชพี และทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดการฟาร์ม
กลยุทธท์ ี่ 13 การจัดต้ังศูนย์การเรียนร้วู ิชาชพี เฉพาะทาง
กลยทุ ธ์ที่ 14 พัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้วิชาชีพของชมุ ชน
ทางวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง ซ่ึงเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นทางด้านการเกษตรกรรมจึงเล็งเห็นถึง
ความสาคัญในการใช้องค์ความรู้ให้กับเกษตรกรกับนักเรียนนักศึ กษาตลอดจนประชาชนผู้ที่ประกอบอาชีพด้านเกษตรให้
สอดคล้องกับวถิ ชี วี ิตและลักษณะการประกอบอาชพี ของแต่ละบคุ ล มีการใหค้ วามสาคญั ในการใชอ้ งค์ความรู้ และข้อมลู ในการ
ตัดสินใจในการนาเทคโนโลยีภูมิปัญญา และวิธีการที่ดีมาใช้หรือพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร โดยตระหนักถึงคุณภาพแล ะ
ปรมิ าณ รวมถึงความปลอดภัยตอ่ ผบู้ ริโภคและสิง่ แวดล้อม
ดงั นน้ั ทางวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ระนองได้จัดทาโครงการเพ่ือการตอบสนองแนวทางศาสตร์พระราชา
และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลท่ี 9ผ่านศูนย์การเรียน Smart Farmer ที่นาเทคโนโลยีนวัตกรรม
เขา้ มาพัฒนาระบบการจดั การฟาร์มอย่างเป็นระบบตามหลักการพัฒนาความรู้และทักษะวิชาชีพให้กับผู้เรียนและประชาชน
อาชวี ศกึ ษาด้านการเกษตรกรรมในยุค Thailand 4.0

5.วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
1.เพ่ือจัดทาศนู ยก์ ารเรียนรู้ Smart Farmer ตามแนวทางศาสตรพ์ ระราชาและปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.เปน็ แหลง่ เรยี นรขู้ องนกั เรียนนกั ศึกษาและประชาชน
3.เพือ่ เปน็ ศนู ยก์ ารวิจัยและพฒั นาการเรยี นรู้งาน Smart Farmer
4 เพ่ือเป็นแหล่งท่องเที่ยงเชิงชีววิถีทางเกษตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยน้อมนาหลักแนวทางของ
ศาสตรพ์ ระราชา

3

6.ผลผลติ โครงการ (Output) :
1.จดั ทาโครงการฟาร์มพืชศาสตร์ ฟารม์ สัตวศาสตร์ และฟารม์ ประมง โดยใช้ระบบ Smart Framer
2.ปรับปรุงตกแต่งระบบฟารม์ และภมู ทิ ศั น์ให้ครอบคลุมพนื้ ที่ จานวน 20 ไร่ เพอื่ การเรยี นการสอนนักเรียนนักศึกษาและ
ประชาชน
3 เป็นแหลง่ การเรียนร้แู ละการวจิ ยั ทางด้าน Smart Framer
4. มแี หลง่ ท่องเทีย่ วเชิงชวี วิถที างการเกษตรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9
5. มแี หลง่ พฒั นาความรแู้ ละทักษะวิชาชพี ใหก้ บั ผเู้ รยี นดา้ นการอาชวี ศึกษาด้านเกษตรกรรมในยคุ Thailand 4.0

7.ผลลพั ธโ์ ครงการ (Outcome) :
1.นกั เรยี นนกั ศึกษาและประชาชนนาความรู้และประสบการณไ์ ปใชใ้ นการประกอบอาชีพด้านการเกษตรตามรปู แบบ

Smart Framer เพอ่ื เปน็ อาชีพเสรมิ
2.แหล่งเรยี นรู้ด้านการเกสรกรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

8.กลุ่มเป้าหมาย :
1.เชิงปริมาณ
-นกั เรียนนักศกึ ษา จานวน ไม่นอ้ ยกวา่ 500 คน มคี วามรคู้ วามเข้าใจ Smart Farms
-ประชาชน จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 500 คน เขา้ มาศกึ ษาและเรียนร้รู ะบบ Smart Framer
2.เชงิ คณุ ภาพ
-นักเรียนนักศึกษาและประชาชนนาความรู้และประสบการณไ์ ปใชใ้ นการประกอบอาชพี ทางด้านการเกษตรตามรปู แบบ
Smart Farmer เพอ่ื เปน็ อาชีพและอาชีพเสรมิ

9.พื้นทด่ี าเนินการ : วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีระนอง

10. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ :
โดยตรง
- นกั เรียนนักศึกษา จานวน ไม่นอ้ ยกว่า 500 คน มคี วามรู้ความเขา้ ใจ Smart Framer
- ประชาชน จานวนไม่น้อยกวา่ 500 คน เขา้ มาศึกษาและเรยี นรูร้ ะบบ Smart Framer
โดยอ้อม
- นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนสามารถนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั ได้ ท้ังยังส่งเสรมิ และ

พฒั นาการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งขน้ึ

4

ส่วนท่ี 2
ข้อมลู พนื้ ฐำนของสถำนศึกษำ

2.1 ขอ้ มลู พ้นื เกี่ยวกับสถานศึกษา

ทอี่ ยู่
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
เลขที่ 19 หมู่ 5 ต.ราชการ อ.เมอื ง จ.ระนอง 85000
โทรศพั ท์ 0-7789-7756 โทรสาร 0-7789-7756
E-mail [email protected] Website www.kasetranong.ac.th
ประวัตสิ ถานศึกษา

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง เป็นสถานศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ ต้ังอยู่เลขที่ 19 หมทู่ ี่ 5 ถนนเพชรเกษม (สายระนอง-ภูเกต็ ) ตาบลราชกรูด อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง
ระยะทางหา่ งจากจงั หวัดระนอง 33 กิโลเมตร ระยะทางห่างจาก กรุงเทพมหานคร ประมาณ 600 กิโลเมตร เปิดทาการ
สอนตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา 2525 เปน็ ตน้ มา มพี ้ืนที่ รวมทัง้ 2 แปลง 940 ไร่

กำรจัดกำรศกึ ษำ
การจดั การศกึ ษา ปัจจุบันวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ไดจ้ ัดการศึกษาระบบ (Formal Education) และนอก
ระบบ ซึง่ เป็นการจัดการเรียนการสอนให้กบั นักเรียน-นักศึกษา โดยเปิดสอนในหลักสตู รต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี คอื
1. หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
2. หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวส.) พุทธศักราช 2557
สภำพชมุ ชน
ประชากรและชุมชนจังหวดั ระนอง จังหวัดระนองมี จานวนประชากร 182,648 คน (พ.ศ. 2555) ชาวระนองส่วนใหญ่นับ
ถอื ศาสนาพุทธ รองลงมา คอื ศาสนาอสิ ลาม ซึ่งอยูใ่ นเขตอาเภอเมือง อาเภอกะเปอร์ และกิง่ อาเภอสุขสาราญ ส่วนท่ีเหลือนับ
ถือศาสนาคริสต์และศาสนาอื่นๆ จังหวัดระนอง มีประเพณี และงานประจาปี ที่สาคัญท่ีนิยมปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึง
ปจั จุบนั คอื ประเพณีสวดกลางบ้าน ประเพณีตักบาตรเทโว ประเพณีงานแห่พระแข่งเรือ ประเพณีออกพรรษา ประเพณีวัน
สารทไทย ประเพณวี ันสงกรานต์ ประเพณีวันเข้าพรรษา ประเพณีแห่เทยี นพรรษา และประเพณงี านลอยกระทง
สภำพเศรษฐกจิ
สภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดระนอง มีสาขาหลักคือการประมง ซึ่งเป็นสาขานาในโครงสร้างการผลิตของ
จังหวัด ในปี 2547 จังหวัดระนองมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัด ( GPP ) ตามราคาประจาปีประมาณ 11,570 ล้านบาท หรือ
ประมาณร้อยละ 1.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคใต้ มูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ย ต่อคน ( Percapita GPP ) หรือรายได้เฉลี่ยต่อ
หัวตอ่ ปปี ระมาณ 64,514 บาท สาขาการผลติ ท่ที ารายไดใ้ หแ้ กจ่ งั หวัดมากท่ีสดุ คือ สาขาประมง ซ่ึงมีมูลค่าการผลิตประมาณ
2,887 ลา้ นบาท รองลงมา คอื สาขาการ ขายส่งการขายปลีก การซอ่ มแซมยานยนตฯ์ และสาขาการเกษตร การล่าสัตว์ฯ ซึ่งมี
มูลคา่ การผลติ ประมาณ 1,809 ล้านบาท และ 1,794 ล้านบาท ตามลาดบั อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดระนอง
ในชว่ งปี 2547 เพ่ิมขึน้ ประมาณรอ้ ยละ 4.3 ( ทีม่ า : สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ )

5

2.2 แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา

6

2.3 ขอ้ มูลของสถำนศกึ ษำ ปกติ ทวภิ ำคี ทวิศึกษำ รวม
ขอ้ มลู ผู้เรียน 48 0 0 48
ระดบั ชนั้ 39 0 0 39
21 0 0 21
ปวช.1 108 0 0 108

ปวช.2

ปวช.3

รวม ปวช.

ระดับชั้น ปกติ ทวภิ ำคี รวม

ปวส.1 61 27 88
ปวส.2
รวม ปวส. 45 13 58

106 40 146

ข้อมูลผ้สู าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2560

ระดบั ชนั้ แรกเขำ้ สำเรจ็ กำรศึกษำ คิดเปน็ ร้อยละ
31 27.93
ปวช.3 111 20 33.90
51 30.00
ปวส.2 59

รวม 170

ขอ้ มลู ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2561

ระดับช้ัน แรกเข้ำ สำเรจ็ กำรศกึ ษำ คดิ เปน็ รอ้ ยละ
14 11.29
ปวช.3 124 58 60.42
72 32.73
ปวส.2 96

รวม 220

ข้อมูลบุคลากร ทัง้ หมด มใี บประกอบวิชำชพี สอนตรงสำขำ

ประเภท (คน) (คน) (คน)

ผู้บรหิ าร/ ผรู้ บั ใบอนญุ าตผจู้ ดั การ/ ผู้อานวยการ/ รองผอู้ านวยการ/ 22 -
ผชู้ ่วยผู้อานวยการ
ข้าราชการคร/ู ครูเอกชนท่ไี ด้รบั การบรรจุ/ ผูท้ ่ไี ดร้ บั การรับรอง 13 13 13
ขา้ ราชการพลเรอื น 1- -
พนักงานราชการครู 43 3
พนกั งานราชการ(อน่ื ) 0- -
ครพู เิ ศษสอน 21 2

7

ประเภท ท้ังหมด มีใบประกอบวชิ ำชีพ สอนตรงสำขำ

(คน) (คน) (คน)

เจ้าหนา้ ที่ 18 - -

บุคลากรอนื่ ๆ (นกั การภารโรง/ ยามรักษาการ/ พนกั งานขับรถ/ ฯ) 0 - -

รวม ครู 19 17 18

รวมทั้งสิ้น 40 17 18

ขอ้ มูลหลกั สตู รการเรียนการสอน

ประเภทวชิ ำ ระดบั ปวช.(สำขำวิชำ) ระดับ ปวส.(สำขำวชิ ำ) รวม(สำขำวิชำ)

อุตสาหกรรม 0 00

พาณิชยกรรม 0 00

ศลิ ปกรรม 0 00

คหกรรม 0 00

เกษตรกรรม 1 34

ประมง 0 1 1

อุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว 0 00

อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ 0 00

เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 0 00

รวมทัง้ สนิ้ 1 45

ข้อมูลอาคารสถานท่ี

ประเภทอำคำร จำนวน(หลงั )

อาคารเรียน 7

อาคารปฏบิ ัติการ 1

อาคารวิทยบรกิ าร 1

อาคารอเนกประสงค์ 1

อาคารอน่ื ๆ 3

รวมทั้งส้นิ 13

ขอ้ มูลงบประมาณ

ประเภทงบประมำณ จำนวน(บำท)

งบบคุ ลากร 11386600.80

งบดาเนนิ งาน 2073720.00

งบลงทนุ 1500000.00

งบเงินอดุ หนุน 5186355.00

งบรายจ่ายอื่น 2261900.00

รวมทัง้ สิ้น 22408575.80

8

2.4 ปรัชญา อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ ของสถานศึกษา

ปรัชญา
วิสัยทศั น์กวา้ งไกล มน่ั ในคณุ ธรรม มีลักษณะผนู้ า ล้าเลิศวชิ า

อตั ลกั ษณ์
จติ รสาธารณะ มลี กั ษณะผ้นู า

เอกลักษณ์
ภูมิทศั นส์ วยงาม งานฟาร์มมีคุณภาพ

2.5 วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา

วสิ ัยทศั น์
มุ่งพัฒนาแหลง่ เรียนรู้วิชาชพี เกษตร เพอ่ื ผลติ และพัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานตอบสนองตอ่ ความต้องการของ

ชมุ ชนและสังคม

พันธกจิ
1. ผลติ และพัฒนาผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะและคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ตรงตามมาตรฐานวิชาชพี
2. พฒั นาแหล่งเรียนรวู้ ิชาชีพเกษตรให้ไดม้ าตรฐาน
3. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพด้วยหลักธรรมาภิบาลและตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

เป้าประสงค์
1. สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรยี นร้ทู ่มี ่งุ เน้นสมรรถนะอาชพี
2. ผูบ้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเป็นมอื อาชพี ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ
3. สถานศึกษามีงานวิจยั นวตั กรรมเทคโนโลยแี ละการถา่ ยทอดวิทยาการและเทคโนโลยใี หแ้ กช่ มุ ชนและสังคม
4. สถานศกึ ษาเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนร้ใู นการพัฒนางานฟารม์ เกษตรทมี่ ีคุณภาพได้มาตรฐาน
5. สถานศกึ ษาเปน็ แหลง่ เรียนรวู้ ิชาชีพตามมาตรฐานสาขาวิชาท่ีเปิดสอน
6. สถานศกึ ษาใชร้ ะบบบริหารงานด้านการจัดการศกึ ษาอย่างมีประสทิ ธิภาพดว้ ยหลักธรรมาภิบาลของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. สถานศกึ ษามเี ครอื ขา่ ยและใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการบริหารจัดการอาชวี ศึกษาเกษตร
8. สถานศกึ ษามีเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการในการจดั การอาชีวศึกษาเกษตร
9. สถานศึกษามรี ะบบฐานข้อมูลของสถานประกอบการและหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการจดั การอาชวี ศึกษาเกษตร
ยทุ ธศาสตร์

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาหลักสตู รสมรรถนะของสถานศึกษาโดยความร่วมมือกบั สถานประกอบการและหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2. พัฒนาแผนการเรยี นรแู้ ละมงุ่ เนน้ สมรรถนะบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคา่ นยิ มหลัก 12

ประการ
3. พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยการปฏิบัตจิ ริง โดยใชโ้ ครงการเป็นฐาน (PBL) และ STEM Education
4. พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและความเป็นผูน้ ากว้ ยกิจกรรม อกท. ใหเ้ ปน็ สถานศึกษาคณุ ธรรม
5. เสรมิ สร้างทกั ษะและประสบการณอ์ าชีพใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาสูค่ วามเปน็ เลิศ
6. เสริมสร้างความรแู้ ละประสบการณข์ องผู้บรหิ ารในการจัดการศกึ ษาใหเ้ ป็นผูน้ ามืออาชพี
7. สรา้ งเครือขา่ ยการใช้ทรัพยากรบุคคลรว่ มกับสถานประกอบการและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง
8. ส่งเสรมิ การสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาจัดทางานวจิ ัย
9. สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผเู้ รียนจดั ทาวจิ ยั นวตั กรรม และเทคโนโลยีเพ่อื เผยแพร่ผลงานวจิ ยั ส่ชู มุ ชนและสงั คม
10. เสรมิ สร้างความรู้และทกั ษะด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการพฒั นางานฟารม์ เกษตรใหม้ คี ณุ ภาพได้มาตรฐาน

9

11. พฒั นาระบบโรงเรอื นดว้ ยเทคโนโลยีสมยั ใหม่ให้ได้มาตรฐานงานฟาร์ม
12. เสรมิ สร้างความรวู้ ิชาชพี และทักษะการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การฟารม์
13. จดั ต้ังศูนย์การเรียนร้วู ิชาชพี เฉพาะทาง
14. พัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นร้วู ิชาชีพของชุมชน

15. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
16. บรหิ ารจัดการสถานศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพด้วยหลักธรรมาภิบาลและตามหบักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
17. พัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ สถานศึกษาพอเพียง
18. พฒั นาประสทิ ธิภาพของเครอื ข่ายและระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใหท้ นั สมยั
19. สร้างความเขม้ แขง็ และขยายเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการจดั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรร่วมกบั สถานประกอบการและ
หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องทัง้ ในและต่างประเทศ
20. พฒั นาระบบฐานข้อมูลของสถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจดั การอาชีวศึกษาเกษตรดว้ ยระบบ Big
Data
2.6 เกียรติประวตั ขิ องสถานศึกษา

รางวัลและผลงานของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2560

รำยกำร รำงวลั ระดับ ให้โดย

รางวลั และผลงานของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2561

รำยกำร รำงวลั ระดบั ให้โดย

สง่ิ ประดิษฐ์ เรอื่ ง การเลย้ี งปลาดกุ ในระบบนา้ หมนุ เวยี นในถังพลาสตกิ 200 ลติ ร ชนะเลิศ จงั หวดั อาชีวศึกษาจังหวดั
ร่วมกบั การปลกู ผกั บ้งุ ในระบบพืชไร้ดนิ DFT โดยไม่ใชป้ ุย๋ ระนอง

สง่ิ ประดิษฐ์ เรื่อง โอง่ อบปลาดกุ ชนะเลิศ จงั หวดั อาชีวศึกษาจงั หวัด
ระนอง

สิง่ ประดษิ ฐ์ เรื่อง น้าม่วงจ๊ีด ชนะเลิศ จงั หวัด อาชวี ศึกษาจังหวัด
ระนอง

รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2560

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวลั ระดับ ใหโ้ ดย

รางวัลและผลงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2561

ชอ่ื -สกลุ /รำยกำร รำงวัล ระดบั ให้โดย

นายประพัฒน์ ปานนิล รางวัลอื่น จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัด
ครดู ีศรอี าชวี ะ ๆ ระนอง

นายบญุ ลือ พณิ แกว้ รางวลั อน่ื จังหวัด อาชวี ศึกษาจังหวัด
ครูดีศรอี าชวี ะ ๆ ระนอง

นางบุญนา ตันธนกุล รางวัลอื่น จังหวดั อาชวี ศกึ ษาจงั หวดั
ครูดศี รอี าชวี ะ ๆ ระนอง

นายปราโมท หาญณรงค์ รางวัลอ่ืน จังหวัด อาชวี ศึกษาจงั หวัด
ครูดศี รอี าชีวะ ๆ ระนอง

นางสาวธนพร เปรมประเสรฐิ รางวัลอน่ื จังหวดั อาชีวศึกษาจังหวัด
ครดู ีศรอี าชีวะ ๆ ระนอง

นางเปรมวดี ขามะลงั รางวัลอืน่ จงั หวัด อาชวี ศึกษาจังหวดั
ครดู ีศรอี าชีวะ ๆ ระนอง

10

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวัล ระดบั ให้โดย

นางจรรยพร ศรีชะฎา รางวัลอน่ื จงั หวดั อาชีวศึกษาจงั หวดั
ครดู ีศรอี าชีวะ ๆ ระนอง

นางวัชรา ปลายชัยภูมิ รางวลั อ่ืน จงั หวัด อาชีวศึกษาจงั หวดั
ครูดีศรอี าชวี ะ ๆ ระนอง

นางสาวพชั นิยา ชุมผอม รางวลั อ่นื จังหวดั อาชีวศึกษาจงั หวดั
ครดู ศี รีอาชวี ะ ๆ ระนอง

นายกิตติพงค์ อตุ ตมะเวทิน รางวลั อน่ื จังหวดั อาชวี ศกึ ษาจังหวัด
ผูบ้ ริหารดศี รีอาชีวะ ๆ ระนอง

นายประพฒั น์ ปานนลิ ชนะเลิศ จงั หวดั อาชวี ศึกษาจังหวัด
สิ่งประดษิ ฐ์ เร่อื ง การเลี้ยงปลาดกุ ในระบบน้าหมนุ เวียนในถังพลาสตกิ 200 ลิตร ระนอง
รว่ มกบั การปลูกผักบ้งุ ในระบบพืชไร้ดนิ DFT โดยไม่ใชป้ ุ๋ย

นายประพฒั น์ ปานนิล ชนะเลิศ จงั หวดั อาชีวศกึ ษาจังหวดั
สง่ิ ประดิษฐ์ เรอื่ ง โอ่งอบปลาดุก ระนอง

นางจรรยพร ศรีชะฎา ชนะเลิศ จงั หวัด อาชีวศกึ ษาจังหวัด
สิ่งประดษิ ฐ์ เรอื่ ง โอง่ อบปลาดุก ระนอง

นางบญุ นา ตนั ธนกุล ชนะเลศิ จังหวัด อาชีวศกึ ษาจังหวัด
สิ่งประดษิ ฐ์ เรื่อง นา้ ม่วงจี๊ด ระนอง

นางสาวธนพร เปรมประเสริฐ ชนะเลิศ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัด
ส่งิ ประดษิ ฐ์ เร่ือง น้ามว่ งจดี๊ ระนอง

นายศริ ิพงศ์ เมียนเพช็ ร์ รางวัลอ่นื ชาติ สานักงานเลขาธกิ าร
ผู้บริหารดีศรอี าชวี ะ ๆ ครุ ุสภา

รางวลั และผลงานของผ้เู รยี น ปกี ารศกึ ษา 2560

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวลั ระดบั ให้โดย

นายสงกรานต์ แสวงผล/

นางสาวจิภาภรณ์ นาคสวุ รรณ รอง ภาค องคก์ ารเกษตรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์สมเดจ็
การแข่งขนั ทักษะวิชาชีพสาขา ชนะเลศิ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ระดบั ภาคใต้ (อกท.)

สัตวศาสตร์ ทกั ษะโคเน้ือ

นายธาดา พงศอ์ นิ วงค/์ นายก

ฤษณ ทองประสม รอง ภาค องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยในพระราชปู ถัมภส์ มเดจ็
พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระดบั ภาคใต้ (อกท.) คร้งั ที่ 39
แขง่ ขันทักษะวชิ าชพี สาขาสัตว ชนะเลิศ

ศาสตร์ ทักษะโคนม

รางวลั และผลงานของผู้เรียน ปกี ารศกึ ษา 2561

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวัล ระดบั ใหโ้ ดย

นายศักสิทธิ์ จันทร รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขันทักษะวชิ าชพี สาขาพชื ศาสตร์ ทักษะการเพาะเห็ด ภาคใต้

นางสาวมุกดาพร สหกุล รอง ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแข่งขันทกั ษะวิชาชีพ สาขาสัตวศาสตร์ ทักษะไกไ่ ข่ ชนะเลศิ ภาคใต้

นายกิตติพงษ์ พมิ พห์ ลอ่ รอง ภาค อกท.ระดับภาค

11

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวัล ระดับ ให้โดย

การแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชพี สาขาสตั วศาสตร์ ทักษะไกไ่ ข่ ชนะเลศิ ภาคใต้

นายทวีศักด์ิ เบ่งกจิ รางวลั อืน่ ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแขง่ ขันทักษะวชิ าชพี สาขาสตั วศาสตร์ ทกั ษะสุกร ภาคใต้

นายเจณรงค์ พรมครวญ รางวลั อ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแข่งขันทกั ษะวิชาชพี สาขาวิชาสตั วศาสตร์ ทกั ษะสกุ ร ภาคใต้

นายกฤษณ ทองประถม รอง ภาค อกท.ระดับภาค
การแข่งขันทกั ษะวิชาชีพ สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทักษะโคนม ชนะเลิศ ภาคใต้

นายธาดา พงษ์อินทร์วงศ์ รอง ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขันทักษะวิชาชีพ สาขาวชิ าสตั วศาสตร์ ทักษะโคนม ชนะเลศิ ภาคใต้

นางสาวฐิตากรณ์ นาคสวุ รรณ รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขนั ทักษะวิชาชพี สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทักษะโคเนื้อ ภาคใต้

นายชลาสนิ ธ์ เดชมูล รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชพี สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทักษะโคเนื้อ ภาคใต้

นางสาวมมี ี รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าสตั วศาสตร์ ทักษะการผสมเทยี มโค ภาคใต้

นายสาลนิ พันช่งั รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าชา่ งกลเกษตร ทักษะช่างกอ่ สร้าง ภาคใต้

นายหสั ถชัย กุลภกั ดี รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชีพ สาขาวชิ าช่างกลเกษตร ทกั ษะชา่ งกอ่ สรา้ ง ภาคใต้

นายกวิน นาคกุลนนั ท์ รางวลั อ่นื ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแข่งขันทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าช่างกลเกษตร ทักษะชา่ งยนต์ ภาคใต้

นายปญั ญา ครี ธี าร รางวลั อืน่ ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าชีพ สาขาวชิ าช่างกลเกษตร ทกั ษะการขับแทรคเตอร์ล้อยาง ภาคใต้

นายปรุ ิศ เถ่อื นกวา รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชีพ สาขาวชิ าประมง ทกั ษะการเพาะพันธุป์ ลา ภาคใต้

นายพีระพงศ์ แนน่ หนา รางวัลอ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแขง่ ขันทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าประมง ทกั ษะการเพาะพันธุป์ ลา ภาคใต้

นายกาพล จมิ าพันธ์ รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชพี สาขาวิชาประมง ทกั ษะการวเิ คราะห์คุณภาพนา้ ภาคใต้

นายเพชรสวุ รรณ นลิ นอ้ ย รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดับภาค
การแขง่ ขันทักษะวิชาชีพ สาขาวิชาประมง ทกั ษะการวิเคราะห์คณุ ภาพนา้ ภาคใต้

นางสาวอามีน๊ะ บ่อม่วง รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแข่งขนั ทักษะวิชาชีพ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ทกั ษะการผลิตน้าผกั ภาคใต้
ผลไม้

นางสาววรรณนสิ า แดงประเสรฐิ รางวัลอืน่ ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค
การแขง่ ขันทักษะวิชาชพี สาขาวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร ทกั ษะการผลิตนา้ ผัก ภาคใต้
ผลไม้

12

ชอ่ื -สกุล/รำยกำร รำงวัล ระดบั ให้โดย

นางสาวสมรชั นี ซ่อื ตรง อกท.ระดบั ภาค
การแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมเกษตร ทกั ษะการผลติ นา้ นมจาก รางวัลอน่ื ๆ ภาค ภาคใต้
พืช

นางสาวอาทติ ยา ปานอ่อน อกท.ระดับภาค
การแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร ทกั ษะการผลติ น้านมจาก รางวัลอื่น ๆ ภาค ภาคใต้
พืช

นางสาวมุกดาพร สหกุล รางวัลอน่ื ๆ ชาติ อกท.ระดับชาติ
การแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทกั ษะไก่ไข่

นายกติ ติพงษ์ พมิ พ์หล่อ รางวลั อืน่ ๆ ชาติ อกท.ระดับชาติ
การแข่งขันทักษะวชิ าชพี สาขาวิชาสตั วศาสตร์ ทักษะไกไ่ ข่

นายกฤษณ ทองประถม รางวัลอื่น ๆ ชาติ อกท.ระดบั ชาติ
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทักษะโคนม

นายธาดา พงษ์อินทรว์ งศ์ รางวลั อ่ืน ๆ ชาติ อกท.ระดับชาติ
การแข่งขันทักษะวิชาชีพ สาขาวชิ าสตั วศาสตร์ ทักษะโคนม

นางสาวฐติ ากรณ์ นาคสุวรรณ รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท.ระดบั ชาติ
การแข่งขันทกั ษะวิชาชีพ สาขาวิชาสตั วศาสตร์ ทักษะโคเนือ้

นายชลาสินธิ์ เดชมลู รางวัลอืน่ ๆ ชาติ อกท.ระดบั ชาติ
การแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ ทักษะโคเนื้อ

นายปุริศ เถื่อนกวา รางวลั อื่น ๆ ชาติ อกท.ระดับชาติ
การแข่งขันทกั ษะวิชาชพี สาขาวชิ าประมง ทกั ษะการเพาะพันธปุ์ ลา

นายพีระพงศ์ แนน่ หนา รางวัลอื่น ๆ ชาติ อกท.ระดับชาติ
การแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าชีพ สาขาวิชาประมง ทักษะการเพาะพนั ุธป์ ลา

13

ส่วนท่ี 3
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเดน็ ดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ลักษณะของผ้สู าเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาท่พี ึงประสงค์

การจดั การอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและการ
ประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ประกอบดว้ ยประเดน็ การประเมิน ดังน้ี

1.1 ดา้ นความรู้

ผสู้ าเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษามีความร้เู กีย่ วกับขอ้ เทจ็ จรงิ ตามหลักการ ทฤษฏี และแนวปฏิบัตติ า่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องกับ
สาขาวิชาที่เรียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละ
ระดบั การศกึ ษา

1.2 ด้านทักษะและการประยุกตใ์ ช้

ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษามที กั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี
ความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมสี ขุ ภาวะทีด่ ี

1.3 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์

ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศกึ ษามคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี เจตคตแิ ละกิจนิสยั ทด่ี ี ภมู ใิ จและรกั ษา
เอกลกั ษณข์ องชาตไิ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสทิ ธิของผ้อู ื่น มคี วามรับผดิ ชอบตามบทบาทหนา้ ท่ีของตนเองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มจี ิตสาธารณะ และมีจิตสานึกรกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม

มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชวี ศกึ ษา
สถานศกึ ษามีครทู ีม่ ีคุณวฒุ กิ ารศกึ ษาและจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรียน

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสาเร็จในการ
ดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการ
ประเมิน ดงั น้ี
2.1 ดา้ นหลักสูตรอาชวี ศึกษา

สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ
ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยแี ละความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมอื กบั สถานประกอบการหรอื หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
2.2 ดา้ นการจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา

สถานศกึ ษามคี รูท่มี ีคุณวุฒิการศึกษาและมจี านวนตามเกณฑ์ทก่ี าหนด ได้รบั การพฒั นาอยา่ งเป็นระบบต่อเนอื่ ง เพื่อ
เปน็ ผพู้ ร้อมท้ังด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและความเข้มแข็งทางวชิ าการและวิชาชีพ จดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั
ตอบสนองความตอ้ งการของผู้เรียนทัง้ วัยเรียนและวัยทางาน ตามหลกั สตู ร มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาแตล่ ะระดับการศึกษา

14

ตามระเบียบหรอื ขอ้ บงั คับเกีย่ วกบั การจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการเรยี นของแตล่ ะหลกั สตู ร ส่งเสริม สนับสนุน กากบั
ดแู ลให้ครูจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าให้ถูกตอ้ ง ครบถ้วน สมบรู ณ์
2.3 ดา้ นการบริหารจดั การ

สถานศึกษาบรหิ ารจดั การบคุ ลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ โรงฝกึ งาน
ศูนย์วทิ ยบริการ ส่ือ แหลง่ เรยี นรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครภุ ณั ฑ์ และงบประมาณของสถานศกึ ษาที่มีอย่อู ย่างเตม็ ศกั ยภาพ
และมีประสทิ ธภิ าพ

2.4 ด้านการนานโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ

สถานศกึ ษามคี วามสาเรจ็ ในการดาเนนิ การบริหารจดั การสถานศึกษา ตามนโยบายสาคญั ทีห่ น่วยงานตน้ สงั กัดหรือ
หน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมอื ของผู้บริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผ้เู รียน รวมทั้งการ
ช่วยเหลือ สง่ เสรมิ สนับสนนุ จากผู้ปกครอง ชมุ ชน สถานประกอบการและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องทั้งภาครฐั และภาคเอกชน

มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้

สถานศึกษารว่ มมอื กบั บคุ คล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพือ่ สร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ มกี ารจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ประกอบด้วยประเด็นการประเมนิ ดงั น้ี

3.1 ดา้ นความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้

สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในการจัด
การศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนและคนในชุมชนสสู่ ังคมแห่งการเรยี นรู้

3.2 ดา้ นนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย

สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู
บุคลากรทางการศึกษา ผเู้ รยี น หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรตา่ ง ๆ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และ
เผยแพรส่ ูส่ าธารณชน

15

สว่ นที่ 4
ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

4.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ลักษณะของผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค์
4.1.1 ผลสมั ฤทธ์ิ

1) ดา้ นความรู้
ร้อยละของผู้สาเรจ็ การศึกษาในระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพและประกาศนียบตั รวิชาชพี ชัน้ สูงท่ีมีผลการเรยี นเฉลี่ยสะสม
2.50 ขน้ึ ไปตามมาตรฐานคณุ วุฒอิ าชวี ศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา โดยเนน้ ผู้เรียนใหเ้ ป็นผู้ประกอบการ ประกอบอาชีพอิสระ
มที ักษะด้านวชิ าชีพ สามารถทางานวิจัยและส่ิงประดิษฐ์ เพ่ือพัฒนาวชิ าชพี

2) ดา้ นทักษะและการประยุกตใ์ ช้
ร้อยละของผ้สู าเรจ็ การศึกษาในระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สูงทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารประเมิน
มาตรฐานวิชาชพี
และผ่านการฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ จากสถานประกอบการ เพอ่ื เตรียมพรอ้ มให้ผ้เู รียนออกส่ตู ลาดแรงงาน ดารงชวี ิตอยรู่ ่วมกับผู้อ่นื ได้
อย่างมคี วามสุข โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
รอ้ ยละของผู้สาเร็จการศึกษาผ่านเกณฑ์การเข้ารว่ มกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา
1.นกั เรียนนกั ศึกษาเขา้ รว่ มโครงการ การอบรมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษา
2.จรรยาบรรณวชิ าชีพ เจตคตแิ ละกิจนสิ ัยท่ดี ี
3.นักศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ัตติ าม ค่านิยมหลกั 12 ประการ โดยสานกึ รกั มีความภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย

เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

4.นักเรียนนกั ศึกษาปฏิบตั ติ ามอัตลกั ษ์สถานศึกษา "จติ สาธารณะ มลี กั ษณะผนู้ า"
5.นักเรียนนักศึกษาเขา้ ร่วมโครงการธนาคารขยะ โครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืช โครงการปลูกต้นไม้ในวันสาคัญ
ต่างๆ

4.1.2 จดุ เด่น
1. ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี และประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สูงทีม่ ีผลการเรียนเฉลย่ี

สะสม 2.50 ข้ึนไป
2. ผู้สาเรจ็ การศึกษาในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สูงทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมนิ

มาตรฐานวชิ าชพี
3. ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาผา่ นเกณฑ์การเข้าร่วมกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศกึ ษา

4.1.3 จุดที่ควรพฒั นำ
1. ผ้สู าเรจ็ การศึกษาหลักสูตรประกาศนบี ตั รวชิ าชพี (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.)

ทัง้ หมดเทียบกับจานวนผเู้ รียนหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.) แรก
เข้าของรุ่นที่สาเรจ็ การศกึ ษา อยู่ทีร่ ้อยละ 26.37 อย่ใู นระดับคุณภาพ กาลงั พัฒนา

2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านอาชวี ศกึ ษา (V-NET) อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ กาลังพัฒนา

4.1.4 ขอ้ เสนอแนะเพื่อกำรพฒั นำ
1. เปดิ สอนนกั ศึกษา อศ.กช. ตามความตอ้ งการของกุลมุ วชิ าชีพเกษตรโดยบรู ณาการวชิ าต่างๆ ตามหลักสูตร

เพอื่ ให้ครบจานวนหนว่ ยกิตของหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ
2. จัดทาโครงการสอนเสริมหรอื ติวเขม็ ความรทู้ างวชิ าการและวิชาชพี เพอื่ ให้ผล V-NET ดีข้นึ
3. สนบั สนนุ สง่ เสริมเข้าร่วมจัดทาแผนธุรกิจใหม้ ากข้นึ

16

4.2 มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศกึ ษา
4.2.1 ผลสัมฤทธ์ิ

1) ดา้ นหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา
ระดับคณุ ภาพในการใชแ้ ละพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวชิ า ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผ้เู รียน ชุมชน สถาน
ประกอบการ และตลาดแรงงาน

1.สถานศกึ ษามีการสารวจข้อมลู ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน ในการ
ปรบั ปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหมห่ รอื กล่มุ วิชาเพิ่มเติม

2.สถานศกึ ษามกี ารปรบั ปรุง และใชร้ ายวชิ าเดมิ หรอื กาหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลมุ่ วชิ าเพมิ่ เตมิ รว่ มกบั สถาน
ประกอบการและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง และมีการประเมินรายวชิ า

2) ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษา
ระดับคณุ ภาพในการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา

1.สถานศกึ ษามีครูทีม่ ีวฒุ ิการศกึ ษาไม่ตา่ กว่าระดบั ปริญญาตรีและไดร้ ับการพฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง ไมน่ ้อยกวา่ 20
ชว่ั โมงตอ่ ปี

2.สถานศึกษาจัดใหม้ จี านวนครตู ่อผู้เรียนตามเกณฑ์ทก่ี าหนด
3.สถานศกึ ษาจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทง้ั วยั เรยี นและวัย
ทางานตามหลักสูตร โดยจัดทาแผนการเรียนรคู้ รบทกุ รายวชิ า
4.สถานศึกษาใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอนรายวชิ าให้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์ และประเมินผลการเรยี นตามสภาพ
จริงครบทกุ รายวิชา
5.สถานศึกษาจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพในระดับชัน้ ปวช.3 และ ปวส.2 โดยผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน รอ้ ยละ 100
3) ด้านการบรหิ ารจัดการ
ระดับคณุ ภาพในการบรหิ ารจัดการดา้ นบคุ ลากร
ระดบั คณุ ภาพในการพฒั นาและดูแล สภาพแวดล้อม ภมู ิทัศน์ อาคาร สถานท่ี ห้องเรียน
ระดบั คณุ ภาพในการบรหิ าร การเงิน งบประมาณและครภุ ัณฑ์
1. สถานศกึ ษา ส่งเสริม สนับสนุน กากบั ดูแล ใหม้ จี านวนครูทงั้ หมดเทียนกับจานวนผ้เู รียนท้ังหมด ตามเกณฑ์
มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาสงั กัด สอศ.
2.สถานศกึ ษาส่งเสริม สนบั สนนุ กากับดูแลใหค้ รูผู้สอนในแต่ละรายวชิ าทกุ คนเป็นผทุ้ ี่จบการศกึ ษาตรงหรือสม
พนั ธ์กับรายวชิ าทสี่ อน หรือเปน็ ผู้ท่ไี ด้เข้ารับการศึกษาหรอื ฝกึ อบรมเพ่มิ เตมิ ตรงหรอื สมั พันธก์ บั รายวชิ าท่ีสอน
3.สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนับสนนุ กากบั ดแู ลใหค้ รไู ม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ไดศ้ กึ ษาฝกึ อบรม ประชุมวิชาการ ศกึ ษา
ดูงานดา้ นวิชาการหรือวิชาชพี ที่ตรงหรือสมั พันธ์กบั รายวิชาท่สี อนไมน่ อ้ ยกว่า 20 ชว่ั โมงต่อปี
4.สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนับสนุน กากบั ดแู ล ให้ครูและบุคลากรทาการศกึ ษาไดร้ ับประกาศเกยี รตคิ ณุ ยกยอ่ ง
ความรู้ ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวชิ าชพี จากหน่วยงานหรอื องคก์ ารภายนอก
5.สถานศกึ ษามีการพฒั นาและดแู ลสภาพแวดล้อม ภูมทิ ัศน์ของสถานศึกษาใหส้ ะอาด เรียบร้อย สวยงาม และ
ปลอดภยั
6.สถานศกึ ษามกี ารกากับดแู ลการใชอ้ าคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ โรงฝึกงาน ศนู ยว์ ิทยบรกิ ารและ
อ่ืนๆ ใหม้ ีสภาพท่พี ร้อมใช้งาน มีความปลอดภยั สะอาด เรียบร้อย สวยงาม พร้อมและเพียงพอในการจดั การเรียนการสอน
7.สถานศึกษามกี ารนาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การระบบฐานข้อมูล
8.สถานศึกษามแี ผนพัฒนาและแผนปฏิบตั ิงานประจาปี มกี ารจัดงบประมาณเป็นคา่ ใชจ้ ่ายของแผนงาน โครงการ
กิจกรรมต่างๆ
9.สถานศึกษา มกี ารจดั สรรงบประมาณในการสง่ เสรมิ สนับสนุน ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามร้คู วามสามารถไปบริการ
วิชาการทาประโยชนต์ ่อชุมชน ประกวดพัฒนาทักษะวชิ าชพี นวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ และการรกั ชาตเิ ทดิ ทูลพระมหากษตั ริย์
สง่ เสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย

17

4) ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏิบัติ
ระดับคณุ ภาพในการดาเนินการตามนโยบายสาคญั ของหน่วยงานต้นสังกดั

1. ผ้อู านวยการมีความรคู้ วามเขา้ ใจในนโยบายสาคญั ที่หนว่ ยงานต้นสงั กดั มอบหมายได้อยา่ งถกู ต้อง
2. ผอู้ านวยการมีความสามารถในการสอื่ สารใหค้ รบู ุคลากรทางการศึกษา และผ้เู รียนรวมทั้งผ้ปู กครอง ชมุ ชน
สถานประกอบการ และหน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง
3. ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผเู้ รียน ร่วมกันกาหนดแผนงานโครงการ กจิ กรรม และเปา้ หมาย และ
ดาเนนิ งานเพอ่ื ให้นโยบายสาคัญของหน่วยงาน ตน้ สังกัดประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

4.2.2 จดุ เด่น
1. สถานศกึ ษาขนาดเลก็ การบรหิ ารในองค์กรใชร้ ะบบบริหารแบบครอบครวั บคุ ลากรมคี วามสามคั คีในหมู่คณะ

ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากนกั เรยี น นักศกึ ษา ผปู้ กครองและชุมชนในการจดั การศกึ ษา
2. สถานศกึ ษามวี ัสดุ ครุภณั ฑ์ หอ้ งปฏิบัติการท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
3. สถานศกึ ษามกี ารจดั ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการองคก์ รและจัดการเรยี นร้ขู องนักเรียน นกั ศกึ ษา

4.2.3 จุดทค่ี วรพฒั นา
1. ครแู ละผบู้ ริหารมีการโยกย้ายสับเปลีย่ นบอ่ ยคร้ังทาใหก้ ารบรหิ ารจัดการเรยี นรู้ การศึกษาไม่ตอ่ เน่อื ง

4.2.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1. ควรสง่ เสรมิ สนับสนุนใหบ้ ุคลากรท่อี ยู่ในพ้นื ท่เี ข้ามาพัฒนาสถานศึกษาโดยใช้ครใู นท้องถ่นิ

4.3 มำตรฐำนที่ 3 กำรสรำ้ งสงั คมแห่งกำรเรียนรู้
4.3.1 ผลสัมฤทธ์ิ

1) ดา้ นความรว่ มมอื ในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
ระดบั คุณภาพความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้

1.ครูทกุ คนจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ที่หลากหลาย
2.สถานศึกษามีความรว่ มมือกับบคุ คล ชุมชน องค์กรต่างๆ
3.การระดมทรพั ยากรทางการศึกษากบั สถานประกอบการ
2) ด้านนวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั
ระดบั คุณภาพในการจดั ทานวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
1.สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ูเ้ รียนมกี ารจัดทานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
2.สถานศึกษาส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครูและผู้บริหารมกี ารจดั ทานวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั
3.สถานศกึ ษาสง่ เสริมสนับสนุนนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
ตามวัตถุประสงคแ์ ละเผยแพร่สู่สาธารณชน โดยการเข้ารว่ มการประกวดสง่ิ ประคนรุน่ ใหม่

4.3.2 จุดเดน่
1. สถานศึกษาได้ส่งเสริมใหค้ รแู ละบคุ ลากรพัฒนาตนเองและวิชาชีพในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้โดยส่งครู

เขา้ ฝึกอบรมในสถานประกอบการและฝกึ อบรมชมรมวิชาชีพเฉพาะดา้ น เพอื่ นามาพฒั นาการเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
2. จดั การเรียนการสอนระบบทวภิ าคีในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) นกั ศึกษามีทักษะและ

ประสบการณ์ดา้ นวชิ าชพี ตรงตามความตอ้ งการของนกั เรยี น นักศกึ ษาและสถานประกอบการ
4.3.3 จดุ ทค่ี วรพฒั นา

1. สถานศึกษาควรสารวจสถานประกอบการและทาความร่วมมอื MOU กบั สถานประกอบการทมี่ มี าตรฐาน
2. สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการในการพฒั นาหลกั สูตรใหต้ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
4.3.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
1. จัดทาโครงการความร่วมมือกบั สถานประกอบการ
2. จดั ทาแผนพฒั นาหลกั สูตรกับสถานประกอบการอยา่ งต่อเนอ่ื ง

18

ตำรำงท่ี 4.1 สรปุ คณุ ภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำตำมมำตรฐำน

ผลกำรประเมินคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ คะแนนที่ได้
ตำมมำตรฐำนกำรอำชวี ศึกษำ พ.ศ.2561

มาตรฐานที่ 1 คณุ ลักษณะของผู้สาเร็จการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาที่พงึ ประสงค์ 83.50

ประเด็นท่ี 1.1 ดา้ นความรู้ 83.33

ประเด็นท่ี 1.2 ด้านทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้ 83.33

ประเด็นท่ี 1.3 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะุทพ่ี งึ ประสงค์ 83.85

มาตรฐานท่ี 2 การจัดการศึกษา 77.67

ประเด็นท่ี 2.1 ด้านหลักสตู รอาชวี ศึกษา 60.00

ประเดน็ ท่ี 2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา 84.00

ประเดน็ ที่ 2.3 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ 86.67

ประเด็นท่ี 2.4 ดา้ นการนานโยบายสู่การปฏิบัติ 80.00

มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้ 82.50

ประเดน็ ท่ี 3.1 ด้านความรว่ มมือในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 95.00

ประเด็นที่ 3.2 ด้านนวัตกรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย 70.00

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 81.22

สรปุ ระดบั คณุ ภาพสถานศึกษา
ยอดเยยี่ ม (ร้อยละ 80 ข้นึ ไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 –
59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)

19

ส่วนที่ 5
ผลกำรประเมินคณุ ภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำ
ตำมเกณฑ์กำรประเมนิ คณุ ภำพกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำอำชวี ศึกษำ

ให้สถานศึกษารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาอาชวี ศึกษา จานวน 5 ด้าน ตามระดับการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ดังนี้

5.1 ผลกำรประเมินรำยดำ้ นและภำพรวม
สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

(ปวส.) และ หรือการฝกึ อบรมวิชาชีพ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จานวน 5 ด้าน 25 ข้อการ
ประเมิน ดงั น้ี

5.1.1 ดา้ นผเู้ รยี นและผู้สาเร็จการศึกษา
การประเมินสมรรถนะผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ท่ีเป็นผลมาจากการพัฒนาคุณภาพ ทางวิชาการ

ทักษะและการประยกุ ต์ใช้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ปรากฏผลดังตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ผลการประเมนิ ดา้ นผเู้ รียนและผูส้ าเร็จการศึกษาโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมนิ

ผลกำรประเมิน คำ่ คะแนนท่ไี ด้

ขอ้ ท่ี รำยกำรประเมิน คะแนน ระดบั นำ้ หนกั จำกกำรประเมิน
คณุ ภาพ (50) (คำ่ นำ้ หนกั Xค่ำคะแนน)

1 การดแู ลและแนะแนวผู้เรยี น 1 กาลังพฒั นา 2 2

2 ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 5 ยอดเยยี่ ม 2 10

3 ผ้เู รียนมีสมรรถนะในการเป็นผูป้ ระกอบการ หรือการ 3 ดี 3 9
ประกอบอาชพี อิสระ

4 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ งาน 1 กาลงั พฒั นา 3 3
สรา้ งสรรค์ หรอื งานวิจยั

5 ผลการแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชพี 4 ดเี ลศิ 2 8

6 ผลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ 5 ยอดเยี่ยม 20 100

7 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้าน 1 กาลงั พฒั นา 3 3
อาชวี ศกึ ษา (V-NET)

8 การมีงานทาและศึกษาตอ่ ของผูส้ าเรจ็ การศึกษา 5 ยอดเย่ยี ม 15 75

ผลรวมคะแนนที่ไดจ้ าการประเมิน 210

รอ้ ยละของคะแนน ด้านท่ี 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 250 84

สรุป ระดบั คุณภาพสถานศึกษา ด้านท่ี 1 ดา้ นผ้เู รยี นและผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา
ยอดเยย่ี ม (รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

20

5.1.2 ดำ้ นหลกั สูตรและกำรจดั กำรเรียนกำรสอน
สถานศึกษามีการพัฒนาหรือปรบั ปรุงหลกั สตู รใหเ้ ป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ มีการพัฒนาหลักสูตร

ฐานสมรรถนะ หรอื ปรับปรงุ รายวชิ า หรอื ปรับปรุงรายวิชาเดมิ หรอื กาหนดรายวชิ าเพิม่ เตมิ และมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครู
จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้สู่การปฏิบตั ทิ ่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ และนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ เพ่ือ
พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะและทกั ษะทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 ปรากฏผลดงั ตารางที่ 5.2

ตารางท่ี 5.2 ผลการประเมินด้านหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอนโดยภาพรวมและจาแนกเปน็ รายการประเมนิ

ผลการประเมนิ คา่ คะแนนท่ไี ด้
จากการประเมิน
ขอ้ ที่ รายการประเมิน คะแนน ระดบั นา้ หนกั (คา่ นา้ หนกั Xคา่ คะแนน)
คุณภาพ (10)
2
1. การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ 5
3
1.1 การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ 1 กาลงั พัฒนา 2
10
การพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ หรือปรับปรงุ 1 กาลังพัฒนา 3
1.2 รายวชิ า หรือปรับปรงุ รายวชิ าเดมิ หรือกาหนด 15

รายวชิ าเพ่ิมเติม 30
60
2. การจัดการเรียนรสู้ ู่การปฏิบัติทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 5

2.1 คุณภาพของแผนการจดั การเรียนรูส้ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ 5 ยอดเยย่ี ม 2

การจดั ทาแผนการจดั การเรียนร้สู กู่ ารปฏบิ ัตทิ เ่ี นน้ 5 ยอดเยี่ยม 3
2.2 ผู้เรียน เป็นสาคัญและนาไปใชใ้ น การจดั การเรียน

การสอน

ผลรวมคะแนนทไี่ ด้จาการประเมิน

ร้อยละของคะแนน ด้านที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 50

สรุป ระดับคณุ ภาพสถานศึกษา ด้านที่ 2 ด้านหลกั สตู รและการจดั การเรียนการสอน
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

5.1.3 ดำ้ นครผู สู้ อนและผบู้ รหิ ำรสถำนศึกษำ
สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ตาม

มาตรฐานตาแหนง่ สายงานครูผ้สู อน และผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามที กั ษะในการบรหิ าร จัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนด
ไว้ ปรากฏผลดังตารางท่ี 5.3

21

ตารางท่ี 5.3 ผลการประเมินด้านครผู สู้ อนและผ้บู รหิ ารสถานศึกษาโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมิน

ผลกำรประเมนิ ค่ำ คะแนนท่ีได้

ข้อท่ี รำยกำรประเมนิ คะแนน ระดบั นำ้ หนกั จำกกำรประเมนิ
คณุ ภำพ (20) (ค่ำนำ้ หนกั Xคำ่ คะแนน)

1. ครผู สู้ อน 10

1.1 การจัดการเรยี นการสอน 5 ยอดเย่ียม 5 25

1.2 การบริหารจดั การช้ันเรียน 5 ยอดเยี่ยม 3 15

1.3 การพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ 5 ยอดเยี่ยม 2 10

2. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 10

2.1 การบริหารสถานศกึ ษาแบบมีส่วนร่วม 5 ยอดเยี่ยม 5 25

2.2 การบรหิ ารจัดการระบบข้อมลู สารสนเทศเพื่อการ 5 ยอดเยยี่ ม 5 25
บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน 100

รอ้ ยละของคะแนน ด้านท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 100 100

สรปุ ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดา้ นท่ี 3 ด้านครผู สู้ อนและผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
ยอดเยย่ี ม (รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป) ดเี ลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

5.1.4 ด้านการมสี ว่ นรว่ ม
สถานศกึ ษามกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุนให้สถานประกอบการ บุคคล ชมุ ชน องคก์ รตา่ ง ๆ มีส่วนร่วมในการจัดการเรียน

การสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีการระดมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา ปรากฏผลดงั ตารางที่ 5.4

ตารางท่ี 5.4 ผลการประเมินด้านการมสี ่วนร่วมโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมิน

ผลกำรประเมนิ คำ่ คะแนนทไ่ี ด้

ข้อท่ี รำยกำรประเมิน คะแนน ระดบั นำ้ หนัก จำกกำรประเมิน
คุณภำพ (10) (คำ่ นำ้ หนกั Xค่ำคะแนน)

1 การจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 5 ยอดเยย่ี ม 6 30

2 การระดมทรัพยากรเพอ่ื การจัดการเรยี นการสอน 4 ดเี ลิศ 2 8

3 การบริการชุมชนและจติ อาสา 4 ดเี ลิศ 2 8

ผลรวมคะแนนที่ไดจ้ าการประเมนิ 46

รอ้ ยละของคะแนน ดา้ นที่ 4 = (ผลรวมคะแนนท่ีได้ X 100) / 50 92

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดา้ นที่ 4 ดา้ นการมีส่วนร่วม
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

22

5.1.5 ดา้ นปจั จัยพื้นฐาน
สถานศึกษาดาเนนิ การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภมู ทิ ัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการ

เรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และส่ิงอานวยความสะดวกให้มีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งานของผู้เรียนหรือ
ผ้รู บั บรกิ าร เอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา ปรากฏผลดงั ตารางที่ 5.5

ตารางที่ 5.5 ผลการประเมินด้านปจั จัยพื้นฐานโดยภาพรวมและจาแนกเป็นรายการประเมนิ

ผลการประเมนิ ค่า คะแนนทไี่ ด้
จากการประเมนิ
ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ระดบั น้าหนกั (ค่านา้ หนักXคา่ คะแนน)
คุณภาพ (10)
8
1 อาคารสถานที่ ห้องเรยี น ห้องปฏิบัติการ โรงฝกึ งาน 4 ดีเลศิ 2
หรืองานฟารม์ 8
6
2 ระบบสาธารณปู โภคพื้นฐาน 4 ดเี ลศิ 2
8
3 แหล่งเรียนรแู้ ละศนู ย์วิทยบรกิ าร 3 ดี 2
2
4 ระบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สงู เพอ่ื การใช้งานดา้ น 4 ดเี ลิศ 2
สารสนเทศภายในสถานศกึ ษา 32
64
5 การเขา้ ถงึ ระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สูงเพอื่ การ 1 กาลงั พัฒนา 2
จัดการเรยี นการสอนในช้นั เรยี น

ผลรวมคะแนนที่ได้จาการประเมิน

ร้อยละของคะแนน ด้านท่ี 5 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 50

สรปุ ระดับคุณภาพสถานศกึ ษา ดา้ นท่ี 5 ด้านปจั จัยพื้นฐาน
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ขึน้ ไป) ดเี ลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)

23

5.1.6 ผลกำรประเมินในภำพรวมของสถำนศกึ ษำ
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาทั้ง 5 ดา้ น ปรากฏผลดงั ตารางที่ 5.6
ตารางที่ 5.6 ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษาจาแนกเปน็ รายด้าน

รอ้ ยละของคะแนน

ค่ำ คะแนนที่ได้ ท่ไี ดจ้ ำกกำรประเมิน

ท่ี ด้ำนกำรประเมิน นำ้ หนกั จำกกำรประเมิน (ผลรวมคะแนนท่ีไดจ้ ำกกำรประเมิน

(100) แต่ละดำ้ น ของดำ้ น X น้ำหนักคะแนนของดำ้ น)

/ คะแนนรวมของดำ้ น

1 ผู้เรยี นและผู้สาเรจ็ การศึกษา 50 210 (210 x 50) / 250 = 42.00

2 หลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน 10 30 (30 x 10) / 50 = 6.00

3 ครูผสู้ อนและผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา 20 100 (100 x 20) / 100 = 20.00

4 การมีสว่ นรว่ ม 10 46 (46 x 10) / 50 = 9.20

5 ปจั จัยพืน้ ฐาน 10 32 (32 x 10) / 50 = 6.40

รอ้ ยละคะแนนท่ไี ด้จากการประเมินในภาพรวม 418 83.60

สรุป ระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกวา่ ร้อยละ 50.00)

24

ส่วนท่ี 6
แผนพัฒนำเพ่ือยกระดับคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ

ประเด็นกำรพัฒนำเพอ่ื ยกระดับคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำ แผนพฒั นำเพื่อยกระดับคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำของ

ของสถำนศกึ ษำ สถำนศกึ ษำ (แผนงำน โครงกำร กิจกรรม)

1. ดา้ นผเู้ รียนและผสู้ าเร็จการศึกษา 1. โครงการบ่มเพาะการเป็นผ้ปู ระกอบการ 2. โครงการพัฒนา
1.1 ผูเ้ รยี นมสี มรรถนะในการเปน็ ผ้ปู ระกอบการหรอื การ หลกั สูตรฐานสมรรถนะรายวิชาท่ีสอดคล้องกับความต้องการ
ประกอบอาชพี อิสระ ของสถานประกอบการ 3. โครงการงานหลักสูตร 4. โครงการ
ความรว่ มมอื ในการส่งผู้เรียนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการ
5. โครงการขยายและยกระดับอาชวี ศึกษาทวิภาคี

1.2 ผลงานของผ้เู รียนดา้ นนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ 1. จัดทาโครงการท่ีส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนา
งานสร้างสรรค์ หรืองานวจิ ยั นวตั กรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวจิ ัย และส่งผล

งานเข้าร่วมกับหน่วยงานอ่ืน หรือมีการนามาใช้ประโยชน์ได้
จริงในระดับจังหวัดระดบั ภาค ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ
2. จัดทาโครงการอบรมเพ่ือพัฒนาทักษะการวิจัยนวัตกรรม
ส่ิงประดิษฐ์ โครงงานวิชาชีพ ให้กับนักเรียน นักศึกษา ทุก
ระดับชั้น 3. จัดทาโครงการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
งานวิจัย ของครูผู้สอน 4. จัดทาโครงการประกวดนวัตกรรม
สง่ิ ประดิษฐ์ งานวจิ ยั โครงงานวิชาชีพ ของนักเรียน 5. จัดให้มี
การเผยแพรแ่ ละนาผลงานนวัตกรรม และเทคโนโลยนี วัตกรรม
สง่ิ ประดิษฐ์ งานวิจัย มาใชป้ ระโยชนใ์ นสถานศึกษา ชุมชน

1.3 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านอาชีวศกึ ษา 1. สร้างความตระหนักให้กับนักเรียนนักศึกษาถึงความสาคัญ
(V-NET)
ในการเข้าสอบรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน
อาชีวศึกษา (V-NET) 2. จัดทาโครงการพัฒนาศัพยภาพ
นักเรียนนักศึกษาในการเข้ารับการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 3. จัดทาโครงการเตรียม
ความพร้อมก่อนเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ดา้ นอาชวี ศกึ ษา (Pre V-NET)

2. ด้านหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน 1. โครงการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะรายวิชาท่สี อดคลอ้ ง

2.1 การพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ กบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการ

2.1.1 การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะอย่างเปน็ ระบบ

2. ด้านหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอน 1. โครงการพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้อง

2.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ กับความตอ้ งการของสถานประกอบการ

2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุง

รายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชา

เพิม่ เติม

3. ด้านครูผู้สอนและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 1. จัดทาแปลงสาธิตและงานฟาร์มเพอื่ ใชใ้ นการเรียนการสอน
3.1 ดา้ นครผู ู้สอน และพฒั นาให้ไดม้ าตรฐานเพ่ือแหลง่ เรียนร้ทู กั ษะและ
ประสบการณข์ องผู้เรยี นดา้ นวชิ าชพี เพื่อให้ผู้เรยี นได้เรยี น
3.1.1 การจัดการเรยี นการสอน แบบโครงการโดยบูรณาการวชิ าตา่ งๆ รว่ มกับวชิ าชีพ โดยใช้
เทคโนโลยีทที่ นั สมยั ยคุ ไทยแลนด์ 4.0 เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้

25

ประเดน็ กำรพัฒนำเพอื่ ยกระดับคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ แผนพฒั นำเพอื่ ยกระดับคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำของ

ของสถำนศกึ ษำ สถำนศึกษำ (แผนงำน โครงกำร กิจกรรม)

เปน็ Smart farmer 2. จดั ทาโครงการฝกึ อบรมและพฒั นา
เกษตรกรใหเ้ ป็น Smart Farm

3. ดา้ นครผู ู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา 1. โครงการงานศนู ย์ขอ้ มูลสารสนเทศ
3.1 ดา้ นครผู สู้ อน 2. โครงการพัฒนาระบบโครงข่ายสารสนเทศภายในวิทยาลัย
3. มกี ารใช้ระบบสารสนเทศ RMS 2016 มาชว่ ยในการบริหาร
3.1.2 การจดั การช้นั เรยี น จัดการช้ันเรยี น
4. จัดทาโครงการงานครูที่ปรึกษา ในการจัดทาข้อมูลผู้เรียน
เป็นรายบุคคลporfolio


Click to View FlipBook Version